Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุชีวา-074.pdf

สุชีวา-074.pdf

Published by s60123468074, 2018-03-26 03:27:35

Description: สุชีวา-074.pdf

Search

Read the Text Version

Learning about Gestalt theory by AR E-Book Howto : 1. Download Aurusma App 2. Scan QR code with “Line” or search “Sucheewa” 3. Scan picture Create By Sucheewa Suda

ทฤษฎเี กสตอลทก์ บั การออกแบบเว็บไซต ์ ทฤษฎเี กสตอลท ์(Gestalt theory) คอื ทฤษฎที กี่ ล่าวถงึ กา รรบั รูภ้ าพของมนุษย ์ (Visualperceptions) ถูกนาเสนอโดยนกั จติ วทิ ยาชาวเยอรมนั ในปี ค.ศ.1920 โดยคาด วา่ เกสตอลท(์ Gestalt) ในภาษาเยอรมนั หมายถงึ รูปรา่ งทางกายภาพ เชน่ รูปรา่ ง (Shape) รูปแบบ (Pattern) และทา่ ทาง โดยทฤษฎเี กสตอลทเ์ ป็ นการอธบิ ายถงึ การรบั รูข้ องมนุษยท์ ถี่ ูกกระตนุ้ ให้ ตคี วามภาพเป็ นภาพรวมเดยี วกนั โดยภาพรวมอาจเกดิ จากการหยง่ั รูภ้ าพรวม ในทนั ที หรอื เกดิ จากการสงั เกตหุ น่วยยอ่ ยๆ และประกอบกนั เป็ นภาพรวม ขนึ้ อยู่กบั แตล่ ะบุคคล แตส่ ดุ ทา้ ยแลว้ มนุษยก์ จ็ ะปรบั การรบั รูเ้ ป็ นภาพรวมเสมอทฤษฎเี กส ตอลทป์ ระกอบไปดว้ ยพนื้ ฐานของการรบั รูข้ องมนุษย ์4 ประการ1 ดงั นี้ Create By Sucheewa Suda

1. การรบั รูถ้ งึ การปรากฎ (Emergence) 1. การรบั รูถ้ งึ การปรากฎ (Emergence) คอื การหยง่ั รูภ้ าพรวมทปี่ รากฎขนึ้ ในทนั ที อาจเกดิ จากการเทยี บเคา้ รา่ งกบั ประสบการณเ์ ดมิ ทมี่ อี ยู่ แตใ่ นมนุษยบ์ างคนอาจตอ้ งใชว้ ธิ กี ารสงั เกตหุ น่วยย่อยๆทปี่ รากฎบนภาพ แลว้ เกดิ การตคี วามโดยเปรยี บเทยี บกบั รูปทรงหรอื รูปแบบทมี่ ใี นประสบการณเ์ ดมิเพอื่ อนุมานเป็ นภาพรวมภาพเดยี วใหป้ รากฎขนึ้ มาตวั อย่างเชน่ รูปที่ 2-1 แสดงใหเ้ หน็ วา่ มนุษยส์ ว่ นใหญ่เมอื่ มองไปทรี่ ูปจะปรากฎเป็ นภาพของสุนขั ขนึ้โดยการหยง่ั รู ้แตใ่ นมนุษยบ์ างคนอาจเรมิ่ เห็นส่วนประกอบ เชน่ ขา หู หวั และเรมิ่ เทยี บกบั รูปแบบพฤตกิ รรมของสงิ่ มชี วี ติ ทกี่ าลงั กม้ ดมพนื้ จากนนั้ จะปรากฎภาพรวมทงั้ หมดทนั ที และเมอื่ เห็นภาพรวมทตี่ คี วามเป็ นสนุ ขั แลว้ เมอื่ มองภาพนี้ในครง้ั ถดั ไป มนุษยจ์ ะหยง่ั รูภ้ าพรวมในทนั ที โดยอาจไม่ตอ้ งสงั เกตสุ ่วนประกอบย่อยๆ อกี Create By Sucheewa Suda

2. การรบั รูค้ วามเป็ นรูปธรรม (Reification) “ 2. การรบั รคู ้ วามเป็ นรปู ธรรม (Reification) คอื การรบั รทู ้ แี่ ปรเปลยี่ นจากสงิ่ ทไี่ ม่มอี ยจู่ รงิ ในภาพจนเกดิ เป็ นรปู ธรรมขนึ้ โดยมนุษยจ์ ะถกู โนม้ นา้ วดว้ ยสว่ นประกอบภายในภาพทเี่ พยี งพอตอ่ การเป็ นเบาะแสและเกดิ การกระตนุ ้ ใหส้ รา้ งรปู ธรรมขนึ้ ในความรสู ้ กึ นึกคดิตวั อยา่ งเชน่ รปู ที่ 2-2 แสดงใหเ้ ห็นถงึ สามเหลยี่ มสฟี ้ าทไี่ ม่มอี ยจู่ รงิ แตด่ ว้ ยเบาะแสทไี่ ดจ้ ากวงกลมไม่เต็มวงทาใหก้ ารรบั รเู ้ ปลยี่ นไป เกดิ การสรา้ งรปู สามเหลยี่ มสฟี ้ าทเี่ ป็ นรปู ธรรมขนึ้ และมนุษยจ์ ะรบั รถู ้ งึ การมอี ยขู่ องสามเหลยี่ มสฟี ้ า Create By Sucheewa Suda

3. การรบั รูห้ ลายนยั (Multistability) 3. การรบั รหู ้ ลายนัย (Multistability) คอื การรบั รแู ้ ละตคี วามภาพทเี่ ห็นได ้หลากหลายรปู แบบ แตไ่ ม่สามารถตคี วามรปู แบบทไี่ ดจ้ ากภาพพรอ้ มกนั ได ้โดยณ เวลาหนึ่งจะตคี วามไดท้ ลี ะรปู แบบเท่าน้ัน Create By Sucheewa Suda

4. การรบั รูท้ ไี่ มแ่ ปรปรวน (Invariance)4. การรบั รทู ้ ไี่ ม่แปรปรวน Create By Sucheewa Suda(Invariance) คอื การรบั รทู ้ ไี่ ม่เปลยี่ นไปเมอื่ เกดิ การกระตนุ ้ ดว้ ยมมุ มองทแี่ ตกต่างกนัโดยมุมมอง (Perspective) คอื การทวี่ ตั ถภุ าพหนึ่งๆ มกี ารหกั เหไปในทศิ ทางอนื่ ๆ รวมถงึ การยอ่ขยาย เชน่ การหมนุ ตวั(Rotation) การเปลยี่ นขนาด(Scale) การจดั วางตาแหน่งใหม่(Relocation) การเปลยี่ นมมุ มองทางสายตา (Sight deformation)

การออกแบบเว็บไซตส์ ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ ารรบั รทู ้ ไี่ ม่แปรปรวนกบั ความสอดคลอ้ ง (Consistency)ได ้โดยความสอดคลอ้ งในการออกแบบเว็บไซตม์ ี 2 ลกั ษณะ ดงั นี้1) ความสอดคลอ้ งภายนอก (External consistency) คอื การออกแบบในสว่ นของโครงรา่ งตาแหน่งของสว่ นประกอบตา่ งๆ ภายในเว็บไซต ์เชน่ ตาแหน่งของหมายเลขหนา้เว็บไซต ์ต าแหน่งของแถบนาทาง เป็ นตน้2) ความสอดคลอ้ งภายใน (Internal consistency) คอื การออกแบบในสว่ นของเนือ้ หาและลกั ษณะการน าเสนอทเี่ ป็ นไปในทศิ ทางเดยี วกนั เขา้ ใจไดง้ ่ายและไม่สบั สน เชน่ การใชห้ มายเลขขอ้ (Ordinalbullet) แบบเดยี วกนั ทงั้ เว็บไซต ์ใบเสรจ็ ออนไลนม์ กี ารจดัตาแหน่งตวั เลขชดิ ขอบขวาของกรอบตาราง เป็ นตน้ Create By Sucheewa Suda


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook