Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้หน่วยที่ 1 ตลาดปลาสวยงาม

ใบความรู้หน่วยที่ 1 ตลาดปลาสวยงาม

Published by rametc, 2018-03-28 05:20:33

Description: Power point Unit 1

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1การตลาดปลาสวยงาม

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายการตลาดปลาสวยงามในต่างประเทศได้ 2. อธิบายการตลาดปลาสวยงามภายในประเทศได้ 3. อธิบายวถิ ีการตลาดปลาสวยงามได้ 4. มคี วามผดิ ชอบ รอบคอบ ขยนั ใฝ่ รู้และอดทน

การเลยี้ งปลาสวยงามในประเทศไทย ปัจจุบนั มีผเู้ ล้ียงปลาสวยงามในประเทศประมาณ 350,000 คน ในส่วนของร้านคา้ ปลาสวยงามทว่ั ประเทศมีอยปู่ ระมาณ 500 ร้าน ซ่ึงร้อยละ 50 อยใู่ นกรุงเทพฯและปริมณฑล ท่เี หลือกระจายอยู่ในจงั หวดั ราชบุรี เชียงใหม่ ภเู กต็ นครราชสีมา ขอนแก่น และอุดรธานี

การขยายตวั ของตลาดปลาสวยงามนีเ้ องทาให้เกดิ อาชีพการเพาะเลยี้ งปลาสวยงามรายย่อยกระจายอยู่ท่ัวประเทศแบ่งได้ดงั นี้1. กล่มุ ผู้เพาะเลยี้ งปลาทมี่ กี ารลงทนุ ค่อนข้างสูง ได้แก่ ปอมปาดวั ร์อะโรวาน่า คาร์พ และคลิ ลี่ ส่วนใหญ่เลยี้ งในกรุงเทพฯ และเขตปริมณฑล



สยามคิลลี่ฟิ ช ฟาร์ม

2. กลุ่มเพาะเลยี้ งปลาทเี่ น้นในเรื่องของปริมาณ แต่มรี าคาตา่ แหล่งเพาะเลยี้ งปลาส่วนใหญ่อยู่บริเวณทร่ี าบล่มุ ริมฝั่งแม่นา้ และเขตชลประทาน ได้แก่ อาเภอบ้านโป่ ง อาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี ปลาส่วนใหญ่ทน่ี ิยมเลยี้ ง ได้แก่ ปลาทอง กาแดง ทรงเครื่อง หาง ไหม้ กาเผือก เสือสุมาตรา นา้ ผงึ้ กระดี่ ออสการ์ และเทวดา



ศริ ิรัตน์ ฟาร์ม จ. ราชบรุ ี

3. กล่มุ เพาะเลยี้ งปลากดั แหล่งใหญ่ทส่ี ุดในประเทศ ได้แก่ ทอ่ี าเภอนครชัยศรี อาเภอเมือง จังหวดั นครปฐม ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี และนครสวรรค์ เนื่องจากมคี วามต้องการสูงประมาณ 200,000 ตวั ต่อสัปดาห์

จรินทร์พรฟาร์ม

4. กล่มุ เพาะเลยี้ งปลาทเี่ ป็ นปลากนิ และนยิ มเลยี้ งเป็ นปลาสวยงาม เช่น สวาย แรด และชะโด พบว่ามกี ารเลยี้ งมากในจังหวดั นครสวรรค์ สุพรรณบุรี อุทยั ธานี และปทมุ ธานี

5. กลุ่มเพาะเลยี้ งปลาออกลูกเป็ นตวั ได้แก่ ปลาสอด หางนกยูง มอลล่ี และ แพลตตี้ แหล่งเลยี้ ง ได้แก่ จังหวดั นครปฐม ราชบุรี กรุงเทพฯ และ เขตปริมณฑล



ชนิดปลาสวยงามทนี่ ิยมส่งออก1. กลุ่มปลากดั แบ่งตามลกั ษณะต่างๆ ดงั นี้ - ครีบหาง เช่น หางส้ัน หางยาว หางมงกฎุ สองหาง หรือ หางฮาฟมูน - สี เช่น แดง เขยี ว ฟ้า ฯลฯ - เพศ เช่น เพศเมยี เพศผู้

2. กลุ่มปลาไทย ได้แก่ ปลากาแดง, ปลาทรงเคร่ือง,ปลาหางไหม้ ปลาสวาย, ปลานา้ ผงึ้

3. กลุ่มปลาออกลูกเป็ นตวั จาแนกตามลกั ษณะ สี ลวดลาย บนลาตัวและครีบหาง แบ่งตามชนิดปลา ได้แก่ - หางนกยงู แบ่งออกตามชนิดของสีที่ลาตวั เช่น แดง ฟ้า เขียว สีเงิน ดา ลวดลายของสีบนครีบหาง เช่น โมเซด ทกั ซิโด คิงคอบร้า กราซ

- มอลลี่ เซลฟิ น บอลลนู แพลทตี้ และสอด แบ่งตามลกั ษณะของสี

4. กลุ่มปลากระด่ี แบ่งตามชนิดปลา ได้แก่ แรด แรดเผือก กระดี่นาง กระดน่ี างฟ้า สลดิ หมอตาล กระดไ่ี ฟ กระด่ีปากหนา กระด่มี กุ กระดแี่ คระ พาราไดซ์

5. กลุ่มปลาทอง ได้แก่ ออรันดา สิงห์ญป่ี ่ ุน สิงห์ตามดิ ลกั เล่ห์ เกลด็ แก้ว ริ้วกนิ้ ตาลกู โปร่ง โคเมท

6. กล่มุ ปลาปอมปาดวั ร์ แบ่งตามลวดลายและสีของลาตัว - Brown discus ได้แก่ 5สีแดง, 5สีนา้ ตาล, 5สีเหลือง - Red turquoise ได้แก่ 7สีแดง, 7สีเขยี ว, 7สีบลู - Green and blue ได้แก่ บลเู ยอรมนั , บลไู ดมอน - Snake skin ได้แก่ ลายงู, ฝ่ นุ ลายงู - Solid pigeon blood ได้แก่ ฝ่ นุ ทอง ฝ่ นุ มุก ฝ่ ุนแดง - Spotted discus ได้แก่ ลายจุด



7. กล่มุ ปลาเทวดา แบ่งตามลวดลายของลาตัว ได้แก่ ม้าลาย หินอ่อน มกุ ดา คร่ึงชาติ และทอง

8. กลุ่มปลาออสการ์ แบ่งตามสีทป่ี รากฏทลี่ าตวั ได้แก่ ดา ทอง เผือก ลายเสือ มที ้งั หางส้ันและหางยาว

9. กล่มุ ปลาบาร์บ ได้แก่ เสือสุมาตรา และ โรซ่ีบาร์บ

10. กล่มุ ปลาหมอสี ได้แก่ มาลาว,ี ไตรทอง, ฟลาวเวอร์ฮอร์น

11. กลุ่มปลาอื่นๆ ได้แก่ กล่มุ ปลาสองนา้ , กล่มุ ปลาเตทตร้า - ในจานวนนีม้ กี ล่มุ ของปลาทต่ี ้องขออนุญาตในการ ส่งออก ได้แก่ หมูอารีย์, ปลาติดหนิ (ปลาค้างคาว), ปลาตะพดั , ปลาเสือตอ ซ่ึงอยู่ใน พ.ร.บ.คุ้มครอง - และอกี กล่มุ หนึ่งซึ่งอยู่ในบัญชีไซเตรส ได้แก่ ปลาช่อน ยกั ษ์, ปลายส่ี กไทย, ปลาตะพดั และปลาบกึ

สถานการณ์การตลาด ปลาสวยงาม

จานวนประเทศผู้นาเข้าและส่งออกปลาสวยงามของโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2546-2550ปี พ.ศ. ประเทศผู้นาเข้า ประเทศผู้ส่งออก 2546 90 64 2547 98 74 2548 110 83 2549 107 80 2550 108 79แหลง่ ทีม่ า : UNcomtrade database (2009)

มูลค่าการนาเข้าปลาสวยงามในตลาดโลกของแต่ละประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2546-2550ประเทศ ปี 2545 2546 2547 2548 2549 2550สหภาพยโุ รป 84.90 95.95 108.92 110.42 116.83 127.58สหรัฐอเมริกา 60.52 64.21 68.15 72.46 74.12 65.23ญ่ีป่ นุ 25.68 24.85 26.45 28.80 27.20 26.99สงิ คโปร์ 11.28 19.40 20.02 20.79 22.32 23.49ฮอ่ งกง 9.47 9.66 10.16 11.10 11.38 11.58มาเลเซยี 5.92 8.51 9.79 9.76 9.08 11.02แคนาดา 6.54 6.58 7.19 7.34 7.68 8.58เม็กซโิ ก 2.72 2.65 3.00 3.50 4.68 5.40อ่ืน ๆ 46.30 63.71 56.18 55.76 62.64 64.14 253.32 285.54 309.93 319.94 335.81 344.01 รวม หมายแหตุ มลู คา่ : ล้านดอลลา่ ร์สหรัฐ / แหลง่ ที่มา : พจั ยา (2551)

สัดส่วนมูลค่าการนาเข้าปลาสวยงามในตลาดโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2546-2550 ประเทศ ปีสหภาพยโุ รป 2545 2546 2547 2548 2549 2550สหรัฐอเมริกาญ่ีป่ นุ 33.52 33.60 35.14 34.51 34.79 37.09สงิ คโปร์ 23.89 22.49 21.99 22.65 22.07 18.93ฮอ่ งกง 10.14 8.70 8.53 9.00 8.10 7.85มาเลเซยี 4.45 6.79 6.46 6.50 6.65 6.83แคนาดา 3.74 3.38 3.28 3.47 3.36 3.37เมก็ ซโิ ก 2.34 2.95 3.16 3.05 2.70 3.20อื่น ๆ 2.58 2.30 2.36 2.29 2.29 2.49 1.07 0.93 .097 1.10 1.39 1.57 รวม 18.28 18.81 18.13 17.43 18.65 18.64 100 100 100 100 100 100 หมายแหตุ หนว่ ย : ร้อยละ / แหลง่ ท่ีมา : พจั ยา (2551)

มลู ค่าการส่งออกปลาสวยงามในตลาดโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2550ประเทศ ปี 2545 2546 2547 2548 2549 2550สิงคโปร์ 41.49 42.09 50.42 54.11 61.43 66.11สเปน 6.63 15.19 18.29 17.78 26.71 31.39มาเลเซีย 17.73 19.33 21.57 22.46 22.38 27.76ญ่ีป่ นุ 8.43 12.19 18.35 16.75 16.59 20.68สาธารณรัฐเช็ค 13.37 16.18 15.89 16.06 18.32 20.10 16.44ไทย 5.24 7.40 9.85 12.50 13.71 13.59อิสราเอล 5.60 8.53 10.79 10.98 11.37 11.22สหรัฐอเมริกา 8.38 8.56 10.52 9.79 10.30 73.41อืน่ ๆ 52.65 55.83 80.68 67.30 60.69 298.62 164.45 196.39 250.77 242.53 256.77 รวม หมายแหตุ มลู คา่ : ล้านดอลลา่ ร์สหรัฐ / แหลง่ ท่มี า : พจั ยา (2551)

สัดส่วนมูลค่าการส่งออกปลาสวยงามในตลาดโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2550 ประเทศ ปีสิงคโปร์ 2545 2546 2547 2548 2549 2550สเปนมาเลเซีย 25.23 21.43 20.11 22.31 23.92 22.14ญ่ีป่ นุ 4.03 7.73 7.29 7.33 10.10 10.51สาธารณรัฐเช็ค 10.78 9.84 8.60 9.26 8.72 9.30ไทย 5.13 6.21 7.32 6.91 6.46 6.93อิสราเอล 8.13 8.24 6.34 6.62 7.13 6.73สหรัฐอเมริกา 5.51อ่ืน ๆ 3.19 3.77 3.93 5.15 5.34 4.55 3.41 4.34 4.30 4.53 4.43 3.76 รวม 5.10 4.36 4.20 4.04 4.01 24.58 32.02 28.43 32.17 27.77 23.64 100 100 100 100 100 100 หมายแหตุ หน่วย : ร้อยละ / แหลง่ ทมี่ า : พจั ยา (2551)

มูลค่าการส่งออกและนาเข้าปลาสวยงามของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2546-2551ปี พ.ศ. การส่งออก (บาท) การนาเข้า(บาท) 2546 306,441,958 6,294,130 2547 397,384,232 26,028,449 2548 520,787,686 40,174,325 2549 528,736,429 36,841.232 2550 565,304,519 16,827,051 2551 717,307,634 16,737,219แหลง่ ที่มา : กรมศลุ กากร (2552)

มลู ค่าการส่งออกปลาสวยงามของประเทศไทย ไปประเทศต่าง ๆ ปี พ.ศ. 2551ลาดบั ท่ี ประเทศ มูลค่ า(ดอลล่ าร์ สหรัฐ)1 ฮอ่ งกง 5,437,6242 ประเทศอืน่ ๆ ในเอเชีย 2,536,9043 สหรัฐอเมริกา 2,306,9034 สงิ คโปร์ 1,475,6235 จีน 1,299,2756 มาเลเซยี 807,458 798,2627 อหิ ร่าน 618,6098 รัสเซยี 520,9979 ญี่ป่ นุ 389,25310 โปแลนด์ 5,367,185 อน่ื ๆ

ชนิดและมูลค่าการส่งออกปลาสวยงามของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2551ลาดบั รายช่ือปลาสวยงามส่งออก มลู ค่า ( บาท ) ปริมาณท่ี ( ตวั ) 7,186,5291 Betta splendens ปลากดั 52,958,821.64 2,571,154 2,053,4662 Carassius auratus ปลาทอง 26,347,132.76 372,8273 Cyprinus carpio ปลาคาร์พ 16,934,802.13 3,382,005 964,5234 Symphysodon aequifasciata ปลาปอมปาดวั ร์ 13,368,872.93 2,926,405 1,127,7795 Balantiocheilus melanopterus ปลาหางไหม้ 11,557,994.94 976,321 325,6456 Astronotus ocellatus ปลาออสการ์ 10,719,351.097 Poecilia reticulata ปลาหางนกยงู 8,559,268.668 Aulonocara sp. ปลาหมอสี 7,346,875.669 Cichlasoma sp. ปลาหมอสี 7,173,836.4310 Pseudotropheus sp. ปลาหมอสี 6,750,559.31

มูลค่าการส่งออกปลาสวยงามของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2551(ต่อ)ลาดับ รายช่ือปลาสวยงามส่งออก มลู ค่า ( บาท ) ปริมาณ ท่ี ( ตวั )11 Hypostomus plecostomus ปลาเทศบาล 6,122,051.30 2,081,08912 Gyrinocheilus aymonieri ปลานา้ ผงึ ้ 5,953,566.59 1,590,89913 Labeo frenatus ปลากาแดง 4,412,442.05 1,127,19614 Scleropages formosus ปลาตะพดั 4,175,494.80 1,34315 Kryptopterus bicirrhis ปลาก้างพระร่วง 4,170,768.66 663,620 1,632,57016 Pangasius hypophthalmus ปลาสวาย 3,943,682.7517 Pterophyllum scalare ปลาเทวดา 3,941,085.23 428,94918 Lebistes reticulata ปลาหางนกยงู 3,419,921.09 204,87519 Poecilia latipinna ปลาสอด 3,183,825.40 1,051,04020 Monodactylus argenteus ปลาเฉี่ยวหิน 3,034,003.25 108,463

วิถกี ารตลาดปลาสวยงามของประเทศไทยผ้รู วบรวมจากธรรมชาติผ้เู พาะเลยี ้ ง นาเข้าพอ่ แมพ่ นั ธ์ปุ ลาพอ่ ค้าคนกลาง ร้ านค้ าสง่ ร้ านค้ าปลกี ผ้ซู ือ้ 10-15% ตลาดภายในประเทศผ้สู ง่ ออก>85% สง่ ออกไปตา่ งประเทศ

การส่งออกปลาสวยงามไปประเทศผ้รู วบรวม ผ้สู ง่ ออกผ้ผู ลติ ตวั แทนผ้สู ง่ ออก- บริษัทผ้สู ง่ ออกของประเทศไทยมี 76 บริษัท สายการบิน- เอกชนสง่ ออกเอง 42 ราย ผ้ซู ือ้- สถานท่เี พาะเลยี ้ งสตั ว์นา้ เพ่อื การสง่ ออก 25 แหง่- สถานทร่ี วบรวมสตั ว์นา้ เพอ่ื การสง่ ออก 42 แหง่- คลงั สนิ ค้าของการบินไทยมีเอเจนซี่ประมาณ 5-6 ราย

ปัญหาด้านการผลติ ปลาสวยงามของประเทศไทย1. ไมส่ ามารถเพม่ิ กาลงั การผลติ ให้เพยี งพอกบั ความต้องการของตลาด ตา่ งประเทศ2. ขาดความหลากหลายของสายพนั ธ์ุ /ปัญหาการนาเข้าพอ่ แมพ่ นั ธ์จุ าก ตา่ งประเทศ3. ขาดความรู้และเทคโนโลยใี นการผลติ เพ่อื การสง่ ออก : การจดั การพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ การ จดั การฟาร์มให้ถกู สขุ อนามยั วธิ ีการปอ้ งกนั -รักษาโรค4. ขาดการรวมกลมุ่ การผลติ5. ฟาร์มไมไ่ ด้รับมาตรฐานการผลติ สนิ ค้าปลาสวยงามเพื่อการสง่ ออก6. ปัจจยั การผลติ มีราคาสงู ขนึ ้ อาหารมชี ีวิต อาหารสาเร็จรูป เคมีภณั ฑ์ นามนั ฯลฯ7. ไมส่ ามารถเพาะเลยี ้ งปลาสวยงามได้ตลอดปี8. ปัญหาการขาดแคลนนา้ ในหน้าแล้ง / นา้ ทว่ ม

แนวทางแก้ไขปัญหาด้านการผลิตปลาสวยงามของประเทศไทย 1. เพม่ิ กาลงั การผลติ โดยการรวมกลมุ่ การผลติ ตามความต้องการของตลาด 2. เพม่ิ ความหลากหลายของสายพนั ธ์ุ โดยการนาเข้าพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ และพัฒนาการ ผลติ สายพนั ธ์ไุ ทยทต่ี ลาดมีความต้องการ 3. พฒั นาความรู้และเทคโนโลยใี นการผลติ เพอื่ การสง่ ออก : การจดั การพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ การจดั การฟาร์มให้ถกู สขุ อนามยั วธิ ีการปอ้ งกนั -รักษาโรค เพอ่ื ให้สามารถผลติ ปลา สวยงามทีม่ ีคณุ ภาพ ตามความต้องการของตลาด 4. ปรับปรุงฟาร์มเพือ่ ให้ได้มาตรฐานการผลติ ปลาสวยงามเพือ่ การสง่ ออก 5. พฒั นาการเพาะเลยี ้ งแบบครบวงจรเพื่อให้สามารถผลติ ปลาสวยงามให้ได้ ตลอดปี การลดต้นทนุ การผลติ

แนวทางแก้ไขปัญหาด้านการตลาดปลาสวยงามของประเทศไทย 1. ผ้ผู ลติ เก็บรวบรวมข้อมลู ความต้องการของตลาด เพอ่ื ให้สามารถวางแผนการ ผลติ ตลอดทงั้ ปี 2. ผ้ผู ลติ มีการรวมกลมุ่ เพื่อให้มศี กั ยภาพในการตอ่ รองราคา 3. มีฟาร์มมาตรฐานในการผลติ สนิ ค้า เพื่อสร้างความเช่ือมนั่ และภาพลกั ษณ์ทดี่ ี ของสนิ ค้าไทย 3. ภาครัฐและเอกชนร่วมกนั ประชาสมั พนั ธ์สนิ ค้าปลาสวยงาม เช่นการจดั งาน เกี่ยวกบั ปลาสวยงาม ในภมู ิภาคตา่ ง ๆ เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจทีด่ ใี น การเลยี ้ งปลาสวยงาม 4. ภาครัฐและเอกชนร่วมกนั ประชาสมั พนั ธ์สนิ ค้าปลาสวยงาม โดยการเข้าร่วมงาน แสดงสนิ ค้าปลาสวยงามในระดบั สากล เช่น งาน Aquarama ที่ประเทศสงิ คโปร์ งาน Inter Zoo ทป่ี ระเทศเยอรมนั Malaysia Aqua Fair ที่ประเทศมาเลเซยี เป็นต้น

เปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขัน โดยการใช้ส่ือกลางทาง e-commerce ร่วมในการทาธุรกิจปลาสวยงาม คาสาคญั จำนวน Website ที่ถกู ค้นพบโดย googleAquarium fish shops Thailand Singapore Malaysia VietnamOrnamental fish shopsSell ornamental fish 278,000 266,000 253,000 101,000Ornamental fish exporters 159,000 158,000 149,000 132,000 370,000 387,000 424,000 265,000 36,900 34,300 37,500 26,800แหลง่ ท่ีมา : www.google.com

แนวทางแก้ไขปัญหาด้านการส่งออกปลาสวยงามของประเทศไทย 1. พฒั นาการผลติ ปลาสวยงามให้มคี ณุ ภาพ ตรงตามความต้องการของตลาด 2. ปรับปรุงมาตรฐานการผลติ ระดบั ฟาร์ม GAP และพฒั นาสถานทีเ่ พาะเลยี ้ ง และสถานที่รวบรวมสนิ ค้าปลาสวยงามเพ่อื การสง่ ออก ให้ได้มาตรฐานตามท่ี ประเทศคคู่ ้ามคี วามต้องการ (สพอ.) / (สรอ.) / การรับรองมาตรฐานตาม EU 3. ภาครัฐ ผ้เู ผลติ ผ้สู ง่ ออก มกี ารร่วมมอื แลกเปลยี่ นข้อมลู ขา่ วสารที่เก่ียวข้อง เก็บข้อมลู ตวั เลขมลู คา่ การนาเข้าและสง่ ออก 4. ลดขนั้ ตอนการนาเข้าและการสง่ ออก (ระบบ Single-Window) 5. ภาครัฐมมี าตรการลดภาษีการนาเข้าปลาสวยงามเพอ่ื สง่ เสริมธุรกิจ 6. พฒั นาระบบการบรรจหุ ีบหอ่ ในการขนสง่ ให้มปี ระสทิ ธิภาพ ลดการสญู เสีย 7. พฒั นาระบบโลจิสตกิ ส์ 8. รัฐบาลกาหนดยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายการพฒั นาธรุ กิจปลาสวยงาม

ประเทศท่นี าเข้าปลาสวยงามท่สี าคัญสหรัฐอเมริกา และญ่ีป่ นุ เป็นประเทศผ้นู าเข้าปลาสวยงามที่ใหญ่ท่ีสดุ ในโลก สว่ นใหญ่นาเข้าปลาสวยงามเพอื่ ขายในประเทศสหรัฐอเมริกาไมม่ กี ารเก็บภาษีการนาเข้า-สง่ ออก ปลาสวยงาม นยิ มสตั ว์เลยี ้ งพวกปลาสวยงามมาก เป็นอนั ดบั 3 รองจากสนุ ขั และแมว ชนดิ ปลาสวยงามทน่ี ิยมเลยี ้ งได้แก่ ปลากดั คาร์ฟขนาดเลก็ หางนกยงู ออสการ์ ปอมปาดวั ร์ ฯลฯประเทศญ่ปี ่ ุน ต้องการปลาสวยงามทม่ี คี ณุ ภาพและราคาสงู ซือ้ ปลาทม่ี ีขนาดโตนยิ มปลาแปลกและหายากฮ่องกงและสงิ คโปร์ เป็นประเทศทนี่ าเข้าปลาสวยงามเพอื่ การสง่ ออกเป็นหลกัเพราะมรี ะบบสาธารณปู โภคที่ดี เทคโนโลยีทนั สมยั คา่ ขนสง่ ถกูประเทศกลุ่มยโุ รป เช่น โปแลนด์ ฝรั่งเศส สหราชอาณาจกั ร เยอรมนั ฯลฯ ประเทศกลมุ่ นตี ้ ้องการปลาสวยงามที่มคี ณุ ภาพสงู และต้องมใี บรับรองสขุ ภาพสตั ว์นา้ ด้วย ประเทศเหลา่ นมี ้ รี ะเบยี บการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ข้มงวด แตเ่ ป็นตลาดใหญ่

สถานภาพการผลติ และการตลาดของประเทศผู้ส่งออกท่ีสาคัญ ประเทศสิงคโปร์ ๏ ตลำดปลำสวยงำมเป็น “One-stop shop” มกี ำรใช้ ระบบ Tradenetจุดเด่น ๏ ทำธุรกิจแบบ Re-Export ทำให้มคี วำมหลำกหลำยของสำยพนั ธ์ุ ๏ รัฐบำลมีควำมมน่ั คง มีกำรจดั ตงั้ นิคมอตุ สำหกรรมเทคโนโลยีเกษตร ๏ เอกชนมี AVA (Agri-Food & Veterinary Authrority of Singapore) คอยชว่ ยเหลอื ประสำนงำนระหวำ่ งรัฐและเอกชน AVA จะกำหนดรหสั กลมุ่ ปลำสวยงำมเพื่อสะดวกตอ่ กำรจดั ๏เก็บข้อมลู และกำรนำเข้ำ-สง่ ออก ๏ เน้นกำรผลติ ปลำท่มี รี ำคำสงู ๏ มีระบบโลจิสติกส์ท่ีดี ขนั้ ตอนกำรสง่ ออกรวดเร็ว ๏ ไมค่ ดิ ภำษีนำเข้ำและสง่ ออก ๏ มกี ำรรวมตวั ของผ้ปู ระกอบกำรจดั ตงั้ สมำคม Singapore Aquarium Exporters’ Association ช่วยสง่ เสริมกำรขยำยตวั ของบริษัทสง่ ออก เทคโนโลยกี ำรเพำะเลีย้ ง ๏ มีกำรจดั ประกวดปลำสวยงำมระดบั โลก (Aquarama) ทกุ 2 ปีจุดด้อ๏ย ไมม่ ีทรัพยำกรธรรมชำติ / มีพนื ้ ทีก่ ำรเพำะเลยี ้ งจำกดั / ทีด่ นิ มรี ำคำสงู

สถานภาพการผลติ และการตลาดของประเทศผู้ส่งออกท่ีสาคัญประเทศมาเลเซยีจุดเด่น ๏ รัฐบาลมนี โยบายสนับสนุนธุรกิจปลาสวยงาม ภายใต้แผนพัฒนาประเทศ ฉบบั ท่ี 9 (The Ninth Malaysia Plan, 2006-2010) โดยให้การเพาะเลยี้ งสัตว์ นา้ มกี ารเจริญเติบโต 21.5 % ๏ มกี ารแบ่งโซนการผลติ โดยการจัดทา Cruster approach แบ่งออกเป็ น 3 Crusters เน้นการผลิตปลสวยงามท่มี รี าคาสงู 3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มปลา Discus / กลุ่มปลา Goldfish และ Koi / กลุ่มปลา Arowana เพ่ือให้ฟาร์ม มีความชานาญเฉพาะทาง และควบคุมการผลติ ได้ ๏ มีการลงทุนโครงการ Aquaculture Indrustrial Zone พืน้ ท่ี 230,000 ไร่ ๏ มีการจดั ประกวดปลาสวยงามระดบั โลก (Malaysia Aqua Fair) ) ทุก 2 ปีจุดด้อย ๏ ธุรกิจขนำดใหญ่มีตำ่ งชำตเิ ป็นเจ้ำของ ๏ สว่ นใหญ่ผลติ เพ่ือสง่ ขำยสงิ คโปร์

สถานภาพการผลติ และการตลาดของประเทศผู้ส่งออกท่ีสาคัญประเทศเวียดนามจุดเด่น ๏ รัฐบำลสนบั สนนุ กำรสร้ำงศนู ย์กำรเพำะพนั ธ์ปุ ลำสวยงำม มแี ผนทจ่ี ะลดภำษีกำรนำเข้ำปลำสวยงำมเพื่อกำรเพำะพนั ธ์ุ ๏ สนิ ค้ำและผลติ ภณั ฑ์ปลำสวยงำมจะได้รับนโยบำยด้ำนภำษีเป็นพิเศษ ๏ มีทรัพยำกรธรรมชำติ และแหลง่ นำ้ ท่ีเหมำะสมจุดด้อย ๏ ธรุ กิจปลำสวยงำมมีกำรขยำยตวั เฉพำะทีเ่ มอื งโฮจิมินส์ ๏ มสี ำยกำรบินระหวำ่ งประเทศน้อย / คำ่ โลจิสติกส์สงู ๏ ปัญหำกำรปรับตวั ให้เข้ำกบั มำตรฐำนกำรสง่ ออก ๏ ขำดกำรวำงแผนกำรผลติ ขำดกำรควบคมุ มำตรฐำนกำรผลติ

จุดเด่น สถานภาพการผลิตและการตลาดของประเทศไทยจุดด้อย ๏ เกษตรกรผ้ผู ลติ ปลำสวยงำมของไทย มีศกั ยภำพสงู ในกำรผลติ และ กำรพฒั นำสำยพนั ธ์ปุ ลำสวยงำม ๏ มที รัพยำกรธรรมชำติ และแหลง่ นำ้ ทีเ่ หมำะสม ภมู อิ ำกำศที่เหมำะสม ตอ่ กำรผลติ ปลำสวยงำม มแี หลง่ อำหำรธรรมชำตสิ มบรู ณ์ ๏ ภำครัฐและเอกชนมีกำรประชำสมั พนั ธ์ให้ควำมรู้ด้ำนปลำสวยงำมใน ประเทศ เชน่ จดั งำนประมงน้อมเกล้ำฯ...งำนวนั ปลำสวยงำมภำคอสี ำน งำนนครปฐม ฟิช แฟร์...งำนปลำสวยงำมรำชบรุ ี... งำนมหกรรมสตั ว์เลยี ้ งฯ งำนประมงน้อมใจไทยทวั่ หล้ำ งำนวนั ปลำสวยงำมแหง่ ชำติ ๏ ผ้ผู ลติ ขำดกำรปรับปรุงพอ่ แมพ่ นั ธ์แุ ละมำตรฐำนกำรผลติ สินค้ำ ๏ ระบบโลจิสติกส์ยงั ไมเ่ อือ้ ตอ่ ธรุ กิจปลำสวยงำมสง่ ออก ๏ ภำครัฐไมม่ ีแผนสง่ เสริมธุรกิจปลำสวยงำมอยำ่ งเป็นรูปธรรม ๏ กำรเข้ำร่วมงำนประชำสมั พนั ธ์สนิ ค้ำปลำสวยงำมนำนำชำตยิ งั มนี ้อย รัฐไมม่ ีนโยบำยสนบั สนนุ ท่ชี ดั เจน

จานวนฟาร์มปลาสวยงามในประเทศไทยท่ขี ึน้ ทะเบียนเกษตรกรลาดับท่ี จังหวัด จานวนฟาร์ ม 1 รำชบรุ ี 597 2 นครปฐม 301 3 กรุงเทพมหำนคร 133 4 ฉะเชงิ เทรำ 126 5 นครสวรรค์ 126 6 กำญจนบรุ ี 113 7 นนทบรุ ี 28 8 อำ่ งทอง 24 9 พระนครศรีอยธุ ยำ 22 10 ชลบรุ ี 21 11 อืน่ ๆ 100 รวม 1,591


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook