คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการรับรองบุคคลของสถานศึกษาว่าเป็นคนพิการ ตามกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวกส่ือบริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๐ ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น โดยได้ออกประกาศคณะกรรมการ พิจารณาให้คนพิการได้รับสิทธิทางช่วยเหลือทางการศึกษา เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรับรองบุคคล ของสถานศึกษาว่าเป็นคนพิการ และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เป็นต้นไป โดยสาระ ของประกาศ คือ คนพิการที่จะได้รับสิทธิช่วยเหลือทางการศึกษา ต้องได้รับการคัดกรองตามแบบที่กาหนด ซ่ึงผู้ดาเนินการคัดกรองต้องได้รับการอบรมวิธีการใช้แบบคัดกรองคนพิการทางการศึกษาอย่างถูกต้อง กอ่ นปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ ดังน้ัน เพื่อให้นักเรียนท่ีสถานศึกษารับรองว่าเ ป็นคนพิการทางการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา ได้รับการศึกษา อย่างครอบคลุมและท่ัวถึง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดให้มีการอบรมหลักสูตร “ผู้ดาเนินการคัดกรองคนพิการ ทางการศึกษา” ให้กับครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด ให้มีความรู้ความสามารถในการใช้แบบคัดกรอง ตามท่ีแนบท้ายประกาศดังกล่าว และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารประกอบการอบรมฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อการนาไปใชต้ ามวตั ถปุ ระสงคข์ า้ งต้นอย่างมีประสอทธภิ าพ กลมุ่ นิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมยเ์ ขต ๒
สารบญั หน้า เรอื่ ง ๑ คานา ๑๓ สารบัญ เอกสารประกอบการจัดการอบรม ๑๗ ๑๗ หน่วยท่ี ๑ สิทธิคนพิการและกฎหมายทเี่ กยี่ วข้อง ๒๓ หน่วยที่ ๒ ประเภทคนพกิ ารทางการศกึ ษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ๓๒ ๓๗ เร่ือง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพกิ ารทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๔๓ หนว่ ยท่ี ๓ การใชแ้ บบคดั กรองคนพิการทางการศึกษา ๙ ประเภท ตามประกาศ ๖๓ ๖๘ คณะกรรมการพิจารณาให้คนพกิ ารไดร้ ับสิทธชิ ่วยเหลอื ทางการศกึ ษา ๗๖ เร่ือง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ การรบั รองบุคคลของสถานศึกษา ๘๒ วา่ เป็นคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๘๖ ๓.๑ บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางการเหน็ ๓.๒ บคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางการไดย้ ิน ๓.๓ บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางสติปัญญา ๓.๔ บุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหนหรอื สุขภาพ ๓.๕ บคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ๓.๖ บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา ๓.๗ บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ ๓.๘ บคุ คลออทสิ ติก หน่วยท่ี ๔ เทคนคิ การใหคาํ ปรึกษาและการประสานงานกบั ผปู กครองและผทู ่ีเกี่ยวของ หนว่ ยท่ี ๕ การวางแผนการจัดการศกึ ษาท่เี หมาะสมกบั ความพกิ ารแต่ละประเภท หนว่ ยที่ ๖ เทคน ภาคผนวก ............................................................................................................................................................. ๙๗ แบบฟอรม แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) ๙๘ คณะผูจดั ทํา................................................................................................................................ ๑๐๒
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนนิ การคดั กรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" 1 เอกสารประกอบการจัดอบรม หน่วยที่ ๑ สทิ ธิคนพกิ ารและกฎหมายทเี่ กีย่ วข้อง กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับคนพิการเพ่ือให้รู้เกี่ยวกับสิทธิ และโอกาสทางการศึกษาของคนพิการตาม กฎหมายมีขอบข่าย ดงั น้ี ๑. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓. พระราชบญั ญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพกิ าร พ.ศ.๒๕๕๑ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ๔. พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ และ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง หลักเกณฑแ์ ละวิธีการจดั ทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลระดับ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒ ๖. ประกาศคณะกรรมการส่งเสรมิ การจดั การศึกษาสาหรับคนพกิ าร เรอื่ ง หลักเกณฑก์ ารใหค้ รูการศึกษาพเิ ศษ ครู และคณาจารย์ ไดร้ ับการสง่ เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพในการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๗. นโยบายและจดุ เน้นสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ๘. ประกาศคณะกรรมการพิจารณาใหค้ นพกิ ารไดร้ บั สิทธิช่วยเหลอื ทางการศึกษา เรอ่ื งกาหนด หลกั เกณฑ์และ วธิ ีการ การรบั รองบุคคลของสถานศกึ ษาวา่ เป็นคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ มปี ระเดน็ สาคัญพอสรปุ ไดด้ ังน้ี ๑. รัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ เจตนารมณ์ ผ้พู ิการหรอื ทพุ ลภาพ ยอ่ มมสี ทิ ธิเสมอกันในการรบั การศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี อย่างทว่ั ถึงและมีคุณภาพ การเลอื กปฏิบัติจะกระทาไม่ได้ มาตรา ๔ ศกั ดิ์ศรคี วามเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคของบุคคลยอ่ มไดร้ ับความคุ้มครอง มาตรา ๕ ประชาชนชาวไทยไม่วา่ เหล่ากาเนิด เพศ หรือศาสนาใด ยอ่ มอยใู่ นความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญนเ้ี สมอกนั มาตรา ๒๙ การจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลท่ีรัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพ่ือการท่ีรัฐธรรมนูญนี้กาหนดไว้และเท่าท่ีจาเป็นและจะกระทบกระเทือน สาระสาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้ กฎหมายตามวรรคหน่ึงต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป และไม่มุ่งหมาย ให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหน่ึงหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง ท้ังต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ท่ีให้อานาจในการตรากฎหมายนั้นด้วยบทบัญญัติในวรรคหน่ึงและวรรคสองให้นามาใช้บังคับกับกฎที่ออกโดย อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแหง่ กฎหมายด้วยโดยอนโุ ลม มาตรา ๓๐ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกันชายและหญิงมสี ทิ ธิ เท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเร่ืองถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรือสขุ ภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกิจหรอื สังคม ความเชอ่ื ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญจะกระทามิได้
1230 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศึกษา\" ๒ มาตรการที่รัฐกาหนดข้ึนเพ่ือขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ยอ่ มไมถ่ ือเป็นการเลือกปฏิบตั ิโดยไม่เป็นธรรม ตามวรรคสามสิทธิและเสรีภาพในการศึกษา มาตรา ๔๙ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐจะต้องจัดให้อย่างท่ัวถึง และมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ต้องได้รับสิทธิ ตามวรรคหน่งึ และการสนับสนนุ จากรฐั เพอ่ื ให้ไดร้ ับการศึกษาโดยทดั เทียมกบั บุคคลอนื่ มาตรา ๕๐บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการการศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่ งานวิจัยตามหลักวิชาการ ย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้เท่าท่ีไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชนสิทธิในการได้รบั บริการสาธารณสุขและสวัสดกิ ารจากรฐั มาตรา ๕๒ เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม โดยคานงึ ถงึ การมีสว่ นร่วมของเดก็ และเยาวชนเปน็ สาคัญ มาตรา ๕๔ บุคคลซ่ึงพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการสิ่งอานวยความสะดวก อันเป็นสาธารณะ และความชว่ ยเหลือท่ีเหมาะสมจากรฐั มาตรา ๘๐ ระบุว่า รัฐต้องดาเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้... (๑) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัยส่งเสริม ความเสมอภาคของหญิงและชายเสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมท้ัง ต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ให้มคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี ้นึ และพง่ึ พาตนเองได.้ .. กฎหมายรฐั ธรรมนญู นาไปสกู่ ารออกพระราชบญั ญัตทิ ่ีเกีย่ วกับขอ้ งตา่ งๆ ๒. พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ เจตนารมณ์ ผู้พิการหรือทุพลภาพย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้ อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยต้องจัดให้เป็นพิเศษตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้มสี ิทธิไดร้ ับสง่ิ อานวยความสะดวก สอื่ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และ วิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวงโดยมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทาได้โดยอาศยั อานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโ้ ดยคาแนะนาและยินยอม ของรัฐสภา มาตรา ๑๐ ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาสาหรับบุคคล ซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การส่ือสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึงไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ปกครองหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าว
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๓ 3 มีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับส่ิงอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ ความชว่ ยเหลืออ่นื ใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทกี่ าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรอื ผปู้ กครองมีหนา้ ทจ่ี ัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ ตามมาตรา ๑๗ และตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้องตลอดจนให้ได้รับการศึกษานอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตามความพร้อมของครอบครัว มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความ เหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษาให้สถานศึกษาใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการจัดสรรโอกาส การเข้าศกึ ษาตอ่ และใหน้ าผลการประเมนิ ผูเ้ รยี นตามวรรคหนง่ึ มาใช้ประกอบการพจิ ารณาดว้ ย มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสาหรับบุคคลตามมาตรา ๑๐ วรรค สอง วรรคสาม และวรรคส่ี ต้องมีลกั ษณะหลากหลาย ท้ังน้ี ใหจ้ ัดตามความเหมาะสมของแต่ละระดับโดยมงุ่ พัฒนา คุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและศักยภาพ สาระของหลักสูตรท้ังท่ีเป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมงุ่ พัฒนาคนให้มคี วามสมดลุ ท้ังดา้ นความรู้ ความคิด ความสามารถความดงี าม และความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม ๓. พระราชบญั ญตั ิการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑ และ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๖ เจตนารมณ์ การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลทั่วไป จึงจาเป็นต้องจัดให้คนพิการมีสิทธิและโอกาสได้รับการบริการและความช่วยเหลือทางการศึกษาเป็นพิเศษต้ังแต่ แรกเกิดหรือพบความพิการ ดังน้ัน เพื่อให้การบริการและการให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการในด้านการศึกษา เป็นไปอยา่ งทั่วถงึ ทกุ ระบบและทกุ ระดับการศึกษา มาตรา ๓ ในพระราชบัญญตั นิ ้ี “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซ่ึงมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วน ร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สตปิ ัญญา การเรยี นรู้ หรอื ความบกพร่องอื่นใดประกอบกบั มีอุปสรรคในด้านตา่ งๆ และมีความต้องการ จาเป็นพิเศษทางการศึกษาท่ีจะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหน่ึงด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรม ในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลท่ัวไปท้ังน้ี ตามประเภทและหลักเกณฑ์ ท่ีรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด “ผปู้ กครองคนพกิ าร” หมายความวา่ บดิ า มารดา ผู้ปกครอง บตุ ร สามี ภรรยา ญาติ พ่ีน้องหรอื บุคคลอ่ืน ใดท่รี ับดแู ลหรือรบั อปุ การะคนพกิ าร “แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล” หมายความว่า แผนซ่ึงกาหนด แนว ทางการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพิการ ตลอดจนกาหนดเทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก สื่อ บรกิ าร และความชว่ ยเหลอื อ่นื ใดทางการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล
1430 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนินการคดั กรองคนพิการทางการศึกษา\" ๔ “เทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวก” หมายความว่า เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรือบริการ ท่ีใช้สาหรับคนพิการโดยเฉพาะ หรือท่ีมีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพกิ าร แต่ละบุคคล เพื่อเพ่ิม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพท่ีจะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถงึ กจิ กรรมอ่ืนใดในชวี ิตประจาวันเพอ่ื การดารงชีวติ อิสระ “ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไปและ ปฏิบตั หิ น้าท่ีในสถานศึกษาท้ังของรัฐและเอกชน “การเรียนร่วม” หมายความว่า การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปทุกระดับและ หลากหลายรปู แบบรวมถงึ การจดั การศึกษาให้สามารถรองรับการเรยี นการสอนสาหรบั คนทุกกลุม่ รวมท้งั คนพิการ “สถานศึกษาเฉพาะความพิการ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนท่ีจัดการศึกษาสาหรับ คนพกิ ารโดยเฉพาะทงั้ ในลกั ษณะอย่ปู ระจาไป - กลบั และรบั บรกิ ารท่บี ้าน “ศูนย์การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่ คนพิการ ต้ังแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต และจัดการศึกษาอบรมแก่ผู้ปกครองคนพิการ ครู บุคลากรและชุมชน รวมทั้งการจัดสื่อ เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก บริการและความช่วยเหลืออื่นใด ตลอดจนปฏบิ ตั หิ น้าท่ีอ่ืนตามที่กาหนดในประกาศกระทรวง มาตรา ๕ คนพกิ ารมีสิทธิทางการศึกษาดังน้ี (๑) ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิตพร้อมทั้งได้รับ เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความสะดวก สือ่ บริการและความช่วยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษา (๒) เลือกบริการทางการศึกษาสถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา โดยคานึงถึงความสามารถ ความสนใจความถนัดและความตอ้ งการจาเป็นพิเศษของบุคคลนัน้ (๓) ได้รับการศึกษาท่ีมีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา ทเ่ี หมาะสมสอดคลอ้ งกบั ความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของคนพิการแตล่ ะประเภทและบุคคล มาตรา ๖ ให้ครูการศึกษาพิเศษในทุกสังกัดมีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษตามที่กฎหมายกาหนด ให้ครูการศึกษาพิเศษ ครู และคณาจารย์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ องค์ความรู้การศึกษาต่อเน่ืองและ ทักษะในการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ ทัง้ น้ี ตามหลกั เกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกาหนด มาตรา ๘ ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล โดยให้สอดคล้องกับความต้องการ จาเป็นพิเศษของคนพิการ และต้องมีการปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลอย่างน้อยปีละหน่ึงครั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่กาหนดในประกาศกระทรวง ให้ส ถานศึกษาในทุกสั ง กัด แล ะ ศูนย์ การเ รียนเฉ พ าะ คว าม พิ การ อาจจั ดก ารศึ กษ าส าหรับ คน พิ ก า ร ท้ังในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ในรูปแบบท่ีหลากหลายทั้งการเรียนร่วม การจัดการศึกษาเฉพาะความ พิการรวมถึงการให้บริการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ การพัฒนาศักยภาพในการดารงชีวิตอิสระการพัฒนาทักษะพื้นฐานท่ี จาเป็น การฝึกอาชีพ หรือการบริการอื่นใดให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดสภาพแวดล้อม ระบบสนับสนุนการเรียน การสอน ตลอดจนบริการเทคโนโลยี สง่ิ อานวยความสะดวก สอื่ บรกิ ารและความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ท่ี คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษา ให้ถือเป็นการเลือก ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามกฎหมายให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุน ผู้ปกครองคนพิการและ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๕ 5 ประสานความรว่ มมือจากชุมชนหรอื นักวิชาชีพเพอ่ื ให้คนพิการไดร้ ับการศึกษาทุกระดับหรือบริการทางการศึกษาที่ สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นพิเศษของคนพกิ ารเกย่ี วกับท้องถิ่น มาตรา ๑๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการให้ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติ เทศบญั ญัติ ข้อกาหนด ระเบยี บหรอื ประกาศ แลว้ แต่กรณี ใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๑๙ ให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีหน้าที่ดาเนินการจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัดการเรียนร่วม การนิเทศ กากับ ติดตาม เพ่ือให้คนพิการได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพตามท่ีกฎหมายกาหนด เพ่ือให้ การดาเนนิ การบรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามวรรคหนึ่ง ใหส้ านกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พืน้ ฐานให้การสนับสนุน ทรพั ยากร องค์ความรู้และบุคลากรทีม่ คี วามเช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นแกส่ านกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ๔. พระราชบัญญัติส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ เจตนารมณ์ เพ่ือมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุสภาพทางกายหรือสุขภาพ รวมท้ังให้คนพิการมีสิทธิ ไดร้ บั สงิ่ อานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความชว่ ยเหลืออ่ืนจากรฐั ตลอดจนให้รฐั ต้องสงเคราะห์คนพิการ ใหม้ ีคุณภาพชีวติ ทด่ี ีและพึ่งตนเองได้ ตามพระราชบญั ญัติ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี “คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไปมีส่วน ร่วมทางสังคม เน่ืองจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคล่ือนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในดา้ นต่างๆ และมีความจาเป็น เปน็ พเิ ศษท่ีจะต้องไดร้ บั ความชว่ ยเหลือด้านหนึง่ ด้านใด เพื่อใหส้ ามารถปฏิบัติกิจกรรมในชวี ิตประจาวันหรือเข้าไป มีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลท่ัวไป ทั้งน้ี ตามประเภทและหลักเกณฑ์ท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนา สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ประกาศกาหนดตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ความพกิ าร(ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๕๕๕ “ข้อ ๓ ใหก้ าหนดประเภทความพิการดงั น้ี (๑) ความพกิ ารทางการเหน็ (๒) ความพกิ ารทางการได้ยินหรอื สอ่ื ความหมาย (๓) ความพกิ ารทางการเคล่อื นไหวหรือทางรา่ งกาย (๔) ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม (๕) ความพิการทางสติปญั ญา (๖) ความพิการทางการเรียนรู้ (๗) ความพกิ ารทางออทสิ ติก” ให้ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเป็นผู้ตรวจวนิ จิ ฉัยและออกใบรับรองความพิการ เพื่อประกอบ คาขอมีบัตร ประจาตัวคนพิการ เว้นแต่นายทะเบียนเห็นว่าเป็นความพิการท่ีมองเห็นได้โดยประจักษ์ไม่ต้องให้มีการตรวจ วนิ ิจฉยั ก็ได้ “การฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ” หมายความว่า การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถของคน พิการให้มีสภาพท่ีดีขึ้น หรือดารงสมรรถภาพหรือความสามารถที่มีอยู่เดมิ ไว้ โดยอาศัยกระบวนการทางการแพทย์
1630 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๖ การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรือกระบวนการอ่ืนใด เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทางานหรือดารงชีวิตใน สังคมอย่างเต็มศกั ยภาพ... มาตรา ๑๕ การกาหนดนโยบาย กฎ ระเบยี บ มาตรการโครงการหรือวิธีปฏิบัติของหนว่ ยงานของรฐั องค์กรเอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะท่ีเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการจะกระทามิได้ การกระทาในลักษณะท่ี เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึงการกระทาหรืองดเว้นกระทา การท่ีแม้จะมิได้มุ่งหมายให้เป็นการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการโดยตรง แต่ผลของการกระทาน้ันทาให้คนพิการต้อง เสียสิทธิประโยชน์ท่ีควรจะได้รับเพราะเหตุแห่งความพิการด้วยการเลือกปฏิบัติท่ีมีเหตุผลทางวิชาการ จารีต ประเพณีหรือประโยชน์สาธารณะสนับสนุนให้กระทาได้ตามความจาเป็นและสมควรแก่กรณี ไม่ถือเป็นการเลือก ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง แต่ผู้กระทาการน้ันจะต้องจัดให้มีมาตรการช่วยเหลือเยียวยา หรอื รกั ษาซงึ่ สทิ ธหิ รือประโยชนแ์ กค่ นพิการตามความจาเปน็ เท่าท่จี ะกระทาได้ มาตรา๑๙ เพ่ือประโยชน์ในการได้รับสิทธิตามมาตรา ๒๐ คนพิการอาจยื่นคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการต่อนาย ทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนจังหวดั ณ สานักงานทะเบียนกลาง สานักงานทะเบยี นจังหวดั หรือสถานท่ีอ่ืนตาม ระเบยี บทีค่ ณะกรรมการกาหนดกรณีท่ีคนพิการเป็นผเู้ ยาว์ คนเสมือนไร้ความสามารถหรือคนไร้ความสามารถหรือ ในกรณีท่ีคนพิการมีสภาพความพิการถึงขั้นไม่สามารถไปย่ืนคาขอด้วยตนเองได้ ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาลหรอื ผู้ปกครองคนพิการ แล้วแต่กรณี จะยื่นคาขอแทนก็ได้ แต่ต้องนาหลักฐานวา่ เปน็ คนพิการไปแสดงต่อนายทะเบยี น กลางหรือนายทะเบียนจังหวัด แล้วแต่กรณีด้วยการย่ืนคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการและการออกบัตร การ กาหนดสิทธิหรอื การเปล่ยี นแปลงสิทธิ การขอสละสทิ ธิของคนพกิ าร และอายบุ ัตรประจาตวั คนพกิ ารให้เป็นไปตาม หลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขทีค่ ณะกรรมการกาหนดในระเบียบ (บัตรประจาตัวคนพิการมอี ายุ 8 ปี) มาตรา ๒๐ คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากส่ิงอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะตลอดจน สวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ดังต่อไปน้ี (๑) ...........(๒) การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติหรือแผนการศึกษาแห่งชาติตามความเหมาะสมในสถานศึกษาเฉพาะหรือในสถานศึกษาทั่วไป หรือ การศึกษาทางเลือก หรือการศึกษานอกระบบโดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับสิ่งอานวยความสะดวกส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่นื ใดทางการศกึ ษาสาหรบั คนพิการให้การสนับสนุนตามความเหมาะสม
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนินการคดั กรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๗ 7 ๕. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลระดับ การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒ เจตนารมณ์ เพ่ือให้คนพิการได้รับบริการทางการศึกษาโดยการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP) สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และได้รับส่ิงอานวยความสะดวก ส่ือ บริการและความ ชว่ ยเหลอื อื่นใดทางการศกึ ษา สาหรับคนพิการ ตอ้ งประกอบดว้ ยองค์ประกอบและกระบวนการในการจดั ทา ข้อ ๓ คนพิการท่ีประสงค์จะขอรับเงินอุดหนุนทางการศึกษา ขอยืมสิ่งอานวยความสะดวกและส่ือทางการศึกษา และขอยืมเงินเพื่อจัดซ้ือและขอรับส่ิงอานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา จะตอ้ งมคี ุณสมบัติ ดงั ต่อไปนี้ (๑) มีถ่นิ ทอ่ี ยใู่ นประเทศไทย (๒) มคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษทางการศึกษา ตามทีก่ าหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (๓) ลงทะเบยี นและเขา้ ศึกษาในสถานศึกษา ขอ้ ๔ กระบวนการจดั ทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล อยา่ งนอ้ ยต้องประกอบดว้ ย (๑) จดั ประเมนิ ระดบั ความสามารถและความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล (๒) กาหนดเปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี เปา้ หมายระยะส้ันหรอื จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ๖. ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ครูการศึกษาพิเศษ ครูและคณาจารย์ ได้รับการส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพในการจัดการศกึ ษา สาหรบั คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๒ เจตนารมณ์ การจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ ครูการศึกษาพิเศษ ครูและคณาจารย์ เป็นผู้ที่มีความสาคัญและ มีความเสยี สละ สมควรไดร้ บั การสง่ เสริมและพฒั นาศักยภาพในการจดั การศึกษาสาหรับคนพิการ ขอ้ ๓ ในประกาศนี้ “ครู” หมายความว่า บุคลากรซ่ึงประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ ของผเู้ รียนด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ในสถานศกึ ษาทีจ่ ดั การศกึ ษาระดบั ตา่ กว่าปริญญา “ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูท่ีมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีข้ึนไปและ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในสถานศกึ ษาทัง้ ของรฐั และเอกชน “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาในทุกระดับหรือหน่วยงานการศึกษาอื่นทั้งของ รฐั และเอกชนท่ีมีคนพกิ ารเข้าเรียนหรือท่พี ฒั นาบุคลากรทางการศึกษาสาหรับคนพิการ ข้อ ๔ ให้ครูการศึกษาพิเศษ ครูและคณาจารย์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้การศึกษาต่อเนื่อง และทักษะในการจดั การศึกษาสาหรับคนพิการ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ได้รับการฝึกอบรมหรือพัฒนาให้มีทักษะเฉพาะในการจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการแต่ละประเภทอยา่ ง นอ้ ยปีละหนงึ่ คร้ัง (๒) ได้รบั การพฒั นาศกั ยภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชีพอยา่ งน้อยสามปตี ่อคร้ัง
1830 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๘ (๓) ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ได้รับการศึกษาต่อเน่ืองทางด้านการศึกษาพิเศษหรือพัฒนาองค์ความรู้ทาง การศึกษาพิเศษทสี่ ูงกวา่ ระดับปรญิ ญาตรี (๔) ส่งเสรมิ และพัฒนาด้านอ่นื ๆ ตามความเหมาะสมและความจาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ ขอ้ ๕ เพื่อประโยชนใ์ นการจัดการศึกษาสาหรับคนพกิ าร การดาเนนิ การตามข้อ ๔ ให้มีหลกั เกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ (๑) การฝึกอบรมหรือพัฒนาให้มีทักษะเฉพาะในการจัดการศึกษาตาม (๑) ของข้อ ๔ ต้องเป็นหลักสูตร กลางที่คณะกรรมการได้กาหนดไว้ตามความเหมาะสมและมีลัก ษณะเฉพาะเพื่อคนพิการแต่ละประเภท และ สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้นาหลักสูตรกลางดังกล่าวไปใช้การฝึกอบรมหรือพัฒนานั้น ในการน้ี หาก คณะกรรมการเห็นว่าสถานศึกษาหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องใดได้กาหนดหลักสูตรข้ึนเองมีความเหมาะสม คณะกรรมการก็สามารถให้ความเห็นชอบและถือเป็นหลักสูตรท่ีใช้ฝึกอบรมหรือพฒั นานน้ั ได้ (๒) การพัฒนาศักยภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพตาม (๒) ของข้อ ๔ ต้องเป็นหลักสูตรซึ่ง หน่วยงานท่ีรับผิดชอบได้จัดทาขึ้นเพ่ือใช้ในการฝึกอบรมเป็นการเฉพาะ โดยหลักสูตรนั้นจะต้องมีลักษณะตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชพี การศึกษาพิเศษ ซ่งึ มจี ดุ มุ่งหมายและวัตถุประสงค์รวมทัง้ โครงสรา้ งหลกั สูตรการ ฝกึ อบรมทปี่ ระกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัตติ ลอดจนมีการวดั และประเมินผลตามหลักสตู รนั้น ๗. นโยบายและจดุ เน้นสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน เก่ยี วกับการศกึ ษาคนพิการ เจตนารมณ์ นกั เรียนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ นักเรยี น ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และนักเรียนพิการในโรงเรียน เรียนร่วม ได้รับการพัฒนาอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าประสงค์ผลผลิต จดุ มุ่งหมาย จุดเนน้ การดาเนนิ งานกลยุทธ์ปัจจัยส่คู วามสาเร็จ วิสัยทศั น์ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เป็นองค์กร หลกั ขับเคล่ือนการจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานของ ประเทศไทย สูม่ าตรฐานสากล พรอ้ มกา้ วสู่ประชาคมอาเซียนบนพื้นฐานของความเป็นไทย พันธกจิ พัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้ประชากรวัยเรียนทุกคน ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป็นไทยและห่างไกลยา เสพติด มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสู่คุณภาพ ระดับมาตรฐานสากลด้วยการ บริหารจัดการแบบมีส่วนรว่ มและกระจายอานาจตามหลักธรรมาภบิ าล เป้าประสงค์ ๑. ผู้เรยี นทุกคนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐานและพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลิศ ๒. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ต้ังแต่อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อยา่ งมคี ุณภาพทั่วถึงและเสมอภาค ๓. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏบิ ตั งิ าน ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพเต็มตามศกั ยภาพ ๔. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งตามหลักธรรมาภิบาลและเป็นกลไก ขับเคล่ือนการศึกษาข้นั พน้ื ฐานสคู่ ุณภาพระดบั มาตรฐานสากล
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนินการคดั กรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๙ 9 ๕. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ส่วนกลางลดบทบาทและกระจายอานาจสู่สานักงานเขต พื้นทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษา รวมทั้งบูรณาการการทางานภายในสานกั ตา่ งๆ ๖. เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรมีความ ปลอดภยั และมั่นคง จุดมงุ่ หมาย เพ่อื มุ่งส่วู สิ ัยทัศน์ดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน จึงกาหนดจุดมงุ่ หมาย ๕ ประการ คือ ๑. การยกระดบั คุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล ๒. การลดความเหล่ือมลา้ และเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษา ๓. ผู้บรหิ ารโรงเรยี นและครูมีศักยภาพอย่างสูงดา้ น การจัดการเรียนรู้ ๔. สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษาปฏบิ ตั ิงาน ตามบทบาทหนา้ ทีอ่ ย่างเข้มแขง็ ๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในส่วนกลาง ลดบทบาทและกระจายอานาจการบริหาร จดั การ รวมทั้งบูรณาการการทางาน การลดความเหลอื่ มลา้ และเพมิ่ โอกาสทางการศึกษา ๑. ............ ๒. ............ ๓. นักเรียนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ นักเรียน ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และนักเรียนพิการ ในโรงเรยี น เรยี นร่วม ได้รบั การพฒั นาอย่างท่ัวถึงและมคี ุณภาพ ผู้บรหิ ารโรงเรยี นและครูมีศักยภาพอย่างสูงดา้ นการจดั การเรยี นรู้ โดยมุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนและครูให้ยึดม่ัน ในจรรยาบรรณ มีศักยภาพสูง ด้านการจัดการเรียนรู้ ให้ประสบผลสาเร็จโดยเน้นการจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษา รวมท้ังการส่งเสริมให้มีการระดมทรัพยากรจาก องค์กรตา่ งๆ เพอื่ พฒั นาครูและผ้บู รหิ ารตามความต้องการจาเป็นในระหว่างวันหยุดหรือปดิ ภาคเรียน ผลผลติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ยงั คงผลผลิตเดิมจานวน ๖ ผลผลติ ได้แก่ ๑) ผจู้ บการศึกษากอ่ นประถมศึกษา ๒) ผจู้ บการศกึ ษาภาคบงั คบั ๓) ผ้จู บการศกึ ษามัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๔) เดก็ พิการได้รบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานและพฒั นา สมรรถภาพ ๕) เดก็ ด้อยโอกาสไดร้ บั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ๖) ผ้ทู ม่ี คี วามสามารถพิเศษได้รับการพฒั นาศกั ยภาพโดยมหี น่วยกากับ ประสานส่งเสรมิ การจัดการศึกษา คือ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา จานวน ๑๘๓ เขตสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา จานวน ๔๒ เขต และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษซ่ึงมีสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นหน่วยปฏิบัติการการจัดการศึกษา เพื่อให้ภารกิจดังกล่าวสามารถตอบสนองสภาพปัญหาและรองรับการขับเคล่ือนนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและ นโยบายรัฐบาล
1300 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๑๐ ปัจจัยสคู่ วามสาเรจ็ ข้อ ๔. การกระจายโอกาสทางการศึกษา โดยคานึงถึง การสร้างความเสมอภาคและความเป็นธรรมแก่ ประชาชนทุกกลุม่ 8. ประกาศคณะกรรมการพิจารณาให้คนพิการได้รับสิทธิช่วยเหลือทางการศึกษา เรื่องกาหนด หลักเกณฑ์ และวิธีการ การรับรองบคุ คลของสถานศกึ ษาวา่ เป็นคนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖ เจตนารมณ์ เพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิโอกาสทางการศึกษา ในสถานศึกษาตามสภาพความพิการและศักยภาพโดยเรว็ และใหม้ โี อกาสไดร้ ับการวินจิ ฉัยจากแพทยเ์ พื่อให้สามารถรบั การศึกษาอย่างเหมาะสมต่อไป ประกอบดว้ ย -ประกาศคณะกรรมการพิจารณาให้คนพิการได้รับสิทธิช่วยเหลือทางการศึกษา เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธกี าร การรบั รองบุคคล ของสถานศึกษาว่าเป็นคนพกิ าร - แบบคดั กรองคนพกิ ารทางการศึกษา เอกสารแก้ไขแบบฯพฤตกิ รรมและอารมณ์ - หลักสูตรการอบรมผู้ดาเนินการคัดกรอง และเอกสารเพม่ิ เตมิ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนินการคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๑๑ 11 ใบงาน หน่วยท่ี ๑ สิทธิคนพิการและกฎหมายท่เี กยี่ วข้อง ชอื่ - สกลุ (ผู้เข้ารับการอบรม)................................................................................................ เลขท.ี่ .................... คาช้แี จง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑. บอกชื่อกฎหมายที่ตราขึ้นมาเพ่ือรองรับเกี่ยวกับการศึกษาสาหรับคนพิการตามรัฐธรรมนูญ อย่างน้อย ๒ ช่ือ (๑๐ คะแนน) .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................. ........................................................... ๒. บอกสิทธิของคนพิการทางการศึกษา ตามกฎหมายใดก็ได้ โดยบอกช่ือกฎหมายและยกตัวอย่างสิทธิตาม กฎหมายนน้ั (๒๐ คะแนน) ....................................................................................................... ............................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ๓. ช้ีแจงบทบาทหนา้ ทขี่ องตวั ทา่ นและผู้เกีย่ วข้องในการจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ ารในหน่วยงานของตัวท่านตาม กฎหมาย ๓.๑ ตัวท่าน (๑๐ คะแนน) .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ๓.๒ ผ้เู กีย่ วข้อง (๑๐ คะแนน) .................................................................................................................................................................. .................. ............................................................................................................................................... ..................................... ....................................................................................................................................................................................
1320 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๑๒ แบบสรปุ องคค์ วามรู้ หน่วยที่ ๑ สิทธิคนพิการและกฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง ชือ่ - สกลุ (ผเู้ ข้ารับการอบรม)................................................................................................ เลขท.่ี .................... คาชี้แจง ใหท้ ่านสรุปองค์ความรู้ หนว่ ยที่ ๑ ในลักษณะของการเขียนแผนท่ีความคิด (Mind Map) หรอื แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๑๓ 13 เอกสารประกอบการอบรม หนว่ ยท่ี ๒ ประเภทคนพกิ ารทางการศกึ ษาตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓ และมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษาไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคน พิการทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๒” ขอ้ ๒ ประเภทของคนพิการ มีดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเห็น (๒) บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน (๓) บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา (๔) บคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสขุ ภาพ (๕) บุคคลทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ (๖) บคุ คลทม่ี คี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา (๗) บคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรม หรอื อารมณ์ (๘) บุคคลออทสิ ติก (๙) บคุ คลพิการซ้อน ข้อ ๓ การพิจารณาบุคคลทีม่ คี วามบกพร่องเพื่อจัดประเภทของคนพิการ ใหม้ ีหลกั เกณฑ์ดังตอ่ ไปน้ี (๑) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ได้แก่ บุคคลท่ีสูญเสียการเห็นต้ังแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงตาบอด สนิท ซ่งึ แบง่ เป็น ๒ ประเภทดังน้ี (๑.๑) คนตาบอด หมายถึง บคุ คลท่ีสูญเสียการเห็นมาก จนตอ้ งใชส้ ่ือสัมผัสและส่ือเสียงหากตรวจวัด ความชัดของสายตาข้างดีเมื่อแก้ไขแล้ว อยู่ในระดับ ๖ ส่วน ๖๐ (๖/๖๐) หรือ ๒๐ ส่วน ๒๐๐(๒๐/๒๐๐) จนถึงไม่ สามารถรับรู้เรื่องแสง (๑.๒) คนเหน็ เลือนราง หมายถงึ บคุ คลท่ีสญู เสยี การเห็น แต่ยงั สามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ขยายใหญ่ ดว้ ยอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ หรอื เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก หากวัดความชดั เจนของสายตาขา้ งดีเม่ือ แก้ไขแลว้ อยูใ่ นระดับ ๖ ส่วน ๑๘ (๖/๑๘) หรอื ๒๐ สว่ น ๗๐(๒๐/๗๐) (๒) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ได้แก่ บุคคลที่สูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับหูตึงน้อยจนถึง หูหนวก ซ่ึงแบง่ เป็น ๒ ประเภท ดงั นี้ (๒.๑) คนหูหนวก หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถเข้าใจการพูดผ่านทางการได้ยิน ไมว่ า่ จะใส่หรอื ไม่ใสเ่ คร่ืองช่วยฟัง ซ่งึ โดยทัว่ ไปหากตรวจการไดย้ ินจะมีการสูญเสียการไดย้ ิน ๙๐ เดซเิ บลข้ึนไป (๒.๒) คนหตู งึ หมายถงึ บุคคลทม่ี กี ารได้ยนิ เหลืออยเู่ พียงพอที่จะได้ยินการพูดผ่านทางการไดย้ ิน โดยท่วั ไป จะใสเ่ ครื่องช่วยฟงั ซง่ึ หากตรวจวัดการไดย้ ินจะมกี ารสญู เสียการได้ยินนอ้ ยกว่า ๙๐ เดซเิ บลลงมาถงึ ๒๖ เดซเิ บล
1340 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๑๔ (๓) บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ได้แก่ บุคคลท่ีมีความจากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบัติตน (Functioning) ในปจั จุบนั ซง่ึ มีลักษณะเฉพาะ คอื ความสามารถทางสติปัญญาต่ากวา่ เกณฑ์ เฉล่ียอย่างมีนัยสาคัญร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย ๒ ทักษะจาก ๑๐ ทักษะ ได้แก่ การ สื่อความหมาย การดูแลตนเอง การดารงชีวิตภายในบ้านทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน การรู้จักใช้ ทรัพยากรในชุมชน การรู้จักดูแลควบคุมตนเอง การนา ความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวัน การทางาน การใช้เวลาว่าง การรกั ษาสขุ ภาพอนามยั และความปลอดภัย ท้ังน้ีไดแ้ สดงอาการดงั กล่าวก่อนอายุ ๑๘ ปี (๔) บคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย หรอื การเคล่อื นไหว หรอื สุขภาพ ซงึ่ แบ่งเปน็ ๒ ประเภท ดงั นี้ (๔.๑) บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคล่ือนไหว ได้แก่ บุคคลท่ีมีอวัยวะไม่สมส่วนหรือขาด หายไป กระดกู หรือกลา้ มเนือ้ ผิดปกติ มอี ปุ สรรคในการเคลอ่ื นไหวความบกพร่องดังกลา่ วอาจเกดิ จากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกลา้ มเนื้อและกระดกู การไม่สมประกอบมาแตก่ าเนดิ อุบัติเหตุและโรคติดต่อ (๔.๒) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลท่ีมีความเจ็บป่วยเรื้อรังหรือมีโรคประจาตัว ซ่ึงจาเป็นต้องได้รับการรกั ษาอย่างต่อเนื่อง และเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผลทาให้เกิดความจาเปน็ ต้องไดร้ บั การศึกษาพิเศษ (๕) บุคคลทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ บคุ คลทม่ี คี วามผดิ ปกติในการทางานของสมองบางส่วนทแี่ สดงถึง ความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้ที่อาจเกิดข้ึนเฉพาะความสามารถด้านใดด้านหน่ึงหรอื หลายด้าน คือ การอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ซึง่ ไม่สามารถเรยี นรใู้ นด้านทีบ่ กพรอ่ งได้ ทงั้ ทม่ี รี ะดับสติปญั ญาปกติ (๖) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการพูดและภาษา ได้แก่ บุคคลท่ีมีความบกพร่องในการเปล่งเสียงพูด เช่น เสียง ผิดปกติ อัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ในเรื่องความเข้าใจหรือการใชภ้ าษาพูด การ เขียนหรือระบบสัญลกั ษณ์อ่นื ท่ีใชใ้ นการตดิ ต่อสื่อสาร ซงึ่ อาจเกยี่ วกับรูปแบบ เนื้อหาและหน้าทข่ี องภาษา (๗) บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ได้แก่ บุคคลที่มีพฤติกรรมเบ่ียงเบนไปจากปกติ เป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเป็นไปอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องหรือความผิดปกติ ทางจติ ใจหรือสมองในส่วนของการรับรู้ อารมณห์ รือความคดิ เช่น โรคจิตเภท โรคซมึ เศร้า โรคสมองเสอื่ ม เปน็ ตน้ (๘) บุคคลออทิสติก ได้แก่ บุคคลท่ีมีความผิดปกติของระบบการทางานของสมองบางส่วนซ่ึงส่งผลต่อ ความบกพร่องทางพัฒนาการด้านภาษา ด้านสังคมและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และมีข้อจากัดด้านพฤติกรรม หรือมีความสนใจจากัดเฉพาะเร่ืองใดเรอื่ งหนง่ึ โดยความผิดปกติน้ันคน้ พบไดก้ ่อนอายุ ๓๐ เดอื น (๙) บุคคลพิการซ้อน ได้แก่ บุคคลท่ีมีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่าหนึ่งประเภทในบุคคล เดยี วกนั ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จุรินทร์ ลกั ษณวิศิษฏ์ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๑๕ 15 ใบงาน หนว่ ยที่ ๒ ประเภทคนพิการทางการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร ชอื่ - สกลุ (ผเู้ ขา้ รับการอบรม)................................................................................................ เลขท.ี่ .................... คาช้ีแจง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑. ลักษณะเดน่ ของเดก็ ท่ีมคี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน : เด็กหูตึง มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................................. ....... .................................................................................................................................................................................... ๒. ท่านคิดวา่ เด็กทมี่ คี วามบกพร่องทางสติปัญญากับเด็กที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้แตกตา่ งกนั อย่างไร .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................... .... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................... ............................................ ... ๓. ลกั ษณะเด่นของเด็กออทสิ ติกมีอะไรบา้ ง ................................................................................ .............................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. .......................................................
1360 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๑๖ แบบสรปุ องคค์ วามรู้ หนว่ ยที่ ๒ ประเภทคนพิการทางการศึกษาตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ ชอื่ - สกุล (ผู้เข้ารบั การอบรม)................................................................................................ เลขท.่ี .................... คาช้แี จง ใหท้ ่านสรุปองค์ความรู้ หน่วยที่ ๒ โดยเขยี นเป็นแผนท่คี วามคดิ (Mind Map)
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๑๗ 17 เอกสารประกอบการอบรม หน่วยที่ ๓ การใช้แบบคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พจิ ารณาใหค้ นพกิ ารไดร้ บั สทิ ธิชว่ ยเหลือทางการศึกษาเรื่อง กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธกี าร การรับรองบคุ คลของสถานศึกษาว่าเป็นคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ หน่วยยอ่ ยท่ี ๓.๑ การใชแ้ บบคดั กรองบคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเห็น เอกสารความรู้ บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการเหน็ ความหมายของบคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเห็น หมายถึง บคุ คลที่สูญเสียการเห็นต้งั แตร่ ะดับเล็กนอ้ ยจนถึงตาบอดสนิท ซึง่ แบง่ เป็น ๒ ประเภทดังนี้ (๑.๑) คนตาบอด หมายถึง บุคคลท่ีสูญเสียการเห็นมาก จนต้องใช้สื่อสัมผัสและส่ือเสียง หากตรวจวัด ความชัดของสายตาข้างดีเม่ือแก้ไขแล้ว อยู่ในระดับ ๖ ส่วน ๖๐ (๖/๖๐) หรือ ๒๐ ส่วน ๒๐๐ (๒๐/๒๐๐) จนถึงไมส่ ามารถรับรูเ้ รอ่ื งแสง (๑.๒) คนเหน็ เลือนราง หมายถึง บุคคลท่สี ูญเสยี การเห็น แต่ยงั สามารถอ่านอกั ษร ตัวพมิ พ์ ขยายใหญ่ด้วยอุปกรณ์เคร่ืองช่วยความพิการ หรือเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวก หากวัดความชัดเจนของ สายตาข้างดเี มอ่ื แก้ไขแลว้ อยใู่ นระดบั ๖ สว่ น ๑๘ (๖/๑๘) หรือ ๒๐ สว่ น ๗๐ (๒๐/๗๐) (ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเร่อื งการกาหนดประเภทและหลักเกณฑข์ องคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒)
1380 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด ําเนินการคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๑๘ แบบสรปุ องค์ความรู้ หน่วยที่ ๓ การใช้แบบคดั กรองคนพิการทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พิจารณาให้คนพิการได้รบั สทิ ธิช่วยเหลอื ทางการศกึ ษาเร่ือง กาหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการ การรบั รองบุคคลของสถานศึกษาวา่ เปน็ คนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ หนว่ ยย่อยท่ี ๓.๑ การใชแ้ บบคัดกรองบคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเห็น ช่ือ - สกลุ (ผู้เขา้ รบั การอบรม)................................................................................................ เลขท.่ี .................... คาชี้แจง ให้ท่านสรุปองค์ความรู้ หน่วยย่อยที่ ๓.๑ ในลักษณะของการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) หรือ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๑๙ 19 ใบงาน : กรณีศึกษา กิจกรรมที่ปฏิบัติ : ให้ท่านศึกษาพฤติกรรมของเด็กต่อไปนี้ แล้วคัดกรองเด็ก โดยเลือกใช้แบบคัดกรองท่ีตรงกับ พฤติกรรม พรอ้ มระบุวา่ เดก็ หญิงรานา สดี า มคี วามบกพรอ่ งประเภทใด เด็กหญิงรานา สีดา เกิดวนั ที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พบว่ามเี ป็นเด็กท่ีไม่ชอบสบตา ไม่คอ่ ยพูดและมักก้ม ศีรษะ มองสิ่งของ หนังสือ รูปภาพหรือนาเข้ามาดูใกล้ๆ ตา ขณะอ่านหนังสือมักจะอ่านซ้าบรรทัดหรืออ่านข้าม บรรทัด มักใชม้ อื เพ่อื สารวจ/หาส่งิ ของ ควบค่กู ับการใช้สายตา หรตี่ า กระพรบิ ตา ขยี้ตา กดตา เมื่อใชส้ ายตามากๆ มักมอี าการ ปวดตา คนั ตา บ่อยๆ มองเห็นส่ิงของเคล่ือนไหวไปมา นอกจากนี้ในระหว่างเรียน ยังพบพฤติกรรมท่ีแสดงออกดังน้ี บอกสีเขียวกับสีฟ้าว่าเป็นสีเดียวกัน หรือสี แดงกับสสี ม้ เปน็ สีเดยี วกัน เม่อื ดูป้ายขอ้ ความ รปู ภาพ วัตถุสง่ิ ของต่างๆ ตามป้ายประกาศของโรงเรียนต้องเข้าไปดู ใกล้ๆ ตดิ ตา …………………......……………………………… ตวั อยา่ งการคานวณอายุ ปี เดือน วนั ๑ ๑ วนั ที่ประเมิน ๑ มกราคม ๒๕๖๕ = ๒๕๖๕ ๓๐ ๐ ๓๑ ยืม ๑ เดอื น มา ๓๐ วัน ๑๒ ๓๑ ๑๒ ๓๑ ๒๕๖๕ ๑ ๒ ๑๑ ๒๙ ยมื ๑ ปี มา ๑๒ เดอื น ๒๕๖๕ ๑๑ (๒๙) ใสว่ งเล็บ ๑๑ ๒๕๖๔ - ไมใ่ สว่ นั ปัดเศษขึน้ วันเกิด ๒ มกราคม ๒๕๕๗ = ๒๕๕๗ อายทุ ่ีได้ =๗ การกรอกข้อมลู แบบ ๑ =๗ หรือ แบบ ๒ =๗ หรอื แบบ ๓ =๘ เพ่ือประโยชน์ของผ้เู รียนสามารถเลือกกรอก ได้ ๓ แบบ
12300 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด าํ เนินการคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ประเมนิ ครั้งที่ ............................ ๒๐ แบบคดั กรองบุคคลท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเห็น ชอื่ - นามสกุล (ด.ช. / ด.ญ. / นาย / นางสาว)..................................................................................................... วนั เดือน ปี เกดิ ...........................................................................อายุ ............................ ปี ........................เดอื น ระดับช้นั ..............................................................วนั เดอื น ปี ที่ประเมนิ ............................................................... คาช้แี จง ๑. แบบคดั กรองฉบับน้ีเป็นแบบคดั กรองเพ่ือประโยชน์ในทางการจัดการศกึ ษาเทา่ น้นั ๒. วเิ คราะหล์ กั ษณะ/พฤติกรรม ของเดก็ ซ่งึ เป็นลักษณะหรือพฤติกรรม ท่ีเดก็ แสดงออกบ่อยๆ โดยใหท้ า เครอื่ งหมาย /ลงในชอ่ ง “ ใช่ ” หรือ “ไมใ่ ช่ ” ท่ีตรงกับลักษณะหรือพฤติกรรมน้ันๆ ของเดก็ ๓. ผทู้ าการคัดกรองเบอ้ื งต้นต้องผ่านการอบรมวิธีการใช้และการประเมนิ ตามแบบคัดกรองนี้และควรสอบถาม ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ จากผู้ท่ีอยู่ใกลช้ ดิ เดก็ มากที่สุด เช่น ผปู้ กครองหรือครู เพื่อใหเ้ กิดความชดั เจน ถูกตอ้ ง ๔. ผ้คู ัดกรองควรจะมีอย่างน้อย ๒ คนขึ้นไป ท่ี ลกั ษณะ / พฤตกิ รรม ผลการวเิ คราะห์ ใช่ ไมใ่ ช่ ๑ มักก้มศีรษะมองสงิ่ ของ หนงั สือ รปู ภาพหรอื นาเขา้ มาดูใกล้ๆ ตา ๒ เมอื่ ดูปา้ ยขอ้ ความ รูปภาพ วัตถสุ ง่ิ ของตา่ งๆ ตามสาธารณะ ต้องเขา้ ไปดูใกลๆ้ ๓ ขณะอา่ นหนังสือ มกั จะอ่านซ้าบรรทัดเดิม หรอื อ่านข้ามบรรทัด ๔ มักใชป้ ระสาทสมั ผสั สว่ นอ่นื เพือ่ สารวจ / หาส่งิ ของ ควบค่กู บั การใช้สายตา ๕ บอกรายละเอยี ดของภาพหรือสิ่งของไม่ได้ ๖ เดินดว้ ยความระมัดระวงั กวา่ ปกติ เดนิ ไมค่ ล่องตัว มกั ชนและสะดดุ วัตถุ ๗ หร่ีตา กระพรบิ ตา ขยตี้ า กดตา เม่อื ใชส้ ายตามากๆ ๘ เคลอื่ นศีรษะไปมา เพื่อหาจุดที่มองเห็นชัดที่สุด ๙ มกั มีอาการปวดศรี ษะ ปวดตา ตาลาย คันตา มองเห็นสงิ่ ของเคล่อื นไหวไปมา ๑๐ บอกความแตกตา่ งของสที ่ีใกล้เคียงกนั หรอื สีที่ไมต่ ัดกนั ไม่ได้ เช่น สเี ขียว กับสฟี ้า สแี ดงกับสสี ม้
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๒๑ 21 เกณฑ์การพจิ ารณา ถ้าตอบว่าใช่ ๕ ข้อขึ้นไป แสดงว่ามีแนวโน้มท่ีจะเป็นบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นควรให้การ ช่วยเหลือตามความต้องการจาเป็นพเิ ศษทางการศึกษาของผเู้ รยี นและสง่ ต่อให้จักษแุ พทยต์ รวจวินจิ ฉัยตอ่ ไป ผลการคดั กรอง พบความบกพร่อง ไม่พบความบกพรอ่ ง ความคิดเหน็ เพ่ิมเติม ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ ลงช่อื ................................................. ใบวฒุ ิบัตร เลขที่..................................(ผู้คัดกรอง) (....................................................) ลงชื่อ ................................................. ใบวฒุ บิ ัตร เลขท่.ี .................................(ผ้คู ดั กรอง) (....................................................) คายนิ ยอมของผู้ปกครอง ข้าพเจ้า (นาย / นาง / นางสาว)...................................................................................... เป็นผู้ปกครอง ของ (ด.ช. / ด.ญ./ นาย / นางสาว)................................................................................. ยินยอม ไม่ยินยอม ให้ดาเนินการคัดกรอง (ด.ช./ ด.ญ./ นาย / นางสาว)............................................................................................. ตามแบบคัดกรองน้ี เมือ่ พบวา่ มีแนวโน้มเป็นผทู้ ี่มคี วามบกพรอ่ งตามแบบคัดกรองข้างตน้ ยินดี ไมย่ นิ ดี ให้จัดบรกิ ารชว่ ยเหลือทางการศกึ ษาพเิ ศษต่อไป ลงช่ือ ................................................. ผ้ปู กครอง (....................................................)
12320 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศึกษา\" ๒๒ ลาดับ การพิจารณาใชแ้ บบคัดกรอง ๑. ครูสังเกตเห็นปัญหาของนักเรียนทค่ี วรได้รบั การช่วยเหลอื ใหเ้ ขา้ ถงึ การศกึ ษาเป็นพเิ ศษ ๒. นาเสนอผูบ้ ริหาร เพ่ือพจิ ารณาดาเนินการใชแ้ บบคัดกรอง ๓. ผูบ้ รหิ ารหรือผู้ไดร้ บั มอบหมายพิจารณา วา่ ควรได้รบั การคดั กรอง ๔. ขอความร่วมมือกับครูผผู้ า่ นการอบรมการคัดกรองเพื่อดาเนินการคดั กรอง ๕. ทาความเข้าใจกบั ผูป้ กครองและร่วมมือกับผู้ปกครองเพื่อชว่ ยเหลอื นักเรียน ๖. ขออนุญาตทาการคดั กรองจากผู้ปกครอง โดยผ้ปู กครองลงนามยินยอมให้คัดกรอง ในแบบคัดกรอง รวมท้งั ยินดีให้ สถานศึกษาจัดบริการช่วยเหลือทางการศึกษาพิเศษเม่ือพบว่ามีแนวโน้มเป็นผู้ที่มีความบกพร่องตาม แบบคดั กรอง ๗. เตรยี มการคดั กรอง ๘. ดาเนินการคดั กรอง ควรมีผดู้ าเนินการคัดกรอง ๒ คน ๙. สรุปผลการคัดกรองตามเกณฑ์ ๑๐. รายงานผลผบู้ รหิ ารและผปู้ กครองทราบผลการคัดกรอง ๑๑. - กรณไี ม่พบความบกพร่อง ให้จดั การเรียนการสอนโดยหาสาเหตุอ่ืนๆ เพ่ิมเติม - กรณีพบความบกพร่อง มีแนวโน้มเป็นคนพิการและผู้ปกครองยินยอมให้บริการจัดการศึกษาพิเศษ ควรส่งแพทย์ตรวจวินิจฉัยออกใบรับรองความพิการหรือใบรับรองแพทย์วนิ ิจฉัยวา่ เป็นคนพิการ - กรณพี บความบกพร่อง และผูป้ กครองไมย่ นิ ยอมใหจ้ ัดบริการทางการศึกษาพเิ ศษ สถานศึกษาควรพิจารณาร่วมกบั ผูป้ กครองเพือ่ หาแนวทางการจัดการศึกษาต่อไป ๑๒. เมอ่ื แพทย์วินจิ ฉัยและออกใบรับรอง สถานศึกษาต้องนาใบรับรองและข้อมูลจากการคัดกรองมาประกอบ การพจิ ารณาจดั ทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล และตดิ ตามผลการจดั การเรียนการสอนตามแผน ๑๓. กรณีใชแ้ บบคัดกรองมากกวา่ ๑ ประเภทและพบว่ามีแนวโน้มมคี วามบกพรอ่ ง ๒ ประเภทขึ้นไป ให้สรุป เป็นบันทกึ ข้อความวา่ มีความบกพร่องในลักษณะพิการซ้อน การเตรยี มการคัดกรอง ๑. แบบคัดกรอง เลือกใช้แบบคัดกรองใหส้ อดคล้องกับสภาพปัญหาศึกษาทบทวนเนอ้ื หา ๒. เตรยี มส่ือ อปุ กรณ์ ได้แก่ หนังสือเรียน รปู ภาพ แผ่นภาพสี แบบทดสอบ ฯลฯ ๓. การสอบถามหรือการสมั ภาษณ์ ข้อมูล จากผู้เกยี่ วข้อง ได้แก่ - ผูป้ กครอง - ครปู ระจาวชิ า ครปู ระจาชัน้ พยาบาลประจาโรงเรียน ข้อมูลสุขภาพ - เพ่อื นนักเรยี น ๔. การเตรียมสถานการณ์ เช่นข้อคาถามใหแ้ สดงพฤติกรรม คาส่ังให้ปฏบิ ตั ิ ๕. การเตรียมสถานท่ี เป็นการกาหนดสถานที่เพ่ือสังเกตพฤตกิ รรม
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๒๓ 23 เอกสารประกอบการอบรม หนว่ ยที่ ๓ การใชแ้ บบคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พจิ ารณาใหค้ นพิการไดร้ ับสทิ ธชิ ว่ ยเหลอื ทางการศึกษาเรือ่ ง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธกี าร การรับรองบคุ คลของสถานศึกษาวา่ เปน็ คนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ หนว่ ยย่อยท่ี ๓.๒ การใช้แบบคัดกรองบคุ คลท่ีมีบกพร่องทางการไดย้ ิน เอกสารความรู้ บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการได้ยนิ ความหมายของบุคคลท่มี ีบกพรอ่ งทางการได้ยิน หมายถึง บุคคลทส่ี ูญเสียการได้ยนิ ต้ังแต่ระดับหตู ึงน้อยจนถึงหหู นวก ซงึ่ แบง่ เป็น ๒ ประเภท ดังนี้ (๒.๑) คนหูหนวก หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถเข้าใจการพูดผ่านทางการได้ยิน ไม่ว่าจะใสห่ รือไมใ่ สเ่ ครือ่ งชว่ ยฟงั ซง่ึ โดยทั่วไปหากตรวจการไดย้ นิ จะมีการสญู เสยี การไดย้ ิน ๙๐ เดซิเบล ขึน้ ไป (๒.๒) คนหูตึง หมายถึง บุคคลที่มีการได้ยินเหลืออยู่เพียงพอที่จะได้ยินการพูดผ่านทางการได้ยิน โดยท่ัวไปจะใส่เคร่ืองช่วยฟัง ซึ่งหากตรวจวัดการได้ยินจะมีการสูญเสียการได้ยินน้อยกว่า ๙๐ เดซิเบล ลงมาถึง ๒๖ เดซิเบล (ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองการกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒)
12340 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด ําเนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๒๔ แบบสรุปองค์ความรู้ หนว่ ยที่ ๓ การใช้แบบคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พิจารณาใหค้ นพิการได้รบั สทิ ธชิ ่วยเหลือทางการศกึ ษาเร่ือง กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการ การรับรองบคุ คลของสถานศึกษาว่าเปน็ คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๓.๒ การใช้แบบคัดกรองบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชือ่ - สกุล (ผเู้ ข้ารบั การอบรม)................................................................................................ เลขท.ี่ .................... คาชี้แจง ให้ท่านสรุปองค์ความรู้ หน่วยย่อยท่ี ๓.๒ ในลักษณะของการเขียนแผนท่ีความคิด (Mind Map) หรือ แผนภมู ิ ตาราง ฯลฯ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๒๕ 25 ใบงาน : กรณศี ึกษา กิจกรรมท่ีปฏิบัติ : ให้ท่านศึกษาพฤติกรรมของเด็กต่อไปนี้ แล้วคัดกรองเด็ก โดยเลือกใช้แบบคัดกรองท่ีตรงกับ พฤตกิ รรม พร้อมระบุว่า เด็กชายบนั ลอื กวา้ งไกล มีความบกพรอ่ งประเภทใด เด็กชายบันลือ กว้างไกล เกิดวันที่ ๑๓ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พบว่ามีพฤติกรรมส่งเสียงดังมากกว่า ปกติในชีวิตประจาวัน เช่น การเดินลงส้นเท้า การรับประทานอาหารโดยช้อนกระทบจาน ไม่ตอบสนองหรือ หันไปมองที่มาของเสียงซ่ึงเกิดอยู่ริบๆ ห้อง ไม่หันศีรษะไปมองเม่ือมีคนเรียกช่ือทางข้างหลัง จะใช้ท่าทางในการส่อื ความหมายกับผ้อู ืน่ ไมใ่ ช้ภาษาพดู พูดตามหรือเลยี นเสยี งพูดไมไ่ ด้ ตอบไม่ตรงคาถามหรอื ไม่ตอบคาถาม ในการสนทนาจะ มองปากหรอื จ้องหน้าจอ้ งตาผู้พูดตลอดเวลา ออกเสียงในระดับเดยี วกันแต่ไมเ่ ปน็ คา
12360 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด าํ เนนิ การคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ประเมนิ คร้ังท่ี ............................ ๒๖ แบบคัดกรองบคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการได้ยนิ (เนอื่ งจากไม่มีใบรับรองความพกิ าร/สมดุ ประจาตัวคนพิการ/ใบรบั รองแพทย)์ ชื่อ-นามสกลุ (ด.ช. / ด.ญ. / นาย / นางสาว)........................................................................................................ วนั เดอื น ปี เกดิ .....................................................................อายุ ................................ ปี ..........................เดอื น ระดบั ช้นั ................................................................ วนั เดือน ปี ท่ปี ระเมิน........................................................... คาชีแ้ จง ๑. แบบคัดกรองฉบบั น้เี ปน็ แบบคัดกรองเพือ่ ประโยชน์ในทางการจัดการศกึ ษาเทา่ น้ัน ๒. วิเคราะห์ลักษณะ/พฤติกรรม ของเด็กซึ่งเป็นลักษณะหรือพฤติกรรม ที่เด็กแสดงออกบ่อยๆ โดยให้ทา เคร่อื งหมาย /ลงในช่อง “ ใช่ ” หรือ “ไม่ใช่ ” ท่ตี รงกับลักษณะหรือพฤติกรรมนั้นๆ ของเด็ก ๓. ผู้ทาการคัดกรองเบื้องต้นต้องผ่านการอบรมวิธกี ารใช้ และการประเมนิ ตามแบบคดั กรองน้ี และควรสอบถามข้อมูล เพิม่ เติมจากผทู้ ่อี ยใู่ กลช้ ดิ เดก็ มากที่สดุ เชน่ ผูป้ กครองหรือครู เพอ่ื ใหเ้ กิดความชดั เจน ถูกตอ้ ง ๔. ผูค้ ัดกรองควรจะมอี ย่างนอ้ ย ๒ คนข้นึ ไป ท่ี ลักษณะ / พฤตกิ รรม ผลการวเิ คราะห์ ใช่ ไมใ่ ช่ ๑ ไม่หันศรี ษะหาเสียงเมื่อเรียกชื่อจากขา้ งหลัง ๒ ไมต่ อบสนองหรือหนั ไปมองท่ีมาของเสียงซ่ึงเกิดอย่รู อบๆ ห้อง ๓ มกั ใชท้ ่าทางในการสือ่ ความหมายกับผู้อน่ื ไม่ใช้ภาษาพูด ๔ ออกเสยี งในระดบั เดียวกันแต่ไมเ่ ปน็ คา ๕ ในการสนทนาจะมองปากหรือจ้องหน้าจ้องตาผู้พดู ตลอดเวลา ๖ ตอบไม่ตรงคาถามหรือไม่ตอบคาถาม ๗ พดู ตามหรือเลียนเสียงพูดไม่ได้ ๘ เป็นหรอื เคยเป็นโรคหูนา้ หนวก ๙ การแสดงออกทางพฤติกรรมในชีวิตประจาวนั ท่สี ง่ เสียงดังมากกว่าปกติ เช่น การเดินลงส้นเท้า การรับประทานอาหารโดยชอ้ นกระทบจาน เป็นต้น
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๒๗ 27 เกณฑก์ ารพจิ ารณา ถ้าตอบว่าใช่ ๓ ข้อ ข้ึนไป แสดงว่ามีแนวโน้มท่ีจะเป็นบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินควรให้การ ช่วยเหลอื ตามความต้องการจาเปน็ พิเศษทางการศกึ ษาของผูเ้ รยี น และสง่ ตอ่ ใหแ้ พทยต์ รวจวินิจฉยั ต่อไป ผลการคดั กรอง พบความบกพร่อง ไมพ่ บความบกพรอ่ ง ความคดิ เห็นเพมิ่ เติม ...................................................................................................................................................... .............................. ..................................................................................................... ............................................... ลงช่อื ................................................. ใบวฒุ ิบตั ร เลขที่..................................(ผู้คัดกรอง) (....................................................) ลงชือ่ ................................................. ใบวฒุ บิ ัตร เลขท่ี..................................(ผคู้ ดั กรอง) (....................................................) คายินยอมของผปู้ กครอง ข้าพเจ้า (นาย / นาง / นางสาว)................................................................................ ..เป็นผู้ปกครองของ (ด.ช. / ด.ญ./ นาย / นางสาว)........................................................................... ยนิ ยอม ไมย่ นิ ยอม ให้ดาเนนิ การคดั กรอง (ด.ช./ ด.ญ./ นาย / น.ส.)........................................................................................ตามแบบ คดั กรองนี้ เมื่อพบวา่ มแี นวโนม้ เปน็ ผูท้ ี่มคี วามบกพรอ่ งตามแบบคดั กรองข้างต้น ยนิ ดี ไมย่ ินดี ใหจ้ ดั บริการช่วยเหลือทางการศกึ ษาพิเศษต่อไป ลงชอ่ื ................................................. ผ้ปู กครอง (....................................................)
12380 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๒๘ เอกสารประกอบการอบรม หน่วยท่ี ๓ การใช้แบบคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พจิ ารณาให้คนพิการไดร้ ับสิทธชิ ่วยเหลือทางการศึกษาเรอ่ื ง กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธกี าร การรับรองบุคคลของสถานศึกษาวา่ เป็นคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ หนว่ ยย่อยท่ี ๓.๓ การใชแ้ บบคัดกรองบุคคลที่มีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา เอกสารความรู้ บุคคลทม่ี ีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา ๑. ความหมายของบคุ คลบกพรอ่ งทางสติปญั ญา บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกาหนดประเภทและ หลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้กาหนดหลักเกณฑ์บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา ดังนี้ ได้แก่บุคคลที่ข้อจากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบัติตน (Functioning) ในปัจจุบัน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่าเกณฑ์เฉลย่ี อย่างมีนัยสาคัญ ร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตัวอีกอย่างน้อย ๒ ทักษะ จาก ๑๐ ทักษะ ได้แก่ การส่ือความหมาย การดูแลตนเอง การดารงชีวิตในบ้าน ทักษะทางสังคม/การมี ปฏิสัมพนั ธก์ บั ผูอ้ ื่น การรู้จักใชท้ รัพยากรในชมุ ชน การร้จู กั ควบคมุ ดูแลตนเอง การนาความรมู้ าใชใ้ นชีวติ ประจาวัน การทางาน การใชเ้ วลาวา่ ง การรักษาสขุ ภาพอนามัยและความปลอดภยั ทง้ั น้ไี ด้แสดงอาการดังกล่าวก่อนอายุ ๑๘ ปี ๒. ลกั ษณะบคุ คลทมี่ ีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ๒.๑ ความสามารถทางสติปัญญาตา่ เกณฑ์เฉล่ยี อย่างมีนัยสาคญั ๒.๒ ร่วมกับความจากัดของทักษะการปรับตวั อกี อยา่ งน้อย ๒ ทกั ษะ จาก ๑๐ ทกั ษะ ดงั น้ี ๒.๒.๑ ทกั ษะการสอ่ื สาร ๑) ใช้ภาษาไมส่ มวัย ๒) ไมเ่ ขา้ ใจคาส่งั ไมส่ ามารถทาตามคาสงั่ ได้ ๒.๒.๒ ทกั ษะการดแู ลตนเอง ๑) ไม่สามารถหรือสามารถดูแลตัวเองในชีวิตประจาวันได้น้อย ในการรับประทาอาหารการ อาบน้า/แปรงฟนั /การแต่งกาย ๒) ไมส่ ามารถทาความสะอาดหลงั การขบั ถา่ ย ๒.๒.๓ ทักษะการดารงชวี ติ ภายในบา้ น ๑) ตอ้ งกระตนุ้ ในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาวนั อยเู่ สมอ ๒) ชว่ ยเหลือตนเองในชวี ิตประจาวันได้ต่ากว่าวยั ๒.๒.๔ ทักษะทางสังคม/การปฏสิ มั พนั ธ์กบั ผูอ้ ื่น ๑) ชอบเลน่ กบั เดก็ ท่ีมีอายุนอ้ ยกว่า หรือไม่สามารถเลน่ กับเพ่อื นตามวยั ๒) เลน่ เลียนแบบผอู้ ่ืนอย่างไม่เหมาะสมกบั วยั
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๒๙ 29 ๒.๒.๕ ทกั ษะการรูจ้ กั ใชท้ รัพยากรในชมุ ชน ๑) มีปญั หาด้านพฤติกรรมในการใชส้ ่ิงของสาธารณะประโยชน์ เช่น ชอบทาลายหรอื ใช้อยา่ งไม่ระมัดระวงั ๒) ไมร่ ้จู กั วิธกี ารใช้ การจัดเกบ็ และการดแู ลรักษา ของสว่ นรวม ๒.๒.๖ ทกั ษะการรจู้ กั ดูแลควบคุมตนเอง ๑) เอาแตใ่ จตนเอง มอี ารมณโ์ กรธ ฉุนเฉียวบ่อย ๆ ๒) ไมส่ ามารถควบคุมตนเองทาตามสงิ่ ทตี่ ้องทา ๒.๒.๗ ทักษะการนาความรู้มาใช้ในชีวติ ประจาวนั ๑) ลืมงา่ ย/จาในสิ่งท่เี รยี นมาแล้วไม่ได้ ๒) ไม่สามารถนาทักษะท่เี รียนรู้ไปแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ ๒.๒.๘ ทกั ษะการทางาน ๑) ช่วงความสนใจส้ัน ไมส่ ามารถรบั ผดิ ชอบงานที่ต้องทา ๒) ทาตามคาส่งั ตอ่ เนือ่ ง ๒ คาสั่งข้นึ ไปไดย้ าก สบั สนง่าย ๒.๒.๙ ทกั ษะการใชเ้ วลาวา่ ง ๑) สนใจสิ่งรอบตัวน้อย ๒) ใชเ้ วลาว่างแสดงพฤติกรรมท่ไี ม่เหมาะสม ๒.๒.๑๐ ทกั ษะการรกั ษาสขุ ภาพอนามยั และความปลอดภยั ๑) ดูแลสขุ ภาพตนเองได้น้อย เช่น ลา้ งมือไมเ่ ปน็ ไม่รูจ้ ักรบั ประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ ๒) มคี วามระมดั ระวังเรื่องความปลอดภัยตนเองนอ้ ย ๓. การจาแนกระดบั เชาวน์ปัญญาของคนทัว่ ไป ศ.นพ.จาลอง ดิษยวณชิ และ ศ.ดร.พริ้มเพรา ดษิ ยวณชิ ไดน้ าเสนอในเวปไซด์ http://www.chamlongclinic- psych.com/document/intelligence/ เกีย่ วกับความสามารถทางสตปิ ัญญา (IQ) ดงั นี้ การจาแนก IQ และแปลความหมาย.โดยใช้ลักษณะของโค้งปกติรูปทรงกระด่ิง เพื่อการจาแนกแจกแจง (bell-shaped normal distribution curve)
13300 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๓๐ จากรูป IQ. ๑๐๐ เป็นค่าของ IQ. ปกติของคนทั่วไปอย่ทู ่ีก่ึงกลางของรูปทรงกระด่งิ David Wechsler ได้ทาการจาแนกเชาวนป์ ัญญาคนทว่ั ไป ดงั นี้ INTELLIGENCE CLASSIFICATIONS IQ. Classifications % Included ๑๓๐ and + Very Superior ๒.๒ ๑๒๐ – ๑๒๙ ๖.๗ ๑๑๐ – ๑๑๙ Superior ๑๖.๑ ๙๐ – ๑๐๙ Bright Normal ๕๐.๐ ๘๐ – ๘๙ ๑๖.๑ ๗๐ – ๗๙ Average ๖.๗ ๖๙ and - Dull Normal ๒.๒ Borderline Mental Defective ๔. ระดบั ความรนุ แรงของภาวะบกพรอ่ งทางสติปัญญา (กลุ ยา กอ่ สวรรณ. ๒๕๕๓ : ๖) ๔.๑ ความบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดับเล็กน้อย (Mild Intellectual Disability) หมายถึง สตปิ ัญญาระดับ ๕๐-๗๐ ๔.๒ ความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญาระดบั เล็กปานกลาง (Moderate Intellectual Disability) หมายถงึ สตปิ ญั ญาระดับ ๓๕-๔๙ ๔.๓ ความบกพรอ่ งทางสติปัญญาระดบั รนุ แรง (Severe Intellectual Disability) หมายถงึ สตปิ ัญญาระดับ ๒๐-๓๔ ๔.๔ ความบกพร่องทางสตปิ ัญญาระดับรุนแรงมาก (Profound Intellectual Disability) หมายถึง สตปิ ญั ญาต่ากว่า ๒๐
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนนิ การคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๓๑ 31 ตารางจาแนกเชาวนป์ ญั ญา ไอคิว ระดับเชาวน์ปญั ญา ๑๓๐ ขึ้นไป อัจฉรยิ ะ (Very Superior) ๑๒๐ – ๑๒๙ ฉลาดมาก (Superior) ๑๑๐ – ๑๑๙ ค่อนข้างฉลาด (Bright Normal) ๙๐ – ๑๐๙ ปานกลาง(Average) ๘๐ – ๘๙ ปัญญาทึบ (Dull Normal) ๗๐ – ๗๙ คาบเส้นปัญญาออ่ น (Borderline) ต่ากวา่ ๗๐ ปัญญาอ่อน (Mental Retardation) ๕๐ – ๖๙ ปัญญาอ่อนระดบั นอ้ ย (Mild mental retardation) ๓๕ – ๔๙ ปญั ญาระดับปานกลาง (Moderate mental retardation) ๒๐ – ๓๔ ปัญญาอ่อนระดับรนุ แรง (Severe mental retardation) ตา่ กว่า ๒๐ ปญั ญาอ่อนระดบั รุนแรงมาก (Profound mental retardation) เอกสารอ้างอิง กลุ ยา กอ่ สุวรรณ. (๒๕๕๓). การสอนเด็กท่มี ีความบกพร่องระดบั เล็กน้อย. ศนู ย์พัฒนาศักยภาพเดก็ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร: สหมติ รพร้ินต้งิ แอนพบั ลชิ ช่งิ . จาลอง ดษิ ยวณชิ และพร้มิ เพรา ดิษยวณิช. ค้นเมอ่ื วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๖ จาก http://www.chamlongclinic-psych.com/document/intelligence
13320 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๓๒ แบบสรปุ องค์ความรู้ หน่วยท่ี ๓ การใชแ้ บบคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พิจารณาใหค้ นพิการได้รบั สทิ ธิชว่ ยเหลือทางการศึกษาเรอื่ ง กาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการ การรับรองบุคคลของสถานศึกษาวา่ เปน็ คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖ หนว่ ยท่ี ๓.๓ บคุ คลท่ีมีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา ชือ่ - สกลุ (ผู้เข้ารบั การอบรม)................................................................................................ เลขท.่ี .................... คาช้ีแจง ให้ท่านสรุปองค์ความรู้ หน่วยย่อยท่ี ๓.๓ ในลักษณะของการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) หรือ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด าํ เนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๓๓ 33 ใบงาน : กรณีศกึ ษา คาช้ีแจง : ให้ท่านศึกษาพฤติกรรมของเด็กต่อไปน้ี แล้วคัดกรองเด็ก โดยเลือกใช้แบบคัดกรองที่ตรงกับพฤติกรรม พร้อมระบวุ ่า เด็กชายอาพน คนนยิ ม มคี วามบกพร่องประเภทใด เด็กชายอาพน คนนิยม เกิดวันท่ี ๒๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘ พบพฤติกรรมดังนี้ ใช้ภาษาไม่สมวัย ลืมง่าย/จาในสิ่งที่เรียนไม่ได้ เรียนรู้บทเรียนได้ช้าต้องเรียนซ้าแล้วซ้าอีก เช่น การคิดคานวณ การเขียน เลียนแบบ ผู้อื่นโดยไม่ใช้ความคิดของตนเอง ไม่สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวัน ตอบสนองส่ิงต่างๆ ในลักษณะท่ีไม่เหมาะสม มีปัญหาการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับสายตาขณะปฏิบัตกิ ิจกรรรม มีความสามารถ ในการเคล่ือนไหวช้ากว่าเด็กในวัยเดียวกัน ไม่พูดหรือพูดได้แต่ไม่ชัด ชอบทาอะไรซ้าๆ ในลักษณะเดิมเลียนแบบ ผ้อู น่ื โดยไม่ใชค้ วามคิดของตนเอง นาทกั ษะท่ีเคยเรยี นรู้แล้วนาไปใชส้ ถานการณ์อ่ืนไดน้ ้อย มีอารมณโ์ กรธ ฉนุ เฉยี ว บ่อยๆ มักทาตามคาสั่งไมไ่ ด้ จติ ใจวอกแวกงา่ ย สรุปความไม่คอ่ ยได้ เขียนประโยคไมถ่ ูกต้อง ชอบลอกเลียนแบบไม่ ใช้ความคิดของตนเอง ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลตลอดเวลา ไม่สนใจส่ิงที่อยู่รอบตัว ไม่สามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวัน หรือสามารถดูแลตัวเองในชีวิตประจาวันได้น้อย ในการรับประทานอาหาร/การ อาบน้า/การแปรงฟัน/การแต่งกายไม่สามารถทาความสะอาดหลังการขับถ่าย ต้องกระตุ้นในการปฏิบัติกิจวัตรอยู่ เสมอ ช่วยเหลือตนเองในชีวติ ประจาวนั ไดต้ ่ากว่าวยั ชอบเล่นกับเดก็ ที่มีอายุน้อยกว่า หรือไม่สามารถเลน่ กับเพือ่ น ตามวัย เล่นเลียนแบบผู้อ่ืนอย่างไม่เหมาะสมกับวัย มีปัญหาดา้ นพฤตกิ รรมในการใช้สง่ิ ของสาธารณประโยชน์ เชน่ ชอบทาลายหรอื ใช้อยา่ งไม่ระมัดระวัง ไมร่ จู้ กั วธิ กี ารใช้ การจัดเก็บและการดแู ลรักษาของส่วนรวม เอาแตใ่ จตนเอง มีอารมณ์โกรธ ฉุนเฉียวบ่อยๆ ไม่สามารถควบคุมตนเองทาตามสง่ิ ท่ีต้องทา ลืมง่าย/จาในส่ิงที่เรียนมาแลว้ ไม่ได้ ไม่ สามารถนาทักษะที่เรียนรู้ไปแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ดูแลสุขภาพตนเองได้น้อย เช่น ล้างมือไม่เป็น หรือไม่รู้จัก รบั ประทานอาหารทีเ่ ป็นประโยชนแ์ ละมีความระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยตนเองน้อย
13340 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด าํ เนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ประเมินคร้ังที่.............. ๓๔ แบบคัดกรองบคุ คลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางสติปญั ญา (เน่ืองจากไม่มีใบรบั รองความพิการ/สมดุ ประจาตัวคนพิการ/ใบรบั รองแพทย)์ ชอื่ - นามสกุล (ด.ช. / ด.ญ. / นาย / นางสาว).......................................................................................... วนั เดือน ปี เกิด..................................................................อายุ ............................... ปี ...................เดอื น ระดบั ชนั้ ............................................................ วนั เดอื น ปี ท่ปี ระเมิน................................................... คาช้แี จง ๑. แบบคัดกรองฉบบั นีเ้ ปน็ แบบคัดกรองเพ่ือประโยชน์ในทางการจดั การศึกษาเท่านัน้ ๒. วเิ คราะหล์ กั ษณะ/พฤตกิ รรม ของเด็กซง่ึ เป็นลักษณะหรือพฤติกรรม ทีเ่ ดก็ แสดงออกบ่อยๆ โดยใหท้ า เคร่อื งหมาย /ลงในชอ่ ง “ ใช่ ” หรือ “ ไมใ่ ช่ ” ที่ตรงกบั ลักษณะหรือพฤติกรรมนัน้ ๆ ของเดก็ ๓. ผ้ทู าการคดั กรองเบอื้ งต้นตอ้ งผา่ นการอบรมวิธีการใช้ และการประเมิน ตามแบบคัดกรองน้ี และควร สอบถามขอ้ มูลเพิ่มเตมิ จากผู้ทอี่ ยูใ่ กลช้ ดิ เด็กมากท่ีสุด เช่น ผู้ปกครองหรือครู เพอ่ื ใหเ้ กิดความชดั เจนถกู ตอ้ ง ๔. ผคู้ ัดกรองควรจะมีอยา่ งน้อย ๒ คนขนึ้ ไป ท่ี ลกั ษณะ / พฤตกิ รรม ผลการวิเคราะห์ ใช่ ไมใ่ ช่ ทักษะการส่ือสาร ๑ ใชภ้ าษาไมส่ มวยั ๒ ไมเ่ ข้าใจคาสั่ง ไมส่ ามารถทาตามคาสั่งได้ ทกั ษะการดูแลตนเอง ๓ ไม่สามารถ หรือสามารถดูแลตัวเองในชีวิตประจาวันได้น้อย ในการ รบั ประทานอาหาร/การอาบน้า/แปรงฟนั /การแต่งกาย ๔ ไมส่ ามารถทาความสะอาดหลังการขับถา่ ย ทกั ษะการดารงชีวิตภายในบ้าน ๕ ตอ้ งกระตุ้นในการปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจาวันอยเู่ สมอ ๖ ชว่ ยเหลอื ตนเองในชีวติ ประจาวนั ไดต้ า่ กว่าวยั ทกั ษะทางสังคม/การปฏิสัมพนั ธ์กบั ผู้อน่ื ๗ ชอบเล่นกับเด็กทมี่ ีอายนุ ้อยกว่า หรือไม่สามารถเลน่ กบั เพื่อนตามวัย ๘ เลน่ เลียนแบบผ้อู นื่ อย่างไมเ่ หมาะสมกบั วยั ทกั ษะการรู้จักใช้ทรัพยากรในชมุ ชน ๙ มปี ัญหาดา้ นพฤติกรรมในการใช้ส่งิ ของสาธารณะประโยชน์ เช่น ชอบ ทาลายหรอื ใช้อย่างไมร่ ะมัดระวงั ๑๐ ไม่รจู้ ักวธิ ีการใช้ การจัดเก็บ และการดแู ลรักษา ของสว่ นรวม ทักษะการรูจ้ กั ดแู ลควบคุมตนเอง
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนินการคดั กรองคนพิการทางการศึกษา\" ๓๕ 35 ที่ ลกั ษณะ / พฤตกิ รรม ผลการวิเคราะห์ ใช่ ไม่ใช่ ๑๑ เอาแตใ่ จตนเอง มอี ารมณโ์ กรธ ฉุนเฉียวบ่อย ๆ ๑๒ ไมส่ ามารถควบคุมตนเองทาตามสง่ิ ท่ตี ้องทา ทกั ษะการนาความรู้มาใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ๑๓ ลมื งา่ ย / จาในสิ่งทเี่ รียนมาแลว้ ไมไ่ ด้ ๑๔ ไมส่ ามารถนาทักษะที่เรยี นร้ไู ปแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ ทกั ษะการทางาน ๑๕ ชว่ งความสนใจสั้น ไม่สามารถรับผดิ ชอบงานท่ตี ้องทา ๑๖ ทาตามคาส่ังต่อเนื่อง ๒ คาส่งั ข้นึ ไปได้ยาก สบั สนง่าย ทักษะการใช้เวลาว่าง ๑๗ สนใจส่ิงรอบตวั น้อย ๑๘ ใช้เวลาวา่ งแสดงพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม ทักษะการรกั ษาสขุ ภาพอนามัยและความปลอดภยั ๑๙ ดูแลสุขภาพตนเองได้น้อย เช่น ล้างมือไม่เป็น หรือไม่รู้จักรับประทาน อาหารท่ีเป็นประโยชน์ ๒๐ มีความระมดั ระวังเรื่องความปลอดภยั ตนเองน้อย หมายเหตุ ทงั้ น้ีพฤติกรรมดงั กลา่ วต้องเทยี บเคยี งกบั พัฒนาการของเด็กทวั่ ไป เกณฑ์การพิจารณา แตล่ ะทักษะถา้ พบว่ามีพฤติกรรม ใช่ ท้ัง ๒ ข้อ แสดงวา่ ไม่ผา่ น ทกั ษะนน้ั และหากพบว่าทกั ษะการ ปรับตวั ไมผ่ า่ นตั้งแต่ ๒ ทักษะข้นึ ไป แสดงว่ามีแนวโน้มท่จี ะเป็นบคุ คลทีม่ ีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา ควรใหก้ าร ช่วยเหลอื ตามความต้องการจาเปน็ พิเศษทางการศึกษาของผู้เรียน และส่งตอ่ ให้แพทย์ตรวจวินจิ ฉัยตอ่ ไป ผลการคัดกรอง พบความบกพรอ่ ง ไม่พบความบกพรอ่ ง ความคดิ เห็นเพ่มิ เติม ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ ลงช่ือ ................................................. ใบวุฒิบัตร เลขท่.ี .................................(ผูค้ ดั กรอง) (....................................................) ลงชอื่ ................................................. ใบวฒุ บิ ตั ร เลขท่.ี .................................(ผคู้ ดั กรอง) (....................................................)
13360 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนนิ การคดั กรองคนพิการทางการศึกษา\" ๓๖ คายนิ ยอมของผู้ปกครอง ข้าพเจ้า(นาย / นาง / นางสาว)....................................................................................... เปน็ ผปู้ กครอง ของ (ด.ช. / ด.ญ./ นาย / นางสาว............................................................................ ยนิ ยอม ไม่ยนิ ยอม ใหด้ าเนนิ การคัดกรอง (ด.ช./ ด.ญ./ นาย / น.ส.).................................................................................................. ตามแบบคัดกรองน้ี เม่ือพบวา่ มีแนวโน้มเปน็ ผทู้ มี่ ีความบกพรอ่ งตามแบบคดั กรองข้างต้น ยินดี ไมย่ นิ ดี ใหจ้ ดั บริการชว่ ยเหลอื ทางการศึกษาพิเศษต่อไป ลงชอ่ื ................................................. ผปู้ กครอง (....................................................)
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนินการคดั กรองคนพิการทางการศึกษา\" ๓๗ 37 เอกสารประกอบการอบรม หน่วยท่ี ๓ การใช้แบบคดั กรองคนพิการทางการศึกษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พจิ ารณาใหค้ นพกิ ารได้รับสิทธิชว่ ยเหลอื ทางการศึกษาเร่ือง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธกี าร การรับรองบุคคลของสถานศกึ ษาว่าเปน็ คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖ หน่วยยอ่ ยที่ ๓.๔ การใช้แบบคดั กรองบุคคลที่มคี วามบกพร่องทางรา่ งกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ เอกสารความรู้ บคุ คลบกพร่องทางร่างกายหรอื การเคล่อื นไหวหรือสขุ ภาพ ความหมายของบุคคลบกพร่องทางรา่ งกายหรือการเคลื่อนไหวหรอื สุขภาพ บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลอ่ื นไหว หรอื สุขภาพ ซง่ึ แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี (๔.๑) บุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคลอ่ื นไหว ได้แก่ บคุ คลที่มอี วัยวะไม่สมส่วนหรือขาด หายไป กระดูกหรือกล้ามเน้ือผิดปกติ มีอุปสรรคในการเคลื่อนไหว ความบกพร่องดังกล่าวอาจเกิดจากโรคทาง ระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก การไมส่ มประกอบ มาแต่กาเนดิ อุบัตเิ หตแุ ละโรคตดิ ต่อ (๔.๒) บุคคลที่มีความบกพร่องทางสุขภาพ ได้แก่ บุคคลที่มีความเจ็บป่วยเร้ือรังหรือมีโรคประจาตัวซึ่ง จาเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเน่ือง และเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ซึ่งมีผลทาให้เกิดความจาเป็นต้องได้รับ การศึกษาพเิ ศษ (ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรอื่ งการกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๒)
13380 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนินการคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๓๘ แบบสรุปองค์ความรู้ หน่วยที่ ๓ การใช้แบบคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พจิ ารณาให้คนพิการไดร้ บั สทิ ธชิ ่วยเหลอื ทางการศึกษาเร่ือง กาหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี าร การรับรองบุคคลของสถานศึกษาว่าเป็นคนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖ หน่วยยอ่ ยท่ี ๓.๔ การใช้แบบคัดกรองบุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางร่างกายหรือการเคลอื่ นไหวหรือสุขภาพ ช่อื - สกลุ (ผู้เขา้ รับการอบรม)................................................................................................ เลขท.่ี .................... คาชแ้ี จง ใหท้ า่ นสรปุ องค์ความรู้ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๓.๔ ในลกั ษณะของการเขยี นแผนทีค่ วามคิด (Mind Map) หรือ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนินการคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๓๙ 39 ใบงาน : กรณศี ึกษา กิจกรรมทีป่ ฏิบตั ิ : ใหท้ ่านศึกษาพฤตกิ รรมของเด็กต่อไปน้ี แลว้ คัดกรองเดก็ โดยเลอื กใช้แบบคดั กรองที่ตรงกบั พฤติกรรม พร้อมระบวุ า่ เดก็ หญงิ รตี มีตังค์ มีความบกพร่องประเภทใด เด็กหญิงรตี มีตังค์ เกิดวันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ พบว่ามีอวัยวะช่วงขาสั้น ยาว ไม่เท่ากัน หรือแขน ขาลีบ กล้ามเน้ือมีอาการเกร็งและอ่อนแรง เท้ามีลักษณะผิดรูป ไม่มีนิ้วมือ เวลาเดินไปไหนมาไหน ไม่สามารถ ควบคมุ กล้ามเนือ้ ได้และจังหวะการเคลอ่ื นไหว เช่น กระตกุ เกร็ง ไม่สามารถน่งั ลุกขึน้ ยืน ยืนทรงตวั เดนิ ทรงตัวได้ ด้วยตนเอง และยังพบว่ามีความเจ็บปว่ ยที่ต้องได้รบั การรักษาเปน็ ระยะเวลานาน คือเป็นโรคไขกระดูกฝ่อ
14300 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๔๐ ประเมินครั้งที่................... แบบคดั กรองบุคคลท่ีมบี คุ คลท่ีมคี วามบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ (เนือ่ งจากไม่มีใบรับรองความพกิ าร/สมดุ ประจาตวั คนพิการ/ใบรับรองแพทย์) ช่ือ-นามสกลุ (ด.ช. / ด.ญ. / นาย / นางสาว)........................................................................................................ วนั เดอื น ปี เกดิ ..........................................................................อายุ ............................ ปี .........................เดือน ระดับชัน้ ............................................................. วนั เดือน ปี ที่ประเมิน............................................................. คาชีแ้ จง ๑. แบบคดั กรองฉบบั นี้เป็นแบบคัดกรองเพ่อื ประโยชนใ์ นทางการจดั การศกึ ษาเท่านั้น ๒. วิเคราะห์ลักษณะ/พฤติกรรม ของเด็กซึ่งเป็นลักษณะหรือพฤติกรรม ที่เด็กแสดงออกบ่อยๆ โดยให้ทา เครื่องหมาย /ลงในช่อง “ ใช่ ” หรอื “ไม่ใช่ ” ท่ีตรงกับลกั ษณะหรอื พฤตกิ รรมน้ันๆ ของเดก็ ๓. ผู้ทาการคัดกรองเบ้ืองต้นต้องผ่านการอบรมวิธีการใช้ และการประเมิน ตามแบบคัดกรองน้ี และควรสอบถามข้อมูล เพิ่มเติมจากผู้ทอ่ี ยู่ใกลช้ ดิ เด็กมากที่สุด เชน่ ผู้ปกครองหรอื ครู เพ่อื ให้เกิดความชัดเจน ถูกต้อง ๔. ผคู้ ัดกรองควรจะมีอย่างนอ้ ย ๒ คนขน้ึ ไป ท่ี ลักษณะ / พฤติกรรม ผลการวิเคราะห์ ใช่ ไม่ใช่ ด้านรา่ งกาย ๑ มีอวัยวะไมส่ มส่วน หรือแขน ขา ลบี ๒ มอี วัยวะขาดหายไปและเปน็ อุปสรรคในการดารงชีวติ ๓ มกี ารผิดรปู ของกระดูกและข้อ ๔ มลี กั ษณะกล้ามเนือ้ แขนขาเกร็ง ๕ มลี กั ษณะกลา้ มเน้อื แขนขาอ่อนแรง ด้านการเคลอ่ื นไหว ๖ มกี ารเคลื่อนไหวทีผ่ ดิ ปกติ ทศิ ทางการเคล่ือนไหว และจงั หวะการเคลือ่ นไหว เช่น กระตกุ เกร็ง ๗ ไม่สามารถน่งั ทรงตวั ได้ด้วยตนเอง ๘ ไมส่ ามารถลกุ ขึน้ ยืนไดด้ ้วยตนเอง ๙ ไมส่ ามารถยืนทรงตัวไดด้ ว้ ยตนเอง ๑๐ ไม่สามารถเดินได้ด้วยตนเอง
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนนิ การคัดกรองคนพิการทางการศึกษา\" ๔๑ 41 ท่ี ลกั ษณะ / พฤติกรรม ผลการวเิ คราะห์ ใช่ ไม่ใช่ ด้านสุขภาพ ๑๑ มคี วามเจ็บปว่ ยทต่ี ้องไดร้ ับการรักษาเป็นระยะเวลานานและเปน็ อุปสรรคต่อ การศึกษา เช่น ๑๑.๑ ประสบอบุ ตั เิ หตุ ผ่าตัด เป็นต้น ๑๑.๒ เปน็ โรคเร้ือรังหรือมภี าวะผิดปกติของระบบต่างๆ ดังต่อไปน้ี ระบบโลหิต เช่น ภาวะเลอื ดออกง่ายหยุดยาก ธาลสั ซีเมยี ไขกระดูกฝอ่ ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น หวั ใจพิการแต่กาเนดิ โรคหัวใจรูมาตกิ ระบบไต เชน่ โรคเนโฟรติก โรคไตเร้ือรงั ระบบประสาท เชน่ อัมพาต สมองพกิ ารลมชัก ระบบหายใจ เชน่ หอบหืด โรคปอด ระบบภูมิคุ้มกนั และภูมิแพ้ เชน่ ขอ้ อักเสบ – รูมาตอยด์, SLE (เอสแอล อี) ระบบตอ่ มไร้ท่อ เช่น โรคเบาหวาน แคระ หรอื โตผดิ ปกติ ระบบผิวหนงั เชน่ เด็กดกั แด้ เปน็ ตน้ เกณฑ์การพิจารณา ดา้ นรา่ งกายและดา้ นการเคลื่อนไหว ถ้าตอบว่าใช่ต้ังแต่ ๑ ข้อ ขึ้นไป แสดงว่ามีแนวโนม้ ท่ีจะเป็นบุคคลที่มคี วามบกพร่องทางร่างกาย หรือการ เคลื่อนไหว ควรให้การช่วยเหลือตามความต้องการจาเป็นพิเศษทางการศึกษาของผู้เรียนและส่งต่อให้แพทย์ตรวจ วินิจฉยั ดา้ นสขุ ภาพ ถ้าตอบว่าใช่ข้อใดข้อหนึ่ง แสดงว่ามีแนวโน้มที่จะเป็นบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางสุขภาพ ควรให้การ ช่วยเหลอื ตามความต้องการจาเปน็ พิเศษทางการศกึ ษาของผู้เรียน และส่งตอ่ ใหแ้ พทยต์ รวจวินิจฉยั ตอ่ ไป ผลการคัดกรอง ไมพ่ บความบกพรอ่ ง พบความบกพร่อง
14230 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูด ําเนินการคัดกรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๔๒ ความคดิ เห็นเพม่ิ เติม ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ................................................. ใบวุฒิบัตร เลขท่ี..................................(ผู้คัดกรอง) (....................................................) ลงชื่อ ................................................. ใบวุฒบิ ตั ร เลขที.่ .................................(ผูค้ ดั กรอง) (....................................................) คายินยอมของผปู้ กครอง ข้าพเจ้า (นาย / นาง / นางสาว)...................................................................................... เป็นผู้ปกครอง ของ (ด.ช. / ด.ญ./ นาย / นางสาว) ................................................................................ ยนิ ยอม ไมย่ ินยอม ให้ดาเนินการคัดกรอง (ด.ช./ ด.ญ./ นาย / นางสาว).......................................................................................... ตามแบบคดั กรองน้ีเมอ่ื พบว่ามีแนวโนม้ เป็นผูท้ ่ีมีความบกพรอ่ งตามแบบคัดกรองข้างต้น ยินดี ไม่ยนิ ดี ให้จดั บริการช่วยเหลอื ทางการศกึ ษาพเิ ศษต่อไป ลงชื่อ ................................................. ผ้ปู กครอง (..................................................)
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา\" ๔๓ 43 เอกสารประกอบการอบรม หนว่ ยที่ ๓ การใชแ้ บบคดั กรองคนพกิ ารทางการศกึ ษา ๙ ประเภท ตามประกาศคณะกรรมการ พจิ ารณาใหค้ นพิการไดร้ ับสทิ ธิชว่ ยเหลอื ทางการศกึ ษาเร่อื ง กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี าร การรบั รองบุคคลของสถานศึกษาว่าเป็นคนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๖ หน่วยยอ่ ยท่ี ๓.๕ บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ เอกสารความรู้ บคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ ๑. ความหมายของบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ บคุ คลบกพร่องทางการเรียนรู้ หมายถงึ บุคคลที่มคี วามผิดปกติในการทางานของสมองบางส่วนที่แสดงถึง ความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้ท่ีอาจเกิดขน้ึ เฉพาะความสามารถด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายดา้ น คือ การอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ซึ่งไม่สามารถเรียนรูใ้ นดา้ นที่บกพร่องได้ ท้ังที่ระดับสติปัญญาปกติ (พระราชบัญญัตกิ าร จดั การศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑) ๒. สาเหตขุ องความบกพร่องทางการเรียนรู้ ความบกพร่องทางการเรียนรู้ ก่อให้เกิดปัญหาการเรียนเน่ืองมาจากเด็กไม่สามารถเรียนได้ดีเท่ากับ เด็กปกติทั่วไป การค้นหาความบกพร่องของเด็กส่วนมากเป็นหน้าที่ของบุคลากรทางสาธารณสุข บุคลากรทางการ ศึกษาอาจจาเป็นต้องรับรู้ไว้ เพื่อจะได้หาทางจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับกับปัญหาของเด็กต่อไป สาเหตุของ ความบกพรอ่ งนอี้ าจจาแนกไดด้ ังนี้ ๑. การได้รับบาดเจ็บทางสมอง บุคลากรทางการแพทย์ที่ศึกษาเก่ียวกับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ในหลายประเทศ มีความเชื่อว่า สาเหตุสาคัญที่ทาให้เด็กเหล่าน้ีไม่สามารถเรียนได้ดีนั้น เน่ืองมาจากการได้รับ บาดเจ็บทางสมอง (Brain Damage) อาจจะเป็นการได้รับบาดเจ็บก่อนคลอด ระหว่างคลอด หรือหลังคลอด กไ็ ด้ การบาดเจ็บน้ีทาให้ระบบประสาทสว่ นกลางไมส่ ามารถทางานได้เต็มที่ อยา่ งไรกต็ ามการไดร้ บั บาดเจ็บอาจไม่ รนุ แรงนัก (Minimal brain dysfunction) สมองและระบบประสาทสว่ นกลางยงั ทางานไดด้ ีเป็นส่วนมาก มี บางส่วนเท่าน้ันท่ีมีความบกพร่องไปบ้างทาให้เด็กมีปัญหาในการรับรู้ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการเรียนรู้ของเด็กแต่ ปัญหานยี้ ังไมเ่ ป็นทีย่ อมรบั ทง้ั หมดเพราะเด็กบางคนอาจเปน็ กรณยี กเวน้ ได้ ๒. กรรมพันธุ์ งานวจิ ัยจานวนมากระบุตรงกันว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้บางอย่างสามารถถ่ายทอด ทางพนั ธกุ รรมได้ ดังนนั้ จะเห็นได้ว่าจากการศึกษาเปน็ รายกรณีพบว่า เด็กทมี่ ปี ัญหาทางการเรยี นรู้ บางคน อาจมีพี่ น้องเกิดจากท้องเดียวกัน มีปัญหาทางการเรียนรู้เช่นกันหรืออาจมีพ่อแม่ พ่ี น้องหรือญาติใกล้ชิดมีปัญหาทางการ เรียนรเู้ ชน่ กัน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ปัญหาในการอา่ น การเขยี น และการเข้าใจภาษา มีรายงานการวิจัยที่น่าเช่ือถือได้ว่า เด็กฝาแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดี่ยวกัน (Identical Twin) มีพบว่า ฝาแฝดคน หนึ่งมีปัญหาในการอ่าน ฝาแฝดอีกคนมักมีปัญหาในการอ่านเชน่ เดียวกัน แต่ปัญหาน้ีไม่พบบ่อยนักสาหรับฝาแฝดท่ีเกิด จากไข่คนละใบ (Fraternal Twin) จึงอาจโดยสรปุ ได้ว่าปัญหาในการเรยี นรูอ้ าจสืบทอดทางพันธุกรรมได้
14340 เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดาํ เนินการคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๔๔ ๓. สิ่งแวดล้อม สาเหตุทางสภาพสิ่งแวดล้อมน้ี หมายถึง สาเหตุอ่ืนๆ ท่ีมาใช่การได้รับบาดเจ็บทางสมอง และกรรมพันธุ์ เป็นสงิ่ ทเี่ กิดข้ึนกับเดก็ ภายหลังการคลอด เมอื่ เด็กเตบิ โตข้ึนมาในสภาพแวดลอ้ ม ท่ี ก่อใหเ้ กิดความเสย่ี ง เชน่ การท่ีเดก็ มพี ัฒนาการทางร่างกายล่าช้าดว้ ยสาเหตุบางประการ การที่รา่ งกาย ได้รบั สารบางประการ อันเน่ืองมาจากสภาพมลพิษในส่ิงแวดล้อม การขาดสารอาหารในวัยทารกและในวัยเด็ก การ สอนท่ีไม่มีประสิทธิภาพของครู ตลอดจนการขาดโอกาสทางการศึกษา เป็นต้น แม้ว่าองค์ประกอบทาง สภาพแวดล้อมเหล่านี้จะไม่ใช่สาเหตุท่ีก่อให้เกิดความบกพร่องทางการเรียนรู้โดยตรง แต่องค์ประกอบเหล่าน้ีอาจ ทาใหส้ ภาพการเรียนรูข้ องเด็กมคี วามบกพร่องมากขึน้ ปัญหาและความบกพร่องของเด็กกลุ่มน้ี จะเร่ิมสังเกตเห็นได้ชัดเจนตอนเร่ิมเข้าเรียน แต่ภาวะปัญหา ทางการเรียนรู้ของเด็กแต่ละคนจะแตกต่างกันไป บางคนก็เพียงแต่มีปัญหาเกี่ยวการเรียนรู้เพียงเล็กๆ น้อยๆ เช่น เขียนตัวหนังสือโย้ไปเย้มา อ่านคาตกๆ หล่นๆ มีความสับสนระหว่าง“ภ กับ ถ”“ b กับ d”แต่บางคนก็มีปัญหา มากมาย จนส่งผลให้เกิดความยุ่งยากลาบากต่อการดาเนินชีวิตประจาวันและกระทบไปถึงผู้คนรอบข้างด้วย นักจิตวิทยาและนักการศึกษาเชื่อว่า ภาวะท่ีความสามารถในการเรียนของบุคคลหรือเด็กท่ีมีปัญหาทางการเรียนรู้ ต่ากว่าความสามารถตามอายุระดบั การศึกษาและระดบั สตปิ ญั ญา ๓. ลักษณะของบคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ๓.๑ ลกั ษณะความบกพร่องด้านการอา่ น ลักษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน ศรียา นิยมธรรม (๒๕๔๑: ๗๙) ผดุง อารยะวิญญู (๒๕๔๕: ๑๐-๑๒) สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (๒๕๔๑: ๑๐๙) ได้อธบิ ายลกั ษณะของบคุ คลที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรูด้ า้ นการอา่ นที่สอดคล้องกนั ไว้ ดังนี้ ๑) อา่ นชา้ อ่านข้าม อา่ นไม่หมด ๒) จาคาศัพท์คาเดิมไม่ได้ ทั้งๆ ทเี่ คยผา่ นสายตามาแล้วหลายครงั้ ๓) อ่านเพ่ิมคา ซา้ คา อ่านผิดตาแหนง่ ๔) อ่านสลับตัวอักษรหรอื ออกเสยี งสลบั กนั เช่น บก อ่านเปน็ กบ ๕) สบั สนในพยญั ชนะคล้ายกันเช่น ก ภ ถ, ฦ ฎ ฏ, ด ต ค ๖) จาศัพท์ใหม่ไมค่ ่อยได้ ๗) มีปญั หาในการผสมคา การอา่ นออกเสยี งคา ๘) สบั สนคาท่คี ล้ายกนั เชน่ บาน/ บา้ น ๙) อ่านคาทไ่ี ม่คนุ้ เคยไม่ได้ ๑๐) อ่านคาในระดบั ชั้นของตนเองไม่ได้ ๑๑) อ่านอักษรนาไม่ได้ ๑๒) อ่านข้ามบรรทดั อา่ นซ้าบรรทดั ๑๓) อา่ นคาสมาส สนธิ ไม่ได้ ๑๔) เปรยี บเทียบความหมายของคาไมไ่ ด้ ๑๕) ไม่รจู้ ักหน้าท่ีของคาในประโยค ๑๖) มีปัญหาในการอ่านคาพ้องรูป พ้องเสียง
เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู าํ เนินการคดั กรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๔๕ 45 ๑๗) อา่ นราชาศัพท์ไม่ได้ ๑๘) อ่านบทร้อยกรองลาบาก ๑๙) อ่านคายากประจาบทไม่ได้ ๒๐) อา่ นจบั ใจความสาคญั ของเรอ่ื งไมไ่ ด้ ๒๑) อา่ นหลงบรรทัด อ่านซ้าคา ๒๒) อา่ นตกหลน่ อ่านเพิ่มคา หาคามาแทนที่หรืออ่านกลบั คา ๒๓) อ่านเรียงลาดับผดิ สบั สนตาแหนง่ ประธาน กรยิ า กรรม ๒๔) อา่ นสับสนระหว่างอักษรหรอื คาที่คล้ายคลงึ กนั ๒๕) อา่ นช้าและตะกุกตะกกั ๒๖) อ่านดว้ ยความลงั เลไม่แน่ใจ ๒๗) บอกลาดับเรื่องราวไมไ่ ด้ ๒๘) จาประเด็นสาคญั ของเร่ืองราวไม่ได้ ๒๙) แยกสระเสียงสั้น – ยาว ไม่ได้ ๓๐) ขมวดคว้ิ นวิ่ หน้าเวลาอา่ น ๓๑) อ่านสลับตวั อักษร ๓๒) การอา่ นถอยหลงั ๓๓) อ่านออกเสยี งไม่ชัด ๓๔) จาใจความสาคญั ของเรอื่ งไม่ได้ ๓๕) เลา่ เรอ่ื งท่ีอ่านไม่ได้ ๓๖) จาข้อเทจ็ จริงพน้ื ฐานไมไ่ ด้ ๓๗) อ่านคาในตาแหนง่ ท่ีไม่ถูกต้อง ๓๘) จาตวั อกั ษรได้บ้าง แต่อ่านเปน็ คาไมไ่ ด้ ๓๙) ความสามารถในการอา่ นตา่ กวา่ นักเรียนอน่ื ในชัน้ เรียนเดยี วกัน ๔๐) อ่านคาโดยสลบั ตวั อกั ษร เช่น กบ เป็น บก, มอง เป็น ของ, ยอด เปน็ ดอย ๓.๒ ลกั ษณะความบกพร่องดา้ นการเขยี น การเขียนเป็นทักษะสูงสุดในกระบวนการทางภาษา ซ่ึงประกอบด้วยทักษะในการฟัง การอ่าน การพูด และการเขยี น การเขียนเปน็ การแสดงออก ซง่ึ แนวความคิดของผเู้ ขียนเดก็ ทมี่ ีความบกพร่องในการเขยี น อาจแสดง พฤตกิ รรมในการเขียนดงั น้ี ๑) ไมช่ อบและหลกี เล่ียงการเขียนหรือการลอกคา ๒) เขยี นไมส่ วยไม่เรยี บร้อย สกปรก ขีดทงิ้ ลบทงิ้ ๓) เขยี นตัวอักษรและคาท่ีคล้ายๆ กันผดิ ๔) ลอกคาบนกระดานผิด (ลอกไมค่ รบตกหลน่ ) ๕) เขยี นหนงั สอื ไมเ่ ว้นวรรค ไม่เวน้ ชอ่ งไฟ ตัวอักษรเบียดกันจนทาให้อ่านยาก ๖) เขยี นสลับตาแหนง่ ระหวา่ งพยัญชนะ สระ เช่น ตโ
14360 เอกสารประกอบการอบรม\"ผดู ําเนนิ การคัดกรองคนพกิ ารทางการศึกษา\" ๔๖ ๗) เขยี นตามคาบอกของคาในระดบั ช้นั ตนเองไม่ได้ ๘) เขยี นตวั อกั ษรหรือตัวเลขกลับด้าน คลา้ ยมองกระจกเงา เช่น , ๙) เขียนพยญั ชนะหรอื ตัวเลขที่มลี ักษณะคล้ายกันสลับกนั เช่น ม-น, ด-ค, พ-ย, b-d, p-q, 6-9 ๑๐) เรยี งลาดับตวั อกั ษรผดิ เชน่ สถิติ เป็น สตถิ ิ ๑๑) ฟงั คาบรรยายแล้วจดโนต้ ยอ่ ไมไ่ ด้ ๑๒) เขียนคาท่ีมตี ัวการนั ต์ไมไ่ ด้ ๑๓) เขยี นสรปุ ใจความสาคญั ไมไ่ ด้ ๑๔) เขยี นบรรยายความรู้สกึ นกึ คิดของตนเองไม่ได้ ๑๕) เขียนเรียงความยาวๆ ไม่ได้ ๑๖) เขียนบรรยายภาพไม่ได้ ๑๗) เขียนยอ่ ความไม่ได้ ๑๘) เขียนคาพ้องรปู – พ้องเสยี งไมไ่ ด้ ๑๙) เขียนคายากประจาบทไม่ได้ ๒๐) เขยี นตามคาบอกไม่ได้ ๒๑) ไม่สามารถลอกคาทีค่ รเู ขยี นบนกระดานลงสมดุ ของนักเรียนได้อยา่ งถูกต้อง ๒๒) เขยี นประโยคตามครูไมไ่ ด้ ๒๓) ไม่สามารถแยกรูปทรงเรขาคณติ ได้ ๒๔) เขยี นไม่เปน็ คา อาจเปน็ ลายเสน้ แต่อา่ นไม่ได้ ๒๕) เขียนเปน็ ประโยคไม่ได้ เรยี งคาไม่ถูกต้อง ความบกพรอ่ งทางการเขียนน้ี ไม่รวมไปถึงปัญหาของเด็กท่เี ขียนคายากไม่ได้ อันเนอื่ งมาจากการท่ีเดก็ ไม่ ตงั้ ใจเรียน เด็กขาดเรียนบอ่ ย หรอื ข้ีเกียจอา่ นหรือเขยี นหนังสอื การที่ไมส่ ง่ งานท่คี รูมอบหมายให้ทา เปน็ ต้น ๓.๓ ลกั ษณะความบกพร่องทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นวิชาท่ีประกอบข้ึนด้วยสัญลักษณ์เช่นเดียวกันกับวิชาภาษาไทยเด็กที่มีความบกพร่องใน การรับรู้เกีย่ วกับสัญลกั ษณ์อาจมปี ญั หาในการเรียนคณิตศาสตรแ์ สดงพฤติกรรมดังน้ี ๑) นบั เลขเรียงลาดบั นับเพิ่ม นับลดไม่ได้ ๒) ยากลาบากในการบวก ลบจานวนจรงิ ๓) ยากลาบากในการใช้เทคนิคการนับจานวนเพิ่มทีละ ๒, ๕, ๑๐, ๑๐๐ ๔) ยากลาบากในการประมาณจานวนคา่ ๕) ยากลาบากในการเปรยี บเทียบ มากกว่า น้อยกว่า ๖) แกโ้ จทย์ปญั หาง่ายๆ ไม่ได้ ๗) สบั สนไม่เข้าใจเร่ืองเวลา ทิศทาง ๘) บอกความหมาย หรอื สัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ไม่ได้ เชน่ +, -, ×, >, <, = ๙) เปรยี บเทียบขนาด รปู ทรง ระยะทาง ตาแหน่งไม่ได้
เอกสารประกอบการอบรม\"ผูดําเนินการคดั กรองคนพิการทางการศกึ ษา\" ๔๗ 47 ๑๐) เขียนตัวเลขกลับ เช่น ร-5, 5-s, 6-9, 9-6 ๑๑) ไม่เขา้ ใจความหมายและสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ ๑๒) ไมส่ ามารถเขยี นเศษสว่ นในลกั ษณะทศนยิ มและทศนยิ มซ้า ๑๓) ไม่เข้าใจและเขยี นจานวนตรรกยะ และอตรรกยะไม่ได้ ๑๔) ไม่เขา้ ใจและเขียนจานวนในรูปอัตราสว่ น สดั ส่วนและรอ้ ยละในการแก้โจทยป์ ัญหา ๑๕) ไมเ่ ขา้ ใจการเขียนระบบจานวนจรงิ ๑๖) ไม่เข้าใจและเขียนค่าสัมบูรณ์ไม่ได้ ๑๗) ไมเ่ ขา้ ใจการเขยี นจานวนจรงิ ในรูปเลขยกกาลังทีเ่ ป็นจานวนตรรกยะ จานวนจรงิ ทอ่ี ยใู่ นเกณฑ์ ๑๘) ไม่เข้าใจเรือ่ งการประมาณค่า ๑๙) ไม่เข้าใจเร่ืองจานวนเต็มและเศษสว่ น ๒๐) ไม่เข้าใจเก่ยี วกับระบบจานวน ๒๑) ไม่เข้าใจความหมายของจานวน เดก็ อาจนับเลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖...ได้ แต่ถา้ ครูส่งั ในหยิบกอ้ นหนิ มา วางขา้ งหนา้ ๕ กอ้ น เด็กจะปฏบิ ัติไมไ่ ด้ การนับของเด็กเป็นการท่องจา ไม่ใชค่ วามเข้าใจ ๒๒) ไม่เห็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่งิ ที่ได้ยนิ กบั ส่งิ ทม่ี องเห็น เดก็ อาจจะออกเสียงนบั เลข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ...ได้ แตถ่ า้ ให้นับจานวนนกในภาพบนกระดานดาเดก็ จะนับไม่ได้ ๒๓) มปี ญั หาในการจดั เรียงลาดบั ไมส่ ามารถจาแนกวสั ดุทมี่ ขี นาดต่างกันที่กองรวมกนั อยไู่ ด้ ๒๔) ไมเ่ ข้าใจปรมิ าณเมอื่ ขนาดเปลยี่ นไป เชน่ ธนบัตรใบละ ๒๐ บาท ๑ ใบ มีคา่ เท่ากบั เหรียญ ๕ บาท จานวน ๔ เหรียญ ๒๕) ทาเลขไม่ได้ไม่ว่าจะเป็นการบวก ลบ คณู หารเพียงอย่างเดียวหรอื ทงั้ ๔ อย่าง ๒๖) ไมเ่ ขา้ ใจความหมายของสัญลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ เชน่ ไม่เขา้ ใจวา่ เคร่ืองหมาย + แปลว่า เพ่ิมขน้ึ มากขนึ้ เครอ่ื งหมาย - แปลว่า ลดลง นอ้ ยลง เครอ่ื งหมาย × แปลวา่ ทวีคณู เปน็ ตน้ ๒๗) ไม่เข้าใจความหมายของตัวเลขท่ีนามาเรียงกันในทางคณิตศาสตร์ การเรียงตัวเลขต่างกัน มีความหมายต่างกัน มีความหมายต่างกัน ดังน้ันเด็กประเภทนี้บางคนไม่เห็นความแตกต่างระหว่าง ๑๐ กับ ๐๑๓๒ กบั ๒๓๕๑ กับ ๑๕ ทาใหเ้ ดก็ ไม่สามารถคานวณเลขได้ ๒๘) ไม่สามารถปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนในการคานวณได้ ๒๙) ไมเ่ ข้าใจความหมายการชั่ง การตวง การวัด ๓๐) มีปัญหาในการอ่านแผนทแี่ ละกราฟ ถา้ เด็กคนทมี่ ีปัญหาเช่นนี้ นงั่ รถไปตา่ งเมืองกับเพอื่ น ๒ คน เพอื่ นของเขาทาหนา้ ที่ขับรถ เพ่อื นบอกใหเ้ ขาช่วยอ่านแผนท่ี ทั้งสองคนนีห้ ลงทางแน่นอน ๓๑) มปี ญั หาในการทาเลขโจทย์ปัญหา เพราะเดก็ ไมเ่ ขา้ ใจความหมายของปญั หาที่เปน็ โจทย์ จึงแปล ความหมายไมไ่ ดว้ ่าเมอ่ื ใดจะบวก จะลบ จะคูณ จะหาร ๓.๔ ลกั ษณะความบกพร่องทางพฤตกิ รรม ลกั ษณะความบกพร่องทางพฤติกรรม มดี งั นี้ ๑) ไม่ทาตามคาส่ัง ทางานไมเ่ สร็จ ๒) มีความยากลาบากในการจัดระบบงาน ๓) ทาของหายบอ่ ยๆ เป็นประจา เชน่ ของเลน่ ดินสอ หนังสือ อปุ กรณก์ ารเรยี น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107