Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านงิ้ว_clone

SAR ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านงิ้ว_clone

Published by ปนัดดา หวังแววกลาง, 2019-05-22 09:04:42

Description: SAR ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านงิ้ว

Search

Read the Text Version

1 รปู แบบกระบวนการพฒั นาและนิเทศระบบประกันคุณภาพการศึกษาแบบย่ังยืน โรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5 กระบวนการที่ 1 สะท้อนผลการประเมินครงั้ กอ่ น กระบวนการท่ี 2 สาเรจ็ ตามเป้าหมาย ขั้นตอนกาหนดเป้าหมายใหม่ ยกย่องเชิดชเู กยี รติ กระบวนการที่ 3 ใส่ใจกระบวนการรว่ มมอื กระบวนการท่ี 4 ยดึ ถือเกณฑ์พจิ ารณามาตรฐาน กระบวนการที่ 5 ประสานองค์กรประเมินงาน ไมส่ าเรจ็ ตามเป้าหมาย กระบวนการท่ี 6 เปรยี บเทียบพฒั นาการย่ังยืน ทมี่ า : ค่มู ือการพัฒนาและนิเทศระบบประกันคุณภาพ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 5 : 2561 กระบวนการท่ี 1 สะท้อนผลการประเมินครั้งก่อน โดยพันธกิจใหส้ ถานศึกษา ดาเนนิ การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ มาตรฐาน และประเด็นพิจารณา ระบบประกันคุณภาพภายใน ปีการศึกษาที่ผ่านมา คน้ พบ จดุ เด่น จุดพฒั นา ของสถานศึกษาเปน็ รายมาตรฐาน กระบวนการที่ 2 ข้นั ตอนกาหนดเป้าหมายใหม่ โดยพนั ธกิจ ให้สถานศึกษานามาตรฐานและ ประเดน็ พิจารณามากาหนดเป้าหมายใหม่ และออกแบบกิจกรรมต่าง ๆ /โครงการ มาพัฒนาให้บรรลุ เปา้ หมาย กระบวนการที่ 3 ใส่ใจกระบวนการรว่ มมอื โดยพนั ธกจิ เมอื่ โรงเรยี นกาหนดเป้าหมายพฒั นาแลว้ โรงเรยี นออกแบบให้ผ้เู ก่ียวข้อง (Stakeholder) ประสานให้ช่วยคดิ ร่วมวางแผน รว่ มจดั กิจกรรม เปน็ วิทยากร,แหลง่ เรยี นรู้,หรือสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายแตล่ ะมาตรฐานและประเดน็ พิจารณา

2 กระบวนการท่ี 4 ยดึ ถือเกณฑ์พจิ ารณามาตรฐาน โดยโรงเรียนกาหนดประเดน็ พจิ ารณาข้ึนมา เพอ่ื เปน็ การเตรยี มตนเองตามแนวประเดน็ พิจารณา 3 มาตรฐาน ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระบวนการที่ 5 ประสานองคก์ รประเมินงาน โดยพนั ธกิจ ประสานเขตพน้ื ทแ่ี ละองค์ภายนอก ประสานระบบประกนั คุณภาพภายในทุกโรงเรยี นจัดทา SAR ระดบั ห้องเรยี น,ประเมิน SAR ปฐมวยั , ประเมิน SAR ข้นั พ้นื ฐาน ตามเปา้ หมายที่กาหนดในต้นปกี ารศึกษา กระบวนการท่ี 6 เปรียบเทยี บพฒั นาการยง่ั ยืน สถานศกึ ษานาผลการการประเมิน เปรียบเทยี บ พฒั นาการของสถานศึกษา ทาพัฒนาการแตล่ ะประเด็นพิจารณา โดยพันธกิจโรงเรยี น เปรยี บเทยี บ พฒั นาการมาตรฐานและใหร้ ะดบั พัฒนาการตนเอง A,B,C,D และ E แล้ว สรุป สะทอ้ นผลระบบประกนั คุณภาพของการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 1) กรณีบรรลเุ ป้าหมายของภารกจิ งานที่พฒั นา จัดให้มีการ ให้ขวญั กาลังใจ เชดิ ชเู กียรติ นาเขา้ สรู่ ะบบคลังนวัตกรรม (INN๐ Bank) หรือ แบบอย่างทด่ี ี (Best Practice) 2) กรณีไม่บรรลุเป้าหมาย นายอ้ นกลับเขา้ สู่การพฒั นาในกระบวนการท่ี 1

3 คุณภาพสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2561 ระดบั การศึกษาปฐมวัย ……………………………………………… เกณฑ์บง่ ชี้คณุ ภาพ ใชเ้ กณฑ์พฒั นาตนเองอยู่ในระดับดีข้ึนไป (ดี,ดเี ลิศ,ดเี ย่ียม) A หมายถึง มีผลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (4 ประเด็นพจิ ารณา),มาตรฐานที่ 2 (6 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (4 ประเด็นพิจารณา) B หมายถึง มีผลพัฒนา มาตรฐานท่ี 1 (3 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานที่ 2 (4-5 ประเด็นพิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (3 ประเด็นพจิ ารณา) C หมายถงึ มีผลพฒั นา มาตรฐานท่ี 1 (2 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานที่ 2 (3 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (2 ประเดน็ พิจารณา) D หมายถึง มผี ลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (1 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานท่ี 2 (2 ประเด็นพิจารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (1 ประเด็นพิจารณา) E หมายถึง มีผลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (1 ประเดน็ พจิ ารณา),มาตรฐานที่ 2 (1 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (1 ประเด็นพิจารณา)

4 คุณภาพสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561 ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ……………………………………………… เกณฑ์บ่งช้ีคุณภาพ ใชเ้ กณฑ์พัฒนาตนเองอยใู่ นระดบั ดีข้ึนไป (ดี,ดีเลศิ ,ดเี ยี่ยม) A หมายถงึ มผี ลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (9-10 ประเด็นพจิ ารณา),มาตรฐานท่ี 2 (5-6 ประเดน็ พจิ ารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (5 ประเด็นพจิ ารณา) B หมายถงึ มผี ลพัฒนา มาตรฐานที่ 1 (7-8 ประเด็นพจิ ารณา),มาตรฐานที่ 2 (3 ประเด็นพจิ ารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (3 ประเด็นพิจารณา) C หมายถงึ มีผลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (5-6 ประเดน็ พจิ ารณา),มาตรฐานท่ี 2 (2 ประเด็นพิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (2 ประเดน็ พิจารณา) D หมายถึง มผี ลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (3-4 ประเดน็ พจิ ารณา),มาตรฐานที่ 2 (2 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (2 ประเด็นพิจารณา) E หมายถงึ มผี ลพัฒนา มาตรฐานที่ 1 (1-2 ประเด็นพิจารณา),มาตรฐานที่ 2 (1 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (1 ประเดน็ พิจารณา)

5 บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2561 ………………………………………………….. กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กาหนดใหก้ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เปน็ การประเมนิ ผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพ่ือใหเ้ กิดการพัฒนาและสรา้ ง ความเชื่อมน่ั ให้แก่ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้นั สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลเุ ปา้ ประสงคข์ องหนว่ ยงานต้นสงั กดั หรือหน่วยงานทก่ี ากับดูแล จากการเปล่ยี นแปลงข้อกาหนด กระทรวงได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานในสถานศกึ ษา สถานศึกษา มีหน้าท่ีบรหิ ารจดั การการศึกษา ให้มคี ุณภาพและได้ มาตรฐาน สถานศึกษา ได้ดาเนินการสง่ เสริมพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาอยา่ ง ตอ่ เนื่อง โดยดาเนนิ การ 1) กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 2) จัดทาแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ท่ีมงุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาโดยมีแผนปฏบิ ัติการ ประจาปีในการรองรับ 3 ) ดาเนินงานตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4) ประเมินผลและ ตรวจสอบ 5) ติดตามผลการดาเนนิ การเพื่อพัฒนาการศกึ ษา ให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา 6) จดั ทา รายงานการประเมนิ ตนเองทีเ่ ป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา และจัดส่งรายงานใหห้ น่วยงานตน้ สงั กัดและหนว่ ยงานทก่ี ากับดูแลทุกปี สรปุ ผลการสงั เคราะหร์ ายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ( Self Assessment Rep0rt : SAR ) ปีการศกึ ษา 2561 สถานศึกษา ได้นาเอกสารรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาปฐมวัยประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 14 ข้อประเดน็ พิจารณา และระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นพจิ ารณา มาประมวลผล ในภาพรวม ผลสรุปได้ ดังนี้ จากผลการประเมินสรปุ ว่าได้ระดบั ดเี ยี่ยม มาตรฐานท่ี 1 ผลการจดั การศกึ ษา อย่ใู นระดบั ดเี ยี่ยม นักเรียนโรงเรียนบา้ นงวิ้ มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการ มีคุณธรรม จริยธรรม และดาเนนิ ชวี ิตตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา อยู่ในระดับดีเยี่ยม บุคลากรทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม ในการจดั การศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั อยู่ในระดับดเี ย่ียม ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญโดยใชส้ ื่อเทคโนโลยที ี่เหมาะสมมีการประเมนิ ผลท่ี หลากหลายตามศักยภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 4 ระบบประกันคุณภาพภายในท่ีมปี ระสิทธผิ ล อยูใ่ นระดบั ดเี ยี่ยม การดาเนินงานการ ประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วมของทกุ ฝ่ายเพ่ือการไปถงึ เป้าหมายทีไ่ ด้กาหนดรว่ มกนั

6 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนจัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี น สามารถคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ คิดสร้างสรรค์ ตดั สินใจ แก้ปัญหาได้ อยา่ งมีสติโดยจดั การเรยี นการสอนท่สี ง่ เสริมพัฒนาทกั ษะการคิดมีกระบวนการพฒั นาผ้เู รียน ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย ได้แก่ โครงการพัฒนาศักยภาพนกั เรยี น กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน กจิ กรรมการจัดทาแบบฝึกทักษะเพื่อพฒั นาการอ่าน การคิด วิเคราะห์และการเขียน การประกวดเขียน เรียงความ การประกวดวาดภาพในวนั สาคญั กจิ กรรมส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้ โครงงาน กจิ กรรมการเขยี นแผนผงั ความคิด และกจิ กรรมส่งเสริมใหค้ รูจดั การเรียนรู้ เพื่อฝึกทักษะการคิด จดั การเรียนรู้ ให้เปน็ ไปตามศักยภาพของผเู้ รยี น และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวชว้ี ดั ของหลกั สูตร มีการ ออกแบบการจดั การเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น เนน้ เรื่องการอ่านออกของผเู้ รียนเปน็ เร่ืองสาคัญทสี่ ุด โดย มงุ่ พฒั นาให้ผูเ้ รียนทุกคนอ่านออกและเขยี นไดต้ ั้งแต่ระดบั ชั้น ป.1 สถานศกึ ษาจดั กิจกรรมสนบั สนุนและ ส่งเสริม ผู้เรียนมสี ุขภาวะท่ีดี มีการจัดการเรียนการการสอน โดยดาเนินโครงการ/กิจกรรม ท่สี ร้างสุขนิสยั ในการดแู ลสุขภาพและ ออกกาลงั กายสม่าเสมอ และ มีน้าหนกั ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตาม เกณฑ์ ตามโครงการสง่ เสริมสุขภาพ มกี ิจกรรมแขง่ ขนั กีฬาสภี ายใน การแขง่ ขันกีฬาศูนย์พฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาหนองหวั ฟาน โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ ยงั มีการสง่ เสรมิ ผู้เรยี นให้ เหน็ คณุ ค่าในตนเอง มคี วามมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม มีมนษุ ยสมั พันธท์ ี่ดแี ละให้เกียรติผอู้ น่ื สร้าง ผลงานจากการเข้ารว่ มกิจกรรมด้านศลิ ปะ ดนตร/ี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการตา่ งๆ ในส่วนของคา่ นยิ ม ที่พงึ ประสงค์ ทางโรงเรยี นได้ดาเนนิ การโครงการกิจกรรมออมทรัพย์ กจิ กรรมวันสาคญั เพิ่มเวลารู้เร่อื ง อาชพี เช่น การทาขนม การทาอาหารหวานคาว การแสดงออกด้านศลิ ปะดนตรี การเลน่ กีฬา การผลิต ของใช้ กระทงใบตอง การจบั ผา้ เป็นตน้ 2. ผลการพัฒนา ในด้านผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการ ผูเ้ รยี นสามารถอ่านออกและเขียนคลอ่ งตาม มาตรฐานการอา่ นในแต่ละช่วงช้นั สามารถเขยี นสอื่ สารได้ ทาให้นักเรียนบุคคลที่มีนิสัยรักการอา่ น แสวงหาความร้ดู ้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และส่ือต่างๆ รอบตัว มีทักษะในการอา่ น ฟงั ดู พูด เขียน และตัง้ คาถามเพ่ือคน้ คว้าหาความร้เู พ่มิ เติม เรยี นรรู้ ่วมกันเปน็ กลมุ่ แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นเพ่อื การ เรยี นรู้ระหวา่ งกนั ทาใหผ้ ่านเกณฑการอาน คดิ วิเคราะห เขียนสอ่ื ความ และ การทดสอบระดับชาติ รวมท้งั ใชเ้ ทคโนโลยีในการเรยี นรแู้ ละนาเสนอผลงานโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและโครงการท่ี ส่งเสริมพฒั นานกั เรยี นใหม้ ีทักษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองตลอดจนมีห้องคอมพิวเตอรอ์ นิ เตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู พร้อมทีจ่ ะใหน้ กั เรยี นสามารถใชค้ น้ ควา้ หาความรตู้ ่างๆ ได้อย่างสะดวก รวดเรว็ ทาใหร้ ักเรยี นรู้ และพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง นกั เรียนเปนคนดี คนเกง มีคุณธรรมจริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค มีจติ สาธารณะ รักษสง่ิ แวดลอม และดารงตนอยางมีความสุขตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง นักเรียนมสี ุขภาวะท่ีดี มสี ุนทรียภาพ โดยการ ออกกาลงั กาย และรบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ตลอดจน การดแู ลความสะอาดของรา่ งกาย ผิวหนงั ฟัน ผม ฯลฯ และสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนเขา้ ร่วมกจิ กรรมต่างๆ เช่น การแขง่ ขนั กีฬา การแข่งขันทักษะทางวิชาการ และเขา้ ร่วมการแสดงในวนั สาคญั ต่างๆ กบั ชุมชน เช่น การร่วมกิจกรรมเด็ก โดยจดั การจดั โครงการท่ีมีการสง่ เสริมพัฒนานกั เรียนท้งั ร่างกายและจิตใจได้แก่ โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพ โครงการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ นกั เรียนไดรับการยกยอง และไดรับ รางวัลจากการเขา้ แขง่ ขันทักษะ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ทุนการศกึ ษาจากหนว่ ยงานต่างๆ โดยทางโรงเรียน

7 สง่ เสริมนกั เรยี นใหเ้ ปน็ บุคคลทีม่ ีคณุ ธรรม จริยธรรม สามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากับวฒั นธรรมท่ีแตกตา่ ง และ ตระหนักร้คู ุณคา่ รว่ มอนรุ กั ษ์พัฒนาส่งิ แวดลอ้ ม โดยการจดั โครงการ/กจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมพัฒนานักเรียนให้มี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ นักเรยี นมที ักษะในการทางาน รกั การทางาน สามารถ ทางานรวมกบั ผูอื่นได ดังตวั อยางจากการเขารวมแขงขันในงานศลิ ปหตั ถกรรม ไดรบั รางวัลชนะเลิศหลาย หลายรายการ ทงั้ ระดบั ศนู ยฯ์ และระดบั เขตพ้ืนท่ี รวมไปถึงการเปน็ สถานศึกษาพอเพียง และสง่ เสริมให้มี เจตคติท่ดี ีตออาชีพสจุ รติ และหาความรูเพิ่มเตมิ ในอาชีพทต่ี นเองสนใจ ดงั ตวั อย่างจากนักเรียนจานวนมาก ทม่ี คี วามกตญั ูตอผูปกครองดวยการชวยเหลอื ผูปกครองในการประกอบอาชพี หารายได้ชวยเหลือ ครอบครัวอยางขยนั ขนั แข็ง 3. จดุ เด่น ผลการจดั การศึกษาของโรงเรียนบา้ นง้ิว จดุ เด่นในการพัฒนาได้แก่ นักเรียนสามารถอา่ นออก เขียนได้ การเขียนส่อื สาร และการศึกษาค้นควา้ ความรดู้ ้วยตนเองโดยเทคโนโลยี มีนกั เรียนเปน็ ผ้คู ณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ไดร้ บั การฝกึ และส่งเสรมิ ให้มีวินยั มีความรบั ผิดชอบมีความประหยดั มคี วามซื่อสัตยต์ อ่ ตนเองและผู้อ่ืนมีความเอ้ือเฟื้อเผือ่ แผ่ เสียสละเพ่ือส่วนรวมสามารถทางานรว่ มกันเป็นทีม รู้จกั ใช้กระบวนการกลุม่ รักการทางาน มภี าวะผู้นา ผู้ตามที่ดี กลา้ แสดงออกในทางสรา้ งสรรค์ มีสุขภาพ ร่างกายแขง็ แรง มนี า้ หนักสว่ นสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั มสี มรรถภาพทางรา่ งกายตามเกณฑ์ ของกรมพลศึกษา มีมนุษยสมั พันธท์ ดี่ กี บั ครูและเพ่ือน จิตใจรา่ เริงแจม่ ใสเข้ากบั เพ่อื นได้ ร้จู กั ดูแลตนเองซ่ึง เป็นคุณลักษณะเดน่ ที่มีในนักเรยี นโรงเรียนบา้ นงวิ้ 4. จุดท่ีควรพัฒนา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและพฤตกิ รรมการเรียนร้ขู องนักเรียนจะต้องได้รบั การพัฒนาเพ่ือ ยกระดบั คณุ ภาพความร้ขู องผู้เรียน ซงึ่ ครูจะต้องดาเนินจดั กระบวนการเรยี นร้ใู ห้เหมาะสมกบั นักเรยี นต่อไป นกั เรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ คิดไตร่ตรองคิด สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ คดิ แก้ปัญหา ตดั สินใจไดค้ ่อนขา้ งน้อย ผลการเรียนรู้มีผลสัมฤทธอ์ิ ยู่ในระดบั พอใช้ ให้พฒั นา กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของนกั เรยี นให้มีความตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ย่ียม 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นมีการบรหิ ารงานอย่างมสี วนรวม และมกี ารกาหนดวิสัยทัศน เปาประสงค และพันธกิจ ชดั เจน สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษาและทองถิ่น โดยท่ผี ูบริหารมีวิสัยทัศน มภี าวะผูนา มี ความสามารถทางวชิ าการ และมคี วามคิดรเิ ริม่ ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาและพฒั นาผูเรียน โดยใช กระบวนการบรหิ ารแบบมสี วนรวม นาขอมลู และผลการประเมินมาใชกระบวนการวิจัย อีกท้งั ยงั นอมนา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเทคโนโลยมี าใชในการปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษาท้งั ดาน วิชาการและการบริหารจดั การสถานศกึ ษาครอบคลุมภารกิจท้งั ๔ ดาน ไดแก งานบริหารวิชาการ งาน บริหารงบประมาณ งานบรหิ ารบุคคล งานบริหารทัว่ ไป ใหบรรลุเปาหมายตามที่กาหนดไวในแผน สงเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรใหพรอมรบั การกระจายอานาจ ใหคาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการ เอาใจใส การจัดการศึกษาเตม็ ศักยภาพ เตม็ เวลา โดยมกี ารประเมินความพึงพอใจของผูมสี วนเก่ียวของ ไดแก ผปู กครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน

8 2. ผลการพฒั นา ผ้บู รหิ ารมีวิสยั ทศั น์ ภาวะผ้นู า และความคิดรเิ ริ่มที่เนน้ การพฒั นาผเู้ รียน ใชห้ ลกั การบรหิ าร แบบมสี ่วนร่วมและใชข้ ้อมลู ผลการประเมนิ หรือผลการวจิ ัย เปน็ ฐานคดิ ทั้งดา้ นวชิ าการและการจดั การ โดยผบู้ ริหารสง่ เสริม สนบั สนนุ พัฒนาระบบบริหารสถานศึกษา พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา พัฒนา บคุ ลากร นเิ ทศภายใน ผบู้ รหิ ารให้ คาแนะนา คาปรึกษาทางวชิ าการและเอาใจใส่การจัดการศึกษา เต็มศักยภาพและเตม็ เวลา มีการสรา้ งขวญั และ กาลงั ใจให้แก่บคุ ลากรในโรงเรยี น นอกจากนีผ้ ้บู ริหาร ยงั เป็นผ้ทู ี่มกี ารพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ มีการแสวงหาความรู้ ทีท่ ันสมยั มใี จกวา้ ง รบั ฟงั ข้อคดิ เหน็ และ ขอ้ เสนอแนะของผู้ร่วมงาน เพอื่ นาไปพฒั นาปรบั ปรุงการบริหารงานใหม้ ี ประสิทธภิ าพและสถานศึกษา จดั องค์กรโครงสรา้ งบรหิ ารเป็นระบบมีแผนกลยทุ ธแ์ ผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ในการบริหารจดั การและ มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษา ซง่ึ ได้รับการคัดเลือกเป็นไปตามกฎกระทรวง เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการบรหิ าร จัดการโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง สถานศกึ ษามีการส่งเสรมิ ความสมั พนั ธแ์ ละความรว่ มมือกับชุมชนในการ พัฒนาการศึกษาใหบ้ รกิ ารชุมชน มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนและเสรมิ หลักสตู ร สนองความต้องการ ของผู้เรยี นผูบ้ รหิ ารมีความคดิ รเิ ริ่มในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 3. จุดเดน่ การบรหิ ารการศึกษาแบบมีสวนรวม มีทศิ ทางในการบริหาร และใชเทคโนโลยใี นการวิจัย เพอ่ื พัฒนาการศึกษา สงผลใหโรงเรยี นผานการประเมนิ สถานศกึ ษาภายนอกจากสานกั งานรบั รองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) รอบ ๓ และนักเรียนไดรบั การพัฒนาสงเสริมในทกุ ๆ ดาน จนไดรบั รางวลั ในการประกวดและแขงขัน ในระดบั ศนู ยฯ์ ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษา ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนร้อู ย่างมีคุณภาพ มีการ ดาเนินการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน จัดทารายงานผลการจัดการศึกษา และใช้ กระบวนการวิจยั ในการรวมรวมข้อมลู ในการการวางแผนการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา 4. จุดท่คี วรพัฒนา โรงเรียนควรจดั ใหมกี จิ กรรมกลุมสมั พนั ธเพ่ือประสานความสัมพนั ธ์ระหวางคณะกรรมการ สถานศึกษาดวยกนั และกับโรงเรียน โรงเรียนควรพฒั นาเครอื ข่าย ความร่วมมอื ของผมู้ ีสว่ นเกยี่ วโยงในการ จดั การศึกษาของโรงเรียน ให้มีความเข็มแข็ง มสี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา และเผยแพรผ่ ล การปฏบิ ัติงานหรอื กจิ กรรมต่างๆ ต่อสาธารณชนโดยจดั ทาการประชาสมั พันธ์อย่างต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ระดบั คุณภาพ : ดีเยี่ยม 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนมคี วามมุนม่ันในการจดั การศึกษาเพ่อื ใหเกิดประสิทธภิ าพอันสงู สุด โดยสงเสรมิ ใหครู จดั การเรยี นรูเพื่อ ฝกทักษะการคดิ ทุกรายวิชารวมทง้ั สงเสริมใหนกั เรยี นเรียนรู โดยทาโครงงานใน รายวชิ าตาง ๆ เชน โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานคุณธรรม โครงงานโรงเรยี นสุจริต ในแตละกลุมสาระ การเรยี นรู้ โดยไดสอดแทรกสาระทองถน่ิ เขาไปดวย จดั รายวชิ าตามความสนใจของผูเรยี น มีการนิเทศ ภายใน กากบั ติดตาม ตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรงุ การเรยี นการสอนอยางสม่าเสมอ โดยการจัดทา แผนการเรียนรู บนั ทึกหลังแผน จดั ระบบดแู ลชวยเหลอื ผูเรยี นท่ีมปี ระสิทธิภาพ โดยมีการสมั ภาษณ และเยีย่ มบาน ให้การชว่ ยเหลือผูท่ตี องใหความชวยเหลอื ในแตละช้นั เรยี น เพ่ือแจกทนุ การศกึ ษาใน โอกาสตาง ๆ เชน วนั ไหวครู วันแม วันพอ วนั เด็ก ทุนเรยี นดี

9 2. ผลดาเนินงาน จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู จดั โครงการ/กิจกรรมอยางหลากหลาย เพือ่ ฝกทักษะการคิด ในทกุ กลุมสาระการเรยี นรูและทกุ ช้ัน ชวยพัฒนาทักษะดานการคดิ วิเคราะห ไดในระดับดี นักเรยี นไดเรยี นรู เกยี่ วกบั ทองถ่นิ ของตนทาใหรูจกั ทองถนิ่ ของมากขน้ึ การนิเทศภายใน กากบั ติดตาม ตรวจสอบ ทาใหครู จัดทาแผนการเรยี นรูท่ีเนนผูเรียน เปนสาคญั ครมู กี ารพฒั นาปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหกับผูเรียนใหเกิด ความรูความเขาใจอยางสูงสดุ ระบบดูแลชวยเหลอื ทาในนักเรยี นไดรบั การชวยเหลอื ในเบ้ืองตน ส่งผลใหผ้ ล การประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานที่ 3 อยใู่ นระดบั ดีเย่ยี ม 3. จดุ เดน่ ครูไดรับการพัฒนาจนมคี วามรูความเขาใจ การวเิ คราะหหลักสตู ร เพ่ือจดั ทาแผนการจัดการ เรยี นรูทสี่ อด คลองกบั บริบทในทองถน่ิ และเนนผูเรยี นเปนสาคญั ซ่งึ ไดศึกษาผูเรยี นเปนรายบคุ คล ใชวิธกี ารแกปญหาดานการเรียนและ ปญหาดานพฤติกรรมนกั เรียนดวยกระบวนการวิจัยในชน้ั เรยี น ตลอดจนการจดั กิจกรรมที่หลากหลาย ในการสงเสริมพัฒนาใหผูเรยี นมที ักษะ กระบวนการคดิ กระบวนการ แกปญหา กระบวนการกลุม กระบวนการสบื เสาะแสวงหาความรู ไดฝกคดิ อยางสรางสรรคสงผลใหนกั เรียน ไดรบั เกยี รติบตั รจากการเขารวมแขงขันทกั ษะทางวิชาการ ท้ังระดบั ศนู ยฯ์ และระดบั เขตพืน้ ที่ และการ แสดงออกดานความสามารถต่างๆ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเป้าหมาย ครูมีการพัฒนาตนเอง อยา่ งต่อเน่ือง มีการทาวจิ ัยในห้องเรียนเพื่อพัฒนาการเรยี นการสอน 4. จุดทคี่ วรพัฒนา ครคู วรมคี วามตน่ื ตวั ในการเรียนรูดานเทคโนโลยี เพอื่ ใชในการพฒั นาส่ือ นวตั กรรมในการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแกนักเรยี น และใหนาภมู ปิ ญญาทองถ่นิ มาบูรณาการในการจัดการเรียนรูและพัฒนา ผเู รียน มกี ารทางานรวมกนั โดยผานกระบวนการทางานท่ีมรี ะบบ มีความชัดเจน พรอมดวยเอกสาร หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน ซ่งึ สามารถตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ได้ รวมทัง้ การเผยแพร่ผลงานของ ตนเองต่อสาธารณะ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในท่มี ปี ระสิทธิผล ระดับคุณภาพ : ดีเย่ียม 1. กระบวนการพัฒนาและผลการดาเนนิ งาน มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลการพฒั นา มาตรฐานที่ 4 ระบบ สถานศกึ ษาประเมินคุณภาพ - โรงเรียนมีระบบการประกนั คุณภาพภายในทม่ี กี ารดาเนินงาน การประกันคุณภาพภายใน ภายในตามระบบการประกนั คุณภาพ อย่างต่อเน่ือง มกี ารจดั เก็บข้อมูล สารสนเทศอยา่ ง เป็นระบบมีการ ที่มปี ระสทิ ธิผล การศกึ ษา 8 ประการ ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบข้อมูล สารสนเทศท่ีถูกต้องตรงตามความ 1. กาหนดมาตรฐาน การศึกษาของ ตอ้ งการและทนั ตอ่ การใชง้ านอยู่ เสมอ สถานศกึ ษา 2. จดั ทาแผนการพัฒนาการ จดั การศกึ ษา 3. จัดการบรหิ ารสารสนเทศที่เป็น ระบบ

10 มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลการพฒั นา 4. จัดทาแผนพัฒนาการจัด การศกึ ษา - คณะกรรมการสถานศึกษา 5. ดาเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบ ครเู ห็นความสาคัญของการประกนั คณุ ภาพการศึกษา คณุ ภาพการศึกษาและม่งุ เนน้ 6. ประเมนิ คุณภาพภายใน ตาม เพือ่ ให้บรรลุตามมาตรฐานทีว่ างไว้ มาตรฐานของสถานศึกษา 7. จดั ทารายงานประจาปีท่ี เปน็ การ - ผลการประเมินคุณภาพ ประเมินคุณภาพ ภายใน ภายในอยู่ในระดับดีเยีย่ ม 8. ดาเนนิ การพฒั นาคุณภาพ อยา่ ง ต่อเนื่อง สง่ เสริมใหค้ รเู ขา้ รว่ มประชมุ และ มาถ่ายทอดให้กบั เพอ่ื นครูภายใน โรงเรยี นถงึ ความจาเป็นท่ีจะต้อง มีระบบประกนั พร้อมแนวทางใน การกาหนดมาตรฐานของ สถานศกึ ษา จากน้ันมีการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาเพ่ือรว่ มกนั กาหนดมาตรฐานการศึกษาระดับ การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานร่วมกนั จากน้นั มกี ารกาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบในแตล่ ะ มาตรฐานและตัวบ่งชี้ จากนั้นจัดทา แผนปฏิบัติการใหส้ อดคล้องกับ มาตรฐาน และดาเนนิ งานตามแผน มีการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา แต่งต้ังคณะกรรมการ ประกนั คุณภาพภายในตามมาตรฐาน ของสถานศกึ ษาภาคเรียนละ 1 ครง้ั จดั เครื่องมือให้ประเมินนักเรียนในการ เรยี นรู้ครปู ระเมินตนเองรายบุคคล ตามแผนที่พัฒนาที่วางไว้ คณะกรรมการประกันคุณภาพของ โรงเรียนประเมนิ การดาเนนิ งานตาม มาตรฐานและสรปุ ผลการดาเนนิ งาน เพือ่ ปรับปรุงตลอดปีการศึกษา ติดตาม การประเมนิ โครงการกจิ กรรมสรปุ ผล การดาเนนิ งานโดยทุกฝ่ายมนี ส่วนรว่ ม และมกี ารจัดทารายงานประจาปีเพอื่ เผยแพร่

11 3. จุดเดน่ โรงเรยี นใหค้ วามสาคญั ตอ่ การดาเนินงานประกันคณุ ภาพของสถานศกึ ษาโดยม่งุ เนน้ การสรา้ ง ความเขา้ ในในการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาต่อครู และบุคลากรทกุ ฝ่ายทั้งภายในสถานศกึ ษา และภายในนอกสถานศกึ ษา เพ่ือเปน็ ประโยชน์ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โดยการดาเนินงานการ ประกันคุณภาพภายในของโรงเรยี นเนน้ การมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายเพื่อการไปถึงเป้าหมายทไี่ ดก้ าหนดรว่ มกนั 4. จุดทคี่ วรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาระบบใหค้ รูประเมนิ ตนเองรายบุคคลตามแผนพฒั นาตนเอง และการให้ ข้อมูลย้อนกลับในการพฒั นาตนเองของครู ในการยกระดบั คณุ ภาพของผู้เรยี น

12 ผลการสงั เคราะห์รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2561 ขอ้ มูลพ้นื ฐาน โรงเรียนบ้านงิ้ว ต้ังอย่หู มู่ท่ี 4 ตาบลโนนเมอื ง อาเภอขามสะแกแสง จังหวัดนคราชสมี า สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 5 เปิดสอนตั้งแต่ชน้ั อนบุ าล ถงึ ช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 6 มบี ุคลากรสายบรหิ าร จานวน 1 คน และมบี คุ ลากรครู ครูอตั ราจา้ ง และครูธุรการ โรงเรียน จานวน 6 คน ผลการสงั เคราะห์รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2561 จากการพัฒนา คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั จานวน 3 มาตรฐาน และระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน จานวน 3 มาตรฐาน ของโรงเรียนบ้านงว้ิ ในสังกดั สานกั งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5 สรุปไดด้ ังนี้ การสังเคราะหร์ ายงานประจาปีของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย (ระดับคุณภาพ ดีเยยี่ ม ) มาตรฐานที่ 1 ด้านคณุ ภาพเดก็ 1.1 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย เดก็ พบว่า เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มสี ขุ นิสยั ท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ซงึ่ ประกอบดว้ ย เด็กมีน้าหนักส่วนสูงเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานเด็ก มีทกั ษะการเคลื่อนไหวตามวัยเดก็ มสี ุขนสิ ัยในการดูแลสุขภาพของตนและเด็กหลีกเลีย่ งสภาวะท่ีเสย่ี งต่อโรค อุบัตเิ หตุ อบุ ัตภิ ัยผลจากการประเมนิ โดยภาพรวม อยู่ในระดบั ดีเยยี่ ม 1.2 เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์จิตใจและพบว่า เด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และ แสดงออกทางอารมณ์ได้ ซ่งึ ประกอบดว้ ยเด็กมีความรา่ เริงแจ่มใสเด็กมีความรสู้ กึ ท่ีดีต่อตนเอง เด็กมีความ ม่นั ใจและกล้าแสดงออก เดก็ สามารถควบคุมอารมณต์ นเองได้เหมาะสมกับวัย เด็กมีความช่นื ชมในศลิ ปะ ดนตรี มีการเคลื่อนไหว และรักในธรรมชาติ ผลการประเมนิ โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับ ดเี ย่ียม 1.3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมพบวา่ เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ ดขี องสงั คม ซึ่งประกอบดว้ ยเด็กมวี ินัย รับผดิ ชอบ เชอื่ ฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ มีความซื่อสัตย์ สุจรติ ชว่ ยเหลอื แบ่งปัน เล่นและทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้ และประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตน นบั ถือ ผลการประเมินโดยภาพรวม อย่ใู นระดบั ดเี ยี่ยม 1.4 เด็กมีพฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญาพบวา่ เดก็ มีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ซ่งึ ประกอบด้วย เดก็ สนใจเรียนรู้สงิ่ รอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจและรักการเรียนรู้ เดก็ มคี วามคิดรวบยอดเก่ยี วกับสิ่งต่าง ๆ ทเี่ กดิ จากประสบการณก์ ารเรียนรู้เดก็ มีทักษะทางภาษาท่ีเหมาะสมกับวัยมีทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ผลการประเมินโดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดีเยีย่ ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 สถานศกึ ษามีหลกั สูตรที่ ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ดา้ นสอดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถิน่ สถานศกึ ษามแี นวการจดั การศกึ ษา ประกอบดว้ ย สถานศึกษา มหี ลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา และนาสกู่ ารปฏบิ ตั ิได้อย่างมีประสิทธภิ าพ สถานศึกษามีระบบและกลไกให้ผู้มสี ่วนร่วมทุกฝา่ ยตระหนักและ เข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย ครมู กี ารบริหารจดั การชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก ครมู กี ารใช้สอื่ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเดก็ ครูมกี ารใช้เครื่องมือการวดั และประเมินพฒั นาการ ของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพฒั นาการของเด็กแกผ่ ปู้ กครอง ผลการประเมนิ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดีเย่ียม

13 2.2 สถานศกึ ษามคี รูทเี่ พียงพอกับชั้นเรียน ครมู ีการวจิ ัยและพฒั นาการจดั การเรียนรทู้ ่ีตน รบั ผดิ ชอบและใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์ ครูมีการจดั สง่ิ แวดล้อมใหเ้ กิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ครูมีปฏสิ มั พนั ธท์ ่ีดีกับเด็กและผู้ปกครอง ครูมีวฒุ ิและความรู้ ความสามารถในดา้ นการศึกษาปฐมวัย และครมู ี การจัดทาสารนทิ ัศนแ์ ละนามาไตรต่ รองเพื่อพัฒนาเด็ก ผลการประเมินโดยภาพรวม อย่ใู นระดับ ดี 2.3 สถานศึกษาสง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเชย่ี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ครปู ฏิบตั ิงานตามบทบาท หน้าทอี่ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ พบว่าครูปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ทอี่ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล ซึ่งประกอบด้วย ครมู ีความเข้าใจปรชั ญา หลกั การ และธรรมชาตขิ องการจัดการศึกษาปฐมวยั และสามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ครมู ีการจัดทาแผน การจัดประสบการณท์ ่สี อดคลอ้ งกบั หลกั สูตร การศึกษาปฐมวยั และสามารถจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ี่หลากหลายสอดคล้องกบั ความแตกต่างระหวา่ ง บคุ คล ผลการประเมนิ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดีเลิศ 2.4 สถานศกึ ษามีการจัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรยี นทคี่ านึงถึงความปลอดภัย ส่งเสริมใหเ้ กิดการ เรียนรเู้ ป็นรายบคุ คลและกล่มุ เลน่ แบบรว่ มมอื ร่วมใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มสี ื่อการเรยี นรู้ เชน่ ของเลน่ หนังสอื นิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย ส่อื เทคโนโลยี ส่อื เพ่ือการสบื เสาะหาความรู้ ผลการประเมินโดยภาพรวม อย่ใู นระดับ ดเี ยย่ี ม 2.5 สถานศกึ ษาใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอ่ื การเรยี นร้เู พือ่ สนบั สนุนการจัด ประสบการณ์การกาหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา การจัดทาและการดาเนินการ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาทีม่ ุ่งพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษามกี ารจัดระบบข้อมลู สารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจดั การ มีการตดิ ตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงาน คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา มีการนาผลการประเมินคุณภาพทง้ั ภายใน ผลการ ประเมนิ โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ 2.6 สถานศึกษามรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ว่ นร่วม สถานศกึ ษามีการจดั กจิ กรรมเสรมิ สร้างความตระหนักรแู้ ละเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวยั ใช้หลกั การบริหาร แบบมีสว่ นรว่ มและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจยั เปน็ ฐานคิดท้งั ดา้ นวิชาการและการจดั การ สถานศึกษาสรา้ งการมสี ่วนร่วมและการแสวงหาความร่วมมือกบั ผูป้ กครอง ชุมชน และท้องถน่ิ สถานศกึ ษามี การจัดสง่ิ อานวยความสะดวกเพื่อพฒั นาเด็กอย่างรอบด้านผูป้ กครอง และชุมชนพึงพอใจ ผลการบรหิ ารจัด การศึกษาปฐมวยั ผลการประเมนิ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสาคัญ คณะกรรมการสถานศึกษา และ ผู้ปกครอง ชมุ ชน ปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเกิดประสทิ ธิผลพบว่า คณะกรรมการสถานศึกษา และผ้ปู กครอง ชมุ ชนปฏิบตั ิงานตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเกดิ ประสทิ ธิผล ดา้ นมาตรฐานด้านการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย การส่งเสริมให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาการเรยี นร้ขู องเดก็ และบุคลากรในสถานศึกษา และมกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรูร้ ว่ มกนั ภายใน สถานศกึ ษา และระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ครอบครัว ชุมชน แลองค์กรท่ีเกยี่ วขอ้ ง ผลการประเมนิ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดีเลศิ 3.1 สถานศกึ ษามกี ารจดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ สามารถจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบคุ คล สถานศกึ ษาควรวางแผนพัฒนาการดาเนินงานใหม้ ีประสิทธภิ าพยง่ิ ขนึ้ และย่งั ยนื ตลอดไป ปรบั พื้นที่ใน หอ้ งเรียน แบง่ สัดสว่ นสาหรับทากจิ กรรมไดห้ ลากหลายรูปแบบ มีระบบเฝ้าระวังและวิเคราะหค์ วามเสีย่ งที่ ชดั เจน และควรส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกบั แนวทางการปฏิรปู การศึกษา ยกระดับคณุ ภาพสูง

14 ขนึ้ โดยมกี ารกาหนดแนวทางพัฒนา รว่ มกนั ชแี้ นะ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบาย และแนวทาง การปฏริ ูปการศึกษาของหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง ทง้ั ทส่ี ถานศึกษาได้รับมอบหมายหรือกาหนดเอง เพื่อพฒั นา และส่งเสรมิ การจดั การศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาใหย้ กระดับคุณภาพสงู ขน้ึ โดยมีการกาหนด แนวทาง พฒั นาดังกลา่ วสามารถปรับเปลยี่ นได้ตามกาลเวลาและปัญหาสังคมที่เปลี่ยนไป ผลการประเมินโดยภาพรวม อยู่ในระดับ ดเี ลศิ 3.2 สถานศกึ ษาสรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมี ความสขุ เด็กมีความซื่อสตั ย์ สจุ รติ ประหยดั อดออม มมี ารยาทท่ดี ี อ่อนน้อมถ่อมตน มีทกั ษะในการทางาน มลี ักษณะนิสยั ดา้ นดนตรี กฬี า ศิลปะ มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรตู้ า่ งๆ รอบตวั จดั ประสบการณใ์ ห้เดก็ มลี กั ษณะ พฤติกรรม สนใจเรยี นร้สู งิ่ รอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจและรักการเรยี นรู้ มคี วามคดิ รวบยอดเกีย่ วกบั สิง่ ต่างๆ ทีเ่ กดิ จากประสบการณ์การเรียนรู้ มที กั ษะทางภาษาทีเ่ หมาะสมกบั วยั มที ักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ และมีจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ อย่างต่อเนื่องและย่ังยืน ผลการ ประเมินโดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดีเลศิ 3.3 สถานศึกษาจัดบรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวยั ธรรมชาตขิ องการจัดการศึกษาปฐมวยั จดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ ท่สี อดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศึกษา ปฐมวัย บรหิ ารจัดการช้ันเรียนท่สี ร้างวินยั เชงิ บวก ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีสอดคล้องกบั พฒั นาการของเด็ก ใช้ เครื่องมือการวดั และประเมนิ พัฒนาการอย่างหลากหลาย มีการวิจัย เพ่ือพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ พร้อมกบั จัดสง่ิ แวดลอ้ มให้เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ มปี ฏิสมั พนั ธ์ท่ีดี มีวฒุ แิ ละความรู้ความสามารถในด้านการจดั การศึกษา ปฐมวัย ตลอดจนสามารถ จัดทาสารนิทัศน์ เพ่ือใช้ประโยชน์การพัฒนาเด็กผลการประเมินโดยภาพรวม อยใู่ นระดับ ดเี ลศิ 3.4 สถานศึกษาประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป ปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ การพฒั นาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏริ ูป การศึกษาเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพใหส้ งู ขึน้ พบว่าการพฒั นาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูป การศึกษาเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพให้สูงข้ึน มาตรฐานดา้ นมาตรการสง่ เสริม ประกอบด้วย จัดโครงการ กจิ กรรม สง่ เสริมสนับสนนุ ตามนโยบายเกย่ี วกบั การจดั การศึกษาปฐมวัยและมผี ลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ผลการประเมนิ โดยภาพรวม อย่ใู นระดบั ดเี ลศิ

15 การสงั เคราะห์รายงานประจาปขี องสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน สรุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจาปขี องสถานศึกษาของมาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียนดงั นี้ มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผู้เรยี น มรี ะดบั คุณภาพอยใู่ นระดับ ดเี ลิศ แปลผลสรปุ ไดด้ ังน้ี 1.1 ด้านผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น 1) ดา้ นความสามารถในการอา่ น เขียน การสอื่ สาร และการคดิ คานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชัน้ ผูเ้ รียนมีความสามารถในการอ่านและการเขยี นได้ เหมาะสมตามระดับชั้น ในระดับผ่าน 2) ดา้ นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา ผเู้ รยี นมีความสามารถ ในระดบั ผา่ น 3 ) ดา้ นความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารได้ 4) ดา้ นความกา้ วหนา้ ทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา ผเู้ รียนมีความก้าวหนา้ จากพนื้ ฐานเดิม มี ความรคู้ วามเข้าใจและทักษะตามหลักสูตรแต่มีแนวโน้มไม่แนน่ อนแต่ละปีในบางโรงเรียน 5) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและพฒั นาการจากผลการสอบวดั ระดบั ชาติ ไมม่ ีพฒั นาการแต่มีความพยายามยกผลการ ทดสอบระดับชาติให้สงู ข้ึน 6) ดา้ นความพร้อมในการศกึ ษาต่อ การฝกึ งานหรือการทางาน ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะและเจตคติท่ดี ี พร้อมที่จะศกึ ษาต่อในระดบั ช้ันทส่ี ูงข้ึน มีวุฒิภาวะทางอาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวัย 1.2 ด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน ด้านการมคี ุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามที่สถานศึกษากาหนดโดยไม่ขดั กับกฎหมาย และ วัฒนธรรมอันดีของสังคม ผ้เู รียนมีความประพฤติปรากฏชดั เจน มคี วามภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเป็นไทย ผู้เรียนมคี วามภาคภูมใิ จในท้องถิน่ ในความเป็นไทยและแสดงออกได้อย่างเหมาะสม 3) ดา้ นการยอมรับที่จะ อยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผูเ้ รยี นยอมรับเหตุผลความคดิ เห็นของผู้อื่นและมีมนุษย สมั พนั ธท์ ่ีดี มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะ จติ สงั คม ผูเ้ รยี นมวี ิธีรกั ษาสขุ ภาพของตน รกั ษาอารมณ์ และสุขภาพจิตได้ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มรี ะดบั คุณภาพอย่ใู นระดับ ดีเย่ียม แปลผลสรุปได้ดงั น้ี 2.1) มีเป้าหมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาหนดชัดเจน สถานศึกษากาหนดเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกิจไว้อยา่ งชดั เจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชมุ ชน ท้องถิน่ วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาล และของตน้ สงั กดั รวมทงั้ ทันต่อการเปลยี่ นแปลง ของสงั คม 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถบริหารจดั การคุณภาพของ สถานศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา การนาแผนไปปฏิบตั ิเพ่ือ พัฒนาคุณภาพกรศึกษา มกี ารติดตามตรวจสอบประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ พฒั นางานอย่างตอ่ เน่ือง มีการ บริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มรี ะบบการนิเทศภายใน การ นาขอ้ มูลมาใช้ในกรพฒั นา บุคลากรและผู้ทมี่ ีสว่ นเกยี่ วข้องทุกฝ่าย มีสว่ นรว่ มการวางแผน ปรบั ปรงุ และ พัฒนา และรว่ มรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา 2.3 ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุก กลมุ่ เปา้ หมาย สถานศกึ ษาบริหารจดั การเก่ียวกับงานวิชาการ ทง้ั ดา้ นการพฒั นาหลักสตู ร กิจกรรมเสริม หลกั สตู ร ทเ่ี น้นคุณภาพผูเ้ รยี นรอบดา้ น เช่อื มโยงวถิ ีชีวิตจรงิ และครอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถงึ การ จัดการเรียนการสอนของกลมุ่ ทีเ่ รียนแบบควบรวมหรอื กลมุ่ ทเี่ รยี นรว่ มดว้ ย

16 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ สถานศกึ ษาสง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นา ครู บุคลากร ให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี และจัดให้มีชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นา งานและการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้และมคี วามปลอดภยั 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ สถานศกึ ษาจดั ระบบจดั หา การพฒั นาและการบรกิ าร เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจดั การ และการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ มีระดับคณุ ภาพ อย่ใู นระดับ ดีเยย่ี ม แปลผลสรปุ ได้ดังน้ี 3.1 จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ มี การจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัดของหลกั สูตรสถานศึกษาท่ีเน้นใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ มแี ผนการจัดการเรยี นรู้ทีส่ ามารถนาไปจดั กิจกรรมได้จริง มีรปู แบบ การจดั การเรียนรู้เฉพาะสาหรับผทู้ ่ีมคี วามจาเปน็ และต้องการความชว่ ยเหลอื พิเศษ ผ้เู รยี นได้รบั การฝกึ ทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรปุ องค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ ในชีวติ ได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ มีการใชส้ ่ือเทคโนโลยี สารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้ โดยสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียน ได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากสื่อทห่ี ลากหลาย 3.3 มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก ครผู ูส้ อนมีการบริหารจดั การชน้ั เรียน โดยเน้นการมี ปฏิสมั พันธ์เชงิ บวก ให้เด็กรกั ครู และครรู ักเดก็ เด็กรกั ทจ่ี ะเรยี นรู้ สามารถเรียนรรู้ ่วมกันอย่างมีความสุข 3.4 มกี ารตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น มกี าร ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ มีขน้ั ตอนโดยใช้เครื่องมือและวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และใหข้ ้อมลู ย้อนกลับแก่ผเู้ รยี นเพื่อนาไปใช้ พฒั นาการเรียนรู้ 3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรคู้ รู และผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้องรว่ มกันแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์รวมท้งั ใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพ่อื นาไปใช้ใน การปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ จุดเด่นของการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2561 ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 1. สถานศกึ ษาดาเนนิ งานไดป้ ระสบความสาเร็จผเู้ รยี นสามารถอา่ น เขียน สอื่ สารและคิดคานวณ ตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ผู้เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่าง เหมาะสมปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ผ้เู รียนมคี วามรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดี พรอ้ มที่จะศึกษาต่อในระดบั ชัน้ ทส่ี ูงขนึ้ หรือมีวุฒิภาวะทางอาชีพเหมาะสมกับชว่ งวัย

17 2. ผเู้ รียนมคี วามประพฤตดิ า้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสงั คม และจิตสานึกตามท่ี สถานศึกษากาหนดปรากฎชัดเจน โดยไม่ขดั กบั กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดีของสังคม ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมใน การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอยา่ งเป็นรูปธรรม 3. ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในทอ้ งถน่ิ ในความเป็นไทย และเห็นคณุ ค่าเกี่ยวกบั ภูมปิ ญั ญาไทยและ แสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวติ ประจาวัน 4. ผู้เรยี นยอมรบั เหตุผลความคดิ เหน็ ของผอู้ ืน่ และมีมนุษยสัมพันธ์ดี มีวิธกี ารรกั ษาสุขภาพของ ตนเองให้แขง็ แรง รักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ ผเู้ รียนรแู้ ละมวี ธิ ีการป้องกันตนเองจากการ ลอ่ ลวง ข่มเหง รงั แก ผู้เรยี นไม่เพกิ เฉยต่อการกระทาสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยรู่ ่วมกันดว้ ยดใี นครอบครัวชุมชน และสงั คม 5. ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้โดยผ่านกระบวนการคดิ ไดป้ ฏบิ ตั ิจริงด้วยวธิ ีการและแหลง่ การเรียนรู้ ท่ี หลากหลาย มกี ารจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนไดฝ้ กึ ทักษะ การแสดงออก การนาเสนอผลงาน การแสดงความ คิดเห็นคดิ เปน็ ทาเป็น รกั การอา่ น และแสวงหาความรูจ้ ากส่ือเทคโนโลยดี ้วยตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 6. ผเู้ รียนได้เรยี นร้โู ดยเช่ือมโยงบรู ณาการสาระการเรียนรู้และทกั ษะดา้ นต่างๆผู้เรียนมีส่วนรว่ มใน การจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอานวยความสะดวกทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้ 7. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยอย่างเปน็ รปู ธรรมและต่อเน่ือง สถานศึกษาจัดกจิ กรรม ให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้จากแหลง่ เรยี นรู้และภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ในการจัดการเรยี นการสอนและชมุ ชนมสี ว่ นร่วม แสดงความคดิ เห็นหรือรว่ มจดั กิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเปน็ รปู ธรรมและต่อเนอ่ื ง 8. สถานศึกษามเี ปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกิจท่ีกาหนดไวต้ รงกับวตั ถปุ ระสงค์สอดคล้อง กับ ความตอ้ งการของชมุ ชนท้องถ่ินอย่างชดั เจน 9. สถานศกึ ษา มีแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีทีช่ ัดเจนเป็นรูปธรรม และไดด้ าเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัติการประจาปีอย่างต่อเนื่อง 10. สถานศกึ ษามีการพัฒนาวิชาการท่เี น้นผเู้ รยี นทุกกล่มุ เป้าหมาย ทกุ คน และดาเนินการอย่าง เป็นรูปธรรม พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี มคี วามรู้ความสามารถและทักษะตาม มาตรฐาน 11. สถานศึกษามีการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศทม่ี ีความถูกต้อง ครบถ้วน ทนั สมยั สามารถ นาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ และมีการดาเนินการอย่างเป็นระบบ 12. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีด่ ีและกระตุ้นให้ผเู้ รียนใฝ่เรียนรู้ ท่ัวถงึ ทกุ กล่มุ เป้าหมาย ผ้เู ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ มและมเี ครือข่ายความรว่ มมือในการร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษาให้มคี ุณภาพและไดม้ าตรฐาน 13. สถานศึกษามีการกากบั ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารและการจดั การศึกษาอยา่ ง เหมาะสม ชัดเจน และเปิดโอกาสให้ผ้เู กี่ยวข้องมีสว่ นรว่ ม ผ้เู รียนมสี ่วนรว่ มในการวิเคราะห์ กาหนดเน้ือหา กิจกรรมสอดคลอ้ งกับความสนใจและความถนดั ของผูเ้ รยี น 14. สถานศกึ ษามีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง มขี ัน้ ตอนตรวจสอบและ ประเมินอยา่ งเปน็ ระบบโดยมีการใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกับเปา้ หมายและการ จัดการเรยี นการสอน และมีการให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่ผ้เู รยี นและผเู้ รียนนาไปใช้พัฒนาตนเอง 15. สถานศกึ ษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีส่งผลต่อคณุ ภาพผู้เรยี น อยา่ งเปน็ รปู ธรรม มีขั้นตอนอยา่ งชดั เจน และมคี วามเป็นไปได้ในการปฏิบตั ิ

18 16. ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยให้ความรว่ มมือในการวางระบบและดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในของ สถานศกึ ษาเปน็ อย่างดี พ่อแม่ ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชมุ ชน/ทอ้ งถิ่น และผู้มีส่วน เกี่ยวขอ้ งมคี วามมัน่ ใจต่อระบบการบริหารและการจดั การของสถานศึกษาในระดบั สงู จดุ ควรพฒั นาของการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2561 พบวา่ ยงั มจี ุดที่ควรไดร้ ับการปรบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนาใหม้ คี ุณภาพมากข้ึน ได้แก่ 1. เด็กบางสว่ นขาดทักษะในการคิดวเิ คราะห์ การแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง ขาดทักษะการใช้ประสาท สัมผสั ทงั้ 5 ทักษะการส่อื สารทีเ่ หมาะสมกบั วยั ทกั ษะการสังเกต มิตสิ มั พนั ธ์ การกะประมาณและการเขา้ ใจ ตาแหน่งทศิ ทาง 2. ความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณการอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแก้ปัญหา, ความก้าวหนา้ ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและ พัฒนาการจากผลการสอบวัดระดบั ชาติ 3. ครูควรจดั ทาวิจัยและพัฒนาการเรยี นรู้ทีต่ นรบั ผิดชอบและใชผ้ ลในการปรบั การจัด ประสบการณ์ ตลอดจนการใช้สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ท่ีหลากหลายเหมาะสมกับวัยของเด็ก 4. ควรจัดสือ่ /แหล่งเรียนรู้ ตลอดจนภมู ิทัศน์สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อต่อการจัดประสบการณ์ของเดก็ ให้เป็นเอกเทศ เช่น สนามเด็กเลน่ มุมเดก็ เปน็ ตน้ ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา จากผลการปฏิบัตติ ลอดปีการศกึ ษา 2561 กลุม่ /งานทร่ี ับผิดชอบกจิ กรรม/โครงการตา่ งๆ ได้ ดาเนินการให้เปน็ ไปตามเปา้ หมาย มมี าตรฐานคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมเฉลยี่ อยู่ในระดับดเี ยยี่ ม จาก การประเมินตนเองของโรงเรียน พบวา่ โรงเรยี นควรพัฒนาการจัดการศกึ ษาทุกดา้ น ดังน้ี 1. สถานศึกษาควรดาเนินงานอย่างต่อเนื่องตามกลยุทธ์ โครงการ กจิ กรรม ท่ีสถานศกึ ษากาหนด และคาตอบของผลลัพธ์การดาเนินงานตอบสนองปรัชญา วสิ ัยทศั น์ เปา้ หมาย และจุดเน้นของสถานศึกษา ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั รวมทง้ั สะท้อนความเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา เป็นที่ยอมรบั ของชุมชน และท้องถ่ิน 2. สถานศึกษาควรจดั สงิ่ ท่จี าเป็น เอ้ือประโยชน์ หรอื อานวยความสะดวกต่อการพฒั นาเด็ก ท้ังดา้ น รา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา เพ่อื พัฒนาเด็กใหม้ ีพัฒนาการทกุ ดา้ นสงู สุดตามศกั ยภาพอยา่ ง ต่อเน่ือง และย่ังยืน 3. สถานศึกษาควรจดั ทาโครงการ กจิ กรรมปฐมวัยเพอ่ื ตอบสนองนโยบาย ตามแนวทางการปฏริ ูป การศึกษาระดับปฐมวัยโดยมีการกาหนดมาตรการท่นี ามาปรบั ปรุง พฒั นา และดาเนนิ โครงการกจิ กรรม พเิ ศษอยา่ งเปน็ ระบบและมุ่งม่ัน มีการนาข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภายนอกและผลประเมนิ อน่ื ที่ เก่ยี วข้องมากาหนดมาตรการ นโยบาย โครงการกิจกรรมพิเศษ เพ่ือขับเคลอ่ื นการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัยใหเ้ ข้าสมู่ าตรฐาน ตอบสนองนโยบายตามแนวทางปฏิรูปการศกึ ษา และเป็นขอ้ ตกลงรว่ มกันระหวา่ ง สถานศกึ ษา หน่วยงานต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานสนับสนนุ อื่นๆ อยา่ งต่อเนื่องและยง่ั ยืน 4. การจดั การเรียนรใู้ ห้แก่ผู้เรียนควรเน้นการจดั กจิ กรรมที่เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนฝกึ ทักษะการทางาน ด้วยความกระตือรือรน้ ขยนั อดทนรอบคอบ สามารถแก้ไขปญั หาอปุ สรรค ทางานเต็มความสามารถ จนกระทงั่ งานสาเร็จ และร้จู ักแสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ภายในทอ้ งถน่ิ ให้มากข้ึน

19 5. สถานศกึ ษาควรกระต้นุ ให้ครมู กี ารวเิ คราะห์ศักยภาพของผเู้ รยี นรู้จักผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล เพือ่ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสม ครูควรเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นได้ฝึกทักษะการทางาน ดว้ ยความขยนั อดทน รอบคอบ ร้จู กั แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรู้ในท้องถิน่ ให้มากข้นึ นอกจากนี้ ครคู วรมีความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยใี นการพัฒนาความรู้ของตนเอง และนามาใชใ้ นการจดั การเรยี นร้แู กผ่ ้เู รียน 6. สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ การพัฒนาศักยภาพของผเู้ รียนใหเ้ ป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา เน้น ให้ครูพัฒนาส่ือ นวตั กรรม ประกอบการจดั การเรียนรทู้ เ่ี หมาะสม เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่งเสรมิ ให้ ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้จากแหล่งเรยี นรูภ้ ายในท้องถน่ิ ให้มากข้นึ 7. สถานศกึ ษาควรประสานให้คณะกรรมการสถานศึกษาและผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง มีส่วนร่วมในการพฒั นา หลกั สูตรสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง โดยนาผลการประเมนิ การใช้หลักสูตรมาใชเ้ ป็นแนวทางการพัฒนา และ ควรประสานความร่วมมือจากผู้เก่ียวข้องทุกฝา่ ยในการวางแผนการใชแ้ หลง่ เรยี นร้แู ละภูมิปญั ญาท้องถิ่น ให้ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แกผ่ ้เู รยี น 8. สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ควรมกี ารสร้างทมี งานประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานระดับสถานศึกษา ในการประกนั คุณภาพภายในของโรงเรยี นใหพ้ รอ้ มรบั การประเมนิ ภายนอก เพ่ือ ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรียนพัฒนา ระบบ การพฒั นาภายในให้เขม้ แขง็ 9. สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ควรมพี ัฒนาระบบการนเิ ทศภายในแบบกลั ยาณมิตร 10. สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ควรมจี ัดหาสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม และสอื่ การเรียนการสอนท่ี ทันสมัย เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของนกั เรียนและสถานศกึ ษา 11. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ควรส่งเสริมใหส้ ถานศกึ ษาใชก้ จิ กรรมโครงงานบรู ณาการ เพ่ือ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง 12. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ควรส่งเสริมให้สถานศกึ ษาให้มีการประกวดแข่งขันแนวคิด นวตั กรรมและส่ิงประดษิ ฐท์ ี่แปลกใหม่ในทุกระดบั การศึกษา 13. สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ควรสง่ เสรมิ จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ จัดการทดสอบและแขง่ ขันความสามารถทางวชิ าการ/วิชาชีพ ในระดับโรงเรยี นให้มากขน้ึ และจัดอย่าง ตอ่ เนื่อง 14. สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาควรสง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษาควรสง่ นกั เรียนเขา้ รว่ มการแข่งขนั ใน ระดับหนว่ ยงานหรือสถาบันอ่ืนๆ เพอื่ เป็นการกระตุ้นให้ผ้เู รียนไดฝ้ กึ ทักษะต่างๆ มากข้นึ เน้นกจิ กรรมการ เรียนการสอนแบบโครงงาน เพราะฝึกให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนร้แู ละเกดิ ทักษะทจี่ าเปน็ ตามหลักสูตรทงั้ ทักษะ ความสามารถการสอ่ื สาร การคิด การใชท้ ักษะชีวิต การแก้ปัญหาการใชเ้ ทคโนโลยี และการเขา้ ค่ายวชิ าการ 15. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ควรส่งเสริมใหส้ ถานศึกษา นาผลการดาเนนิ งานของโครงการ ต่างๆ มาพฒั นา ปรบั ปรงุ ให้ดีข้ึนอย่างตอ่ เน่ือง 16. สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาควรสง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษามีการรายงานการดาเนินโครงการ / กจิ กรรมต่อผู้บรหิ ารอย่างต่อเน่ืองและสมา่ เสมอ

20 ตอนที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐาน 1. ขอ้ มูลทวั่ ไป 1.1 ชอื่ โรงเรยี นบา้ นงิว้ ต้งั อยู่หม่ทู ่ี 4 ตาบล โนนเมอื ง อาเภอ ขามสะแกแสง จงั หวัด นครราชสีมา รหัสไปรษณยี ์ 30290 โทรศัพท์ - 1.2 สังกัด (  ) สพฐ. ( ) สช. ( ) กทม. ( ) มท. ( ) อื่นๆ ระบุ 1.3 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 5 1.4 เปดิ สอนตงั้ แต่ระดับ ชน้ั อนบุ าลปีท่ี 1 ถงึ ระดับ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1.5 เขตพน้ื ทีบ่ ริการการศึกษา หมู่ที่ 4 บ้านง้ิว 1.6 เนอื้ ท่ี 10 ไร่ 3 งาน ประวตั ิโรงเรียนโดยย่อ ชื่อ - สกุลผู้บรหิ าร นายยทุ ธชยั เสริมพงษ์ วุฒิการศึกษาสูงสุด สาขา ครศุ าสตร มหาบณั ฑติ (ค.ม.) การบรหิ ารการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นง้ิว เดิมช่อื ว่า โรงเรียนประชาบาลตาบลขามสะแกแสง 8 (วดั บา้ นง้วิ จงั หวดั นครราชสีมา เปิดทาการสอนเมื่อวนั ที่ 21 เมษายน 2483 มนี ายชม วัลลิภากร นายอาเภอโนนสูง เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ มีครู ทาการสอน 2 คน คือ นายจรสั หวงั หุ้นกลาง เป็นครใู หญ่ และนายยนต์ แกว้ ตะพาน เป็นครูน้อยมนี ักเรียน ชาย-หญงิ เขา้ เรยี น จานวน 88 คน โดยเปดิ ทาการสอนตงั้ แต่ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 โดยอาศัยศาลาวดั บา้ นงิว้ เป็นสถานศึกษา ปี พ.ศ. 2517 นางเอ้ือน ด้วงพลู คหบดีชาวจังหวัดนนทบรุ ีมีจิตเป็นกุศล ไดบ้ รจิ าคเงินสว่ นตัว สร้างอาคารเรยี นแบบ ป.1 ฉ. พืน้ ติดดนิ จานวน 3 ห้อง เป็นเงนิ ทั้งสิน้ 150,000 บาท ซึ่งสรา้ งในทด่ี นิ บริจาคของ นายเกิด-นางไข่ หมายตดิ กลาง ราษฎรบ้านงิ้วบรจิ าค จานวน 10 ไร่ 3 งาน 38 ตารางวา และไดเ้ ปล่ยี นช่ือเป็น “โรงเรียนบา้ นงวิ้ ” ตง้ั อยู่ หมทู่ ่ี 4 ตาบลโนนเมอื ง อาเภอขามสะแกแสง จงั หวดั นครราชสีมา และได้ทาพิธมี อบอาคารและท่ีดินให้แก่ทางราชการ วันท่ี 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 โดยมีนายโอ๊บ บนไม้กลาง เปน็ ผู้มอบและเปน็ ครูใหญ่ ปัจจุบนั มี นายยทุ ธชัย เสรมิ พงษ์ เป็นผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านง้วิ ร่วมกับคณะครบู ุคลากร อีกจานวน 6 คน คาขวญั โรงเรยี น “เรยี นดี มวี ินัย ใสใ่ จส่ิงแวดลอ้ ม” เอกลกั ษณ์โรงเรียน “อนุรกั ษธ์ รรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม” อัตลักษณ์โรงเรียน “วนิ ยั ดี มีสมั มาคารวะ”

21 แผนที่โรงเรียน เขตบริการโรงเรียนบ้านงิ้ว ครอบคลุมบริเวณบ้านงิ้ว หมู่ที่ 4 ตาบลโนนเมือง อาเภอขามสะแสง จงั หวัดนครราชสีมา มจี านวนครวั เรือน 250 ครัวเรือน วัดบา้ นงิ้ว ไปบ้านหนองไผ่ ท่ที าการใหญบ่ า้ น ทิศเหนือ โรงเรยี นบา้ นง้วิ โรงเรียนบ้านโนนเมอื ง (เยีย่ มประชาสรรค์)

22 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน วิสยั ทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมายของสถานศึกษา วิสยั ทัศน์ “ภายในปี 2563 โรงเรียนบา้ นง้วิ มีคุณภาพและพัฒนาการศกึ ษาให้ผ่านเกณฑ์ระดบั มาตรฐานสากล มกี ารบริหารตามหลักธรรมาภบิ าล ใช้ส่อื เทคโนโลยีเพือ่ พฒั นาผเู้ รียนให้มีทกั ษะความรู้ คคู่ ณุ ธรรม อนรุ กั ษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น้อมนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชภ้ ายใต้การมสี ่วนร่วมของชุมชน อย่างยง่ั ยืน” พันธกิจ 1. จดั การศกึ ษาให้ได้มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ 2. พฒั นาบุคลากรให้เปน็ มอื อาชีพ มคี ุณธรรมจริยธรรม และสร้างเสรมิ สุขภาพและสขุ นสิ ัยที่ดี ใหแ้ กน่ กั เรยี น 3. บริหารจัดการใชส้ ่ือเทคโนโลยีเพื่อให้นักเรียนเกดิ การเรียนรเู้ ตม็ ศักยภาพ 4. จดั กิจกรรมเพ่ือปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 5. นาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ 6. ปลูกฝังใหร้ ักความเป็นไทยและสืบสารศลิ ปวฒั นธรรมอย่างเหน็ คณุ ค่า 7. บริหารสถานศกึ ษาโดยใช้หลกั ให้ชุมชนมสี ว่ นร่วมอย่างต่อเนื่อง เปา้ หมาย 1. นักเรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม 2. นกั เรยี นไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75 มที กั ษะการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองรักการเรยี นรู้ และพฒั นา อย่างต่อเนือ่ งมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์และคดิ สร้างสรรค์ 3. นกั เรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 90 นาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวัน 4. นกั เรียนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 มีทักษะในการทางานและมเี จตคตทิ ดี่ ตี ่ออาชีพสจุ รติ 5. นกั เรยี นมีความรู้และทักษะท่จี าเปน็ ในการเรียนรูต้ ามหลกั สูตรโดยมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นไม่ น้อยกว่า รอ้ ยละ 75 ทกุ กลมุ่ สาระ 6. นกั เรียนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90 มสี ขุ นสิ ยั สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี สามารถนาความรู้สู่ ครอบครวั และชมุ ชน

23 คุณลักษณะของผเู้ รียน 1. ผูเ้ รียนมสี มรรถนะสาคัญตามหลกั สูตร หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มุง่ ใหผ้ ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรบั และส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการ ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอ่ รองเพ่ือ ขจดั และลดปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไม่รบั ขอ้ มลู ข่าวสารด้วยหลักเหตผุ ลและความ ถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี ารสอื่ สาร ทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่อื นาไปสู่การสรา้ งองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ท่ี เผชิญได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พันธแ์ ละการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใชใ้ น การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา และมกี ารตดั สินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ ต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสงั คมด้วยการสรา้ งเสริมความสมั พันธอ์ นั ดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตวั ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการร้จู กั หลีกเลย่ี ง พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยดี ้าน ตา่ ง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้ การ สอ่ื สาร การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม 2. ผเู้ รียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลกั สตู ร 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ 3. มวี นิ ยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มุง่ มน่ั ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ

24 3. คณุ ลักษณะ ของผ้เู รยี นตามศตวรรษที่ 21 (3R8C) 3R คือ  Reading : อ่านออก  (W)Riting : เขยี นได้  (A)Rithmatic : มีทกั ษะในการคานวณ 8C คอื  Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดอยา่ งมี วจิ ารณญาณ และแก้ไขปญั หาได้  Creativity and Innovation : คดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ คดิ เชงิ นวัตกรรม  Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผนู้ า  Communication Information and Media Literacy : ทักษะในการสือ่ สาร และการรเู้ ทา่ ทันส่อื  Cross-cultural Understanding : ความเขา้ ใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม กระบวนการคิด ข้ามวัฒนธรรม  Computing and ICT Literacy : ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์ และการร้เู ท่าทนั เทคโนโลยี ซ่งึ เยาวชนในยคุ ปัจจบุ ันมีความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยอี ย่างมากหรือเป็น Native Digital ส่วนคนรุ่นเกา่ หรือผู้สงู อายุเปรียบเสมอื นเป็น Immigrant Digital แตเ่ ราต้องไม่อายทจ่ี ะเรียนรแู้ ม้วา่ จะสูงอายุแลว้ กต็ าม  Career and Learning Skills : ทกั ษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้  Compassion : มคี ุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบยี บวนิ ัย ซ่ึงเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสาคัญ ของทักษะขน้ั ตน้ ท้งั หมด และเป็นคุณลักษณะทีเ่ ด็กไทยจาเป็นต้องมี 4. ผเู้ รยี นมคี ุณลกั ษณะการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.1 พอประมาณ 4.2 มเี หตผุ ล 4.3 มภี มู คิ ้มุ กนั ทด่ี ี (ประเด็นพจิ ารณา 2.3 ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ น้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตร สถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย) 5. โครงการท่ีจัดเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ 4 พัฒนาการ ระดบั ปฐมวยั 5.1 โครงการจดั ซอื้ วสั ดุอุปกรณร์ ะดบั ชัน้ ปฐมวัย 5.2 โครงการวนั สาคัญตา่ ง ๆ 5.4 โครงการสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั ทกั ษะความเป็นเลิศทางวิชาการ 5.5 โครงการจ้างครอู ัตราจา้ งสอนระดับปฐมวัย 6. โครงการที่จัดเพื่อสง่ เสริมสนับสนนุ การจัดการเรียนการสอนระดับขั้นพ้ืนฐาน 6.1 โครงการส่งเสรมิ การแข่งขนั ทักษะความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ 6.2 โครงการจา้ งครอู ตั ราจ้างสอนระดบั ประถมศึกษา

25 6.3 โครงการการพฒั นาจัดทาหลักสตู รสถานศึกษา 6.4. โครงการพัฒนาหอ้ งสมุดภายในสถานศึกษา 6.5. โครงการพฒั นาและจดั ทาสอ่ื การเรยี นการสอน 6.6 โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ 6.7 โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 6.8 โครงการจดั กิจกรรมส่งเสริมการรักการอา่ น 6.9 โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ NT, O-NET ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3,6 6.10 โครงการเตรียมพร้อมเข้ารบั การประเมินมาตรฐานจากสมศ.รอบท่ี 4 6.11 โครงการลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้ 6.12 โครงการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง 6.13 โครงการจดั กิจกรรมวันสาคัญ 2. ขอ้ มูลผู้บริหาร 1) ผูอ้ านวยการโรงเรียน ช่ือ-สกุล นายยทุ ธชยั เสรมิ พงษ์ โทรศพั ท์ 089-8648258 e-mail : [email protected] วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.บ.) สาขา การบริหารการศึกษา 2) รองผู้อานวยการโรงเรียน ........-......... คน (ถา้ มี) 2.1 ชื่อ-สกุล ................-.........…………โทรศัพท์.........-............. e-mail…………-………… วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด …………-……………สาขา……………-…………………… 3 ขอ้ มูลนกั เรยี น (ณ วันที่ 10 มิถุนายน) 1) จานวนนกั เรยี นในโรงเรียนทงั้ ส้นิ 50 คน จาแนกตามระดบั ชน้ั เรยี น ดงั น้ี ระดบั ช้นั เรียน จานวนหอ้ ง เพศ รวม เฉลี่ย ตอ่ ห้อง อ.1 1 ชาย หญงิ 4 อ.2 1 2 อ.3 1 13 9 รวม 3 02 15 ป.1 1 36 2 ป.2 1 6 ป.3 1 4 11 10 ป.4 1 2 ป.5 1 11 8 ป.6 1 42 7 รวม 6 37 35 20 รวมทั้งหมด 9 35 50 61 19 16 23 27

26 2) จานวนนกั เรยี นทม่ี ีความบกพร่องเรียนรว่ ม 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.13 3) จานวนนักเรยี นท่ีออกกลางคัน (ปจั จุบนั ) ………-.….….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ….…-...... 4) สถติ ิการขาดเรยี น (ตลอดปปี ัจจบุ ัน) ………-……….คน คิดเปน็ ร้อยละ...…-….. 5) จานวนนกั เรียนท่เี รียนซา้ ช้ัน ..........-........ คน คดิ เปน็ ร้อยละ……-….. 6) จานวนนักเรียนทีจ่ บหลักสูตร จานวนเตม็ 7 คน จบตามหลักสูตร 7 คน คิดเป็น ร้อยละ100 7) อัตราสว่ นครู : นกั เรยี น = 1 : 16 (แยกตามระดับ) 4. ขอ้ มลู ครูและบคุ ลากร ครปู ระจาการ ที่ ช่ือ – ชอ่ื สกลุ อายุ อายุ ตาแหน่ง/วทิ ย วฒุ ิ วชิ าเอก สอนวิชา/ จานวนครง้ั / ราชการ ฐานะ ชนั้ ชวั่ โมงทรี่ บั การ 1 นายสวุ ฒั น์ แถมวัฒนะ 43 18 ครู ค.บ. การประถม ป.5-6 พฒั นา/ปี ชานาญการพิเศษ ศกึ ษา อ.2-3 20 2 นางสกุ ัลยา หวังกลุม่ กลาง 48 12 ครู ศษ.บ. ปฐมวยั ศกึ ษา ป.3-4 ชานาญการพิเศษ 20 3 นายสรุ สทิ ธิ์ ศรที อง 28 3 - ศษ.บ. ศลิ ปะ 20 จานวนครทู ส่ี อนวชิ าตรงเอก 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.66 จานวนครูท่ีสอนตรงความถนัด/ความจาเปน็ 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.33 ครอู ตั ราจา้ ง อายุ ประสบการณ์ วุฒิ วชิ าเอก สอนวิชา/ชน้ั จา้ งด้วยเงนิ การสอน (ปี) ที่ ชอ่ื – ชอ่ื สกลุ อ.1 เงนิ นอกงบ 25 1 ค.บ. เทคโนโลยี ประมาณ 1 น.ส.รงุ่ ระวี ตอ่ ชพี การศึกษา ป.1-2 เงนิ งบ 2 น.ส.ศศกิ านต์ จงชติ กลาง ประมาณ 25 1 ค.บ. ภาษาไทย ครูธรุ การโรงเรยี น อายุ ประสบการณ์ วุฒิ วิชาเอก สอนวิชา/ชน้ั จา้ งด้วยเงนิ การสอน (ปี) ที่ ชือ่ – ชื่อสกลุ ป.4 เงนิ งบ 30 1 ค.บ. สงั คมศึกษา ประมาณ สพป. 1 น.ส.ปนัดดา หวังแววกลาง 5. ขอ้ มลู อาคารสถานที่ อาคารเรยี นจานวน 1 หลัง อาคารประกอบจานวน 2 หลัง ส้วม 2 หลงั สนามเดก็ เล่น 1 สนาม สนามฟตุ บอล 1 สนาม อ่ืนๆ (ระบุ) สนามตะกรอ้ 2 สนาม

27 6. ขอ้ มูลงบประมาณ งบประมาณ (รบั -จา่ ย) 1. ประมาณการทม่ี าของงบประมาณ รายการ คงเหลือยกมา ปงี บประมาณ 2561 รวม 1. คา่ จัดการเรียนการสอน 0.00 108,200.00 108,200.00 2. คา่ เรียนฟรี 15 ปี 0.00 58,654.00 58,654.00 3. คา่ ปจั จัยพืน้ ฐาน 0.00 18,000.00 18,000.00 4. คา่ อาหารกลางวัน 0.00 184,000.00 184,000.00 5. ค่าความเสมอภาค 0.00 21,530.00 21,530.00 6. เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา 0.00 0.00 0.00 0.00 รวม 390,384.00 390,384.00 2. ประมาณการจัดสรรรายจา่ ยประจาจากเงนิ ค่าจัดการเรยี นการสอน (ถวั จ่ายทกุ รายการ) รายการ วงเงนิ 1. ค่าสาธารณปู โภค (ไฟฟา้ /ประปา/Internet/สญั ญาณดาวเทยี ม) 18,000.00 2. ค่าใชจ้ ่ายในการไปราชการภายในประเทศ 72,000.00 3. ค่าวัสดกุ ลาง 5,000.00 4. ค่าวสั ดุสื่อการเรียนการสอน 24,730.00 5. คา่ ตอบแทนผปู้ ระกอบอาหารกลางวันนักเรยี น โดยบุคคลภายนอก 184,000.00 6. ค่าครุภณั ฑ์ และปรบั ปรุงซ่อมแซมครุภัณฑ์ 10,000.00 7. คา่ สิ่งปลูกสร้างและปรบั ปรุง ต่อเติม ซ่อมแซมสงิ่ ปลกู สร้าง 0.00 รวม 313,730.00 3. ประมาณการจัดสรรรายจ่ายจากเงินคา่ เรียนฟรี 15 ปี (ถัวจ่ายทุกรายการ) รายการ คา่ ตอบแทน ใช้แบบงบดาเนินงาน รวม 26,904.00 1. ค่าหนงั สอื เรยี น แบบฝึกหัด 15,850.00 คา่ ใชส้ อย ค่าวสั ดุ 15,850.00 2. อุปกรณ์การเรียน 15,900.00 26,904.00 15,900.00 3. เครื่องแบบ 2,000.00 10,000.00 4. ทศั นศึกษา 6,000.00 2,000.00 6,530.00 5. บริการสารสนเทศ / ICT 0.00 6,530.00 0.00 5,000.00 6. พฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม 0.00 5,000.00 0.00 80,184.00 33,750.00 17,530.00 รวม 28,904.00 4. ประมาณการจดั สรรเงนิ ปัจจัยพื้นฐานนกั เรยี นยากจนขาดแคลน (ถวั จ่ายทุกรายการ)

28 รายการ ค่าตอบแทน ใช้แบบงบดาเนินงาน รวม 0.00 0.00 1. คา่ อาหารกลางวนั /คูปอง ค่าใชส้ อย คา่ วสั ดุ 0.00 2. หนังสอื /อปุ กรณ์การเรยี น 0.00 0.00 0.00 3. ค่าเสือ้ ผ้า/วัสดุเครื่องแต่งกาย 0.00 4. คา่ พาหนะเดินทางไป-กลับบา้ น- 0.00 0.00 โรงเรยี น 5. คา่ ชว่ ยดารงชีพประจาวัน 0.00 0.00 18,000.00 18,000.00 รวม 18,000.00 18,000.00 0.00 0.00 สรปุ ยอดเงนิ ตามแผนการใช่จ่ายงาบประมาณประจาปี 2561 ยอดเงิน 390,384.00 รายการ 313,730.00 1. ประมาณการทม่ี าของงบประมาณ 2. ประมาณการจัดสรรรายจา่ ยประจาจากเงินคา่ จดั การเรียนการสอน (ถัวจา่ ยทกุ รายการ) 58,654.00 3. ประมาณการจัดสรรรายจ่ายจากเงินคา่ เรยี นฟรี 15 ปี (ถัวจา่ ยทุกรายการ) 18,000.00 4. ประมาณการจัดสรรเงนิ ปจั จยั พื้นฐานนักเรยี นยากจนขาดแคลน (ถัวจา่ ยทุกรายการ) 390,384.00 รวมรายการ (2+4) 0.00 เงนิ คงเหลอื งบดาเนินการ/เงินเดือน เงนิ ค่าจ้าง คิดเปน็ รอ้ ยละ 89.56 ของรายรบั งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 10.43 ของรายรบั 7. ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม

29 1) ในชมุ ชนมปี ระชากรประมาณ 550 คน อาชพี หลักของชุมชน คือ เกษตรกรรมส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนา พุทธ ประเพณี/ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิน่ ทเ่ี ป็นที่รูจ้ กั โดยท่วั ไป คือ กจิ กรรมทางพระพธุ ศาสนา 2) ผูป้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับ ประถมศกึ ษา อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม สว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี 3,500 บาทจานวนคนเฉลีย่ ตอ่ ครอบครวั 4 คน 3) โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน (บรรยายโดยย่อ เชน่ อยู่ใกลแ้ หลง่ เรยี นรู้ อยู่ในบริเวณวดั ได้รบั การสง่ เสรมิ สนับสนุนจาก ชุมชน ผู้นาชุมชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ หรอื อยใู่ กล้แหลง่ เสอ่ื มโทรม โรงงาน ฯลฯ) โอกาส ขอ้ จากัด 1.การบริหารจดั การโรงเรียนมกี ารแบง่ สายงานบริหาร 1. งบประมาณที่ใช้ในการบรหิ ารจดั การ อย่างชัดเจนเป็นระบบสามารถบริหารงานภายในสถานศึกษา ไม่เพยี งพอ ในการปรับปรุง อาคารเรยี น ส่ือ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ อุปกรณ์บรรยากาศ และแหล่งเรยี นรู้ภายใน โรงเรยี น 2.การให้ชุมชนเข้ามามสี ว่ นในการบรหิ ารจัดการโรงเรียน อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2. ขาดแคลนบคุ ลากรในการการจัด เรยี นการสอน ปญั หาครูไม่ครบชน้ั 3.บุคลากรเปน็ นา้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั มีความสามัคคี เสียสละ เพื่อประโยชนข์ ององค์กร 3. การระดมทรัพยากรจากภายนอก เป็นไปไดย้ ากเนื่องจากชมุ ชนยากจน 4.การบริหารงานในสถานศกึ ษายึดหลกั ธรรมมาภิบาล 5.สถานศกึ ษามเี ครือข่ายดา้ นวชิ าการได้รบั การสนับสนุน 4. บคุ ลากรขาดขวัญกาลังใจในการ ส่งเสริมอย่างต่อเน่ือง ปฏิบัติงานเนอ่ื งจากภาระงานนอกเหนือจาก 6.นักเรยี นทกุ ท่ีจบชั้นอนุบาล และ ป.6 มคี วามรู้ งานการสอนมมี าก ความสามารถตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษากาหนด 8. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา

30 กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ป. ๑ เวลาเรยี น ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖  กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ๒๐๐ ภาษาไทย ๑๖๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สังคมศึกษา ศาสนา ๔๐ และวฒั นธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ oประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ o ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ o หน้าท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการ ๔๐ ๑๖๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ดาเนินชีวติ ในสังคม ๘๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ o เศรษฐศาสตร์ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ oภมู ิศาสตร์ ๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๓๐๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ศลิ ปะ ๑๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี บูรณา ๔๐ ๔๐ ภาษาตา่ งประเทศ การ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๔๐ ๔๐  รายวิชา/กิจกรรมเพม่ิ เติม ๔๓๐๐ ๔๓๐๐ ๔๓๐๐ ๔๓๐๐ ๔๓๐๐ ภาษาอังกฤษ ๑๐ ๑๐ ๑๐  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๐ ๑๐ บรู ณาการ o กจิ กรรมแนะแนว บูรณา บรู ณาการ บรู ณาการ บรู ณาการ o กิจกรรมนักเรยี น การ - ลูกเสอื - เนตรนารี - ชมุ นุม o กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและ สาธารณประโยชน์ กิจกรรมเพิม่ เวลารู้ รวมเวลาท้ังหมด ๑,๐๐๐ ชว่ั โมง ๑,๑๖๐ ชั่วโมง 9. แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ 1) หอ้ งสมุดมีขนาด 54 ตารางเมตร จานวนหนงั สอื ในห้องสมุด 450 เล่ม การสืบคน้ หนงั สือ และการยืม-คืน ใชร้ ะบบ …-……จานวนนักเรยี นท่ีใชห้ ้องสมดุ ในปกี ารศกึ ษาท่ีรายงาน เฉลยี่ 20 คน ตอ่ วัน คดิ เป็นรอ้ ยละ 42.55 ของนักเรียนท้งั หมด 2) ห้องปฏบิ ัติการ ห้องปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จานวน 1 หอ้ ง หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ จานวน 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการทางภาษา จานวน ………-………. ห้อง

31 หอ้ ง อนื่ ๆ (ระบุ)................ จานวน ………-………. ห้อง 3) คอมพวิ เตอร์ จานวน 5 เครอ่ื ง ใช้เพอ่ื การเรยี นการสอน 5 เคร่อื ง ใช้เพื่อสืบคน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 5 เครอื่ ง จานวนนักเรียนท่สี บื คน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เนต็ ในปกี ารศกึ ษาที่รายงาน เฉลยี่ 10 คน ต่อวัน คดิ เปน็ ร้อยละ 21.28 ของนักเรยี นท้ังหมด ใชเ้ พอ่ื การบริหารจัดการ 2 เครอื่ ง 4) ระบบอินเตอร์เนต็ ของโรงเรยี น สามารถเข้าถึงและใช้ได้ จานวน 3 จดุ 5) แหล่งเรยี นรู้ของโรงเรยี น 5.1) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น 6 แหลง่ 5.2) แหล่งเรยี นรูภ้ ายนอกโรงเรียน 12 แหลง่ 6) ปราชญช์ าวบา้ น/ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ทส่ี ถานศึกษาเชิญมาใหค้ วามรู้แก่ครู นักเรยี น ในปกี ารศึกษาทีร่ ายงาน ระดบั อนุบาล/ปฐมวัย (ยกตัวอยา่ ง 3-5 รายการ) ที่ ช่อื -สกุล ให้ความรเู้ รื่อง 1 นายววิ าด แสนสันเทยี ะ การเลย้ี งโคนม 2 นางจินดา อนนั ตสุข การเพาะเหด็ 3 นางสมหมาย มุง่ กลาง การทาขนมไทย ระดบั ประถมศกึ ษา (ยกตัวอยา่ ง 3-5 รายการ) ที่ ชอ่ื -สกุล ให้ความรู้เร่ือง 1 นายบญุ สม วชั ราเดชา การทาไม้วาด 2 นางสมหมาย มุ่งกลาง การทาขนมไทย 3 นายสด ทองสาย ชา่ งตัดผม 4 นายสมเดช วงศส์ ามี การราโทน เพลงโคราช การปลูกพืช การจกั รสาน 5 นางดวงรตั น์ วชั ราเดชา การเลี้ยงปลาในกระชัง 6 นางจินดา อนนั ตสขุ การเพาะเห็ด 7 นายวิวาด แสนสนั เทียะ การเลย้ี งโคนม 8 นางเสมอ หมายตดิ กลาง การเลยี้ งเปด็ เทศบาบาร่ี 9 นางเพชรจมภรณ์ อาษานอก การเลี้ยงแพะ 7) กิจกรรมพัฒนางานอาชพี /ทักษะอาชีพ ท่ีจดั ในโรงเรยี น 7.1) การจบั ผา้ ในงานพิธีต่าง ๆ 7.2) งานช่างไม้และไฟฟ้า ฯลฯ 7.3) งานทัศนศิลป์ 8) กิจกรรมแนะแนว

32 8.1)  มกี ารจดั ทาหน่วย/แผนการจดั การเรยี นรู้  ไม่มีการจดั ทาหนว่ ย/ แผนการจดั การเรยี นรู้ 8.2) กิจกรรมทดี่ าเนินการ เชน่ 8.2.1) แนะแนวการประกอบอาชีพ 8.2.2) การเรียนต่อสถานศึกษาอนื่ 8.2.3) การปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับสิ่งแวดล้อม สังคม วฒั นธรรม 8.2.4) การหลีกเลีย่ งอบายมุขทั้งปวง 9) การสรา้ งรอยเชื่อมต่อระหวา่ งการศึกษาปฐมวยั กับประถมศึกษาปีท่ี 1 /รอยต่อระหว่างชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 6 กับชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 9.1) การจดั ใหม้ ีสถานศึกษาอ่ืนเขา้ มาแนะแนวในสถานศกึ ษา 9.2) การแนะนาและตัดสนิ ใจด้วยตนเองในการศึกษาต่อ ณ สถานศึกษาอื่น ถึงข้อดี และ ขอ้ จากดั ของสถานศึกษา และตวั นักเรียนเอง 9.3) ติดตามการเข้าศึกษาต่อ ณ สถานศกึ ษาอ่ืน (ประเด็นพจิ ารณา 2.2 ระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา และประเด็นพจิ ารณา 3.1 การ จัดการเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได)้ 10)  ร่วม/จัดอบรม สัมมนา ประชมุ ปฏิบตั กิ าร ดังน้ี วัน เดอื น ปี เร่อื ง สถานที่ หนว่ ยงานที่จัด จานวน ชวั่ โมง 16 ม.ิ ย. 61 การออกข้อสอบตามข้อสอบมาตรฐาน ร.ร.ขามสะแกแสง ศูนยฯ์ 13 27 มี.ค. 62 การจัดการเรียนการสอนทศวรรษท2ี่ 1 ร.ร.ชมุ ชนหนองหัวฟาน ศูนยฯ์ 13 8 2 เม.ย. 62 โครงการโรงเรียนดมี ีคุณภาพ ร.ร.ชมุ ชนหนองหัวฟาน สพป.นม.5 8 จานวน 3 วนั คิดเป็น 24 ชว่ั โมง สรุป การพัฒนาตนเอง จานวน 3 ครัง้ 8 11) ผลงานดเี ด่นในรอบปที ี่ผ่านมา 11.1 ผลงานดีเด่น ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวลั ท่ีได้รับ หน่วยงานทมี่ อบรางวลั สถานศึกษา ผบู้ ริหาร(ระบุชื่อ) สถานศึกษา IQA AWARD ระดับเขตพืน้ ท่ี สพป.นครราชสีมา เขต 5 ครู(ระบชุ ่อื ) คณะกรรมการตัดสนิ โครงงานอาชีพ (ม.1-3) สพฐ. นกั เรียน(ระบุชอื่ ) ระดบั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ รางวัลเหรยี ญเงนิ โครงการประเภททดลอง สพป.นครราชสมี า เขต 5 นายสุวัฒน์ แถมวฒั นะ นางสาวศศกิ านต์ จงชดิ กลาง 1.เดก็ หญิงธีระพร ม่งุ กลาง 2.เด็กหญิงวราพร ศิรเิ ปี่ยมสขุ 3.เด็กหญงิ เกวลนิ พลกลาง

33 ประเภท ระดบั รางวัล/ช่ือรางวัลท่ไี ด้รับ หนว่ ยงานที่มอบรางวลั ครู(ระบชุ ือ่ ) สพป.นครราชสีมา เขต 5 รางวลั เหรียญทองการจัดสวนถาดแบบแห้ง นักเรียน(ระบุช่ือ) นางสกุ ัลยา หวังกลุ่มกลาง นางสาวรุ่งระวี ตอ่ ชีพ 1.เด็กชายชาครสิ ริมวงั กลาง 2.เดก็ ชายภทั รพงศ์ แปน้ กลาง 3.เด็กหญงิ เปมิกา อา่ กลาง 11.2 งาน/โครงการ/กิจกรรม ทปี่ ระสบผลสาเรจ็ ที่ ช่ืองาน/โครงการ/กจิ กรรม กลุม่ เปา้ หมายที่ พฒั นา 1 โครงการการพัฒนาจัดทาหลักสตู รสถานศึกษา สถานศึกษา 2 โครงการพัฒนาห้องสมดุ ภายในสถานศกึ ษา นกั เรยี นและ 3 โครงการพัฒนาและจัดทาสื่อการเรยี นการสอน คณะครูทุกคน 4 โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลิศทางวชิ าการ 5 โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 6 โครงการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การรักการอ่าน 7 โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ NT, O-NET ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3,6 8 โครงการลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ 9 โครงการเพิ่มศักยภาพข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 10 โครงการนเิ ทศภายในสถานศึกษา 11 โครงการจา้ งครูอตั ราจา้ งช่ัวคราวภายใน 12 โครงการจัดซ้ือวสั ดกุ ารศึกษาระดบั ก่อนประถมศกึ ษาและ 13 ประถมศึกษาตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี 14 โครงการจัดซื้อวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละสอ่ื การศกึ ษา 15 โครงการปรับปรงุ อาคารสถานที่ 16 โครงการประชมุ อบรม สมั มนาคณะกรรมการสถานศึกษา 17 โครงการ แขง่ ขนั กีฬา-กรีฑาภายในสถานศึกษาและโรงเรียนขนาดเลก็ 18 โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา 19 โครงการอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมภายในสถานศึกษา 20 โครงการเยย่ี มบ้านนักเรยี น 21 โครงการโครงการตามนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัด 22 โครงการคา่ สาธารณปู โภคภายในสถานศึกษา รวม 22 กิจกรรม/รวมกลมุ่ เป้าหมายท่ีพฒั นา 50 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

34 (ประเด็นพจิ ารณา 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี ) 12. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในรอบปีท่ผี ่านมา 12.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย (เกา่ ) มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั คุณภาพ ดีเยีย่ ม ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก / ด้านคณุ ภาพเด็ก / / มาตรฐานที่ 1 เด็กมพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย มาตรฐานที่ 2 เด็กมพี ัฒนาการด้านอารมณ์ / และจติ ใจ มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการดา้ นสังคม / มาตรฐานท่ี 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา / ดา้ นการจัดการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 5 ครปู ฏิบัติงานตามบทบาทหนา้ ท่ี อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และเกิดประสิทธิผล มาตรฐานที่ 6 ผบู้ รหิ ารปฏบิ ตั งิ านตามบทบาท หนา้ ท่ีอย่างมีประสิทธภิ าพ และเกิดประสิทธผิ ล มาตรฐานท่ี 7 แนวการจัดการศึกษา / มาตรฐานท่ี 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายใน / ของสถานศกึ ษาตามทีก่ าหนดใน กฎกระทรวง ดา้ นการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ / มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศกึ ษาและผ้ปู กครอง ชุมชนปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ย่างมี ประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล ด้านอตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา / มาตรฐานท1่ี 0 การพัฒนาสถานศกึ ษาใหบ้ รรลุเปา้ หมาย ตามปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ และ จดุ เน้นของ การศกึ ษาปฐมวัย ด้านมาตรฐานกาสง่ เสริม / มาตรฐานที่ 11 การพฒั นาสถานศึกษาตามนโยบายและ แนวทางปฏริ ูปการศึกษาเพื่อยกระดับ คุณภาพให้สูงข้ึน ระดับคณุ ภาพโดยภาพรวม ดมี าก

35 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ที่ ตัวบ่งช้ี ประเด็นพิจารณา/มาตรฐาน (คน) ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 (ดีเยีย่ ม) (ดีเลิศ) (ดี) (พอใช)้ (กาลงั พัฒนา) มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเดก็ 1.1 มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ทด่ี ี และดแู ล / ความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ / แสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมา / ชิดชกที่ดขี องสงั คม 1.4 มีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคิด / พื้นฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มีหลักสูตรควบคมุ พฒั นาการทัง้ 4 ด้าน สอดคล้องกบั / บรบิ ทของทอ้ งถนิ่ 2.2 จัดครใู ห้เพยี งพอต่อชน้ั เรยี น / 2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชี่ยวชาญดา้ นประสบการณ์ / 2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพอ่ื การเรียนรู้ / อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ 2.5 ใหบ้ ริการส่อื และเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การ / เรียนรู้เพอ่ื สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์สาหรบั ครู 2.6 มีระบบการบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วข้อง / ทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นเดก็ เปน็ สาคญั 3.1 จัดประสบการณท์ สี่ ง่ เสริมให้เดก็ มีพัฒนาการทุกดา้ น / อยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ 3.2 สร้างประสบการณ์ใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ / และปฏบิ ตั ิอย่างมีความสขุ 3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยที ี่ / เหมาะสมกบั วยั 3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการ / ประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 / สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 / สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 3 / สรุปผลการประเมนิ ทงั้ 3 มาตรฐาน ดีเลิศ

36 12.2 ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ประเดน็ พิจารณา/มาตรฐาน (คน) ท่ี ตัวบง่ ชี้ ระดบั 5 ระดบั 4 ระดบั 3 ระดับ 2 ระดบั 1 (ดเี ยยี่ ม) (ดเี ลิศ) (ด)ี (พอใช)้ (กาลัง พฒั นา) มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ประเด็นพิจารณา 1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น 1.1.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสาร และการคิด / คานวณ 1.1.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมี / วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แกป้ ญั หา 1.1.3 มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม / 1.1.4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการส่อื สาร / 1.1.5 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา / 1..1.6 มีความร้ทู ักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชพี / ประเด็นพิจารณา 1.2 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น 1.2.1 การมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี ามสถานศกึ ษากาหนด / 1.2.2 ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย / 1.2.3 การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ว่ มกันบนความแตกตา่ งและ / หลากหลาย 1.2.4 สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม / มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มีเป้าหมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาหนด / ชัดเจน 2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา / 2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบดา้ น / ตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ / 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและจัดสภาพแวดลอ้ ม / ทางกายภาพและสงั คมทีเ่ ออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมี คณุ ภาพ

37 ที่ ตวั บง่ ชี้ ประเดน็ พิจารณา/มาตรฐาน (คน) ระดับ 5 ระดบั 4 ระดบั 3 ระดบั 2 ระดับ 1 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบริหาร (ดเี ยยี่ ม) (ดีเลิศ) (ดี) (พอใช้) (กาลัง จดั การและการจดั การเรยี นรู้ พฒั นา) มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รียน / เป็นสาคญั / 3.1 จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และ สามารถนาไปประยกุ ต์ในชีวติ ได้ / 3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ่เี อ้อื / ตอ่ การเรียนรู้ / 3.3 มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก / 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผล / มาพฒั นาผู้เรียน / 3.5 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั / เพอื่ พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ ดีเลศิ สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 สรปุ ผลการประเมินทง้ั 3 มาตรฐาน

38 13. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบ 3 ระดบั คุณภาพ 13.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ดเี ยีย่ ม มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาปฐมวัย เพอ่ื การประเมินคณุ ภาพภายนอก มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานดา้ นผลการจดั การศึกษา ตวั บง่ ช้ที ่ี 1 เดก็ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั / ตวั บง่ ชี้ที่ 2 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจสมวัย / ตัวบ่งชท้ี ี่ 3 เดก็ มีพัฒนาการด้านสงั คมสมวัย ตัวบ่งชีท้ ี่ 4 เด็กมีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญาสมวยั / ตัวบง่ ช้ที ี่ 5 เด็กมคี วามพรอ้ มศึกษาต่อในขนั้ ต่อไป / / มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานด้านการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ตวั บ่งชท้ี ี่ 6 ประสทิ ธิผลการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ / ทเ่ี นน้ เด็กเปน็ สาคญั มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ตวั บง่ ช้ที ่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและ / การพฒั นาสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการประกันคณุ ภาพภายใน ตัวบง่ ชท้ี ี่ 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกนั คุณภาพ / ภายใน กลุ่มตัวบ่งชอ้ี ตั ลักษณ์ ตัวบง่ ช้ที ่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/ / วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ และวัตถปุ ระสงค์ / ของการจัดต้ังสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเด่น ทสี่ ่งผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุม่ ตัวบง่ ช้ีมาตรการสง่ เสริม ตัวบง่ ชี้ที่ 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อสง่ เสรมิ / บทบาทของสถานศึกษา / ตวั บ่งชที้ ่ี 12 ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพ่อื ยกระดับ 94.88 ดเี ย่ยี ม มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน รักษามาตรฐานและ พัฒนาสู่ความเปน็ เลิศทีส่ อดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา คะแนนรวม โรงเรียนมผี ลการประเมินระดับคณุ ภาพ ดีเย่ียม โดยมคี า่ เฉล่ยี 94.88 ผลการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพ  รบั รอง  ไม่รบั รอง

39 13.2 ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดเี ย่ยี ม มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานดา้ นผลการจัดการศกึ ษา ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 ผูเ้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี / ตัวบง่ ช้ที ่ี 2 ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์ ตวั บ่งช้ที ี่ 3 ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื ง / ตัวบง่ ชี้ท่ี 4 ผู้เรยี นคดิ เป็น ทาเป็น / ตัวบ่งชี้ท่ี 5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรียน / / มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานดา้ นการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ตัวบ่งช้ีที่ 6 ประสทิ ธผิ ลการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รียน / เป็นสาคญั มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานดา้ นการบริหารจัดการศกึ ษา ตัวบ่งชท้ี ี่ 7 ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจดั การและการพฒั นา / สถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน ตัวบ่งช้ีที่ 8 พฒั นาการของการประกนั คุณภาพภายใน / โดยสถานศึกษาและตน้ สงั กดั กลมุ่ ตวั บง่ ชี้อตั ลกั ษณ์ ตวั บ่งชท้ี ่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรชั ญา ปณิธาน พนั ธกจิ / และวตั ถุประสงคข์ องการจัดตัง้ สถานศึกษา / ตวั บ่งชท้ี ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเด่นทส่ี ่งผลสะทอ้ น เปน็ เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา กลุ่มตวั บง่ ชมี้ าตรการส่งเสรมิ ตัวบ่งชท้ี ี่ 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพือ่ ส่งเสริมบทบาท / ของสถานศึกษา / ตวั บ่งช้ีท่ี 12 ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดับ 80.75 ดี มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน รักษามาตรฐานและ พฒั นาสคู่ วามเปน็ เลิศทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทาง การปฏริ ูปการศึกษา คะแนนรวม โรงเรยี นมผี ลการประเมินระดับคณุ ภาพ ดี โดยมคี ่าเฉล่ีย 80.75 ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไมร่ บั รอง

40 14. ข้อเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก จุดเด่น 1. ผ้เู รยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีน้าหนกั ส่วนสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ มีความใฝ่รู้และเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง รูจ้ ักคิดเปน็ ทาเป็น แก้ปญั หาเป็น พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ รียนรูต้ ามปรัชญา ปณิธาน วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจและวตั ถปุ ระสงค์ของการจัดตง้ั สถานศึกษา ผลการพฒั นาผ้เู รียนตามจดุ เน้น จดุ เด่น ทสี่ ง่ ผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา ดา้ นอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม โดยสถานศกึ ษาได้ดาเนนิ โครงการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม จนเปน็ ท่ียอมรบั ของบุคคล และผปู้ กครองในชุมชนวา่ นกั เรียนมจี ิตสานกึ ดา้ นการอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม สถานศึกษาได้ดาเนนิ โครงการ พเิ ศษเพ่ือส่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ โครงการอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อม ระดับประถมศึกษา เพือ่ ให้ ผ้เู รยี นมจี ิตสานึก รว่ มอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มและสวนพฤกษศาสตร์ของโรงเรียน 2. ผบู้ ริหารมคี วามรูแ้ ละมภี าวะผนู้ าทางวิชาการ โดยปฏิบตั หิ นา้ ทตี่ ามบทบาทได้อย่างสมบรู ณ์ทุก งานทัง้ 4 งาน ผบู้ รหิ ารสามารถบรหิ ารจดั การโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในระดบั ดีมากทุกฝา่ ยร่วมกันพัฒนาบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนการสอน สถานศึกษาได้ทาตามข้อเสนอแนะในการประเมินรอบสองของ สมศ. ในเรื่องทกั ษะในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะหข์ องผู้เรยี น โดยได้ปรับปรุงห้องสมุดใหท้ ันสมยั มหี นังสือที่มสี ารประโยชน์ให้ผู้เรยี นในการค้นควา้ มีสื่อ ICT ใส่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ใหน้ ักเรยี นไดค้ ้นคว้า จดั กิจกรรมให้นักเรยี นได้เรยี นรู้ด้วยโครงงาน จนผเู้ รียนมผี ลการประเมินด้านคิดวเิ คราะห์ระดบั ดี สง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษาสามารถพฒั นาสู่ความเปน็ เลิศ อยใู่ นระดบั ดมี าก 3. สถานศึกษาส่งเสรมิ ครู ได้รับการพฒั นาวิชาทีส่ อนอย่างต่อเนื่อง โดยส่งครูเข้าอบรม สัมมนา ดงู าน ส่งผลใหค้ รมู คี วามสามารถวางแผนการจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ โดยสอนควบคนละ 2 ช้ัน สามารถบริหารจัดการศกึ ษาในภาวะทข่ี าดแคลนครูได้อย่างเหมาะสม ผ้บู ริหารมีการประเมนิ แผนจัดการ เรียนรู้ ประเมินการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินแบบทดสอบทคี่ รูออกข้อสอบ ก่อนจะนาไป ทดสอบนักเรยี นภาคเรยี นละ 1 ครงั้ ครูมีการศกึ ษาผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล มสี ่ือการสอนท่ีเหมาะสมกับ กิจกรรม มีการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินผูเ้ รยี น โดยการสอนซอ่ มเสรมิ หรือทาวิจัยในช้นั เรียนเพือ่ พัฒนา คุณภาพของผู้เรยี นใหส้ ูงข้ึน 4. สถานศึกษาร่วมมือกับหนว่ ยงานตน้ สังกัดพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายใน ส่งผลให้การ ทบทวนตรวจสอบคณุ ภาพภายในโดยต้นสังกดั ระดับคุณภาพ ดีมาก ความเปน็ ผนู้ าด้านวิชาการ ส่งผลให้ สถานศกึ ษามแี นวโนม้ การพัฒนาของผลการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาสงู ขึน้ อยา่ งต่อเนอื่ ง จุดทคี่ วรพฒั นา ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนใน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ พอใช้ มีผลสัมฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย และคณิตศาสตร์ ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรับปรุงเรง่ ดว่ น กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรงุ กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ การงานอาชีพ และเทคโนโลยีฯ ระดบั คุณภาพ พอใช้ ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 1.ดา้ นผลการจดั การศึกษา 1) ผเู้ รยี นควรไดร้ ับการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น โดยเฉพาะกลุ่มทกั ษะคณติ ศาสตร์และ ภาษาไทย โดยกาหนดมาตรการ และกจิ กรรมเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เช่น ฝกึ ฝนซ้าบ่อยๆ

41 โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ ครหู มนั่ ทดสอบย่อยและสอนซ่อมเสริมอย่างสม่าเสมอ สว่ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ควรจดั ครทู ี่มคี วามรู้ความสามารถและประสบการณใ์ นการจัดกจิ กรรม การเรยี นการสอน และหม่นั จัดการเรียนรู้เพ่ือการทบทวนทักษะการฟงั พดู อา่ น เขียน สนทนา เรียนรจู้ าก ส่ือประเภท CD-ROM หรอื สื่อออนไลน์จากเจ้าของภาษา ครูหมั่นทดสอบยอ่ ยอยา่ งสมา่ เสมอ ใชผ้ ลการ ทดสอบเพ่อื การวางแผนพัฒนาผเู้ รยี นต่อไป กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ควรปรับการเรียน การสอน โดยเน้นใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนร่วมในการเรยี นรู้ แสดงความคิดคน้ พบปญั หา ทดลอง อภิปรายผลสรุปผล รายงาน ผล ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในทุกๆ ชน้ั ส่วนกล่มุ สาระการเรยี นรู้อ่นื ๆ ควรใหม้ ีความสมดลุ ระหว่าง ภาคความรู้และภาคปฏิบตั ิ โดยให้เป็นไปตามหลักสูตรกาหนด 2) ผเู้ รียนควรได้รบั การพฒั นายกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยครคู วรพฒั นากจิ กรรม การเรยี นรู้ของตนเอง นาผลประเมนิ มาวิเคราะหแ์ ละออกแบบการสอนให้เหมาะสมตามศกั ยภาพผู้เรียน แต่ละคน มีการใช้กระบวนการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ร่วมกันของคณะครภู ายในสถานศึกษาและกลุ่มเครือข่าย นอกจากน้ี ควรศกึ ษาเพ่ิมเติมเกีย่ วกับรปู แบบวิธกี ารทดสอบของ สทศ. แลว้ ปรบั รปู แบบขอ้ ทดสอบให้ หลากหลาย ผบู้ รหิ ารควรรว่ มมือกบั ครูพจิ ารณานาผลประเมนิ ในทุกระดบั มาวางแผนโครงการ กจิ กรรมเพื่อ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน โดยสง่ เสรมิ ให้ครไู ดร้ บั การพฒั นาศักยภาพ มีการนิเทศ กากับ ตดิ ตามและ ประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง 2. ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา สถานศึกษาสามารถกาหนดทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ จัด บรรยากาศการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสม สวยงาม เอื้อต่อการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต โดยเฉพาะการพัฒนาหอ้ งสมุด ห้องคอมพวิ เตอร์ ทเ่ี ช่ือมต่อระบบอนิ เตอร์เนต็ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ การจดั สิง่ อานวยความสะดวกให้เด็ก ผูเ้ รยี น ไดใ้ ช้เรียนรหู้ รือสามารถเรียนรดู้ ้วยตนเอง นอกจากนี้ ควรกาหนดทิศทางการสรา้ งสงั คมแหง่ การ เรียนรู้ภายในสถานศึกษาและขยายผลส่คู รอบครวั และชมุ ชนตอ่ ไป 3. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั สถานศกึ ษาสามารถกาหนดทิศทางการพัฒนาครสู คู่ รยู คุ ใหม่ท่ีใช้ผลประเมินเพื่อปรับการเรียน การสอน การพฒั นาส่ือ นวัตกรรมการเรยี นรทู้ ่ีเกดิ จากปัญหาในชัน้ เรียน การใช้ส่อื เทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นรู้ และการพัฒนาผูเ้ รียนให้รักการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาสามารถกาหนดทิศทางและการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานให้กา้ วหน้ายง่ิ ข้ึนตอ่ ไป โดยใชก้ ารดาเนินการตามระบบประกนั คุณภาพภายในทปี่ ระกาศในกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2553 โดยเฉพาะการนามาตรฐานของต้นสังกัดและส่งิ ทส่ี ถานศึกษาต้องการเน้นเป็นเป้าหมายในแผนงาน โครงการ ใชก้ ระบวนการมีส่วนรว่ มจากทุกฝา่ ย กากบั ตดิ ตามการดาเนนิ การเปน็ ระยะๆ ประเมินผล นาผล ประเมิน มาสังเคราะหเ์ พอ่ื จัดทาเป็นรายงานประเมนิ ตนเอง ใช้ผลการประเมนิ ตนเองเป็นข้อมูลในการ วางแผนพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานในปตี อ่ ไปดาเนนิ การเช่นนอี้ ย่างตอ่ เน่ืองตลอดไป 15. สรปุ สภาพปัญหา จดุ เดน่ จดุ ที่ควรพฒั นาในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา สภาพปญั หา 1. ครูควรพฒั นาด้านการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั มีการจัดกจิ กรรม เสริมหลกั สูตรทก่ี ระตุ้นใหผ้ เู้ รียนหาความรู้ สรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง กระตุน้ ใหน้ ักเรียนรู้จกั คิวิเคราะห์ 2. ครคู วรจัดทาวเิ คราะห์หลักสูตรและแผนการจดั การเรียนรใู้ หค้ รบถ้วนครอบคลุมสารถท่คี รสู อน และมีการใชส้ ่ือการเรยี นการสอนอย่างหลากหลายเพ่ือกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเตม็ ศักยภาพ

42 3. ควรพฒั นาด้านผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม และภาษาอังกฤษให้สงู ข้ึน 4. สถานศกึ ษาควรพัฒนาห้องสมดุ ใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรูแ้ ละมีการจัดกิจกรรมหลากหลาย เพอ่ื ส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องผู้เรยี น 5. สถานศึกษาควรพฒั นาผเู้ รียนให้มสี นุ ทรียภาพทางดา้ นดนตรี 6. ครูควรพัฒนาเครื่องมือและวธิ ีการในการวัดและประเมินผล จดุ เดน่ 1. ผบู้ ริหารมีภาวะผนู้ ามีความสามารถในการบริหารจัดการ อทุ ศิ ตนในการทางานและ เป็นแบบอย่างทด่ี ี มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย รับฟังความคิดเห็นจากคณะครู 2. ครูทุกคนมคี ุณวุฒริ ะดับปริญญาตรี ทาการสอนตรงตามวชิ าเอก/โท และตรงกับความถนัด มคี วามรกั ความสามัคคใี นหมคู่ ณะ 3. โรงเรยี นและชมุ ชนมีความสมั พันธอ์ นั ดีต่อกนั โรงเรยี นเปดิ โอกาสให้ชมุ ชนเข้ามามีสว่ นรว่ มใน การจดั การศึกษา 4. โรงเรียนมีโครงกาท่ีสนับสนุนการดาเนินการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามท่ีหลักสูตร กาหนด จุดทีค่ วรพัฒนา 1. ควรพัฒนาด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั ควรจัดกิจกรรม เสรมิ หลกั สตู รทกี่ ระต้นุ ให้ผู้เรียนรจู้ ักแสวงหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง กระต้นุ ให้นักเรียนรูจ้ ักคดิ วเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและตัดสนิ ใจ 2. พัฒนาเครื่องมือและวิธีการในการวดั และประเมินผล - ครคู วรจัดทาวเิ คราะหห์ ลกั สูตรและแผนการจัดการเรยี นร้ใู ห้ครบถ้วนครอบคลมุ สาระ ใช้สอ่ื การเรยี นการสอนอย่างหลากหลาย - ควรพฒั นาทักษะของนักเรยี นทางด้านดนตรไี ทย - นักเรียนควรได้รบั การส่งเสรมิ ให้ใชแ้ หล่งเรยี นรูใ้ นชุมชนให้มากขนึ้ 3. จัดหางบประมาณเพือ่ พัฒนาบคุ ลากร สือ่ เทคโนโลยที ่ที ันสมยั

43 16. ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ NT (อาจทาเป็นตารางและกราฟ) 1) ผลการประเมินปีปจั จบุ ัน - 2) ผลการประเมิน 3 ปี ย้อนหลงั ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘- ๒๕๖๐ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ ๑๐๐คะแนนเฉล่ีย ๙๐ ๘๐ 49.76 ๗๐ 41.70 ๖๐ ๕๐ 51.75 ๔๐ 52.50 ๓๐ 40.00 ๒๐ ๑๐ 60.71 ๐ 57.14 47.14 2558 52.85 2559 2560 ด้านภาษา ด้านคานวณ ดา้ นเหตุผล

44 17. ผลการประเมินระดับชาติ 0-NET (อาจทาเป็นตารางและกราฟ) 1) ผลการประเมินปีปัจจบุ นั ปกี ารศกึ ษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 2561 39.05 27.00 34.00 29.00 2) ผลการประเมนิ 3 ปี ย้อนหลงั ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘- ๒๕๖๐ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ คะแนนเฉลี่ย๑๐๐ ๙๐ 50.00๘๐ 57.89๗๐ ๖๐ 44.25๕๐ 48.57๔๐ ๓๐ 41.67๒๐ 32.86๑๐ ๐ 44.76 41.75ภาษาไทย 39.00 21.43 22.08 27.14 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ 2558 2559 2560

45 ตอนที่ 2 แผนปฏิบัติการประจาปขี องสถานศึกษา 1. การบริหารจดั การศกึ ษา โรงเรียนบ้านงว้ิ แบง่ โครงสรา้ งการบริหารงานเปน็ 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านการบรหิ ารงานวิชาการ ดา้ นการบรหิ ารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และดา้ นการบริหารงานทัว่ ไป ผบู้ รหิ ารยึด หลักการบริหารแบบมสี ว่ นร่วม การจัดการศึกษาเปน็ ภารกิจหลกั ของสถานศึกษา ทีจ่ ะต้องดาเนินการให้ ประสบผลสาเร็จ ดงั นัน้ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาควรใชก้ ระบวนการไปพรอ้ มๆ กันคอื การบรหิ ารการศกึ ษา การบริหารการจัดการเรยี นรู้ และการบรหิ ารการนิเทศการศกึ ษา โดยเฉพาะกระบวนการบริหาร สถานศึกษามีการะบวนการบริหารทม่ี ีคณุ ภาพ กเ็ ชื่อไดว้ า่ การบริหารจัดการศกึ ษาจะประสบผลสาเรจ็ ได้ ตามเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ ผบู้ ริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลทส่ี าคัญท่จี ะทาใหก้ ระบวนการบริหารการศกึ ษา มปี ระสทิ ธิภาพ ในท่ีนี้จะกล่าวถึงกลยทุ ธ์ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทีท่ าใหป้ ระสบผลสาเร็จคือ  สรา้ งศรทั ธา  พัฒนาทมี งาน  ประสานการใชย้ ทุ ธศาสตร์ 1. สร้างศรัทธา เปน็ การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาใหเ้ กิดความน่าเช่ือถือ ไวว้ างใจเช่ือไดส้ นิท ใจ ใหค้ วามเคารพนับถือ ยกยอ่ งชมเชย ใหเ้ กยี รติ ความศรทั ธาดังกลา่ วจะต้องเกิดข้ึนกับครู ผปู้ กครอง นกั เรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาควรแสดง พฤติกรรมที่ทาให้เกิดศรทั ธา เชน่ มุ่งม่ัน หม่นั ทาดี มวี สิ ยั ทัศน์ ซอ่ื ตรงโปร่งใส ให้ความเป็นธรรม นาพฒั นา (นาคิด นาทา) วาจาสุภาพ อดทน อดกลน้ั 2. พัฒนาทีมงาน เป็นการสรา้ งทมี งานให้มีการทางานเป็นกลุ่ม เปน็ คณะ มคี วามเปน็ กันเอง ส่งเสรมิ การมีส่วน ร่วม ตดิ ตอ่ สื่อสารกนั อย่างเปิดเผย ทกุ คนร้บู ทบาทของตนเองอย่างชัดเจน ให้อภยั ประนีประนอม ไมเ่ อา เปรยี บกนั ทกุ คนมคี วามสาคัญ เมอื่ พัฒนาทมี งานใหม้ คี ุณลกั ษณะดังกล่าวแลว้ การพัฒนางานต่าง ๆ ของ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษากจ็ ะเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และเกิดประสิทธผิ ล ดังนนั้ ควรพฒั นาบุคคลต่อไปนี้คือ ผ้บู ริหารสถานศึกษา ครู คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน และผ้ปู กครอง แนวทางการพฒั นาทีมงาน 1) จัดใหม้ ีการประชมุ อบรม สัมมนา 2) สง่ เสรมิ ใหค้ รูศึกษาต่อ 3) ส่งเสริมใหค้ รทู าผลงานทางวิชาการ 4) ศกึ ษาดูงานโรงเรยี นท่ีประสบผลสาเรจ็ 5) การสรา้ งประสบการณ์โดยทางานท่ที ้าทาย 3. ประสานการใชย้ ุทธศาสตร์ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาจะต้องนายทุ ธศาสตร์ การทางานใหมม่ าใช้ในการพฒั นาการจัดการศึกษา และส่งเสรมิ สนบั สนุนการนานวตั กรรมใหม่ ๆ มาใช้ ในการนานวัตกรรมหรอื ยุทธศาสตร์มาใช้ ผูบ้ รหิ าร สถานศกึ ษาจะต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจเปน็ อย่างดี สามารถเปน็ ทป่ี รึกษาของทีมงานได้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ นามาใชแ้ ละทาให้ประสบผลสาเรจ็ เชน่ การบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วมการบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม ผู้บรหิ าร

46 สถานศึกษาจะต้องให้ความสาคัญกบั ทีมงานของตน ซึ่งประกอบด้วยครู คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ผูป้ กครอง นกั เรยี น และผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี มสี ่วนร่วมในกระบวนการพัฒนางาน เชน่ กระบวนการพฒั นาระบบครบวงจร ของ Deming Cycle หรอื วงจร PDCA Plan คอื การวางแผนในการดาเนินงาน Do คือการลงมือทาตามแผนทีว่ างไว้ Check คือการตรวจสอบผลการดาเนินงานกับแผน Action คอื การยดึ ถือปฏิบัตหิ ากการดาเนินงานบรรลุตามแผน ถา้ การดาเนินงานยงั ไมบ่ รรลุตาม แผนให้หาสาเหตุและวางแผนแก้ไขใหม่ วงจรสคู่ วามสาเร็จ รว่ มกนั วางแผน รว่ มกันปรับปรุง ร่วมกันปฏิบตั ิ รว่ มกนั ตรวจสอบ การตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพ กลยทุ ธ์ในการบรหิ ารที่ประสบผลสาเร็จทง้ั 3 อยา่ ง คือการสรา้ งศรทั ธา พฒั นาทีมงาน ประสาน การใชย้ ทุ ธศาสตร์ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาไดป้ ฏบิ ัติตนเองให้มีพฤติกรรมดังกล่าวเชอ่ื ว่าจะทาให้ผรู้ ว่ มงานและ ผู้เกีย่ วขอ้ งเกดิ ความชน่ื ชอบ และช่วยเหลือ เม่ือเปน็ เช่นน้ันกจ็ ะทาให้การบริหารการศึกษาประสบ ความสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ตี ั้งไว้

47 โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรียนบา้ นงว้ิ ผ้อู านวยการโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ฝ่ายบรหิ ารวิชาการ ฝา่ ยบริหารประมาณ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป แผนภาพท่ี 1 โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นบ้านง้ิว 2. วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย อตั ลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา 2.1 วิสยั ทศั น์ “ภายในปี 2563 โรงเรยี นบ้านง้วิ มีคุณภาพและพัฒนาการศกึ ษาใหผ้ า่ นเกณฑร์ ะดบั มาตรฐานสากลมีการบรหิ ารตามหลกั ธรรมาภบิ าล ใช้ส่ือเทคโนโลยเี พ่ือพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีทักษะความรู้ คู่คณุ ธรรม อนุรักษธ์ รรมชาติและสง่ิ แวดล้อม นอ้ มนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ ภายใต้การมี ส่วนร่วมของชุมชนอย่างยั่งยืน” 2.2 พนั ธกิจ 1. จดั การศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2. พฒั นาบุคลากรให้เป็นมอื อาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม และสร้างเสรมิ สุขภาพและสขุ นิสยั ทีด่ ีใหแ้ กน่ ักเรยี น 3. บริหารจดั การใชส้ อ่ื เทคโนโลยีเพ่ือให้นักเรยี นเกดิ การเรียนร้เู ต็มศกั ยภาพ 4. จดั กจิ กรรมเพ่ือปลูกฝังคณุ ธรรมจริยธรรม 5. นาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ 6. ปลูกฝงั ใหร้ กั ความเป็นไทยและสบื สานศิลปวฒั นธรรมอย่างเหน็ คณุ คา่ 7. บริหารสถานศกึ ษาโดยใชห้ ลกั ให้ชมุ ชนมสี ่วนร่วมอยา่ งต่อเนือ่ ง 2.3 เป้าประสงค์ 1. นกั เรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 มคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม 2. นักเรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 75 มที ักษะการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองรักการเรียนรู้ และพฒั นาอย่างต่อเน่ืองมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์และคิดสร้างสรรค์ 3. นักเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90 นาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั 4. นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มที กั ษะในการทางานและมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่ออาชีพสุจริต

48 5. นกั เรียนมคี วามรู้และทักษะทจี่ าเป็นในการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรโดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ทุกกลมุ่ สาระ 6. นกั เรียนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 90 มีสขุ นิสัย สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี สามารถนา ความรสู้ ู่ครอบครวั และชุมชน 2.4 คาขวัญ “เรยี นดี มวี ินัย ใส่ใจสงิ่ แวดลอ้ ม” 2.5 อัตลักษณ์ของสถานศึกษา “วนิ ยั ดี มีสมั มาคารวะ” 2.6 เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา “อนุรกั ษธ์ รรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม” 3. แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 1. เรง่ รดั การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 2 สง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั 3. ส่งเสริมให้ครพู ัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความสามารถด้านการคดิ อย่างเป็นระบบ 4. สง่ เสริมการจัดการศึกษาโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน และเนน้ การมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคส่วน 5. ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนทุกคนมสี ่วนในกิจกรรมเพ่ือร่วมอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทยและรกั ษ์ ธรรมชาติสง่ิ แวดลอ้ ม 6. จดั ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้เปน็ ระบบมีประสิทธิผล 4. กลยุทธก์ ารพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 1. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั ตามหลกั สตู รและสง่ เสรมิ ความสามารทาง เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครอ่ื งมือในการเรยี นรู้ 2. ปลกู ฝังคุณธรรม ความสานึกในการเปน็ ชาตไิ ทย และวิถชี ีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. ขยาย โอกาสทางการศกึ ษาให้ทวั่ ถงึ ครอบคลุม ผเู้ รียนไดร้ ับโอกาสในการพฒั นาเต็มตาม ศกั ยภาพ 4. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทงั้ ระบบ ใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งมี คุณภาพ 5. พัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษา เน้นการมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น

ความสัมพันธ์ระหว่างงาน/โครงการ/กิจก งาน/กจิ กรรม/โครงการ มาตรฐานท่ี 1.1 มาตร เข้าแถวหนา้ เสาธง 1.1.1 1.1.2 1.1.3 1.1.4 1.1.5 1.1.6 1.2.1 1.2.2 Home room โครงการพฒั นางานวชิ าการ / / โครงการการพัฒนาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา / / โครงการพัฒนาห้องสมุดภายในสถานศึกษา โครงการพัฒนาและจดั ทาสอ่ื การเรยี นการสอน ////// / / โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ ////// / / โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ////// / / โครงการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการรกั การอา่ น ////// / / โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ NT, O-NET ////// / / ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3,6 ////// / / โครงการเตรยี มพร้อมเข้ารับการประเมนิ ////// / / มาตรฐานจาก สมศ. รอบที่ 4 โครงการลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ // //////

49 กรรม กับมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา มาตรฐาน และประเด็นการพจิ ารณา รฐานท่ี 1.2 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานท่ี 3 1.2.3 1.2.4 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 // // // // / / / // / // / // // /// // // / / / ////// //// // / // / // / / /// ////