คำนำ คูมือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทำขึ้น เพื่อให โรงเรียน ได้ใชเป็นแนวทางการบริหารและจัดการสถานศึกษาในรูปแบบนิตบิ ุคคล ทั้งการบริหาร ดานวชิ าการ ดานงบประมาณ ดานการบรหิ ารงานบุคคลดานการบริหารทั่วไป เนื้อหาสาระของคูมือ ประกอบด้วย บทที่ ๑ บทนํา บทที่ ๒ แนวทางการบริหารวิชาการ บทที่ ๓ แนวทางการบริหารงบประมาณ บทที่ ๔ แนวทางการ บริหารงานบุคคล โรงเรียนบ้านทอน ขอขอบคุณคณะทำงานจัดทำคูมือมาตรฐานการปฏิบัติงานของ สถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ที่ร่วมกันจัดทำคูมือฉบับนี้ ใหมีความสมบูรณ เพื่อเป็นตนแบบในการปฏิบัติ ต่อไป โรงเรยี นบา้ นทอน
สารบัญ บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ๑ บทท่ี ๒ การบรหิ ารงานวชิ าการ ๓ บทที่ ๓ การบรหิ ารงบประมาณ ๒๐ บทที่ ๔ การบริหารงานบคุ คล ๔๑ บทท่ี ๕ การบริหารงานทัว่ ไป ๕๗
บทท่ี ๑ ข้อมลู พ้ืนฐาน ขอ้ มูลท่ัวไป ช่ือโรงเรยี น โรงเรยี นบา้ นทอน ท่ีอยู่ หม่ทู ่ี 5 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมอื ง จังหวัดนราธวิ าส จำนวนครู 46 คน จำแนกเป็น ขา้ ราชการครู 28 คน พนักงานราชการ 6 คน ครสู อนอิสลามแบบเข้ม 7 คน ธุรการ 1 คน รปภ. 1 คน ครูพ่ีเลยี้ งเด็กพกิ าร (LD) 1 คน และนกั การภารโรง 2 คน จำนวนนักเรียน รวม 639 คน จำแนกเป็น ระดับปฐมวัย 123 คน ระดับประถมศึกษา 416 คนและ มัธยมศึกษา ม.1-3 จำนวน 100 คน วิสัยทัศน์ (VISION) พฒั นาผู้เรียน ให้มคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน บริหารแบบมีส่วนรว่ ม น้อมนำหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มบี รรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ เน้นวิถอี ิสลาม พนั ธกิจโรงเรยี นบา้ นทอน ๑. พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒. พฒั นาครู บคุ ลากรใหม้ ีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพ ๓. สง่ เสริมการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม ๔. สง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามวิถอี ิสลาม ๕. จดั สภาพแวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้ ๖. นักเรยี น ครูและบุคลากรดำเนนิ ชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปา้ หมาย ๑. ผ้เู รยี นมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๒. ครู และบุคลากร มคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานวิชาชพี ๓. โรงเรยี นมกี ารบริหารแบบมสี ่วนร่วม ๔. นักเรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามวถิ ีอิสลาม ๕. สภาพแวดลอ้ มเอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ ๖. นกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อตั ลกั ษณ์ของโรงเรียน ไหว้งาม สลามสวย เอกลักษณ์ สง่ เสริมการประดิษฐเ์ รอื กอและจำลอง คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 1 ~
โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 2 ~
บทที่ ๒ การบริหารงานวชิ าการ ความเป็นมา การบริหารงานวิชาการเป็นภารกิจที่สำคัญของการบริหารโรงเรียนตามที่พระราชบัญญัติการศึกษา แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ถอื เปน็ งานทมี่ ีความสำคัญทส่ี ุด เปน็ หัวใจ ของการจัดการศึกษา ซง่ึ ทง้ั ผบู้ รหิ าร โรงเรียน คณะครู และผมู้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย ต้องมคี วามรคู้ วามเข้าใจ ให้ความสำคัญและ มีส่วนร่วมในการวางแผน กำหนดแนวทางปฏิบัติการประเมินผล และการปรับปรุงแก้ไข อย่างเป็น ระบบและต่อเน่ือง มุ่งให้กระจายอำนาจในการบริหารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากที่สุด ด้วย เจตนารมณ์ที่จะให้สถานศึกษาดำเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียน โรงเรยี น ชุมชน ท้องถ่ิน และการมีสว่ นร่วมจากผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียทุกฝา่ ย ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสำคัญทำ ให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารและจัดการ สามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งปัจจัยเก้อื หนนุ การพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน ไดอ้ ย่างมคี ุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ หลักการและแนวคิด ๑. ใหสถานศกึ ษาจัดทําหลกั สูตรสถานศึกษาเปนไปตามกรอบหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สอดคลองกบั สภาพปญหา ความตองการของชุมชนและสงั คมอยางแทจริง โดยไดรบั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๒. มุงสงเสรมิ สถานศึกษาใหจดั กระบวนการเรียนรูโดยยึดผูเรยี นเปนสาํ คัญ ๓. มงุ สงเสรมิ ใหชมุ ชนและสังคมมสี วนรวมในการกําหนดหลกั สตู รกระบวนการเรียนรู รวมทง้ั เป็น เครอื ข่ายและแหลงการเรียนรู ๔. มุงจดั การศึกษาใหมีคณุ ภาพและมาตรฐาน โดยจดั ใหมดี ชั นีชี้วดั คุณภาพการจดั หลักสตู รและ กระบวนการเรยี นรู สามารถตรวจสอบคณุ ภาพการจดั การศึกษาไดทุกช้นั ป ๕. มุงสงเสริมใหมีความรวมมือกับทุกภาคสวนเปนเครือขาย เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ลในการจัด และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 3 ~
ขอบขา่ ยและภารกจิ ผู้รบั ผดิ ชอบ ๑. การพัฒนาหรือการดำเนินการเกยี่ วกบั การใหค้ วามเหน็ การพัฒนาสาระหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ 1) วิเคราะห์กรอบสาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ ทีส่ ำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาจัดทำไว้ 2) วิเคราะห์หลักสตู รสถานศึกษาเพ่อื กำหนดจดุ เน้น หรอื ประเด็นท่สี ถานศกึ ษาใหค้ วามสำคัญ 3) ศกึ ษา และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา และชุมชนเพ่ือนำมาเปน็ ข้อมูลจัดทำสาระ การเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ ของสถานศึกษาใหส้ มบรู ณย์ ิง่ ข้นึ 4) จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษา เพื่อนำไปจัดทำรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา เพิ่มเติมจัดทำคำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์ และจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้แกผ่ ูเ้ รียน ประเมินผล และปรับปรุง 5) ผบู้ รหิ ารศึกษาอนมุ ัติ ๒. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ 1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับดูแล นิเทศและติดตามเกี่ยวกับงาน วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใช้ สื่อ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ การวจิ ัยเพอื่ พฒั นา คุณภาพการศกึ ษา และสง่ เสรมิ ชุมชนให้มีความเขม้ แขง็ ทางวิชาการ 2) ผู้บรหิ ารสถานศึกษาอนมุ ตั โิ ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ๓. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา 1) จัดทำแผนการเรียนร้ทู ุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2) จดั การเรียนการสอนทุกกลุม่ สาระการเรยี นรทู้ ุกช่วงช้ัน ตามแนวปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรโู้ ดยเน้นผูเ้ รยี น เปน็ สำคญั พฒั นาคุณธรรมนำความรตู้ ามหลักการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) ใช้สอื่ การเรยี นการสอน และแหลง่ การเรยี นรู้ 4) จดั กจิ กรรมพฒั นาหอ้ งสมดุ ห้องปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆ ให้เอื้อต่อการเรยี นรู้ 5) สง่ เสริมการวจิ ัย และพฒั นาการเรยี นการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 6) สง่ เสรมิ การพฒั นาความเป็นเลศิ ของนักเรยี น และชว่ ยเหลือนักเรยี นพกิ าร ด้อยโอกาสและ มีความสามารถพิเศษ ๔. การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา 1) จดั ทำหลักสตู รเปน็ ของตนเองโดยจัดให้มีการวจิ ัย และพัฒนาหลักสูตร ใหท้ ันกับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม จัดทำหลักสูตรที่มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้และคุณธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จัดให้มวี ิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาพ้นื ฐานของกระทรวงศึกษาธกิ าร คูม่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 4 ~
2) เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชา ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา การศกึ ษาทสี่ ง่ เสรมิ ความเป็นเลิศ ผู้บกพร่อง 3) เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน สงั คม และอาเซย่ี น ๕. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 1) จดั เน้อื หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผูเ้ รียนโดยคำนึงถึง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 2) ฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ เพ่อื ป้องกัน และแก้ไขปัญหา 3) จัดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ ฝึกการปฏบิ ัติให้ทำได้ คดิ เป็น ทำเปน็ รกั การอ่านและเกิดการใฝร่ ู้อย่างตอ่ เนอื่ ง 4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อยา่ งได้สดั ส่วนสมดุลกนั รวมท้งั ปลูกฝังคณุ ธรรม ค่านิยมท่ดี ีงามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคไ์ ว้ในทุกกลุ่มสาระ/วชิ า 5) ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหผ้ สู้ อนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ ม ส่อื การเรยี น และอำนวยความ สะดวกเพื่อใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทง้ั สามารถใชก้ ารวจิ ยั เปน็ สว่ นหน่ึงของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ี ผู้สอนและผเู้ รียนรอู้ าจเรยี นรู้ไปพร้อมกันจากสือ่ การเรียนการสอน และ แหลง่ วิทยาการประเภทตา่ ง ๆ 6) จัดการเรยี นร้ใู ห้เกดิ ข้ึนได้ทุกเวลา ทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความร่วมมือ กบั บิดามารดาและ บคุ คลในชุมชนทกุ ฝา่ ย เพอื่ ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ 7) ศึกษาค้นควา้ พฒั นารปู แบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรยี นรทู้ ่ี ๖. การวัดผล ประเมนิ ผล และดำเนินการเทียบโอนเทา่ ผลการเรียน บทบาทและหนา้ ที่ 1) กำหนดระเบียบการวัด และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศกึ ษาโดยให้สอดคล้อง กบั นโยบายระดับประเทศ 2) จัดทำเอกสารหลักฐานการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บการวัด และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา 3) วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ์ ผลการเรยี นและอนุมัตผิ ลการเรยี น 4) จดั ใหม้ กี ารประเมนิ ผลการเรียนทกุ ช่วงชัน้ และจัดใหม้ ีการซ่อมเสริมกรณที ่ีมผี ู้เรียน ไมผ่ ่านเกณฑ์ การประเมนิ 5) ใหม้ กี ารพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผล 6) จดั ระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมนิ ผล และการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ในการอ้างอิง ตรวจสอบ และใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรียนการสอน 7) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั ผิ ลการประเมินการเรียนด้านต่าง ๆ รายปี รายภาคและตดั สินผลการ เรยี นผ่านระดับช้ันและจบการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 5 ~
8) การเทียบโอนผลการเรยี นเปน็ อำนาจของสถานศกึ ษา ทีจ่ ะแต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนินการเพอ่ื กำหนดหลกั เกณฑว์ ิธีการ ไดแ้ ก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรยี น และเสนอคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และวิชาการ พร้อมทั้งให้ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั กิ ารเทียบโอน ๗. การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษา 1) กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ และ กระบวนการทำงานของนกั เรยี น ครู และผเู้ ก่ียวข้องกับการศกึ ษา 2) พัฒนาครู และนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็น สำคัญ ในการเรียนรู้ที่ซับซ้อนขึ้น ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผลในการ ตอบปัญหา 3) พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการวิจยั 4) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจยั เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนุน ให้ครนู ำผลการวิจัยมาใชเ้ พ่อื พฒั นาการเรยี นรแู้ ละพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ๘. การพัฒนาและสง่ เสริมใหม้ แี หล่งเรียนรู้ 1) จัดให้มีแหลง่ เรยี นร้อู ย่างหลากหลาย ท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพยี งเพ่ือ สนับสนุนการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกับการจดั กระบวนการเรียนรู้ 2) จัดระบบแหล่งการเรียนรภู้ ายในโรงเรยี นให้เอ้อื ต่อการจัดการเรียนรูข้ องผ้เู รียน เช่น พัฒนา ห้องสมุดใหเ้ ป็นแหล่งการเรยี นรู้ มมุ หนังสอื ในห้องเรยี น ห้องดนตรี หอ้ งคอมพวิ เตอร์ หอ้ ง พยาบาล ห้องศนู ยว์ ชิ าการ สวนสุขภาพ สวนหนังสือ เป็นตน้ 3) จัดระบบข้อมูลแหลง่ การเรียนรูใ้ นท้องถิ่นให้เออื้ ต่อการจัดการเรียนรู้ ของผเู้ รยี น ของสถานศึกษา ของตนเอง 4) ส่งเสริมใหค้ รูและผู้เรียนได้ใช้แหลง่ เรยี นรู้ ทง้ั ในและนอกสถานศกึ ษา เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ และ นเิ ทศ กำกับตดิ ตาม ประเมนิ และปรับปรุงอยา่ งต่อเนือ่ ง ๕. ส่งเสริมใหค้ รู และผเู้ รยี นใช้แหล่งเรยี นร้ทู ้ังภายในและภายนอก คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 6 ~
๙. การนเิ ทศการศึกษา 1) สรา้ งความตระหนักให้แก่ครู และผเู้ ก่ียวข้องใหเ้ ขา้ ใจกระบวนการนิเทศภายในวา่ เป็น กระบวนการทำงานร่วมกันทใี่ ช้เหตผุ ลการนิเทศ เป็นการพัฒนาปรับปรงุ วิธกี ารทำงานของแต่ละ บุคคล ให้มีคุณภาพการนิเทศเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการบริหาร เพอ่ื ใหท้ ุกคนเกิดความ เชอื่ มนั่ ว่าได้ปฏบิ ตั ิถกู ต้อง ก้าวหน้า และเกิดประโยชนส์ งู สุดต่อผูเ้ รยี น และตัวครูเอง 2) จดั การนิเทศภายในสถานศึกษาให้มคี ุณภาพทวั่ ถงึ และต่อเนื่องเปน็ ระบบและกระบวนการ 3) จดั ระบบนิเทศภายในสถานศึกษาใหเ้ ชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษา ๑๐. การแนะแนว 1) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษา ที่มีการแนะแนวเป็นองคป์ ระกอบสำคัญ โดยใหท้ ุกคนใน สถานศกึ ษาตระหนักถึงการมีส่วนรว่ มในกระบวนการแนะแนว และการดแู ลช่วยเหลอื 2) จดั ระบบงานและโครงสร้างองคก์ รแนะแนว และดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นของสถานศกึ ษาให้ชัดเจน 3) สรา้ งความตระหนักให้ครูทกุ คนเห็นคณุ คา่ ของการแนะแนว และดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น 4) ส่งเสรมิ และพัฒนาให้ครูได้รบั ความรเู้ พิ่มเติม เร่ืองจิตวิทยาและการแนะแนวและดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น เพือ่ ใหส้ ามารถบรู ณาการในการจดั การเรียนรแู้ ละเชอ่ื มโยงสู่การดำรงชีวิตประจำวนั 5) คดั เลือกบุคลากรทมี่ ีความรู้ ความสามารถและบคุ ลกิ ภาพท่ีเหมาะสม ทำหน้าที่ครแู นะแนว ครูทีป่ รึกษา ครูประจำช้นั และคณะอนุกรรมการแนะแนว 6) ดูแล กำกับ นเิ ทศ ติดตามและสนบั สนุนการดำเนินงานแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน อยา่ งเปน็ ระบบ 7) ส่งเสรมิ ความรว่ มมือ และความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างครู ผปู้ กครอง และชุมชน 8) ประสานงานด้านการแนะแนวระหว่างสถานศกึ ษา องค์กร ภาครฐั และเอกชน บ้าน ศาสน สถาน ชุมชนในลักษณะเครือขา่ ยการแนะแนว 9) เชือ่ มโยงระบบแนะแนว และระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ๑๑. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา 1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 2) จดั ทำแผนสถานศึกษาท่มี ุ่งเนน้ คุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์/แผนยุทธศาสตร์) 3) จัดทำระบบบรหิ ารและสารสนเทศ 4) ดำเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศึกษาตอ้ ง 5) สร้างระบบ การทำงานที่เข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรอื ที่รู้จกั กนั วา่ วงจร PDCA 6) ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยการดำเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยการ สนบั สนุนใหค้ รู ผูป้ กครองและชมุ ชนเข้ามามสี ว่ นรว่ ม คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 7 ~
7) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนด เพ่ือรองรับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก 8) จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กัด และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน ๑๒. การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ 1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถ่ิน เอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอน่ื 2) ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยการจัดกระบวนการเรยี นร้ภู ายในชมุ ชน 3) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและเลือกสรร ภูมิปญั ญา วิทยาการตา่ ง ๆ 4) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหวา่ งชุมชน ๑๓. การประสานความรว่ มมือในการพฒั นาวชิ าการกับสถานศึกษา และองคก์ รอน่ื 1) ระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปญั ญาท้องถิ่น เพ่อื เสริมสร้าง พัฒนาการของนักเรยี นทุกดา้ น รวมทง้ั สืบสานจารตี ประเพณีศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่น 2) เสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถานศึกษากับชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน เพ่ือให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวทิ ยาการของชุมชน เพื่อให้สถานศกึ ษาเปน็ แหล่ง วทิ ยาการของชุมชน และมีส่วนในการพัฒนาชุมชนและท้องถ่นิ 3) ใหบ้ รกิ ารด้านวชิ าการทีส่ ามารถเช่อื มโยงหรือแลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสารกับแหล่งวิชาการทอี่ ่ืน ๆ 4) จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพ่ือส่งเสริมวฒั นธรรมการสร้างความสัมพนั ธ์อันดีกบั ศิษยเ์ กา่ การ ประชุม ผ้ปู กครองนกั เรยี น การปฏิบัติงานร่วมกับชมุ ชน การร่วมกจิ กรรมกบั สถาบันการศกึ ษา อื่น เป็นตน้ ๑๔. การส่งเสรมิ และสนับสนุนงานวชิ าการแก่บุคคล ครอบครวั องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอ่นื ทจ่ี ัดการศึกษา 1) ประชาสัมพนั ธส์ ร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่ิน เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอ่นื ในเรื่องเกีย่ วกบั สิทธิในการจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานการศกึ ษา 2) จัดให้มกี ารสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ การเพ่ิมความพร้อมใหก้ ับบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่นื ทรี่ ว่ มจัดการศึกษา ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 8 ~
3) ร่วมกบั บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เอกชน องค์กร เอกชนองค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอนื่ ทรี่ ว่ มจัดการศกึ ษา และใช้ทรพั ยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4) สง่ เสริมสนับสนนุ ให้มีการจดั กิจกรรมการเรยี นรรู้ ะหวา่ งสถานศึกษากบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น 5) ส่งเสริมสนับสนนุ ให้บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอ่ืน ได้รับความชว่ ยเหลอื ทางด้านวิชาการตามความ เหมาะสมและจำเป็น 6) สง่ เสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ ทงั้ ด้านคุณภาพและปริมาณ เพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชีวิต อย่างมี ประสิทธภิ าพ ๑๕. การจัดทำระเบยี บและแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา 1) ศกึ ษาและวเิ คราะหร์ ะเบยี บ และแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ที่ เก่ยี วขอ้ งรบั รู้ และถือปฏบิ ตั เิ ป็นแนวเดยี วกัน 2) จัดระเบยี บ และแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศกึ ษา เพื่อให้ผูท้ เ่ี กี่ยวขอ้ งรบั รู้ และถือปฏิบัติเปน็ แนวเดียวกัน 3) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษา และแกไ้ ข ปรับปรุง 4) นำระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษาไปสกู่ ารปฏบิ ัติ 5) ตรวจสอบ และประเมนิ ผล การใชร้ ะเบียบและแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกบั งานดา้ นวิชาการของ สถานศึกษาและนำไปแก้ไขปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมตอ่ ไป ๑๖. การคัดเลือกหนงั สือ แบบเรยี นเพ่อื ใช้ในสถานศกึ ษา 1) ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนงั สือเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีมีคณุ ภาพสอดคล้องกับ หลกั สูตรสถานศกึ ษา เพ่ือเป็นหนังสอื แบบเรยี นใช้ในการจัดการเรียนการสอน 2) จัดทำหนังสือเรียน หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝกึ หดั ใบงาน ใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอน 3) ตรวจพจิ ารณาคุณภาพ หนงั สือเรียนเรียน หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ หนังสอื อา่ นประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรู้ เพอื่ ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน ๑๗. การพัฒนา และใช้สื่อเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา 1) จัดให้มกี ารร่วมกนั กำหนดนโยบาย วางแผนในเร่ืองการจดั หาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และ เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา 2) พัฒนาบคุ ลากรใสถานศกึ ษาในเรื่องเกยี่ วกับการพฒั นาส่อื การเรยี นรู้ และเทคโนโลยีเพ่ือ การศึกษา พร้อมทั้งให้มีการจัดต้ังเครอื ขา่ ยทางวิชาการ ชมรมวชิ าการเพ่ือเปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 9 ~
3) พฒั นาและใชส้ ่อื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา โดยมงุ่ เนน้ การพฒั นาส่ือและเทคโนโลยที างการ ศึกษาทใ่ี ห้ข้อเทจ็ จริงเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ ๆ เกดิ ขน้ึ โดยเฉพาะหาแหลง่ สื่อที่เสริมการจัด การศกึ ษาของสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพ 4) พฒั นาหอ้ งสมดุ ของสถานศกึ ษา ให้เปน็ แหลง่ การเรียนรู้ของสถานศึกษา และชุมชน 5) นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการปฏบิ ัติงานของบุคลากรในการจดั หา ผลิต ใชแ้ ละพฒั นาสอ่ื และเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านบริหารวิชาการ ๑. หัวหน้างานบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าที่หัวหนา้ กลุม่ การบริหารวิชาการ มีหน้าที่ ดูแล กำกับ ติดตาม กลั่นกรองอำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำ ปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในกลุ่ม การบริหารวิชาการตามขอบขา่ ยและภารกิจการบรหิ ารวิชาการ ปฏิบัติหนา้ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหาร องค์กร การประสานงานและให้บริการสนับสนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่าง ๆ ในโรงเรียน สามารถบรหิ ารจัดการและดำเนินการตามบทบาทภารกจิ อำนาจหน้าท่ีดว้ ยความเรยี บร้อยตลอดจนสนับสนุน และให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษา และทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษ าแก่ เจ้าหนา้ ที่ของแต่ละฝา่ ยงานเพื่อใหฝ้ ่ายบริหารจัดการได้อย่างสะดวกคล่องตวั มีคณุ ภาพและเกดิ ประสทิ ธภิ าพ ๒. หัวหน้าวิชาการสายชนั้ ปฏิบตั ิหน้าที่ผ้ชู ว่ ยหัวหนา้ กลุ่มการบรหิ ารวชิ าการ มีหน้าที่ช่วยหัวหน้า กลุ่มการบริหารวิชาการ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของงานบริหารงานวิชาการและหน้าที่อื่น ๆ ที่หัวหน้า กลุ่มบริหารวชิ าการมอบหมายปฏิบตั หิ น้าทแ่ี ทนในกรณีหวั หนา้ บรหิ ารงานวิชาการไมส่ ามารถปฏิบัตหิ น้าทีไ่ ด้ ขอบข่ายงานบริหารวชิ าการ มีดงั นี้ ๑. การพัฒนาหรือการดำเนินงานเกีย่ วกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลกั สตู รท้องถ่ิน หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังนี้ ๑) วเิ คราะห์กรอบสาระการเรยี นร้ทู ้องถนิ่ ที่สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาจัดทำไว้ ๒) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกำหนดจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุ่ม เครือข่ายสถานศกึ ษาให้ความสำคัญ ๓) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพื่อนำมาเป็นข้อมูล จัดทำสาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ ของสถานศึกษาให้สมบรู ณย์ งิ่ ขน้ึ ๔) จดั ทำสาระการเรียนรูท้ อ้ งถิน่ ของสถานศึกษาเพื่อนำไปจดั ทำรายวิชาพนื้ ฐานหรือรายวิชา เพิ่มเติมจัดทำคำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกิจกรรม การเรียนการสอนใหแ้ ก่ผเู้ รียนประเมินผลและปรบั ปรุง ๕) ผู้บรหิ ารสถานศึกษาอนุมัติ คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 10 ~
๒. การวางแผนงานด้านวชิ าการ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี ๑) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับ ดูแล นิเทศและติดตาม เกี่ยวกับงานวิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมนิ ผล และการเทยี บโอนผลการเรยี นการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและ ใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาและการสง่ เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวชิ าการ ๒) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั ิโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๓. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา หน้าทีร่ ับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้ ๑) จดั ทำแผนการเรยี นรทู้ กุ กล่มุ สาระการเรยี นรโู้ ดยความร่วมมือของเครอื ข่ายสถานศึกษา ๒) จัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชั้น ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดย เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ บูรณาการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรตู้ ่าง ๆ เพอื่ คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนา คุณธรรมนำความรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๓) ใช้สอื่ การเรียนการสอนและแหลง่ การเรยี นรู้ ๔) จัดกจิ กรรมพัฒนาห้องสมุด หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ ให้เอื้อตอ่ การเรียนรู้ ๕) ส่งเสริมการวจิ ยั และพัฒนาการเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๖) สง่ เสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนกั เรยี นและช่วยเหลือนักเรยี นพกิ ารด้อยโอกาสและ มีความสามารถพเิ ศษ ๔. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศึกษา หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี ๑ จดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาเป็นของตนเอง ๑.๑ จัดให้มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมและเป็นต้นแบบใหก้ ับโรงเรียนอนื่ ๑.๒ จัดทำหลักสูตรทมี่ ุง่ เนน้ พฒั นานกั เรียนใหเ้ ป็นมนษุ ยท์ ่สี มบรู ณท์ ัง้ รา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา มคี วามร้แู ละคณุ ธรรม สามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างมคี วามสุข ๑.๓ จดั ใหม้ ีวิชาตา่ ง ๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๑.๔ เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาใหส้ ูงและลกึ ซึ้งมากขึ้นสำหรับกลุม่ เป้าหมาย เฉพาะ ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศ ผู้ บกพรอ่ ง พกิ าร และการศกึ ษาทางเลอื ก คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 11 ~
๑.๕ เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของ ผ้เู รียน ผปู้ กครอง ชมุ ชน สังคม และโลก ๒) สถานศึกษาสามารถจัดทำหลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนและอื่น ๆ ให้ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาและเครือข่ายสถานศกึ ษา ๓) คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐานให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา ๔) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษารับทราบ ๕. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ หน้าท่รี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้ ๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความร้มู า ใช้เพอ่ื ป้องกันและแก้ไขปญั หา ๓) จดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนได้เรียนร้จู ากประสบการณ์จริงฝึกการปฏบิ ตั ิใหท้ ำได้ คดิ เป็น ทำเปน็ รกั การอ่านและเกิดการใฝ่ร้อู ยา่ งตอ่ เนื่อง ๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทง้ั ปลกู ฝังคณุ ธรรม ค่านิยมทีด่ ีงานและคุณลกั ษณะอนั พง่ึ ประสงค์ไว้ในทุกวิชา ๕) สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหผ้ ูส้ อนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สอ่ื การเรียนและอำนวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งน้ี ผู้สอนและผเู้ รียนอาจเรยี นรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรยี นการสอน และแหล่งวทิ ยาการ ประเภทต่าง ๆ ๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่มกี ารประสานความร่วมมือ กับบิดามารดา และบคุ คลในชุมชนทุกฝ่าย เพอื่ ร่วมกันพฒั นาผู้เรยี นตามศักยภาพ ๖. การวัดผล ประเมินผลและดำเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น หน้าที่รับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังนี้ ๑) กำหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดย สอดคล้องกับนโยบายระดบั ประเทศ ๒) จัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลของ สถานศกึ ษา ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 12 ~
๓) วัดผล ประเมนิ ผล เทียบโอนประสบการณ์ผลการเรยี นและอนมุ ัตผิ ลการเรียน ๔) จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทุกช่วงชั้นและจัดให้มีการซ่อมเสริมกรณีที่มีผู้เรียนไม่ ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ๕) จัดให้มีการพัฒนาเครอื่ งมอื ในการวัดและประเมินผล ๖) จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใช้ใน การอ้างองิ ตรวจสอบและใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาการเรยี นการสอน ๗) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรียนด้านต่าง ๆ รายปี/รายภาคและ ตัดสนิ ผลการเรียนการผา่ นช่วงชนั้ และจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๘) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอำนาจของสถานศึกษาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ พร้อมทง้ั ใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษาอนุมตั กิ ารเทยี บโอน ๗. การวิจยั เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา หน้าทรี่ ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้ ๑) กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานของ นักเรียน ครู และผูเ้ กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษา ๒) พัฒนาครูและนักเรียนให้มีความรู้เก่ียวกับการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย เป็นสำคัญในการเรียนรู้ที่ซับซ้อนขึ้นทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปัญหา การผสมผสานความรู้แบบสหวิทยาการและการเรยี นรู้ในปญั หาทตี่ นสนใจ ๓) พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการวิจยั ๔) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้ง สนบั สนนุ ให้ครูนำผลการวิจัยมาใช้ เพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้และพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ๘. การพฒั นาและสง่ เสริมใหม้ แี หลง่ เรียนรู้ หนา้ ท่ีรับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี ๑) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพ่ือ สนบั สนนุ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ๒) จัดระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น พัฒนาห้องสมุดหมวดวิชา ห้องสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องพิพิธภัณฑ์ ห้องมัลติมีเดีย ห้อง คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 13 ~
คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ศูนย์วิชาการ ศูนย์วิทยบริการ Resource Center สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวน หนงั สือ สวนธรรมะ เปน็ ตน้ ๓) จัดระบบข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนของ สถานศึกษาของตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนที่ และระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายห้องสมดุ ประชาชน ห้องสมุด สถาบันการศกึ ษา พิพธิ ภัณฑ์ พพิ ิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ฯลฯ ๔) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการ เรยี นร้แู ละนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมิน และปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ๙. การนิเทศการศกึ ษา หนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั นี้ ๑) สร้างความตระหนักให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็น กระบวนการทำงานร่วมกันท่ีใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแต่ละบุคคลให้มี คุณภาพ การนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเชื่อมั่นว่า ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหนา้ และเกิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ผเู้ รียนและตวั ครูเอง ๒) จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาให้มีคุณภาพทั่วถึงและต่อเนื่องเป็นระบบและ กระบวนการ ๓) จดั ระบบนเิ ทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนเิ ทศการศึกษาของสำนักงานเขต พืน้ ที่การศกึ ษา ค่มู ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 14 ~
๑๐. การแนะแนวการศกึ ษา มหี น้าทรี่ บั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี ๑) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่มีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยให้ทุกคน ในสถานศึกษาตระหนักถึงการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแนะแนวและการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ๒) จัดระบบงานและโครงสรา้ งองค์กรแนะนำและดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ๓ สรา้ งความตระหนกั ให้ครูทุกคนเหน็ คุณค่าของการแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น ๔) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล ช่วยเหลอื นักเรยี นเพอ่ื ให้สามารถ บูรณาการ ในการจดั การเรยี นร้แู ละเชอื่ มโยง สู่การดำรงชวี ติ ประจำวนั ๕) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทำหน้าที่ครูแนะ แนวครูทป่ี รึกษา ครูประจำช้นั และคณะอนุกรรมการแนะแนว ๖) ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือ นักเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ ๗) ส่งเสริมความร่วมมอื และความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างครู ผู้ปกครองและชุมชน ๘) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสน-สถาน ชุมชน ในลักษณะเครอื ขา่ ยการแนะแนว ๙) เช่อื มโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ๑๑. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา มหี นา้ ทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดังนี้ ๑) กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษา ชาติ มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาและความต้องการของชุมชน ๒) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจดั โครงสร้างการบริหารท่ีเอ้ือต่อการพัฒนางานและ การสร้างระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศใหเ้ ป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใชง้ ่าย สะดวก รวดเร็ว ปรบั ปรงุ ให้เปน็ ปจั จบุ นั อย่เู สมอ ๓) จัดทำแผนสถานศกึ ษาทมี่ ุ่งเนน้ คุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยทุ ธศาสตร์) ๔) ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้อง สร้างระบบการทำงานที่เข้มแข็งเน้นการมีส่วนรว่ ม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle) หรอื ที่ร้จู ักกันว่าวงจร PDCA ๕) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดำเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยการ สนบั สนุนให้ครู ผ้ปู กครองและชมุ ชนเขา้ มามีส่วนร่วม ค่มู ือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 15 ~
๖) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อรองรับการ ประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ๗) จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสาธารณชน ๑๒. การส่งเสรมิ ชุมชนให้มคี วามเข้มแขง็ ทางวิชาการ มหี นา้ ท่ีรับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี ๑) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อ่ืน ๒) ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน ๓) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้จัก เลอื กสรรภมู ิปัญญาและวิทยาการต่าง ๆ ๔) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุน ใหม้ กี ารแลกเปล่ียนประสบการณร์ ะหว่างชมุ ชน ๑๓. การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองคก์ รอน่ื มหี นา้ ท่รี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังนี้ ๑) ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อ เสรมิ สร้างพัฒนาการของนกั เรียนทกุ ด้านรวมท้ังสบื สานจารตี ประเพณีศิลปวัฒนธรรมของท้องถน่ิ ๒) เสริมสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างสถานศึกษากบั ชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรท้ัง ภาครัฐและเอกชน เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาเป็นแหลง่ วิทยาการของชุมชนและมสี ว่ นในการพัฒนาชุมชนและทอ้ งถิ่น ๓) ให้บริการด้านวิชาการทสี่ ามารถเชื่อมโยงหรือแลกเปลีย่ นข้อมูลขา่ วสารกบั แหล่งวิชาการ ในที่อื่น ๆ ๔) จัดกจิ กรรมร่วมชุมชน เพ่ือส่งเสริมวฒั นธรรมการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่าการ ประชุมผูป้ กครองนกั เรียน การปฏิบัติงานรว่ มกับชุมชน การรว่ มกิจกรรมกบั สถานบันการศกึ ษาอืน่ เปน็ ต้น คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 16 ~
๑๔. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืนท่ีจดั การศึกษา มีหนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้ ๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน สงั คมอ่ืนในเรอ่ื งเกีย่ วกับสทิ ธิในการจดั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ๒) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพิ่มความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ สถาบนั สังคมอนื่ ท่รี ว่ มจัดการศึกษา ๓) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องคก์ ร-เอกชน องคว์ ชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอื่นร่วมกนั จัดการศึกษาและใช้ ทรัพยากรร่วมกนั ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ แก่ผ้เู รยี น ๔) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอืน่ ๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอื่น ได้รับความ ช่วยเหลือทางด้านวิชาการตามความเหมาะสมและจำเป็น ๖) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีประสิทธิภาพ ๑๕. การจดั ทำระเบยี บและแนวปฏิบตั เิ กย่ี วกับงานด้านวชิ าการของสถานศึกษา มหี น้าทรี่ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี ๑) ศึกษาและวิเคาระห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพอ่ื ให้ผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งทุกรายรับร้แู ละถือปฏิบตั ิเปน็ แนวเดียวกัน ๒) จัดทำร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ท่ี เกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายรบั รแู้ ละถือปฏิบตั ิเป็นแนวเดยี วกัน ๓) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษาและแก้ไข ปรบั ปรุง ๔) นำระเบียบและแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษาไปสูก่ ารปฏบิ ัติ คูม่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 17 ~
๕) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ สถานศึกษาและนำไปแก้ไขปรบั ปรุงใหเ้ หมาะสมต่อไป ๑๖. การคัดเลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพ่อื ใช้ในสถานศึกษา มหี น้าท่รี ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี ๑) ศกึ ษา วิเคาระห์ คดั เลอื กหนังสือเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทมี่ ีคุณภาพสอดคล้อง กลับหลกั สูตรสถานศกึ ษาเพอ่ื เปน็ หนงั สือแบบเรียนเพ่ือใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ๒) จัดทำหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความร้เู พอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน ๓) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหดั ใบงาน ใบความรเู้ พือ่ ใช้ประกอบการเรียนการสอน ๑๗. การพัฒนาและใชส้ ่อื และเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา มหี นา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้ ๑) จัดให้มีการร่วมกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาของสถานศึกษา ๒) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยี เพื่อการศกึ ษา พร้อมท้ังให้มกี ารจดั ตั้งเครอื ขา่ ยทางวิชาการ ชมรมวิชาการเพ่ือเป็นแหลง่ เรยี นรู้ของสถานศกึ ษา ๓) พัฒนาและใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี ทางการศึกษาที่ให้ข้อเท็จจริงเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ เกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งสื่อที่เสริมการจัด การศกึ ษา ของสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพ ๔) พัฒนาหอ้ งสมดุ ของสถานศึกษาให้เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ของสถานศึกษาและชุมชน ๕) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบคุ ลากรในการจัดหา ผลิตใชแ้ ละพฒั นา สอ่ื และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ๑๘. การรับนักเรียน หนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏบิ ัติงานดังนี้ ๑) ให้สถานศึกษาประสานงานการดำเนินการแบ่งเขตพื้นที่บริการการศึกษาร่วมกัน และ เสนอข้อตกลงให้เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาเห็นชอบ ๒) กำหนดแผนการรับนักเรยี นของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกับเขตพืน้ ท่ี การศึกษา ๓) ดำเนนิ การรบั นักเรียนตามที่แผนกำหนด ๔) ร่วมมือกบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชมุ ชน ในการตดิ ตามช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหา ในการเขา้ เรียน คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 18 ~
๕) ประเมนิ ผลและรายงานผลรับเดก็ เข้าเรยี นให้เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาทราบ ๑๙. การจดั ทำสำมะโนนกั เรยี น มีหน้าทีร่ ับผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั นี้ ๑) ประสานงานกบั ชุมชนและท้องถิน่ ในการสำรวจข้อมลู จำนวนนกั เรยี นทจ่ี ะเข้ารับบริการ ทางการศกึ ษาในเขตบรกิ ารของสถานศึกษา ๒) จดั ทำสำมะโนผู้เรียนที่จะเขา้ รับบริการทางการศกึ ษาของสถานศึกษา ๓) จัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศจากสำมะโนผเู้ รยี นใหเ้ ขตพน้ื ทกี่ ารศึกษารบั ทราบ ๒๐. การทัศนศึกษา มีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี ๑) วางแผนการนำนักเรียนไปทศั นศกึ ษานอกสถานศึกษา ๒) ดำเนินการนำนกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศึกษา ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการที่ กำหนด คู่มอื มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 19 ~
บทที่ ๓ การบริหารงบประมาณ ความเป็นมา สำนักงบประมาณได้ดำเนินการปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณเป็นระบบงบประมาณ แบบมุงเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting : PBB) เพื่อใหสามารถจัดสรรงบประมาณได้อย่างมี ประสิทธิผล มีความเป็นธรรม และมีความโปรงใส โดยมุงเน้นผลสัมฤทธิ์และการบริหารงบประมาณแบบมุ งเน้นผลงาน และใหยึดหลักความเป็นอิสระ คลองตัว โปรงใส ตรวจสอบได้ โดยมีวัตถุประสงค ใหหน่วยงานมี อิสระในการจัดการทรัพยากร ได้อย่างคล องตัวมากขึ้น นอกจากนี้เมื่อพิจารณาระเบียบ ของ กระทรวงศึกษาธิการวาด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหนาที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้กำหนดใหสถานศึกษามีอำนาจในการบริหารจัดการด้านงบประมาณ อาทิ การปกครอง ดูแล บํารุงรักษาใชและจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสิน การจดทะเบียนสิทธิ์เกี่ยวกับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศใหการมี อิสระในการบริหารจัดการงบประมาณตามที่ได้รับวงเงินและได้รับการมอบอำนาจ การมีอิสระในการบริหาร จัดการเกี่ยวกับพัสดุ การรับบริจาคเงินหรือทรัพย สินที่มีผู้บริจาคให ดังนั้นการบริหารงบประมาณของ สถานศึกษาโดยเฉพาะการแสวงหา การระดมทนุ และทรัพยากรเพ่ือใชในการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ให เป็นไปตามเปา้ หมายอยา่ งคุมค่าและประหยัด ปจจุบันสถานศึกษามีฐานะเป็นหน่วยงบประมาณและหน่วยบริหารการเงินของตนเอง แต่ยัง มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาดูแลแมวาจะมีฐานะนิติบุคคลตามกฎหมาย ส่งผลใหสถานศึกษายังขาดความ เป็นอิสระในการบริหารงบประมาณใหเป็นไปตามความตองการอย่างแท้จริง ทั้งนี้การบริหารงบประมาณของ สถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล ได้กำหนดใหสถานศึกษาสามารถจดั หาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา รวมทั้งการจัดหารายได้จากการใหบริการที่ตองนํามาใชในการบริหารจัดการเพื่อประโยชนทางการศึกษา ท่ี ส่งผลใหเกิดคุณภาพที่ดีตอผู้เรียน เพ่ือใหการบริหารงบประมาณ การเงิน และบัญชีของสถานศึกษาที่เป็นนิติ บุคคลสอดคล้องกับหลักการดังกล่าวประกอบกับเจตนารมณของกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ โดยปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแล้วแต่ กรณี ตองกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนดใหเป็นอำนาจของตนไปยัง สถานศึกษา ผ่านกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑและวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบกับประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเรื่องการกระจายอำนาจ การ บริหารและการจัดการการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการ คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 20 ~
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ จะเห็นได้วากฎกระทรวง ระเบียบ กฎหมาย และประกาศของกระทรวงศึกษาธิการได้มอบ อำนาจใหสถานศึกษามีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณภายใตกรอบการดำเนินการที่กำหนดใหอย่างมี อิสระรวดเร็ว มีความคลองตัวมากขึ้น และมุงกระจายอำนาจในการบริหารจัดการดานงบประมาณใหกับ สถานศึกษาอย่างเป็นรปู ธรรม เพ่ือใหสถานศึกษานิติบุคคลสามารถบริหารจดั การศึกษาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสิทธผิ ลสงู สดุ ภายใตระเบียบและกฎหมายรองรบั หลกั การและแนวคิด ๑. ยึดหลักความเทาเทียมและความเสมอภาคทางโอกาสทางการศึกษาของผู้เรียนในการจัดสรร งบประมาณเพอ่ื จัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ๒. มุ่งพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการงบประมาณตามมาตรฐานการจัดการทางการเงิน ทงั้ ๗ ด้าน เพ่ือรองรบั การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ดังนี้ 1) การวางแผนงบประมาณ 2) การคาํ นวณต้นทนุ ผลผลติ 3) การจัดระบบการจัดหาพสั ดุ 4) การบริหารทางการเงนิ และการควบคมุ งบประมาณ 5) การรายงานทางการเงนิ และผลการดำเนนิ งาน 6) การบรหิ ารสนิ ทรพั ย์ 7) การตรวจสอบภายใน ๓. ยึดหลกั การกระจายอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณ โดยจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปใน ลักษณะของวงเงินรวมแก่สถานศึกษา มุ่งเน้นการเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ ระบบการจดั การงบประมาณของสถานศึกษาให้มคี วามเป็นอสิ ระในการตัดสินใจ มคี วามคล้อง รายจา่ ยตามงบประมาณ จำแนกออกเปน็ ๒ ลักษณะ 1. รายจ่ายของส่วนราชการและรฐั วิสาหกิจ - งบบคุ ลากร - งบดำเนนิ งาน - งบลงทนุ - งบเงินอุดหนุน คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 21 ~
- งบรา่ ยจา่ ยอ่นื งบบคุ ลากร หมายถึง รายจา่ ยทก่ี ำหนดใหจ้ ่ายเพ่ือการบริหารงานบุคคลภาครฐั ไดแ้ กร่ ายจ่ายที่จ่าย ในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงราจจ่ายที่ กำหนดให้จา่ ยจากงบรายจา่ ยอ่ืนใดในลกั ษณะราจจ่ายดงั กลา่ งบดำเนนิ งาน หมายถึง รายจ่ายทีก่ ำหนดให้จา่ ยเพ่อื การบรหิ ารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายทจ่ี ่ายใน ลกั ษณะคา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วัสดุ และคา่ สาธารณปู โภค รวมถงึ ราจ่ายท่ีกำหนดให้จา่ ยจากงบรายจ่าย อ่นื ใดในลกั ษณะรายจ่ายดังกลา่ ว งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่า ครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่าย ดังกลา่ ว งบดำเนินงาน หมายถึง รายจา่ ยท่กี ำหนดใหจ้ า่ ยเพ่อื การบริหารงานประจำ ไดแ้ ก่ รายจ่ายท่ีจ่ายใน ลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบ รายจา่ ยอื่นใดในลกั ษณะรายจา่ ยดังกล่าว งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่า ครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อนสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่าย ดังกล่าว งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุงหรือเพื่อช่วยเหลือสนับสนุนงานของ หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรอื หน่วยงานของรฐั ซึ่งมิใช่ส่วนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน หน่วยงานในกำกับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงเงิน อุดหนนุ งบพระมหากษตั รยิ ์ เงนิ อุดหนนุ ศาสนา งบรายจา่ ยอืน่ หมายถงึ รายจ่ายที่ไม่เขา้ ลกั ษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรอื รายจา่ ย ที่สำนักงานงบประมาณกำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น เงินราชการลับ เงินค่าปรับ ที่จ่ายคืนให้แก่ ผขู้ ายหรอื ผูร้ บั จา้ ง ฯลฯ อตั ราเงนิ อุดหนุนรายหัวนกั เรียนต่อปกี ารศึกษา ระดบั ก่อนประถมศึกษา ๑,๗๐๐ บาท ระดบั ประถมศึกษา ๑,๙๐๐ บาท ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ๓,๕๐๐ บาท ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓,๘๐๐ บาท การจัดสรรเงินอดุ หนนุ รายหัวนกั เรียน แบง่ การใช้ตามสดั สว่ น ดา้ นวิชาการ : ด้านบริหารท่วั ไป : สำรองจ่ายทง้ั ๒ ดา้ นคือ คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 22 ~
1. ดา้ นวิชาการ ใหส้ ดั สว่ นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ นำไปใชไ้ ดใ้ นเรื่อง 1.1 จดั หาวัสดุและครภุ ณั ฑ์ท่จี ำเป็นต่อการเรียนการสอน 1.2 ซอ่ มแซมวัสดุอปุ กรณ์ 1.3 การพัฒนาบุคลาการด้านการสอน เชน่ สง่ ครเู ข้าอบรมสมั มนา ค่าจา้ งช่ัวคราวของครู ปฏบิ ัติการสอน คา่ สอนพเิ ศษ 2. ด้านบรหิ ารทวั่ ไป ให้สดั ส่วนไม่เกินร้อยละ ๓๐ นำไปใช้ได้ในเรือ่ ง 2.1 คา่ วสั ดุ ครุภณั ฑแ์ ละคา่ ทดี่ นิ ส่งิ ก่อสร้าง ค่าจ้างชวั่ คราวที่ไมใ่ ช่ปฏิบัติการสอนคา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย 2.2 สำรองจ่ายนอกเหนอื ด้านวิชาการและดา้ นบรหิ ารทั่วไป ให้สดั ส่วนไม่เกินร้อยละ ๒๐ นำไปใชใ้ นเร่ืองงานตามนโยบาย เงินอดุ หนุนปัจจยั พืน้ ฐานสำหรับนักเรียนยากจน 1. เป็นเงนิ ทจ่ี ดั สรรให้แกส่ ถานศึกษาที่มนี กั เรียนยากจน เพื่อจดั หาปัจจัยพ้นื ฐานท่ีจำเปน็ ต่อการ ดำรงชีวติ และเพ่ิมโอกาศทางการศึกษา เปน็ การช่วยเหลือนกั เรยี นนทยี่ ากจน ช้ันป.๑ ถึง ม.๓ ให้มี โอกาสไดร้ ับการศึกษาในระดับท่ีสูงขน้ึ (ยกเว้นสถานศึกษาสงั กดั สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ) 2. นักเรียนยากจน หมายถึง นกั เรยี นที่ผู้ปกครองมรี ายได้ตอ่ ครวั เรือน ไมเ่ กนิ ๔๐,๐๐๐ บาท 3. แนวการใช้ ใหใ้ ชใ้ นลกั ษณะ ถวั จา่ ย ในรายการต่อไปน้ี 3.1 คา่ หนงั สอื และอุปกรณ์การเรียน(ยืมใช้) 3.2 คา่ เสอื้ ผ้าและวสั ดุเคร่ืองแต่งกายนักเรียน(แจกจ่าย) 3.3 คา่ อาหารกลางวัน (วตั ถดุ บิ จา้ งเหมา เงินสด) 3.4 ค่าพาหนะในการเดินทาง (เงินสด จ้างเหมา) 3.5 กรณจี ่ายเป็นเงนิ สด โรงเรียนแตง่ ต้ังกรรมการ ๓ คน ร่วมกนั จ่ายเงนิ โดยใช้ใบสำคัญรับ เงินเปน็ หลกั ฐาน 3.6 ระดับประถมศึกษา คนละ ๑,๐๐๐ บาท/ปี 3.7 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คนละ ๓,๐๐๐ บาท/ปี 1.1รายจา่ ยงบกลาง 1. เงนิ สวัสดิการคา่ รกั ษาพยาบาล/การศึกษาบุตร/เงนิ ชว่ ยเหลอื บตุ ร 2. เงินเบีย้ หวดั บำเหน็จบำนาญ 3. เงินสำรอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยข้าราชการ 4. เงินสมทบของลูกจา้ งประจำ คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 23 ~
2. รายจ่ายงบกลาง หมายถงึ รายจา่ ยท่ีตง้ั ไว้เพ่ือจดั สรรให้ส่วนราชการและรฐั วิสาหกจิ โดยทว่ั ไป ใชจ้ า่ ยตามรายการดังตอ่ ไปนี้ 1. “เงนิ เบีย้ หวัดบำเหนจ็ บำนาญ” หมายความว่า รายจา่ ยที่ต้ังไวเ้ พื่อจ่ายเป็นเงินบำนาญ ขา้ ราชการ เงนิ บำเหนจ็ ลกู จ้างประจำ เงนิ ทำขวัญข้าราชการและลกู จ้าง เงนิ ทดแทนขา้ ราชการวสิ ามัญ เงิน ค่าทดแทนสำหรับผไู้ ด้รบั อนั ตรายในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ เงินช่วยพเิ ศษขา้ ราชการบำนาญเสียชวี ติ เงินสงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัยเนอ่ื งจากการชว่ ยเหลือ ข้าราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม และเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบ้ีย หวดั บำนาญ 2. “เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้ เพื่อจ่ายเป็นเงินสวัสดิการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงาน ของรัฐ ได้แก่ เงินช่วยเหลอื การศึกษาของบุตร เงินช่วยเหลือบุตร และเงินพิเศษในการณี ตายในระหว่างรับราชการ 3. “เงินเล่ือนข้ันเลื่อนอันดับเงินเดือนและเงนิ ปรับวุฒิข้าราชการ หมายความว่ารายจ่ายท่ีต้ังไว้ เพื่อจ่ายเป็นเงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับเงินเดือนข้าราชการประจำปี เงินเลื่อนขั้นเลื่อน อนั ดับเงนเดือนข้าราชการทไี่ ดร้ ับเล่ือนระดบั และหรอื แต่งตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งระหว่างปีและ เงินปรับวฒุ ขิ า้ ราชการ 4. “เงนิ สำรอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตัง้ ไว้เพ่ือ จ่ายเป็นเงินสำรอง เงินสมทบ และเงินชดเชยที่รัฐบาลนำส่งเข้ากองทุนบำเหน็จบำนาญ ขา้ ราชการ 5. “เงินสมทบของลูกจ้างประจำ” หมายความว่า รายจ่ายที่ต้ังไว้เพื่อจ่ายเป็นเงินสมทบที่ รฐั บาลนำส่งเข้ากองทนุ สำรอง เลี้ยงชพี ลกู จ้างประจำ 6. “ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนและต้อนรับประมุขต่างประเทศ หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดำเนิน ภายในประเทศ และหรือต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในการต้อนรับประมุขต่างประเทศที่ มายาเยือนประเทศไทย 7. “เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งสำรองไว้เพ่ือ จัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในกรณีฉกุ เฉินหรอื จำเปน็ 8. “คา่ ใช้จ่ายในการดำเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตั้งไว้ เพื่อเป็นคา่ ใช้จ่ายในการดำเนนิ งานรักษาความม่นั คงของประเทศ 9. “เงินราชการลับในการรักษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อ เบิกจา่ ยเป็นเงินราชการลบั ในการดำเนนิ งานเพอื่ รักษาความม่ันคงของประเทศ คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 24 ~
10.“ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ในการดำเนินงานตามโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ 11.“ค่าใช้จ่ายในการรำษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนกั งานของรฐั เงนิ นอกงบประมาณ 1. เงินรายได้สถานศกึ ษา 2. เงนิ ภาษหี กั ณ ทจี่ ่าย 3. เงินลูกเสอื เนตรนารี 4. เงินยวุ กาชาด 5. เงินประกนั สัญญา 6. เงินบริจาคท่ีมวี ัตถุประสงค์ เงินรายไดส้ ถานศกึ ษา หมายถึง เงินรายได้ตามมาตรา ๕๙ แหง่ พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่งึ เกิดจาก 1. ผลประโยชน์จากทรัพยส์ นิ ทเี่ ป็นราชพัสดุ 2. ค่าบริการและค่าธรรมเนียม ที่ไม่ขดั หรือแย้งนโยบาย วัตถุประสงค์และภารกจิ หลักของสถานศกึ ษา 3. เบ้ยี ปรับจากการผิดสัญญาลาศึกษาต่อและเบยี้ ปรบั การผิดสญั ญาซอื้ ทรัพยสินหรอื จา้ งทำของจากเงิน งบประมาณ 4. คา่ ขายแบบรูปรายการ เงนิ อุดหนุน อปท. รวมเงนิ อาหารกลางวนั 5. คา่ ขายทรัพยส์ ินท่ีได้มาจากเงินงบประมาณ งานพสั ดุ “การพัสดุ” หมายความว่า การจดั ทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างทีป่ รึกษา การจา้ งออกแบบ และควบคุมงาน การแลกเปลีย่ น การเช่า การควบคุม การจำหนา่ ย และการดำเนินการอ่นื ๆ ที่กำหนดไว้ ในระเบียบน้ี “พัสด”ุ หมายความวา่ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ ทดี่ นิ และสง่ิ กอ่ สร้าง ท่กี ำหนดไว้ในหนังสอื การจำแนก ประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ หรอื การจำแนกประเภทรายจา่ ย ตามสญั ญาเงินกู้ จากต่างประเทศ “การซือ้ ” หมายความวา่ การซื้อพัสดุทกุ ชนิดทั้งทม่ี ีการติดตง้ั ทดลอง และบรกิ ารทเ่ี กี่ยวเน่อื งอน่ื ๆ แต่ไม่รวมถึงการจัดหาพสั ดุในลกั ษณะการจา้ ง คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 25 ~
“การจ้าง” ให้หมายความรวมถึง การจ้างทำของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ และการจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการตามระเบียบของ กระทรวงการคลัง การับขนในการเดินทางไปราชการตามกฎหมายว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ ขอบขา่ ยภารกจิ 1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง 2. ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และแก้ไขเพ่มิ เติม 3. ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการพสั ดดุ ้วยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ 4. แนวทางการปฏบิ ัติตามระเบยี บสำนกั นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ หน้าท่แี ละความรับผิดชอบ 1. จัดวางระบบและปฏิบัตงิ านเกี่ยวกับจัดหา การซื้อ การจา้ ง การเกบ็ รกั ษา และการเบิกพัสดุ การ ควบคมุ และการจำหนา่ ยพัสดุให้เป็นไปตามระเบยี บทเี่ กย่ี วข้อง 2. ควบคุมการเบิกจ่ายเงนิ ตามประเภทเงนิ ใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการรายปี 3. จดั ทำทะเบยี นทดี่ ินและสิ่งก่อสร้างทกุ ประเภทของสถานศกึ ษา 4. ประสานงานและวางแผนในการใช้พื้นท่ีของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาการศึกษา 5. กำหนดหลักเกณฑ์วธิ กี ารและดำเนินการเกี่ยวกบั การจัดหาประโยชนท์ ่ีราชพัสดกุ ารใชแ้ ละการขอใช้ อาคารสถานทขี่ องสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามกฎหมายและระเบยี บทเ่ี กี่ยวขอ้ งควบคมุ ดู ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม บำรงุ รักษาครภุ ณั ฑ์ ใหอ้ ยู่ในสภาพเรยี บร้อยต่อการใช้งานและพัฒนาอาคารสถานที่ การ อนรุ กั ษ์พลังงาน การรักษาสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภคของสถานศึกษาให้เปน็ ระเบียบ และสวยงาม 6. จดั เวรยามดูแลอาคารสถานท่ีของสถานศึกษาใหป้ ลอดภยั จากโจรภัย อคั คีภัยและภัยอนื่ ๆ 7. จัดวางระบบและควบคุมการใชย้ านพาหนะ การเบิกจ่ายน้ำมนั เชือ้ เพลงิ การบำรงุ รักษาและการพัสดุ ตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วกบั ยานพาหนะของสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามระเบียบท่เี ก่ียวขอ้ ง 8. ใหค้ ำแนะนำ ชแ้ี จง และอำนวยความสะดวกแก่บคุ ลากรในสถานศกึ ษาเกีย่ วกับงานในหน้าท่ี 9. เกบ็ รกั ษาเอกสารและหลกั ฐานตา่ ง ๆ ไวเ้ พื่อการตรวจสอบและดำเนนิ การทำลายเอกสารตาม ระเบียบทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 10.ประสานงานและให้ความร่วมมือกบั หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 11.เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัติงานในหน้าท่ตี ามลำดับข้ัน 12.ปฏบิ ตั ิอืน่ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 26 ~
สวสั ดิการและสิทธปิ ระโยชน์ 1. คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 1.1กฎหมายและระเบียบท่เี กยี่ วข้อง 1.2พระราชกฤษฎกี าค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ 1.3ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐ 2. คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ การอนมุ ัตเิ ดินทางไปราชการ ผมู้ ีอำนาจอนุมัติใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ อนมุ ตั ิระยะเวลาในการเดินทาง ล่วงหน้า หรือระยะเวลาหลังเสรจ็ สน้ิ การปฏบิ ตั ิราชการได้ตามความจำเป็น 3. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอื่ คำนวณเบี้ยเลี้ยง กรณีพกั ค้าง 3.1ใหน้ บั ๒๔ ชั่วโมงเป็น ๑ วนั 3.2ถ้าไม่ถงึ ๒๔ ชว่ั โมงหรอื เกนิ ๒๔ ชวั่ โมง และส่วนทไ่ี มถ่ ึงหรือเกิน ๒๔ ชัว่ โมง นับได้เกิน ๑๒ ช่ัวโง ใหถ้ อื เป็น ๑ วัน 4. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพอ่ื คำนวณเบีย้ เลี้ยงเดนิ ทาง กรณไี ม่พักค้าง 4.1หากนับได้ไม่ถึง ๒๔ ช่วั โมงและส่วนที่ไม่ถงึ นบั ไดเ้ กิน ๑๒ ชั่วโมง ใหถ้ อื เป็น ๑วนั 4.2หากนับได้ไม่เกนิ ๑๒ ชว่ั โมง แตเ่ กนิ ๖ ชั่วโมงขึ้นไป ให้ถือเปน็ คร่ึงวัน 5. การนับเวลาเดินทางไปราชการเพื่อคำนวณเบ้ยี เล้ียงเดินทาง 6. กรณีลากจิ หรือลาพักผ่อนกอ่ นปฏบิ ัติราชการ ใหน้ ับเวลาตง้ั แตเ่ ริ่มปฏบิ ตั ริ าชการเปน็ ต้นไป 7. กรณลี ากจิ หรือลาพักผ่อนหลังเสรจ็ สิน้ การปฏิบัตริ าชการ ให้ถือว่าสทิ ธิในการเบิกจา่ ยเบ้ียเลี้ยง เดินทางสิน้ สุดลงเม่ือสนิ้ สดุ เวลาการปฏิบตั ิราชการ 8. หลกั เกณฑ์การเบิกคา่ เชา่ ทีพ่ ักในประเทศ การเบกิ คา่ พาหนะ 1. โดยปกตใิ หใ้ ชย้ านพาหนะประจำทางและให้เบิกค่าพาหนะโดยประหยดั 2. กรณไี ม่มียานพาหนะประจำทาง หรอื มแี ต่ต้องการความรวดเร็ว เพ่ือประโยชน์แก่ทางราชการ ให้ ใชย้ านพาหนะอ่นื ได้ แต่ต้องชแ้ี จงเหตผุ ลและความจำเป็นไวใ้ นหลักฐานขอเบิกคา่ พาหนะน้ัน 3. ข้าราชการระดับ ๖ ข้นึ ไป เบิกคา่ พาหนะรับจ้างได้ ในกรณีตอ่ ไปนี้ 3.1การเดนิ ทางไป-กลับ ระหว่างสถานทีอ่ ยู่ ที่พัก หรอื สถานท่ปี ฏบิ ตั ริ าชการกบั สถานี ยานพาหนะประจำทาง หรอื สถานทจี่ ดั พาหนะท่ีใช้เดนิ ทางภายในเขตจงั หวัดเดยี วกัน 3.2การเดนิ ทางไป-กลบั ระหวา่ งสถานที่อยู่ ที่พัก กับสถานท่ีปฏบิ ัติราชการภายในเขตจังหวัด เดียวกัน วนั ละไมเ่ กนิ ๒ เที่ยว คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 27 ~
3.3การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณเี ปน็ การเดินทางข้ามเขตจังหวดั ให้เบกิ ตามอัตราทีก่ ระทรวงการคลงั กำหนด คือ ใหเ้ บิกตามทจ่ี า่ ยจริง ดงั นี้ ระหวา่ งกรงุ เทพมหานครกบั เขตจังหวัดตดิ ต่อกรงุ เทพมหานคร ไม่เกนิ เทีย่ วล่ะ ๔๐๐ บาท เดนิ ทางข้ามเขตจงั หวัดอน่ื นอกเหนือกรณีดังกลา่ วขา้ งต้นไม่เกนิ เทีย่ วละ ๓๐๐ บาท 3.4ผไู้ มม่ ีสทิ ธเิ บิก ถ้าต้องนำสัมภาระในการเดินทาง หรือส่ิงของเครอ่ื งใช้ของทางราชการไปด้วย และเปน็ เหตุให้ไมส่ ะดวกท่จี ะเดินทางโดยยานพาหนะประจำทาง ให้เบิกคา่ พาหนะรับจ้างได(้ โดย แสดงเหตผุ ลและความจำเปน็ ไวใ้ นรายงานเดินทาง) 3.5การเดินทางล่วงหนา้ หรือไม่สามารถกลับเม่ือเสร็จสิ้นการปฏิบตั ริ าชการเพราะมเี หตุส่วนตวั (ลากิจ - ลาพักผ่อนไว้) ใหเ้ บกิ ค่าพาหนะเท่าที่จา่ ยจรงิ ตามเสน้ ทางท่ีไดร้ บั คำสั่งให้เดินทางไป ราชการ กรณีมีการเดนิ ทางนอกเสน้ ทางในระหว่างการลาน้ัน ให้เบกิ ค่าพาหนะได้เท่าทจ่ี ่ายจรงิ โดย ไม่เกินอัตราตามเสน้ ทางทไี่ ดร้ ับคำสัง่ ให้เดนิ ทางไปราชการ 3.6การใชย้ านพาหนะสว่ นตัว (ใหข้ ออนุญาตและไดร้ ับอนญุ าตแลว้ ) ใหไ้ ดร้ บั เงินชดเชย คือ รถยนตก์ ิโลเมตรละ ๔ บาท คา่ ใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม การฝึกอบรม หมายถึง การอบรม ประชมุ /สัมมนา (วิชาการเชงิ ปฏิบตั กิ าร) บรรยายพิเศษ ฝึกงาน ดงู าน การฝกึ อบรม ประกอบด้วย 1. หลกั การและเหตุผล 2. โครงการ/หลกั สตู ร 3. ระยะเวลาจดั ท่ีแนน่ อน 4. เพ่อื พฒั นาหรอื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน ค่ารักษาพยาบาล ค่ารกั ษาพยาบาล หมายถึง เงินทส่ี ถานพยาบาลเรยี กเก็บในการรกั ษาพยาบาลเพ่ือให้รา่ งกายกลบั สู่ สภาวะปกติ (ไม่ใชเ่ ปน็ การป้องกันหรือเพ่ือความสวยงาม) 1. ระเบียบและกฎหมายทเี่ ก่ยี วข้อง 1.1 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๒๓ และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ( ๘ ฉบับ) 1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๕ 2. ผู้ทม่ี ีสทิ ธริ ับเงนิ ค่ารักษาพยาบาล คือ ผมู้ ีสิทธิและบคุ คลในครอบครัว 2.1 บิดา ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 28 ~
2.2 มารดา 2.3 คู่สมรสท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย 2.4 บตุ รทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย ซึง่ ยงั ไมบ่ รรลุนติ ิภาวะ หรือบรรลนุ ิตภิ าวะแล้ว แต่เป็นคนไร้ ความสามารถ หรือเสมอื นคนไรค้ วามสามารถ(ศาลสง่ั ) ไม่รวมบุตรบุญธรรมหรอื บตุ รซ่ึงได้ยก เปน็ บตุ รบญุ ธรรมบุคคลอ่นื แลว้ 3. ผมู้ ีสิทธิ หมายถึง ข้าราชการ ลกู จา้ งประจำ ผ้รุ บั เบีย้ หวดั บำนาญ และลกู จา้ งชาวตา่ งประเทศซึ่ง ได้รบั คา่ จา้ งจากเงนิ งบประมาณ ค่ารักษาพยาบาบ แบง่ เป็น ๒ ประเภท ประเภทไข้นอก หมายถึง เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไมไ่ ดน้ อนพกั รกั ษาตัว นำใบเสร็จรับเงินมาเบิกจา่ ย ไมเ่ กนิ ๑ ปี นบั จากวนั ท่จี ่ายเงนิ ประเภทไข้ใน หมายถึง เขา้ รบั การรกั ษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรอื สถานพยาบาลของทาง ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใชใ้ บเสร็จรับเงินนำมาเบิกจา่ ยเงนิ พร้อมใหแ้ พทยร์ ับรอง “หากผปู้ ว่ ยมิได้ เจ้ารับการรักษาพยาบาลในทันทที นั ใด อาจเป็นอนั ตรายถึงชีวติ ” และสถานพยาบาลทางราชการ ใชห้ นงั สอื รับรองสิทธิ กรณยี ังไม่ได้เบกิ จ่ายตรง การศกึ ษาบุตร คา่ การศึกษาของบตุ ร หมายความว่า เงินบำรุงการศึกษา หรือเงินคา่ เล่าเรยี น หรือเงินอนื่ ใดท่ี สถานศกึ ษาเรยี กเกบ็ และรัฐออกใหเ้ ปน็ สวสั ดกิ ารกับขา้ ราชการผู้มีสทิ ธิ 1. ระเบยี บและกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง 1.1 พระราชราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ยี วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ 1.2 ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการศึกษาของบตุ ร พ.ศ. ๒๕๔๗ 1.3 หนงั สอื เวียนกรมบัญชกี ลาง กค ๐๔๒๒.๓/ว ๑๖๑ ลงวนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ เรอ่ื ง ประเภทและอตั ราเงนิ บำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ และคา่ เล่าเรียนใน สถานศึกษาของเอกชน และกรมบญั ชีกลาง ท่ี กค ๐๔๒๒.๓/ว ๒๒๖ ลงวันท่ี ๓๐ มถิ ุนายน ๒๕๕๒ เรือ่ งการเบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารเก่ียวกับการศึกษาของบุตร 2. ผูท้ ม่ี ีสิทธิรับเงินคา่ การศึกษาของบุตร 2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายไุ มเ่ กนิ ๒๕ ปบี ริบูรณ์ ในวันที่ ๑ พฤษภาคมของทกุ ปี ไม่รวมบุตร บุญธรรม หรือบตุ รซึ่งได้ยกใหเ้ ปน็ บตุ รบญุ ธรรมคนอ่ืนแล้ว 2.2 ใช้สทิ ธิเบิกได้ ๓ คน เว้นแตบ่ ุตรคนท่ี ๓ เป็นฝาแฝดสามารถนำมาเบิกได้ ๔ คน 2.3 เบิกเงินสวสั ดกิ ารเก่ยี วกับศกึ ษาบตุ รภายใน ๑ ปี นับต้ังแตว่ ันเปิดภาคเรยี นของแต่ละภาค คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 29 ~
จำนวนเงินทเ่ี บกิ ได้ ๑. ระดับอนบุ าลหรือเทยี บเทา่ เบิกได้ปีละไมเ่ กนิ ๔,๖๕๐ บาท ๒. ระดับประถมศึกษาหรอื เทยี บเทา่ เบิกได้ปลี ะไมเ่ กิน ๓,๒๐๐ บาท ๓. ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น/มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) หรือ เทยี บเท่า เบกิ ได้ปีละไม่เกิน ๓,๙๐๐ บาท ๔. ระดบั อนปุ ริญญาหรือเทยี บเท่า เบิกไดป้ ลี ะไมเ่ กนิ ๑๑,๐๐๐ บาท คา่ เช่าบา้ น 1. ระเบยี บและกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง 1.1 พระราชกฤษฎกี าคา่ เชา่ ชา้ นข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐ 1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกจ่ายเงนิ ค่าเชา่ บ้าน พ.ศ. ๒๕๔๙ 2. สิทธกิ ารเบิกเงนิ คา่ เช่าบ้าน 2.1 ไดร้ บั คำส่ังใหเ้ ดนิ ทางไปประจำสำนักงานใหม่ในตา่ งท้องที่ เวน้ แต่ 2.1.1 ทางราชการได้จดั ท่ีพักอาศัยใหอ้ ย่แู ล้ว 2.1.2 มเี คหสถานเป็นของตนเองหรือคูส่ มรส 2.1.3 ได้รบั คำสงั่ ใหเ้ ดนิ ทางไปประจำสำนักงานใหม่ในต่างท้องทตี่ ามคำร้องขอของตนเอง 2.2 ขา้ ราชการผู้ได้รับคำสงั่ ใหเ้ ดินทางไปประจำสำนักงานในท้องที่ที่รบั ราชการครง้ั แรกหรือท้องท่ีท่ี กลบั เข้ารับราชการใหม่ ใหม้ ีสทิ ธไิ ดร้ บั เงินค่าเช้าบ้าน (พระราชกฤษฎีกาเช่าบา้ น ๒๕๕๐ (ฉบบั ที่ ๒) มาตรา ๗) 2.3 ขา้ ราชการมสี ิทธไิ ดร้ บั เงินคา่ เชา่ บา้ นตัง้ แตว่ นั ท่ีเชา่ อยจู่ ริง แตไ่ ม่ก่อนวันท่ีรายงานตวั เพื่อเขา้ รบั หน้าท่ี(พระราชกฤษฎีกาค่าเชา่ บ้าน ๒๕๔๗ มาตรา ๑๔) 2.4 ขา้ ราชการซึ่งมีสิทธิไดร้ บั เงนิ ค่าเช่าบา้ นได้เชา่ ซ้ือหรอื ผ่อนชำระเงินก้เู พื่อชำระราคาบ้านท่ีคา้ ง ชำระอยู่ ในท้องที่ทไี่ ปประจำสำนกั งานใหม่ มีสิทธนิ ำหลักฐานการชำระค่าเช่าซื้อหรือค่าผอ่ น ชำระเงนิ กฯู้ มาเบิกได้ (พระราชกฤษฎีกาคา่ เช่าบ้าน ๒๕๔๗ มาตรา ๑๗) กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (กบข.) 1. กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้อง 1.1 พ.ร.บ.กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัติน้ี (สว่ นทีเ่ กี่ยวข้อง) บำนาญ หมายความวา่ เงนิ ท่จี า่ ยให้แกส่ มาชิกเปน็ รายเดือนเมื่อสมาชิกภาพของสมาชกิ สนิ้ สดุ ลง บำเหนจ็ ตกทอด หมายความว่า เงนิ ทจ่ี ่ายให้แกส่ มาชกิ โดยจ่ายใหค้ รง้ั เดียวเม่ือสมาชิกภาพ ของสมาชิกส้ินสุดลง คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 30 ~
บำเหน็จตกทอด หมายความว่า เงนิ ท่ีจา่ ยให้แกท่ ายาทโดยจา่ ยใหค้ ร้งั เดียวในกรณีทีส่ มาชกิ หรอื ผรู้ บั บำนาญถึงแก่ความตาย 1.2 พ.ร.บ.กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (ฉบบั ที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๒ 2. ข้าราชการทุกประเภท (ยกเวน้ ราชการทางการเมือง) มีสิทธสิ มัครเป็นสมาชกิ กบข. ได้แก่ ขา้ ราชการครู ขา้ ราชการใหม่ ได้แก่ ผ้ซู ่ึงเขา้ รบั ราชการหรอื โอนมาเป็นราชการตัง้ แต่วันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๐ เปน็ ตน้ จะตอ้ งเป็นสมาชิก กบข. และสะสมเงินเขา้ กองทนุ สมาชิกท่ีจา่ ยสะสม เขา้ กองทนุ ในอตั ราร้อยละ ๓ ของเงนิ เดือนเป็นประจำทุกเดอื น รัฐบาลจะจา่ ยเงนิ สมทบใหก้ ับ สมาชิกในอัตราร้อยละ ๓ ของเงนิ เดือนเปน็ ประจำทุกเดือนเชน่ เดยี วกัน และจะนำเงินดังกล่าวไป ลงทุนหาผลประโยชน์เพอ่ื จ่ายใหก้ ับสมาชกิ เม่อื กอกจากราชการ ระเบยี บสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดกิ ารและสวสั ดภิ าพครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาว่าดว้ ยการฌาปนกิจสงเคราะหเ์ พือ่ นครูและบุคลากรทางการศกึ ษา(ช.พ.ค.) ในระเบยี บนี้ ช.พ.ค. หมายความวา่ การฌาปนกิจสงเคราะหช์ ว่ ยเพ่อื นครแู ละบุคลากรทางการ ศกึ ษาการจดั ตง้ั ช.พ.ค. มคี วามมุ่งหมายเพือ่ เป็นการกศุ ลและมีวตั ถุประสงค์ให้สมาชิกไดท้ ำการสงเคราะห์ซ่ึง กันและกันในการจัดการศพและสงเคราะหค์ รอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค. ที่ถงึ แก่กรรมหลักเกณฑ์และวิธีการ จ่ายเงินค่าจัดการศพและเงนิ สงเคราะหค์ รอบครัวให้เปน็ ไปตามท่ีคณะกรรมการ ช.พ.ค. กำหนด ครอบครวั ของสมาชกิ ช.พ.ค หมายถึง บุคคลตามลำดบั ดงั นี้ 1. คู่สมรสทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย บตุ รท่ชี อบด้วยกฎหมาย บตุ รบุญธรรม บตุ รนอกสมรสที่บดิ ารับรอง แล้ว และบดิ ามารดาของสมาชิก ช.พ.ค. 2. ผอู้ ยู่ในอุปการะอย่างบตุ รของสมาชกิ ช.พ.ค. 3. ผูอ้ ปุ การะสมาชิก ช.พ.ค. ผมู้ สี ทิ ธิไดร้ บั การสงเคราะห์ตามวรรคหน่งึ ยงั มชี วี ิตอยู่ หรือมผี ูร้ ับมรดกยงั ไม่ขาดสายแล้วแต่กรณีใน ลำดับหน่งึ ๆ บุคคลที่อยใู่ นลำดบั ถัดไปไม่มีสิทธิไดร้ บั เงินสงเคราะห์ครอบครัวระเบยี บน้ี การสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค. สำหรับบุตรใหพ้ ิจารณาให้บุตรสมาชกิ ช.พ.ค. ได้รับ ความชว่ ยเหลอื เป็นเงนิ ทุนสำหรบั การศกึ ษาเลา่ เรียนเป็นลำดับแรก สมาชกิ ช.พ.ค. ตอ้ งระบุบคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ หรือหลายคน เปน็ ผูม้ สี ทิ ธิรับเงนิ สงเคราะห์ สมาชกิ ช.พ.ค. มหี น้าทด่ี งั ตอ่ ไปน้ี 1. ต้องปฏิบัตติ ามระเบียบนี้ 2. ส่งเงนิ สงเคราะหร์ ายศพ เม่ือสมาชกิ ช.พ.ค. อื่นถงึ แก่กรรมศพละหน่ึงบาทภายใต้เงือ่ นไขดังต่อไปน้ี ค่มู ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 31 ~
3. สมาชกิ ช.พ.ค. ท่ีเปน็ ขา้ ราชการประจำ ขา้ ราชการบำนาญและผ้ทู มี่ ีเงินเดอื นหรือรายได้ รายเดือน ตอ้ งยนิ ยอมให้เจ้าหนา้ ทีผ่ ูจ้ า่ ยเงนิ เดอื นหรือเงินบำนาญเปน็ ผู้หักเงินเพ่ือชำระเงินสงเคราะหร์ ายศพ ณ ท่จี ่ายตามประกาศรายชือ่ สมาชกิ ช.พ.ค. ท่ีถึงแก่กรรม คำจำกดั ความ แผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการ ปฎิบัติงาน และแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายตามแผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้าน ทอน ในรอบปงี บประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณรายจา่ ยของโรงเรียนบ้านทอน เพื่อดำเนิน ตามแผนการปฏิบตั งิ านในรอบปี การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพัน ทงั้ นี้ อาจดำเนินการโดยใช้การอนุมัติเงนิ ประจำงวดหรอื โดยวิธีการอน่ื ใดตามท่สี ำนกั งบประมาณกำหนด เป้าหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ที่การใช้จ่ายงบประมาณต้องการจะให้เกิดต่อนักเรียน บคุ ลากรโรงเรยี นบา้ นทอน แผนการปฏิบัตงิ าน หมายถึง แผนการปฏิบตั ิงานของโรงเรยี นบ้านทอน ในรอบปงี บประมาณ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย สำหรบั โรงเรยี นบ้านทอน เพื่อดำเนนิ งานตามแผนการปฏิบตั งิ านในรอบปงี บประมาณ โครงการ หมายถึง โครงการทกี่ ำหนดขึ้นเพือ่ ใชจ้ า่ ยเงนิ เปน็ ไปตามในระหว่างปงี บประมาณ งบรายจา่ ย หมายถงึ กล่มุ วตั ถุประสงคข์ องรายจ่าย ทีก่ ำหนดให้จ่ายตามหลักการจำแนกประเภท รายจา่ ยตามงบประมาณ จำแนกงบรายจ่ายตามหลกั จำแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจ่าย ดังน้ี งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายใน ลกั ษณะเงนิ เดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจา้ งชั่วคราว และคา่ ตอบแทนพนักงานราชการ รวมถงึ รายจ่ายที่กำหนดให้ จา่ ยจากงบรายจา่ ยอ่นื ในลกั ษณะดงั กล่าว งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายท่ีกำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายใน ลกั ษณะคา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวัสดุ คา่ สาธารณปู โภค งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่า ท่ดี นิ และสิง่ ก่อสร้าง คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 32 ~
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุง หรือเพื่อช่วยเหลือสนุบสนุนการ ดำเนินงานของหน่วยงานองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมิใช่ส่วนราชการส่วนกลางตาม พระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน หน่วยงานในกำกบั ของรัฐองค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตำบล องค์การระหว่างประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็น สาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุนการศาสนา และรายจ่ายที่สำนัก งบประมาณกำหนดใหจ้ ่ายในงบรายจา่ ยน้ี งบรายจา่ ยอื่น หมายถงึ รายจา่ ยทไ่ี ม่เขา้ ลักษณะประเภทงบรายจา่ ยใดงบรายจ่ายหน่ึง หรอื รายจ่ายที่ สำนกั งบประมาณกำหนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจา่ ยนี้ เช่น (1) เงินราชการลับ (2) เงินคา่ ปรบั ท่ีจ่ายคืนให้แก่ผ้ขู ายหรอื ผู้รบั จ้าง (3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่าง ๆ ซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือ ปรบั ปรุงครภุ ณั ฑท์ ด่ี นิ หรือส่ิงกอ่ สรา้ ง (4) ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชัว่ คราว (5) คา่ ใชจ้ ่ายสำหรบั หนว่ ยงานองคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ (ส่วนราชการ) (6) ค่าใช้จ่ายเพอื่ ชำระหนเ้ี งินกู้ (7) ค่าใช้จ่ายสำหรบั กองทุน หรือเงนิ ทุนหมุนเวียน ขอบข่าย/ภารกิจการดำเนนิ งานดา้ นการบริหารงบประมาณ มรี ายละเอียดดงั น้ี ๑. การจัดทำแผนงบประมาณและคาํ ขอต้ังงบประมาณเพือ่ เสนอต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 1) วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา (SWOT Analysis) โดยเช่อื มโยงกบั แผนพัฒนา การศึกษาของสถานศึกษา กลยทุ ธ์ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา กลยทุ ธ์ของสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และกลยทุ ธ์ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 2) จดั ทำแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีท่ีสอดคล้องกบั แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือ จดั สรรงบประมาณประจำปีที่ได้รบั ให้กบั หน่วยงานภายในสถานศกึ ษา โดยความเหน็ ชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน 3) จดั ทำข้อมลู สารสนเทศทางการเงนิ ของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ แผนการจดั ชัน้ เรียน ข้อมลู ครูและ บุคลากร ข้อมูลผู้เรยี น ทรัพยากรและสงิ่ อำนวยความสะดวกของสถานศึกษา เพื่อใชกำหนด เป้าหมาย ผลผลติ เปา้ หมายกิจกรรมหลกั และการสนับสนนุ ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 33 ~
4) ทบทวนประสทิ ธภิ าพการใช้จ่ายตามแผนปฏบิ ัติการในปที ี่ผ่านมา เพ่ือจัดทำประมาณการ ค่าใช้จา่ ยปีท่ขี อตั้งงบประมาณและค่าใช้จา่ ยล่วงหนีา ๓ ปี ของงบบุคลากร งบดำเนินงาน งบเงนิ อดุ หนุน งบลงทนุ และงบรายจ่ายอื่นท่ีสอดคล้องกบั ประเด็นกลยุทธ์ตามแผนพฒั นา 5) ประมาณการและกำหนดวงเงนิ ค่าใช้จา่ ยกจิ กรรมหลกั และกจิ กรรมสนับสนนุ ของแต่ละผลผลติ เพ่ือกำหนดกรอบวงเงนิ ที่ใช้จ่ายแต่ละปี และจดั ต้ังงบประมาณเสนอต่อสำนักงาน 6) วิเคราะห์ผลการประกนั คุณภาพภายใน ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกกลยทุ ธ์ของสถานศกึ ษา และสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน เพื่อตรวจสอบทบทวนภารกิจ และจัดทำกรอบ งบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) เป็นรายละเอียดของแผนงบประมาณ 7) ขอความเหน็ ชอบแผนงบประมาณตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพือ่ ใช้เป็นคำขอตง้ั งบประมาณตอ่ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ๒. การจดั ทำแผนปฏบิ ัติการใช้จา่ ยเงิน ตามทไ่ี ดร้ บั จดั สรรงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานโดยตรง 1) จดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 2) ขอความเหน็ ชอบแผนปฏิบัตงิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน ๓. การอนุมตั ิการใช้จา่ ยงบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร 1) ผู้อำนวยการสถานศึกษาอนุมัตกิ ารใช้จา่ ยงบประมาณตามงาน/โครงการท่ีกำหนดไวใ้ นแผนปฏิบัติ การประจำปีและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ๔. การขอโอนและขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ 1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณท่ีจำเป็นต้องขอโอนและเปลี่ยนแปลงเสนอขอความ เหน็ ชอบตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 2) ขอโอน/เปลยี่ นแปลงงบประมาณทไี่ มต่ องทำความตกลงกับสำนกั งบประมาณให้เสนอต่อ ส่วนกลาง/เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน แล้วแต่กรณี ๕. การรายงานผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ๑) รายงานผลการใช้จา่ ยเงินงบประมาณประจำปีไปยังสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน และหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องแล้วแต่กรณี ๖. การตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 34 ~
1) จดั ให้มกี ารตรวจสอบและตดิ ตามให้กลมุ่ ฝ่ายงาน ในสถานศึกษา รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและ ผลการใช้จา่ ยงบประมาณ เพื่อสถานศึกษาจัดทำรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน และผลการใช้จ่าย งบประมาณตอ่ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาที่ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานกำหนด 2) จัดทำรายงานประจำปีที่แสดงถึงความสำเร็จในการปฏิบัติงานทุกสิ้นปีงบประมาณแล้วจัดส่งให้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายในระยะเวลาที่สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พืน้ ฐานกำหนด ๗. การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ 1) ประเมินคุณภาพการปฏบิ ัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2) วางแผนประเมนิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 3) วิเคราะห์และประเมนิ ความมีประสิทธิภาพ ประหยดั และคุ้มคา่ ในการใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน ในสถานศึกษา ๘. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพ่ือการศึกษา 1) ประสานและรวบรวมข้อมลู ที่เก่ยี วข้องกับแหล่งทรัพยากรที่สนับสนุนการจดั การศึกษาทัง้ ภาครฐั เอกชน และประชาชนในท้องถิ่นให้เป็นระบบ 2) ศึกษาแนวทางหรือระเบียบที่จะขอรับการสนับสนนุ จากแหล่งทรัพยากรทุกประเภทตลอดจน เงือ่ นไขการขอรับการสนับสนุน 3) วางแผน รณรงค์ ส่งเสริมการระดมทุนการศึกษา และทุนเพ่ือการพัฒนาสถานศึกษา 4) จดั ทำข้อมูลสารสนเทศและระบบการรับจา่ ยทุนการศกึ ษา และทนุ เพอื่ การพัฒนาการศึกษา ให้ดำเนินงานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล คุ้มคา่ และมคี วามโปร่งใส 5) การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยให้เป็นไปตามความเหน็ ชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 6) ให้บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กรวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่น ระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษาโดยเป็นผู้จดั และมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา บริจาคทรัพย์สินหรือทรัพยากรให้แก่สถานศกึ ษาและมี ส่วนร่วมกบั ภาระค่าใช้จา่ ยทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจำเป็น ๙. การปฏิบตั งิ านอื่นใดตามท่ีได้รบั มอบหมายเก่ยี วกบั กองทุนเพ่ือการศึกษา 1) สำรวจความต้องการของผู้เรยี นและคดั เลือกผู้เสนอกยู้ มื ตามหลกั เกณฑ์ที่กำหนด 2) ประสานการกยู้ ืมเพ่ือการศึกษากบั หน่วยปฏบิ ตั ิท่ีเกย่ี วข้อง 3) สร้างความตระหนักแก่ผู้กยู้ ืมเงนิ เพอื่ การศึกษา คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 35 ~
4) ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานผลการดำเนนิ งาน ๑๐. การบริหารจดั การทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา 1) จัดทำรายการทรัพยากรเพื่อเปน็ สารสนเทศ ไดแ้ ก่ แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศกึ ษาและแหล่งเรียนรู้ใน ท้องถิ่นทง้ั ทเ่ี ปน็ แหล่งเรียนรู้ธรรมชาตแิ ละภูมปิ ัญญา แหล่งเรยี นรู้ทเ่ี ป็นสถานประกอบการเพอื่ การ รับรู้ของบุคลากรในสถานศกึ ษา ผู้เรียน และบคุ ลากรทว่ั ไปจะไดเ้ กดิ การใช้ทรพั ยากรร่วมกนั ในการจดั การศกึ ษา 2) วางระบบหรือกำหนดแนวปฏิบตั กิ ารใช้ทรัพยากรร่วมกนั กับบคุ คลและหน่วยงานรัฐบาลและเอกชนให้ เกิดประโยชน์สูงสุด 3) กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก รวมทั้งให้บริการการใช้ ทรัพยากรภายในเพื่อประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ และส่งเสรมิ การศึกษาในชมุ ชน 4) ประสานความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรภายในและภายนอก ทงั้ ทรัพยากรและธรรมชาติ ทรพั ยากรทม่ี นุษย์สร้างขึน้ ทรัพยากรบุคคลที่มีศกั ยภาพให้การสนับสนุนการจัดการศกึ ษา 5) ดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหน่วยงานทง้ั ภาครฐั และเอกชน ทส่ี นับสนนุ การใช้ทรัพยากรร่วมกนั เพื่อการศึกษาของสถานศึกษา 6) อำนาจในการบรหิ ารจดั การเก่ียวกบั ทรัพยากรและได้รับการสนบั สนุนจากภาคส่วนต่าง ๆ จะตอ้ งอยู่ ภายใตก้ ารบริหารจัดการของสถานศึกษา ๑๑. การวางแผนพัสดุ 1) การวางแผนพสั ดุล่วงหน้า ๓ ปี ให้ดำเนินการตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ 2) การจดั ทำแผนการจดั หาพสั ดุ ให้ฝ่ายทที่ ำหนา้ ท่จี ัดซ้ือจัดจ้างเป็นผู้ดำเนินการโดยให้ฝ่ายที่ต้องการใช้ พสั ดจุ ดั ทำรายละเอียดพัสดทุ ่ีต้องการ คอื รายละเอยี ดเกยี่ วกบั ปรมิ าณ ราคาคุณลกั ษณะเฉพาะ หรือ แบบรูปรายการและระยะเวลาทตี่ ้องการใช้พสั ดุ (ทงั้ น้รี ายละเอยี ดพสั ดุทต่ี ้องการน้ี ต้องเป็นไปตาม แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี (แผนปฏิบตั ิงาน) และตามท่ีระบไุ ว้ในเอกสารประกอบพระราชบญั ญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจำปี) ส่งให้ฝ่ายทท่ี ำหนา้ ท่จี ัดซ้ือจัดจ้างเพ่ือจดั ทำแผนการจัดหาพัสดุ 3) ฝ่ายทจ่ี ัดทำแผนการจัดหาพสั ดุทำการสำรวจข้อมลู รายละเอียดจากฝายท่ตี องการใช้พสั ดุ โดยมกี าร สอบทานกบั แผนปฏิบตั ิงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจำปและ ความเหมาะสมของวิธีการจดั หาว่าควรเป็นการซื้อ การเช่า หรือการจัดทำเอง แล้วจงึ นําข้อมูลท่ีสอบ ทานแล้วมาจดั ทำแผนการจัดหาพสั ดุในภาพรวมของสถานศึกษา โดยในส่วนทีจ่ ัดส่งให้สำนกั งานการ ตรวจเงนิ แผ่นดินให้รายงานเฉพาะครุภณั ฑ์ทีม่ รี าคาเกินหน่ึงแสนบาท และท่ีดนิ สง่ิ ก่อสร้างทมี่ รี าคา เกินหนง่ึ ล้านบาท (รายละเอยี ดสำนักงานตรวจเงนิ แผ่นดิน ที่ ตผ ๐๐๐๔/ว ๙๗ ลงวันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๖) คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 36 ~
๑๒. การกำหนดแบบรปู รายการ หรือคณุ ลกั ษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ์ หรือสิ่งกอสร้างทใี่ ช้เงนิ งบประมาณ เพื่อเสนอต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1) กำหนดรูปแบบรายการหรอื คุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอต้ังงบประมาณส่งให้สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 2) กรณีทเ่ี ป็นการจดั หาจากเงินนอกงบประมาณใหกำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะไดโ้ ดย ให้พิจารณาจากแบบมาตรฐานก่อน หากไม่เหมาะสมกใ็ หกำหนดตามความต้องการโดยยึดหลกั ความ โปร่งใส เป็นธรรม และเป็นประโยชน์กบั ทางราชการ ๑๓. การพัฒนาระบบข้อมลู และสารสนเทศเพ่อื การจัดทำและจดั หาพัสดุ 1) พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศเพือ่ การจัดหาพสั ดุ เช่น สมุดโทรศัพท์หนา้ เหลอื ง การจัดทำบญั ชี ผู้ขายหรอื ผู้รบั จ้าง เพื่อสำหรับการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการประเมนิ ผลผู้ขายและผู้รับจา้ ง เป็นตน้ ๑๔. การจดั หาพัสดุ 1) การจัดหาพสั ดุถอื ปฏบิ ัตติ ามระเบียบวาด้วยการพสั ดุของส่วนราชการและคําสั่งมอบอำนาจของ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 2) การจดั ทำพัสดถุ ือปฏบิ ตั ติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาด้วยการให้สถานศึกษา รบั จัดทำ รับ บริการ รับจา้ ง ผลิตเพ่อื จำหนาย พ.ศ. ๒๕๓๓ 3) การจัดหาพสั ดุดว้ ยเงินงบประมาณตองดำเนนิ การให้เป็นไปตามระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรีว าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และท่ีแกไขเพม่ิ เตมิ ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยกำหนดให้คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน หรือองคกรอน่ื มีส่วนรวมในการจัดหาโดยประเภทของพัสดุทจ่ี ดั หาตองเปน็ ไปตามหลักจำแนก ประเภทรายจา่ ยงบประมาณและคาํ ส่ังมอบอำนาจของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 4) การจัดหาพัสดุด้วยเงินนอกงบประมาณจะต องดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีวาด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และแกไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. ๒๕๔๙ และให้เป็นไปตามระเบียบสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานวาด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับเงินรายได้ สถานศึกษาขั้น พื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙ และประกาศสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานวาดว้ ยหลักเกณฑ อตั รา และวธิ ีการนําเงินรายได้สถานศึกษา คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 37 ~
ไปจ่ายเป็นคาใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเป็นนิติบุคคลในสังกัดเขต พ้ืนท่ีการศกึ ษา ๑๕. การควบคุมดูแล บำรุงรักษา และจำหน่ายพสั ดุ 1) จดั ทำทะเบยี นคุมบัญชีทรัพยสนิ และบญั ชีวัสดุ ไมวาจะไดม้ าด้วยการจดั หาหรอื การรับ บรจิ าค 2) ควบคุมพสั ดุให้อยูในสภาพพรอมใช้งาน 3) ตรวจสอบพสั ดปุ ระจำป และใหม้ กี ารจำหน่วยพสั ดทุ ่ีชาํ รดุ เสอื่ มสภาพ หรอื ไมใช้ในราชการ อกี ต่อไป 4) พัสดทุ ่ีเป็นท่ดี ินหรือสิง่ กอสรางกรณีที่ไดม้ าด้วยเงินงบประมาณให้ดำเนนิ การขนึ้ ทะเบยี นเ ป็น ท่ีราชพสั ดุ กรณีท่ีได้มาจากการรับบริจาคหรอื จากเงินรายได้สถานศึกษาให้ข้ึนทะเบียนเป็น กรรมสทิ ธ์ขิ องสถานศึกษา ๑๖. การจัดหาผลประโยชนจากทรพั ยสนิ 1) จัดทำแนวปฏบิ ตั หิ รือระเบยี บของสถานศึกษาในการดำเนนิ การหารายได้ โดยไมขดั ต่อ กฎหมายและระเบียบทเี่ กย่ี วข้อง 2) การจัดหาผลประโยชนเก่ียวกับที่ราชพสั ดุ และอสังหารมิ ทรพั ยท่ีอยูในความครอบครองของ สถานศกึ ษาภายในวตั ถุประสงคของสถานศกึ ษา และตองไมขัดหรอื แยงกบั นโยบาย วัตถุประ สงค และภารกิจของสถานศกึ ษา 3) เงินรายไดท้ ีเ่ กิดข้นึ ถอื เป็นเงินนอกงบประมาณประเภทเงินรายไดส้ ถานศึกษา 4) การจดั หาผลประโยชนจากทรัพยสนิ ตามข้อ ๑-๓ ในส่วนที่อยูในความรบั ผดิ ชอบของ สถานศึกษา ตองไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ๑๗. การเบกิ เงนิ จากคลัง 1) สถานศึกษาได้รบั การอนมุ ัติให้เป็นผู้เบกิ เงินจากคลงั /กรมบญั ชีกลางโดยตรงโดยจัดทำและ ตรวจสอบเอกสารหลักฐานขอเบิกให้ถูกตองตามระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง แล้วดำเนินการเบกิ เงนิ จากสำนกั งานคลงั จังหวัด ณ อำเภอ แล้วแต่กรณี ตามระบบ GFMIS ๑๘. การรบั เงิน การเก็บรักษาเงนิ และการจ่ายเงิน 1) สถานศึกษาได้รับการอนุมตั ิให้เป็นผู้เบิกเงนิ จากคลัง ให้ปฏบิ ตั ิเชนเดียวกบั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ี การศึกษา คือ การปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับการรับเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจา่ ยเงนิ ตองปฏิบตั ิ ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ัติงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 38 ~
ตามระเบียบทกี่ ระทรวงการคลังกำหนด คอื ระเบยี บการเก็บรกั ษาเงนิ และการนาํ เงินส่งคลงั ของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๙. การนาํ เงนิ ส่งคลงั 1) การนาํ เงนิ ส่งคลังให้นําส่งภายในระยะเวลาที่กำหนดไวตามระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการ นําเงนิ ส่งคลงั ของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม 2) ขัน้ ตอนและวิธีการนาํ เงินส่งคลังให้เป็นไปตามทร่ี ะบบ GFMIS กำหนด ๒๐. การจดั ทำบญั ชกี ารเงนิ 1) สถานศึกษาท่ีไดร้ บั การอนมุ ตั ิให้เป็นผู้เบิกเงินจากคลงั /กรมบัญชีกลางการจดั ทำบญั ชีการเงนิ ให้บันทกึ บญั ชีและทะเบยี นที่เกยี่ วข้องตามระบบบัญชเี กณฑ์คงค้าง และระบบ GFMIS ท่ี กระทรวงการคลังกำหนด ๒๑. การจัดทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงิน 1) จดั ทำรายงานทางการเงินและงบการเงนิ เป็นไปตามระบบบัญชีเกณฑคงคางและระบบ GFMIS ตามทีก่ ระทรวงการคลงั กำหนด 2) จดั ทำรายงานการรับจา่ ยเงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษา ตามท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐานกำหนด คือ ตามประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานวาดว้ ยหลัก เกณฑอัตรา และวิธีการนําเงินรายไดส้ ถานศึกษาไปจ่ายเป็นคาใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาของ สถานศึกษาท่ีเป็นนิตบิ ุคคลในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ๒๒. การจดั ทำและจัดหาแบบพิมพบญั ชี ทะเบียน และรายงาน 1) สถานศกึ ษาที่ไดร้ ับการอนมุ ัติให้เป็นผู้เบกิ เงนิ จากคลงั /กรมบัญชีกลางแบบพิมพบญั ชี ทะเบยี น และแบบรายงานให้จัดทำตามระบบบัญชเี กณฑคงคาง และระบบ GFMIS ตามที่ กระทรวงการคลงั กำหนด ๒๓. การพฒั นาการบริหารรูปแบบนิติบคุ คลดา้ นการบริหารงบประมาณ 1) กำหนดรูปแบบนิติบุคคลดา้ นการบรหิ ารงบประมาณตามบรบิ ทของสถานศึกษา 2) พัฒนารูปแบบนิตบิ ุคคลดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ 3) ตดิ ตาม ประเมินผล รบั ผดิ ชอบ และรายงานผลการดำเนินงาน คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 39 ~
ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 40 ~
บทท่ี ๔ การบรหิ ารงานบุคคล ความเป็นมา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายแม่บทในการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ มีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้น มีมาตรฐานและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา การเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ การจดั ระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศกึ ษากำหนดใหยึด หลักการมีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ การมีสวนร่วมและใหกระจายอำนาจไปสู่ เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาโดยตรง ดังนน้ั พระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ซง่ึ เปน็ กฎหมายทีจ่ ัดระเบยี บบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธกิ าร จึงได มีบทบัญญัติใหเป็นไปตามหลักการท่ีกำหนด โดยบัญญัติใหกระทรวงศึกษาธิการแบงการบริหารราชการเปน็ ส วนกลางเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษาของรฐั ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล และยังกำหนด ใหสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเฉพาะที่เป็นสถานศึกษามีฐานะเป็นนิติบุคคล โดยมีเป้าหมายให สถานศึกษามีความคลองตัวและมีอิสระในดานวิชาการ งบประมาณ งานบุคคล และบริหารทั่วไป จาก บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายดังกลาวขางตน กระทรวงศึกษาธิการไดออกระเบียบวาดวยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหนาที่ของ สถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดใหสถานศึกษาสามารถบริหาร จดั การและปฏิบตั ิหนาที่ไดตามขอบเขตทก่ี ำหนดไว นอกจากน้ยี ังไดมกี ารออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ และวิธีการกระจายอำนาจทางการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ กำหนดใหปลัดกระทรวงหรือ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พิจารณาดำเนินการกระจายอำนาจและการจัดการศึกษาในแต ละดานไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือสถานศึกษาในอำนาจหนาท่ี ของตนแลวแตก่ รณี อยางไรก็ตาม จากขอมูลผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาของ สถานศึกษาตลอดจนผลการติดตามและประเมินผลการดำเนนิ งานตามกฎหมายการศึกษาจากหลายหนวยงาน พบวาสถานศึกษาตาง ๆ ยังไมประสบผลสำเร็จในการเป็นสถานศึกษานิติบุคคลเต็มรูปแบบ สงผลใหการ จัดการศึกษาประสบป ญหาและอุปสรรคหลายประการ โดยเฉพาะด านการบริหารงานบุคคลซึ่งมี พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และฉบับที่แกไขเพิ่มเติมเป็น กฎหมายหลกั ทาํ ใหสถานศึกษามีขอจำกดั ดานการบรหิ ารงานบุคคลสงผลตอการบรหิ ารจัดการ เปน็ เหตุใหไมมี คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 41 ~
ความคลองตวั และเกิดความล่าช้า ไมส่ ามารถแกไขปญหาด้านการบริหารงานบุคคลได้ตามเจตนารมณการเป็น นติ บิ คุ คลของสถานศกึ ษา ดังนั้นเพื่อใหสถานศึกษาในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติบุคคลตามประกาศของ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มีรปู แบบและแนวทางการดำเนินงานดานการบรหิ ารงานบคุ คล ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ พัฒนาการบรหิ ารสถานศึกษาใหสามารถบริหารจดั การในรูปแบบของสถานศึกษานติ ิบุคคล ได้อย่างสมบูรณ จึงจำเป็นที่จะตองมีแนวทางการดำเนินงานดานการบริหารงานบุคคล โดยมีหลักการและ แนวคดิ ขอบขาย/ภารกิจ ดังน้ี หลกั การและแนวคิด ๑. ยึดหลักความตองการและการพฒั นาอยางตอเนื่องในการบริหารงานบุคคลของเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศกึ ษาตามนโยบาย กฎหมาย และหลักเกณฑทก่ี ำหนด ๒. ยึดหลักความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคลของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตาม นโยบาย กฎหมาย และหลักเกณฑทกี่ ำหนด ๓. ยึดหลักธรรมาภบิ าล ขอบขา่ ยงานบคุ ลากร ๑. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ๒. ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนปฏิบัตติ ามในหน้าที่ตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแก่ผู้เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง และมปี ระสทิ ธิภาพ ๔. ส่งเสริม และสนบั สนนุ ให้ครูและบคุ ลากรได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะวชิ าชพี ครู ๕. ประสานความร่วมมือระหวา่ งโรงเรยี น ผปู้ กครอง และชุมชน ในการพัฒนา โรงเรยี น ๖. ส่งเสรมิ ให้คณะครปู ฏบิ ตั หิ น้าทด่ี ้วยความซื่อสตั ยส์ จุ รติ ๗. สง่ เสริมให้คณะครปู ฏบิ ตั ติ นในการดำเนินชวี ติ โดยยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง วางแผนอตั รากำลัง/การกำหนดตำแหนง่ ๑. จดั ทำแผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั งิ านประจำปแี ละปฏิทินปฏิบัตงิ าน ๒. จัดทำแผนงานอัตรากำลังครู / การกำหนดตำแหนง่ และความต้องการครูในสาขาท่โี รงเรียนมีความ ต้องการ ๓. จดั ทำรายงานอัตรากำลงั ครูต่อหน่วยงานต้นสังกดั การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ต้ัง ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 42 ~
1. วางแผนดำเนินการสรรหาและเลอื กสรรและกำหนดรายละเอยี ดแผนปฏิบัติงาน 2. กำหนดรายละเอยี ดเกย่ี วกบั การสรรหาการเลอื กสรรคุณสมบัติของบุคคลทร่ี ับสมัคร 3. จัดทำประกาศรบั สมัคร 4. รบั สมคั ร 5. การตรวจสอบคุณสมบัตผิ สู้ มัคร 6. ประกาศรายช่ือผู้มสี ิทธริ ับการประเมนิ 7. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการสรรหาและเลอื กสรร 8. สอบคัดเลือก 9. ประกาศรายช่อื ผู้ผา่ นการเลือกสรร 10.การเรยี กผู้ท่ผี า่ นการคดั เลือกมารายงานตวั 11.จัดทำรายต่อหน่วยงานต้นสงั กดั การพฒั นาบคุ ลากร 1. จดั ทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ัติการประจำปี 2. สำรวจความต้องการในการพัฒนาครูและบุคลากรในโรงเรียน 3. จัดทำแผนพฒั นาตนเองของครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี น 4. ส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้ครูและบคุ ลากรไดร้ บั การพัฒนา 5. จัดทำแฟ้มบคุ ลากรในโรงเรียน 6. ติดตาม ประเมินผล สรปุ รายงานผลการปฏิบัติงานเสนอผูอ้ ำนวยการ 7. งานอนื่ ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย การเล่ือนข้ันเงินเดอื น 1. จดั ทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ัติการประจำปี 2. นเิ ทศ ติดตามผลการปฏิบัติงานของครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น 3. ประชุมคณะกรรมการในการพิจารณาเลื่อนข้นั เงนิ เดอื นประจำปี 4. จัดทำบัญชีผู้ที่ได้รับการพจิ ารณาเลือ่ นขั้นประจำปีโดยยึดหลกั ความโป่รงใส คณุ ธรรมจริยธรรม และการปฏิบัตงิ านที่รับผดิ ชอบ 5. แต่งตัง้ ผทู้ ี่ได้รบั การเลื่อนขัน้ เงินเดอื นรายงานต่อต้นสงั กัด เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ 1. จัดรวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ คู่มือมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทอน ~ 43 ~
2. สำรวจความต้องการขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์ของคณะครูและบคุ ลากร 3. ส่งเสรมิ และสนับสนุนขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ของคณะครูและบุคลากรในโรงเรยี น 4. จัดทำแฟ้มข้อมูลการไดร้ ับพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ของคณะครูและบุคลากรใน โรงเรยี น วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั 1. จัดรวบรวมเอกสารเก่ียววินยั และการรักษาวนิ ยั ของข้าราชการครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น 2. จดั ทำแฟ้มข้อมลู เกยี่ วกับการทำผดิ เกี่ยวกบั วนิ ยั ของข้าราชการครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น สวสั ดกิ ารครู ๑.วางแผนดำเนินงานเกยี่ วกับสวัสดิการของครูและบุคลากรในโรงเรียน ๒. มอบของขวัญเปน็ กำลงั ใจในวนั สำคัญต่าง ๆ วนั เกดิ แสดงความยินดที ผี่ า่ นการประเมนิ ครู ชำนาญการพเิ ศษ ของครูและบุคลากรในโรงเรียน ๓. ซอ้ื ของเย่ยี มไขเ้ ม่ือเจบ็ ป่วยหรอื นอนพกั รักษาตัวในโรงพยาบาล สำมะโนนักเรยี น/รับนกั เรียน 1. วางแผนในการจดั ทำสำมะโนนกั เรียน 2. สำมะโนนกั เรียนในเขตหมู่ ๓ , ๔ และหมู่ ๕ ซง่ึ เป็นเขตบริการของโรงเรียน 3. จดั ทำเอกสารการรับสมัครนกั เรยี น เด็กเล็ก ชน้ั อนุบาล ๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ 4. เปิดรับสมัครนักเรียน เด็กเลก็ ชั้นอนบุ าล ๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ 5. จดั ทำแฟ้มนักเรียน เด็กเลก็ ช้นั อนุบาล ๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ 6. สรุปการจัดทำสำมะโนนักเรยี นรายงานหนว่ ยงานตน้ สงั กดั การปฏิบตั ิราชการของข้าราชการครู ๑. การลา การลาแบง่ ออกเป็น ๙ ประเภท คอื ๑.การลาปว่ ย ๒.การลาคลอดบตุ ร ๓.การลากจิ ส่วนตวั ๔.การลาพกั ผ่อน ๕.การลาอปุ สมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮจั ญ์ ๖.การลาเขา้ รับการตรวจเลอื กหรือเข้ารับการเตรยี มพล คูม่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 44 ~
๗.การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัตกิ ารวจิ ยั ๘.การลาไปปฏิบตั ิงานในองค์การระหว่างประเทศ ๙. การลาตดิ ตามคสู่ มรส การลาป่วย ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาป่วยเพื่อรักษาตัวให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำดับจนถึงผูม้ ีอำนาจอนุญาตก่อนหรอื ในวันที่ลาเว้นแต่ในกรณจี ำเป็นจะเสนอหรือจัดส่งใบลา ในวันแรก ท่มี าปฏิบัตริ าชการก็ได้ ในกรณที ่ขี ้าราชการผูข้ อลามอี าการปว่ ยจนไม่สามารถจะลงช่ือในใบลาไดจ้ ะให้ผู้อ่ืนลา แทนก็ได้ แต่เมื่อสามารถลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว การลาป่วยตั้งแต่ ๓๐ วันขึ้นไป ต้องมี ใบรบั รองของแพทย์ซึ่งเป็นผทู้ ี่ได้ขนึ้ ทะเบียนและ รับใบอนุญาตเป็นผ้ปู ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมแนบไปกับใบลา ด้วย ในกรณีจำเป็นหรือเห็นสมควรผู้มีอำนาจอนุญาตจะสั่งให้ใช้ใบรับรองของแพทย์ซึ่งผู้มีอำนาจอนุญาต เห็นชอบแทนก็ได้ การลาป่วยไม่ถึง ๓๐ วัน ไม่ว่าจะเป็นการลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งติดต่อกัน ถ้าผู้มี อำนาจ อนุญาตเห็นสมควร จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์ตามวรรคสามประกอบใบลา หรือสั่งให้ผู้ลาไปรับการ ตรวจจากแพทย์ของทางราชการเพอื่ ประกอบการพิจารณาอนุญาตกไ็ ด้ การลาคลอดบุตร ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาคลอดบุตร ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำดบั จนถึงผมู้ อี ำนาจอนุญาตก่อนหรือในวันท่ลี า เว้นแตไ่ ม่สามารถจะลงชื่อในใบลาได้ จะให้ผู้อื่นลาแทน ก็ได้ แต่เมื่อสามารถลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่งใบลาโดยเร็ว และมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยได้รับ เงินเดือน ครั้งหนึ่งได้ การลาคลอดบุตรจะลาในวันที่คลอดก่อนหรือหลังวนั ที่คลอดบุตรก็ได้ แต่เมื่อรวมวันลาแล้ว ต้อง ไมเ่ กิน ๙๐ วนั การลากิจส่วนตัว ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลากิจส่วนตัว ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำดับ จนถึงผู้มีอำนาจอนุญาต และเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะหยุดราชการได้ เว้นแต่มีเหตุจำเป็น ไม่ สามารถรอรับอนุญาตได้ทันจะเสนอหรือจดั ส่งใบลาพร้อมด้วยระบเุ หตุจำเป็นไว้แลว้ หยุดราชการ ไปก่อนก็ได้ แตจ่ ะตอ้ งชแ้ี จงเหตผุ ลให้ผู้มีอำนาจอนญุ าตทราบโดยเรว็ ในกรณีมเี หตพุ ิเศษที่ไม่อาจเสนอหรือจัดสง่ ใบลาก่อน ตามวรรคหนึ่งได้ ให้เสนอหรือจัดส่ง ใบลาพร้อมทั้งเหตุผลความจำเป็นต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มี อำนาจอนุญาตทันทีในวันแรก ที่มาปฏิบัติราชการ ข้าราชการมีสิทธิลากิจสว่ นตัว โดยได้รับเงินเดือนปลี ะไม่ เกนิ ๔๕ วนั ทำการ ขา้ ราชการที่ลาคลอดบุตรตามข้อ ๑๘ แล้ว หากประสงค์จะลากิจส่วนตัวเพ่ือเล้ียงดูบุตร ใหม้ ี สิทธิลาตอ่ เนื่องจากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน ๑๕๐ วันทำการ โดยไมม่ ีสิทธิได้รบั เงนิ เดือนระหวา่ งลา การลาพักผ่อน ข้าราชการมีสิทธลิ าพักผ่อนประจำปใี นปหี น่งึ ได้ ๑๐ วนั ทำการ เว้นแต่ข้าราชการดังต่อไปนี้ ไม่มีสิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีท่ีได้รับบรรจุเข้ารับราชการยังไม่ถึง ๖ เดอื น คู่มือมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 45 ~
๑. ผู้ซึ่งได้รับบรรจุเข้ารับราชการเปน็ ข้าราชการครั้งแรก ผู้ซึ่งลาออกจากราชการเพราะเหตุ ส่วนตวั แล้วต่อมาไดร้ ับบรรจเุ ข้ารับราชการอีก ๒. ผู้ซึ่งลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้งแล้ว ตอ่ มาไดร้ บั บรรจุเข้ารบั ราชการอกี หลงั ๖ เดือน นับแตว่ ันออกจากราชการ ๓. ผู้ซ่ึงถูกสั่งให้ออกจากราชการในกรณีอื่น นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมาย ว่าด้วยการรับราชการทหารและกรณีไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ แล้วต่อมา ได้รับ บรรจุเข้ารับราชการอีกถา้ ในปีใดข้าราชการผู้ใดมิไดล้ าพักผ่อนประจำปีหรือลาพักผ่อนประจำปี แล้วแต่ไม่ครบ ๑๐ วันทำการ ให้สะสมวันที่ยังมิได้ลาในปีนั้นรวมเข้ากับปีต่อ ๆไปได้ แต่วันลาพักผ่อน สะสมรวมกับวันลา พักผ่อนในปีปัจจุบันจะต้องไม่เกิน ๒๐ วันทำการ สำหรับผู้ที่ได้รับราชการติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี ให้มสี ทิ ธินำวนั ลาพกั ผ่อนสะสม รวมกบั วนั ลาพักผอ่ นในปีปจั จบุ นั ได้ไมเ่ กิน ๓๐ วันทำการ การลาอุปสมบทหรอื การลาไปประกอบพธิ ีฮจั ญ์ ข้าราชการซึ่งประสงค์จะลาอุปสมบทใน พระพุทธศาสนา หรือข้าราชการที่นับถือศาสนา อิสลามซึ่งประสงค์จะลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบียบให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจพิจารณาหรือ อนุญาตก่อนวันอุปสมบท หรือก่อนวันเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ในกรณีมีเหตุพิเศษไม่ อาจเสนอหรือจดั ส่งใบลาก่อนตามวรรคหน่ึงใหช้ ้ีแจงเหตุผลความ จำเป็นประกอบการลา และให้อยู่ในดุลพินิจ ของผู้มีอำนาจที่จะพิจารณาให้ลาหรือไม่ก็ได้ ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลา อุปสมบทหรือได้รับอนุญาตให้ลาไป ประกอบพิธีฮัจญ์แล้วจะต้องอุปสมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพิธี ฮัจญ์ภายใน ๑๐ วัน นับแต่ วันเริ่มลา และจะต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน ๕ วัน นับแต่ วนั ทีล่ าสิกขา หรือ วนั ทเี่ ดนิ ทางกลับถงึ ประเทศไทยหลงั จากการเดนิ ทางไปประกอบพิธีฮจั ญ์ การลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเขา้ รับการเตรยี มพล ขา้ ราชการท่ไี ด้รบั หมายเรยี กเข้ารับการตรวจ เลือก ให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนวัน เข้ารับการตรวจเลือกไม่น้อยกว่า ๔๘ ชั่วโมง ส่วนข้าราชการท่ี ได้รับหมายเรียกเข้ารับการเตรียมพล ให้รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาภายใน ๔๘ ชั่วโมง นับแต่เวลารับ หมายเรียกเป็นต้นไป และให้ไปเข้า รับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพลตามวันเวลาในหมายเรียกนั้น โดยไม่ต้องรอรับคำสั่ง อนุญาต และให้ผู้บังคับบัญชาเสนอรายงานลาไปตามลำดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ หรอื หัวหนา้ ส่วนราชการข้ึนตรง การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรมดงู าน หรอื ปฏิบตั ิการวิจัย ขา้ ราชการซึง่ ประสงคจ์ ะลาไปศึกษาฝกึ อบรม ดู งาน หรือปฏิบัติการวิจัย ณ ต่างประเทศ ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึง ปลดั กระทรวงหรอื หัวหน้าส่วนราชการขนึ้ ตรงเพ่ือพิจารณาอนุญาตสำหรบั การลาไปศึกษาฝึกอบรมดูงาน หรือ ปฏิบัติการวิจัยในประเทศให้เสนอหรือจัดส่ง ใบลาตามลำดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้าส่วน คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านทอน ~ 46 ~
Search