Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ ค่ายสะเต็มศึกษา STEM

คู่มือ ค่ายสะเต็มศึกษา STEM

Description: กิจกรรมค่าย

Keywords: koratsci

Search

Read the Text Version

สแกนเพอ่ื ชว่ ยอา่ น E-Book ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษานครราชสีมา กม.208 ถนนมิตรภาพ-หนองขาม อาเภอสีคิ้ว จงั หวดั นครราชสีมา 30140 โทร.044-416983-5 Email: [email protected]

เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “ค่ายจัดเต็มสะเต็มศึกษา : STEM Education ” Science Technology Engineering Mathematics ผู้เรียนชื่อ .......................................................นามสกุล........................................................... สถานศึกษา.......................................................................................................................... ระดับการศึกษา.......................................................................................................................................... อ�ำเภอ............................................จังหวัด................................................ วันที่ ..................เดือน ................................ พ.ศ. .................... ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ค�ำน�ำ กคใกาในากรช าแดกขาจรว้เรแวราสเอปัดิเมชงกลเค่ราสะงรกบ ็ีน่ือคแิจะจจรเกเถียิจผันมตปแทบากนัวดะใานากค่าโดะ็มท็นนรนา่ีบเอนทเร ยรเรนณหปาปรศมี่ฐอบเวกใชศ�ู้วำงรลรมชป์็ึกาน็ิกกทติทเรีมนแูึกวรมียใ้ปอกนษระับสปิศจกณุษตยา่ปกศงนากัญะบาาใชง้ปาารจามาูนรราว(นสสรใศสีวบหใะPรัญร่ัเกะินทยฉ(นนกาบริตาสตเrโSิโางโารหบ์รีoวยยทราสสยกจกเรTะยีรยปฉิรงทานับjาตรัง่ีชา์เจเรEาeวชเเขนกบิศตง็นรรรยนรรมนรMวะcิทน้ารัด์ู้็ดาีัยีจมยฐบณาขี้ีคมtค์สสดู้ยวจสส-า์ัน้าศนดตอศนว่าท�BำE่์ิท้ใัวงดนาน�ำตรขาากย่ึก้ีอสนหda้ังยเศนทยู้มวรสใอิจจสษ�sำ(กกuกรกหาักิาท�ำ์Pคบตeัดกเัรบcาาาาัสศนขงร้คมrยิดdเรคิรaมรoรรา็ตึ้นจผตาีณกาส์เุณรtนพทดเbสก็มเูพลศ้เรทiาLรปมพoพิต��คlัำำตฒุ์กลาาร่ื้าeอ่ีสeก็แนn่ือื่ศอกณเสรพงวัรบ่วaกmนนศน)ลสในิใ์าจติตศจงrัสฒะชาหนใิาnนสระกต่-วรอัใวดทะจร้ปBกน.ร้ผหiพตั์ตชรากไnเศ�ำกครaตูรป้เาเ้กมรรีักฒวงรgเึรทกะsมา์ทะ็ม์มพัาบริวรรตียeกษครีบนนบัศกวแ)ัมตกรผ่ือdนแอเโาทมาึกษลมวู้รถาศรนพห-ทนบลนตทบLษับะนีระุยปาโรั่ีม�กำะฒคeนเั้งาลเกาเสกือนรครีสารทกเaทรกยเนาตะหเกาียรีย่ววรอrาครพภรรีแจรสnาิจรน็นูานน้าตรงะโเ่ือลาหัดร์มงกiรเคนชรแปnบารกใะูคปกีเยรรทรูว้แสหลโgกมทรี่ยวสรู์้ิืจไนอลาแ้ัง)ีบมิจ้ผะนะวป่ิงมแคแกมใยผบรใู้เขแราบกนกกใโนลรรสูน้ีรสลูชบ้ว้อจนโารอรียาะ�ำูปวกรซดผค้งัแกระมรโนคบท้าาแ่ึลงลลคเกรบัญรรงอเบ้าองิยิด้ตปบียปจงางีมบใัญัดน็นาชหแหรนหีพลมู้นาะ่่ึง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานครราชสีมา ก เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เต็มสะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ ก สารบัญ ข โครงสร้างเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ค สะเต็มศึกษา จ ฐานการเรียนรู้ที่ ๑ กังหันลมอัจฉริยะ...ไฟฟ้าพลังงานลม ๑ ใบความรู้ ๖ ใบงาน ๘ ฐานการเรียนรู้ท่ี ๒ จรวดขวดน้�ำ ๑๐ ใบความรู้ ๑๕ ใบงาน ๒๑ ฐานการเรียนรู้ท่ี ๓ การย่นระยะเวลาดองไข่เค็ม ๒๓ ใบความรู้ ๒๘ ใบกิจกรรม ๓๒ ใบบันทึกกิจกรรมรายรับ-รายจ่าย ๓๓ แบบทดสอบ ๓๔ เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข ค่ายจัดเตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

STEM Education S T EM Science Technology Engineering Mathematics โครงสร้างเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมเรียนรู้ สะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ส�ำหรับนักเรียนในระบบและนักศึกษานอกระบบโรงเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ เรียนรู้สะเต็มศึกษาแบบบูรณาการ ที่ใช้ความรู้และทักษะในด้านต่าง ๆ ผ่านการท�ำ กิจกรรม (Activity Based) ที่เหมาะกับวัยและระดับของผู้เรียนการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการสื่อสาร ซ่ึงทักษะดังกล่าวนี้เป็นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ผู้เรียนพึงมี นอกจากนี้ผู้เรียนยังได้ความรู้แบบองค์รวมท่ีสามารถน�ำไปเชื่อมโยงหรือประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจ�ำวันได้ เนื้อหาสาระการเรียนรู้ ๑. สะเต็มศึกษา และประโยชน์จากการจัดการเรียนรู้ ๒. พลังงานลมท�ำให้เกิดพลังงานไฟฟ้า ๓. กฎการเคล่ือนที่ข้อที่ ๓ ของนิวตัน ๔. การย่นระยะเวลาดองไข่เค็ม จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการจัดการศึกษาท่ีบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ท่ีมุ่งแก้ไขปัญหาที่พบเห็นในชีวิตจริง เพ่ือสร้างเสริม ประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์ น�ำความรู้มาออกแบบช้ินงาน หรือวิธีการ เพ่ือตอบสนองความต้องการหรือ แก้ปัญญาท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตประจ�ำวันเพ่ือให้ได้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม ค เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ คา่ ยจัดเต็มสะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

๒. ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ใช้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เป็นพื้นฐาน ๓. ผู้เรียนเข้าใจกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และแก้ปัญหา สามารถเชื่อมโยงกับ ชีวิตจริงได้ ขอบข่ายเน้ือหา สาระเน้ือหาของเอกสาร ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM Education) แบ่งเป็น ๓ ฐานการเรียนรู้ ประกอบด้วย ฐานการเรียนรู้ที่ ๑ กังหันลมอัจฉริยะ...ไฟฟ้าจากพลังลม เวลา ๓ ชม. ฐานการเรียนรู้ที่ ๒ จรวดขวดน�้ำ เวลา ๓ ชม. ฐานการเรียนรู้ที่ ๓ การย่นระยะการดองไข่เค็ม เวลา ๓ ชม. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการรเรียนรู้ โดยใช้หลัก (STEM Education) เน้นการลงมือปฏิบัติ และใช้กระบวนการกลุ่ม ในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา และสามารถเชื่อมโยงได้กับชีวิตจริง โดยใช้วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้วย ๑. การบรรยายเข้าสู่เน้ือหา ๒. การลงมือปฏิบัติจริง ๓. การท�ำใบงาน ,ใบกิจกรรม ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบค่ายวิทยาศาสตร์ หลักสูตรจัดเต็มกับสะเต็มศึกษา จ�ำนวน ๒ วัน ๑ คืน การวัดและประเมินผล ๑. ประเมินด้วยการสังเกตพฤติกรรมจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมรายบุคคลการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมกลุ่ม ๒. ประเมินจากการตรวจใบงาน ใบกิจกรรม เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ง คา่ ยจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

STEM Education S T EM Science Technology Engineering Mathematics สะเต็มศึกษา สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เป็นแนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ท่ีมุ่งแก้ไขปัญหาท่ีพบเห็นในชีวิตจริง เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์และเป็นการเตรียมความพร้อม ให้กับนักเรียนในการปฏิบัติงาน กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นข้ันตอนของการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ ซึ่งมีขั้นตอนหลักๆ ดังน้ี ๑. การระบุปัญหา (Identify a Challenge) เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหาท�ำความเข้าใจ ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันและหาวิธีการหรือสร้างส่ิงประดิษฐ์เพ่ือแก้ปัญหา ๒. การค้นหาแนวคิดท่ีเก่ียวข้อง (Explore Ideas) คือการรวบรวมข้อมูลและแนวคิด ท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ปัญหาและประเมินความเป็นไปได้ ๓. การวางแผนและพัฒนา (Plan and Develop) ผู้แก้ปัญหาต้องก�ำหนดขั้นตอนย่อย ในการท�ำงาน เป้าและระยะเวลาในการด�ำเนินงานชัดเจน รวมถึงออกแบบและพัฒนาต้นแบบ ของผลผลิต ๔. การทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluate) เป็นข้ันตอนทดสอบและ ประเมินการใช้งานต้นแบบ โดยผลท่ีได้อาจถูกน�ำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธ์ให้มี ประสิทธิภาพ ๕. การน�ำเสนอผลลัพธ์ (Present the Solution) ปรับปรุงทดสอบและประเมิน วิธีการแก้ปัญหาหรือผลลัพธ์จนมีประสิทธิภาพตามท่ีต้องการแล้ว โดยออกแบบวิธีการน�ำเสนอ ข้อมูลที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ สะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ แบ่งได้เป็น ๔ ระดับ ดังนี้ u การบูรณาการภายในวิชา เป็นการจัดการเรียนรู้เน้ือหาและฝึกทักษะของแต่ละวิชาแยกกัน การจัดการเรียนรู้ ท่ีครูแต่ละวิชาต่างจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนตามรายวิชาของตนเอง จ เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ คา่ ยจดั เต็มสะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

u การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ เป็นการจัดการเรียนรู้เนื้อหาและฝึกทักษะของแต่ละวิชาแยกกัน แต่มีข้อหลักท่ีครู ทุกวิชาก�ำหนดร่วมกันและมีการอ้างอิงถึงความเช่ือมโยงระหว่างวิชานั้น ๆ u การบูรณาการแบบสหวิทยาการ เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีนักเรียนได้เรียนเน้ือหาและฝึกทักษะอย่างน้อย ๒ วิชาร่วมกัน โดยกิจกรรมมีการเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของทุกวิชา ในการจัดการเรียนรู้แบบน้ีครูผู้สอนในวิชา ที่เกี่ยวข้องต้องท�ำงานร่วมกัน u การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีช่วยให้เช่ือมโยงความรู้และทักษะที่เรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง ครูต้องค�ำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเรียนรู้ของนักเรียน ๓ ปัจจัย ได้แก่ ๑. ปัญหาหรือค�ำถามท่ีนักเรียนสนใจ ๒. ตัวช้ีวัดในวิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๓. ความรู้เดิมของนักเรียน ประโยชน์จากการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สะเต็มศึกษาเป็นการเรียนรู้แบบบูรณาการ ท่ีใช้ความรู้และทักษะในด้านต่าง ๆ ผ่านการท�ำกิจกรรม (Activity Based) หรือการท�ำโครงงาน (Project Based) ท่ีเหมาะสม กับวัยและระดับชั้นของผู้เรียนการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาดังกล่าวน้ี จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนา ทักษะการคิด ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการส่ือสาร ซ่ึงทักษะดังกล่าวน้ีเป็นทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ผู้เรียนพึงมี นอกจากน้ีผู้เรียนยังได้ ความรู้แบบองค์รวมที่สามารถน�ำไปเชื่อมโยงหรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ ดังนี้ ๑. ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ท่ีใช้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เป็นพื้นฐาน ๒. ผู้เรียนเข้าใจสาระวิชาและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มากขึ้น ๓. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และเช่ือมโยงกันระหว่างกลุ่มสาระวิชา ๔. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมของครูและ บุคลากรทางการศึกษา ๕. สร้างก�ำลังคนด้านสะเต็มของประเทศไทย เพ่ือเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของชาติ เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ฉ คา่ ยจัดเตม็ สะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

แนะน�ำกิจกรรมสะเต็ม การจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) เน้นรูปแบบ ของการบูรณาการซ่ึงเป็นสิ่งที่ผู้สอนคุ้นเคยเป็นอย่างดี มุ่งเน้นให้มีการจัดการเรียนการสอน แบบองค์รวม โดยมีการบูรณาการความคิดรวบยอด กระบวนการจัดการเรียนรู้ และทักษะ ด้านต่าง ๆ ในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการจะช่วยลดความซ้�ำซ้อนของเนื้อหาวิชา ต่าง ๆ สามารถยืดหยุ่นเวลาในการจัดการเรียนการสอนได้ บูรณาการท�ำได้อย่างไร บูรณาการ (Integration) หมายถึง การน�ำศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ ท่ีมีเน้ือหา สัมพันธ์เก่ียวข้องกันมาจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในลักษณะของการผสมผสานเข้าด้วยกัน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและสภาพจริงของผู้เรียน ๑. การบูรณาการเน้ือหา เป็นการน�ำเน้ือหาของสาระต่าง ๆ หรือระหว่างกลุ่มสาระ มาสัมพันธ์เกี่ยวข้องเช่ือมโยงเป็นเร่ืองเดียวกัน ๒. การบูรณาการกระบวนการเรียนรู้ เป็นการน�ำรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ของ การถ่ายทอดความรู้ของผู้สอนมาผสมผสานเข้าด้วยกันในการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ๓. การบูรณาการเป้าหมายของการเรียนรู้ เป็นการบูรณาการที่ยึดเป้าหมายของ การเรียนรู้เป็นหลัก โดยผู้สอนอาจก�ำหนดหัวข้อหรือหัวเรื่องเป็นประเด็นในการศึกษา ผู้สอนสามารถเลือกรูปแบบการบูรณาการไปใช้ได้ตามความเหมาะสมของเน้ือหา หรือตามสภาพแวดล้อมและความสอดคล้อง โดยค�ำนึงจากการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ๑. จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรู้ ๒. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ร่วมท�ำงานกลุ่มด้วยตนเอง ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการท�ำงาน ร่วมกัน ๓. จัดประสบการณ์ตรงให้แก่ผู้เรียน ได้เรียนรู้จากส่ิงท่ีเป็นจริงและสามารถน�ำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ ๔. จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความกล้าในการแสดงออก เปิดโอกาสให้นักเรียนแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับผู้อ่ืนในกลุ่ม ๕. ปลูกฝังจิตส�ำนึก ค่านิยม และจริยธรรม ท่ีถูกต้องและดีงาม โดยสอดแทรก ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ช เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ค่ายจดั เตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

ฐานการเรียนรู้ท่ี ๑ กังหันลมอัจฉริยะ ไฟฟ้าพลังงานลม เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 คา่ ยจัดเตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ไกฟังฟหัน้าพลมลอังงัจาฉนรลิยมะ สาระส�ำคัญ พลังงานลม เป็นพลังงานธรรมชาติท่ีเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ๒ ท่ี สะอาดและบริสุทธิ์ ใช้แล้วไม่มีวันหมดไปสามารถน�ำมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกัน กังหันลมก็เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่สามารถน�ำพลังงานมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น การใช้พลังลมท�ำให้เกิดพลังงานไฟฟ้า ตัวช้ีวัด คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ - ก า ร อ อ ก แ บ บ ใช ้ วิทยาศาสตร์ การใชร้ ปู ทรงเรขาคณติ - ใช้หลอดไฟฟ้า LCD สายพานต่อกังหัน เพอื่ เข้าใจถงึ การ ในการท�ำกังหนั และมอเตอร์เพื่อใช้ กั บ ม อ เ ต อ ร ์ ใ ห ้ กำ� เนิดไฟฟ้าจาก และจ�ำนวนการหมนุ ในการทดลอง หมุนตามกันเพ่ือ พลังลม ของมอเตอร์และการวดั - การสืบค้นข้อมลู เพ่ิมความเร็วรอบ ของมอเตอร์และ ขนาดตา่ ง ๆ ของใบพัด ท�ำให้เกิดพลังงาน และสดั สว่ นของตำ� แหนง่ ไฟฟ้า ในการติดมอเตอร์ - การออกแบบกังหัน ที่ต้องอาศัยความรู้ ทางด้านพลศาสตร์ ของลม 2 เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ คา่ ยจัดเต็มสะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

สาระการเรียนรู้ : วิทยาศาสตร์ เป็นการทดลองเพ่ือให้เข้าใจถึงการก�ำเนิดไฟฟ้าจากพลังลมโดยใช้มอเตอร์ กระแสตรง ขนาดเล็กแทนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เนื่องจากอุปกรณ์ ท้ังสองมีโครงสร้างภายในที่เหมือนกัน สามารถใช้ลมที่มีความเร็วไม่มากพัดให้กังหันหมุนเพ่ือฉุดให้เพลาของมอเตอร์หมุนจ่าย กระแสไฟฟ้าออกมาจุดให้หลอดไฟติดได้ สาระการเรยี นรู้ : คณิตศาสตร์ การใช้รูปทรงเรขาคณิตในการท�ำกังหันและจ�ำนวนการหมุนของมอเตอร์และการวัด ขนาดต่าง ๆ ของใบพัด ให้มีขนาดความกว้างความยาวที่เหมาะสม ตลอดจนสัดส่วนของ ต�ำแหน่งในการติดมอเตอร์จะมีผลต่อการหมุนรอบเพื่อให้เกิดพลังานไฟฟ้า สาระการเรยี นรู้ : เทคโนโลยี น�ำหลอดไฟฟ้า LED และมอเตอร์มาใช้ในการทดลองพร้อมสืบค้นข้อมูลเพื่อให้ชุดทดลอง มีประสิทธิภาพ สาระการเรียนรู้ : วิศวกรรมศาสตร์ เป็นการออกแบบใช้สายพานต่อกังหันกับมอเตอร์ให้หมุนตามกันเพ่ือเพ่ิมความเร็วรอบ ของมอเตอร์ข้ึนอีกประมาณมากกว่าสิบเท่า (เนื่องจากเส้นผ่าศูนย์กลางของขวดโตกว่าแกน ของมอเตอร์๑๕-๒๐ เท่า) ดังน้ัน ขณะท่ีกังหันหมุนหนึ่งรอบเพลาของมอเตอร์จะหมุนไปมากกว่า สิบรอบ เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 3 คา่ ยจดั เตม็ สะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ผังมโนทัศน์ S : วทิ ยาศาสตร์ T : เทคโนโลยี หวั ข้อ : เพ่อื เขา้ ใจถงึ หวั ขอ้ : ใชห้ ลอดไฟฟ้า การก�ำเนิดไฟฟา้ LCD และ มอเตอร์ จากพลังลม เพือ่ ใช้ในการทดลอง กังหันอัจฉริยะ ไฟฟ้าจากพลังลม E : วิศวกรรมศาสตร์ M : คณติ ศาสตร์ หัวข้อ : - การออกแบบ หวั ข้อ : การใชร้ ูปทรง ใช้สายพานต่อกังหันกบั เรขาคณติ ในการทำ� กังหนั มอเตอร์ใหห้ มนุ ตามกัน และจำ� นวนการหมนุ ของ เพือ่ เพิ่มความเรว็ รอบ มอเตอร์และการวดั ขนาด ของมอเตอร์และทำ� ให้เกิด ต่าง ๆ ของใบพัดและ พลังงานไฟฟ้า สัดส่วนของต�ำแหนง่ - การออกแบบกังหัน ในการติดมอเตอร์ ทตี่ ้องอาศัยความรู้ทาง ดา้ นพลศาสตร์ของลม 4 เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ค่ายจัดเตม็ สะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

จดุ ประสงค์ ๑. ผู้เรียนได้เรียนรู้ พลังงานลมท่ีประดิษฐ์จากกังหันที่สามารถรับพลังงานจลน์จาก การเคลือ่ นท่ีของลมใหเ้ ป็นพลงั งานกลได้ ๒. ผู้เรียนสามารถพัฒนาแนวคิดจากการทดลองสิ่งประดิษฐ์น�ำไปเชื่อมโยงในชีวิต ประจำ� วันได้ ๓. ผ้เู รยี นสามารถแกป้ ัญหาและพัฒนาอุปกรณไ์ ด้อยา่ งมีเหตุผลและถูกวธิ ี วสั ดอุ ุปกรณ์ ส�ำหรับการประดิษฐ์กังหนั ลมอจั ฉรยิ ะ...ไฟฟา้ พลังงานลม ๑. ขวดนำ้� พลาสติกขนาดเลก็ ๑ ขวด ๒. ขวดน้ำ� พลาสตกิ ขวดใหญ่ ๑ ขวด ๓. แผน่ พลาสตกิ ฟิวเจอร์บอรด์ (Fuure Board) ๔. ทอ่ PVC ขนาด ๔ หุน ๒ ท่อน ๕. ตะปเู กลียวขนาดเลก็ ยาง ½ CM. ๑๒ ตัว ๖. ฝาขวดน้ำ� อดั ลม ๕ ฝา ๗. หนังยางขนาดเล็ก ๖ เสน้ ๘. กระดาษกาวสองหน้า ๑ ม้วน ๙. ยางขนาดใหญ่เพอ่ื ท�ำสายพาน ๑ เส้น ๑๐. กรรไกร ๑ อนั ๑๑. คตั เตอรข์ นาดเลก็ ๑ อนั ๑๒. ไมบ้ รรทัด ๑ อนั ๑๓. ไขขวงแฉกขนาดเลก็ ๑ ตัว ๑๔. ค้อนขนาดเลก็ ๑ อนั ๑๕. มอเตอร์ขนาดเล็ก ๑ อนั ๑๖. หลอด LED ๑ อัน ๑๗. สายพาน ๑ เสน้ เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 5 ค่ายจัดเต็มสะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ใบความรู้ เรื่อง กังหันลมอัจฉริยะ... ไฟฟ้าพลังงานลม พลังงานลม เป็นพลังงานธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ๒ ท่ี ซึ่งสะอาด และบริสุทธ์ิใช้แล้วไม่มีวันหมดไปจากโลก ได้รับความสนใจน�ำมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ อย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันกังหันลมก็เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งท่ีสามารถน�ำพลังงานลม มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ดโ้ ดยเฉพาะในการผลติ กระแสไฟฟา้ และในการสบู นำ�้ ซงึ่ ไดใ้ ชพ้ ลงั งาน กันมาแล้วอย่างแพร่หลาย พลังงานลมเกิดจากพลังงานจากดวงอาทิตย์ตกกระทบโลกท�ำให้ อากาศร้อนและลอยตัวสูงขึ้นอากาศจากบริเวณอื่นซึ่งเย็นและหนาแน่นมากกว่าจึงเข้า มาแทนท่ี การเคลื่อนท่ีของกาศเหล่าน้ีเป็นสาเหตุให้เกิดลมและมีอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้า อากาศ ในบางพ้ืนท่ีของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวฝั่งทะเลอันดามันและ ด้านทะเลจีน (อ่าวไทย) มีพลังงานลมที่อาจน�ำมาใช้ประโยชน์ในลักษณะพลังงานกล (กังหันสูบน�้ำกังหันผลิตไฟฟ้า) ด้วยศักยภาพของพลังงานลมท่ีสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ ส�ำหรับประเทศไทยมีความเร็วอยู่ระหว่าง ๓-๕ เมตร ต่อวินาที และความเข้มพลังงานลม ท่ีประเมินไว้ได้อยู่ระหว่าง ๒๐-๕๐ วัตต์ต่อตารางเมตร หลักการทางวิทยาศาสตร์ เก่ียวกับกังหันลม กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหน่ึงที่สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนท่ี ของลมให้เป็นพลังงานกลได้ จากนั้นน�ำพลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรง เช่น การบดสี เมล็ดพืช การสูบน้�ำ หรือในปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า กังหันลมกับการผลิตไฟฟ้า หลักการท�ำงานของกังหันลมไฟฟ้าน้ันเมื่อมีลมพัดผ่านใบกังหัน พลังงานจลน์ท่ีเกิด จากลม จะท�ำให้ใบพัดของกังหันเกิดการหมุนและได้เป็นพลังงานกลออกมา พลังงานกล จากแกนหมุนของกังหันลมจะถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าที่ เชื่อมต่ออยู่กับแกนหมุนของกังหันลม จ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบต่อไป โดยปริมาณไฟฟ้า ท่ีผลิตได้จะขึ้นอยู่กับความเร็วของลม โดยปริมาณไฟฟ้าท่ีผลิตได้จะขึ้นอยู่กับความเร็ว ของลม ความยาวของใบพัด และสถานท่ีติดต้ังกังหันลม 6 เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ค่ายจดั เตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

วิธีประดิษฐ์ “กังหันลมอัจฉริยะ...ไฟฟ้าพลังงานลม” กงั หนั ลม ประกอบดว้ ยโครงกงั หนั ทำ� จากขวดทรงเตย้ี ตรงกลางดา้ นกน้ ขวดเจาะรู ขนาดเลก็ เพอื่ ยดึ กน้ ขวดกบั เพลา ให้หลวมพอหมุนขวดได้ ขนาดขิงเพลาจะเล็กกว่าปากขวด นิดหน่อย เม่ือยึดขวดเข้ากับเพลาแล้ว ขวดจะหมุนบนเพลา ได้อย่างอิสระ จากน้ันจึงยึดเพลากับฝาขวดอีกใบหนึ่งซ่ึง ใหญ่กว่า เพื่อเป็นฐานของกังหัน ตรงกลางของขวดน้ียึดกับ ฉากซ่ึงมีมอเตอร์ขนาดเล็กติดอยู่ ซ่ึงมอเตอร์ตัวนี้จะท�ำหน้าที่ เป็นเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ใช้ฝาขวดเกลียว ยึดกับใบพัดซึ่งท�ำจากแผ่น Future board อย่างบางขนาดประมาณ ๓x๔ นว้ิ ด้วยสกรูวข์ นาดเลก็ โดยยึดด้านข้างของ ฝาขวด จ�ำนวน ๕ ใบ ตรงกลางของฝาขวด เจาะรูเพื่อร้อยสกรูวอีกตัวหน่ึงเพื่อยึดใบพัดเข้ากับโครงกังหัน โดยแบ่งวงกลมเป็น ๕ ส่วน แต่ละใบจะท�ำมุมกัน ๗๒ องศา จากน้ันบิดให้ใบท้ังห้า หมุนไปทางเดียวกัน ท�ำมุมกันแนว ก้นขวด ประมาณ ๑๐ – ๑๕ องศา ร้อยสายพานให้ผ่านบริเวณกลางขวดและเพลา ของมอเตอร์ ปรับให้สายพานไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป ต่อสายไฟ จากขวั้ ทงั้ สองของมอเตอรไ์ ปยงั ขาทง้ั สองของหลอด LED ทดลอง หมุนใบพัดถ้าไฟไม่ติดให้สลับสายไฟที่ต่อจากมอเตอร์ การทดลองน้ีเพื่อให้เข้าใจถึงการก�ำเนิดไฟฟ้า จากพลังลมโดยใช้มอเตอร์ กระแสตรงขนาดเล็กแทนเคร่ือง ก�ำเนิดไฟฟ้า เน่ืองจากอุปกรณ์ทั้งสองมีโครงสร้างภายในท่ี เหมือนกัน สามารถใช้ลมที่มีความเร็วไม่มากพัดให้กังหันหมุน เพื่อฉุดให้เพลาของมอเตอร์หมุนจ่ายกระแสไฟฟ้าออกมาจุด ให้หลอดไฟติดได้ การออกแบบใชส้ ายพานตอ่ กงั หนั กบั มอเตอรใ์ หห้ มนุ ตามกัน เพื่อเพิ่มความเร็วรอบของมอเตอร์ข้ึนอีกประมาณ มากกว่าสิบเท่า (เนื่องจากเส้นผ่าศูนย์กลางของขวดโตกว่า แกนของมอเตอร์ ๑๕-๒๐ เท่า) ดังนั้น ขณะท่ีกังหันหมุน หน่ึงรอบ เพลาของมอเตอร์จะหมุนไปมากกว่าสิบรอบ เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 7 ค่ายจดั เต็มสะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ใบงาน เร่ือง “กังหนั ลมอจั ฉริยะ ... ไฟฟ้าพลงั งานลม” การออกแบบกังหันลมอัจฉริยะ.....ไฟฟา้ จากพลังงานลม ใหผ้ ้เู รียนอธบิ ายมาพอสังเขป ๑. หลักการทำ� งานของพลงั งานลม ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ๒. หลกั วทิ ยาศาสตร์ ทนี่ �ำมาใชก้ ับสิ่งประดษิ ฐ์ชนดิ น้ี คือ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 8 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

๓. ประโยชนข์ องพลังงานลม ได้แก่ อะไรบ้าง ยกตวั อย่างและอธิบายพอสังเขป ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ๔. แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพอื่ พัฒนาทดลองใช้เพื่อใหม้ ีประสิทธิภาพ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ๕. ผูเ้ รียนใชห้ ลกั การ STEM ในการประดษิ ฐ์ กงั หันลมอัจฉรยิ ะ...ไฟฟ้าพลงั งานลมไดอ้ ยา่ งไร S (วิทยาศาสตร์) ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. T (เทคโนโลยี) ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. E (วิศวกรรมศาสตร)์ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. M (คณติ ศาสตร์) ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 9 ค่ายจัดเตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

ฐานการเรียนรู้ท่ี ๒ “จรวดขวดน�้ำ” 10 เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ค่ายจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

จรวดขวดน�้ำ สาระสำ� คญั จรวดขวดน้�ำ เป็นสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ เป็นท่ีนิยมในหมู่นักประดิษฐ์และ มีการพัฒนาหลายรูปแบบเพื่อทดลองเรื่องการเคล่ือนท่ขี องพลังงาน ที่เปน็ ไปตามกฎการเคลอื่ นท่ี ข้อที่ ๓ ของนวิ ตันสามารถออกแบบและแก้ปัญหาได้อย่างมีเหตผุ ลและถกู วธิ ี ตวั ชว้ี ัด คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ - การใชร้ ปู ทรง - การสบื ค้นข้อมลู - การออกแบบ วิทยาศาสตร์ เรขาคณิต/ - การก�ำหนด การวาดภาพ กฎการเคลอื่ นที่ วดั ขนาดกวา้ ง- วตั ถุประสงค์ ลงบนกระดาษ ขอ้ ที่ ๓ ยาวมาเปน็ สดั สว่ น - การก�ำหนด - การสร้าง ของนิวตนั ประกอบของการ ขอบเขต แบบจ�ำลอง (NEWTON’S ประดษิ ฐ์ - การวางแผน - การออกแบบ Third Lo of - แรงลมท่บี รรจุ - คน้ หาและ กอ่ นประดิษฐ์ Motion) ในขวด รวบรวมข้อมลู จรวดขวดนำ้� - การก�ำหนด พิจารณาและ สัดส่วนของน�้ำ สรุปผล แปง้ ทบ่ี รรจุภาย ในขวด - เรื่องของน้�ำหนกั แรงตา้ น แรงยก เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 11 ค่ายจัดเต็มสะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

สาระการเรียนรู้ : วิทยาศาสตร์ จรวดขวดน้�ำ (PET) คือ จรวดที่สร้างจากขวดพลาสติกน้�ำอัดลมใช้แรงขับเคล่ือนท่ี ด้วยน�้ำหรือแป้ง โดยอาศัยแรงดันของอากาศท่ีบรรจุอยู่ภายใน การเคลื่อนท่ีของจรวดขวดน�้ำ สามารถอธบิ ายได้ดว้ ยกฎการเคลือ่ นท่ีขอ้ ท่ี ๓ ของนิวตัน (NEWTON’S Third Lo of Motion) ซึ่งอธิบายไว้ว่า ในธรรมชาติเมื่อมีการกระท�ำ(หรือแรง) ใด ๆ ต่อวัตถุอันหน่ึง จะปรากฏแรงที่มี ขนาดเทา่ กันแต่มีทศิ ทางท่ีตรงขา้ มกระทำ� กลบั ตอ่ แรงน้นั ๆ สาระการเรียนรู้ : คณิตศาสตร์ การใช้รูปทรงเรขาคณิตมาใช้ในการประดิษฐ์ท่ีเป็นส่วนประกอบของจรวดขวดน้�ำ นอกจากน้ันยังใช้ในเร่ืองของการวัดขนาดของแรงดันลมบรรจุอยู่ในขวด เร่ืองของน�้ำหนัก, แรงตา้ น, แรงยก ทีม่ ผี ลตอ่ การเคล่อื นทไ่ี ปขา้ งหน้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สาระการเรียนรู้ : การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นการสืบค้นข้อมูลและการออกแบบจรวดขวดน้�ำท่ีต้องอาศัยเทคโนโลยี หมายถึง สง่ิ ทมี่ นษุ ยพ์ ฒั นาขนึ้ เพอื่ ชว่ ยในการทำ� งานหรอื แกป้ ญั หาตา่ ง ๆ เชน่ อปุ กรณ,์ เครอ่ื งมอื เครอื่ งจกั ร, วัสดุ หรอื แม้กระท่งั ทไี่ ม่ได้เป็นส่ิงของทีจ่ ับตอ้ งได้ เช่น กระบวนการตา่ ง ๆ เทคโนโลยี เป็นการ ประยุกต์ น�ำเอาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกดิ ประโยชน์ในทางปฏบิ ัติ สาระการเรยี นรู้ : วิศวกรรมศาสตร์ ออกแบบโดยใช้กระบวนการออกแบบจากต้นร่างในกระดาษ วางแผน ท�ำแบบจ�ำลอง แก้ปัญหาและพัฒนาส่ิงประดิษฐ์ให้มีประสิทธิ์ภาพย่ิงข้ึนโดยการทดลองและเปรียบเทียบจาก การลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ 12 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ค่ายจดั เต็มสะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

ผังมโนทัศน์ S : วิทยาศาสตร์ T : เทคโนโลยี หวั ขอ้ : กฎการเคล่อื นที่ หวั ขอ้ : ข้อที่ 3 ของนวิ ตนั - การใช้รูปทรง (NEWTON’S Third เรขาคณิต / วดั ขนาด Lo of Motion) กวา้ ง-ยาวมาเปน็ สดั สว่ นประกอบของ การประดษิ ฐ์ - แรงลมทบี่ รรจใุ นขวด - การกำ� หนดสดั ส่วน ของนำ�้ แปง้ ทบ่ี รรจุ ภายในขวด จรวด ขวดน้�ำ E : วศิ วกรรมศาสตร์ M : คณติ ศาสตร์ หวั ขอ้ : หัวขอ้ : - การสบื คน้ ขอ้ มลู - การออกแบบการวาด - การกำ� หนด ภาพลงบนกระดาษ วตั ถปุ ระสงค์ - การสร้างแบบจ�ำลอง - การกำ� หนดขอบเขต - การออกแบบกอ่ น - การวางแผน ประดษิ ฐ์ จรวดขวดน้�ำ - ค้นหาและรวบรวม ขอ้ มลู เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 13 ค่ายจดั เต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

จดุ ประสงค์ ๑. ผเู้ รียนได้เรียนร้กู ฎการเคลอื่ นทขี่ อ้ ท่ี ๓ ของนวิ ตนั ๒. ผเู้ รียนสามารถออกแบบและประดิษฐเ์ ครื่องเล่น ประเภทจรวดขวดน�ำ้ ๓. ผเู้ รยี นสามารถแกป้ ญั หาและพฒั นาอุปกรณเ์ ครื่องเลน่ จากขวดนำ้� ได้อย่างมเี หตุผล และถกู วธิ ี วัสดุอุปกรณ์ ส�ำหรับการประดิษฐจ์ รวดขวดน้ำ� ๑ ลำ� ประกอบดว้ ย - ขวดน้ำ� อัดลมพลาสติก ๒ ขวด - ดินน้ำ� มัน - กระดาษแขง็ - มีดคตั เตอร์ - กรรไกร - เทปกาว - แผ่นฟวิ เจอรบ์ อรด์ - ปากกาเคมี 14 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คา่ ยจัดเต็มสะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

ใบความรู้ จรวดขวดน้�ำ สาระส�ำคัญและวัตถุประสงค์การเรียนรู้เรื่องจรวดขวดน�้ำ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ หลักการเรื่อง กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน สามารถออกแบบและประดิษฐ์จรวดขวดน้�ำได้ และที่ส�ำคัญผู้เรียนรู้จักแก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุผลและถูกวิธี หลักการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับจรวดขวดน�้ำ จรวดขวดน้�ำเป็นที่นิยมในหมู่นักประดิษฐ์ และ รักการทดลองพัฒนา โดยมีการพัฒนา กันมาหลายรูปแบบ ซ่ึงในปัจจุบันได้เป็นท่ีรู้จักและแพร่หลายในวงการการศึกษา เกิดเป็น ชมรม จรวดขวดน�้ำ ในแต่ละจังหวัดทั่วประเทศ จรวดขวดน�้ำ (PET) คือ จรวดที่สร้างจาก ขวดพลาสติกน�้ำอัดลม ใช้แรงขับเคลื่อนด้วยน�้ำหรือแป้งโดยอาศัยแรงดันของอากาศท่ีบรรจุอยู่ ภายใน “การแข่งจรวดขวดน�้ำ” นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ง่ายท่ีเยาวชนจะให้ ความสนใจแล้ว ยังควบคู่ไปด้วยสาระความรู้ในกระบวนการวิทยาศาสตร์ ส่งเสริมพัฒนาให้เด็ก ได้ใช้ความรู้และจินตนาการอย่างดี และยังมีบุคคล นักเรียน นักศึกษาให้ความสนใจในกิจกรรมนี้ มากขึ้นอีกด้วย ภาพจาก http://funscience.gistda.or.th เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 15 ค่ายจัดเต็มสะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

การเคลื่อนที่ของจรวดพลังน้�ำ สามารถอธิบายได้ด้วย กฏการเคล่ือนที่ข้อท่ีสาม ของนิวตัน (Newton’s Third Law of Motion) ซึ่งอธิบายไว้ว่า ในธรรมชาติเม่ือมี การกระท�ำ(หรือแรง) ใดๆ ต่อวัตถุอันหนึ่ง จะปรากฏแรงท่ีมีขนาดเท่ากันแต่มีทิศทาง ท่ีตรงกันข้าม กระท�ำกลับต่อแรงน้ันๆ ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น ให้เด็กคนหนึ่งยืนถือก้อนหินอยู่บน รถเข็นที่ล้อไม่มีความฝืด เมื่อให้เด็กทุ่มก้อนหินออกมา พบว่ารถเข็นจะเคลื่อนท่ีไปในทิศทาง ที่ตรงข้ามกันกับทิศท่ีเด็กคนน้ันทุ่มก้อนหินออกมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเมื่อเด็กออกแรงกระท�ำ ต่อก้อนหิน (โดยการทุ่มมันออกมา) ก้อนหินเองก็มีแรงกระท�ำตอบกลับไปยังเด็ก ซึ่งส่งผลให้ รถเข็นที่จอดนิ่งอยู่เฉยๆ เคล่ือนท่ีได้ จากกฏการเคลื่อนท่ีข้อท่ี ๓ ของนิวต้ัน สามารถน�ำมาอธิบาย ถึงสาเหตุท่ีจรวดพลังน้�ำสามารถขับเคล่ือนข้ึนไปได้ ด้วยแรงดันลมท่ีถูกบรรจุอยู่ภายในขวด จะขับดันน�้ำ พ่นออกทางท้ายของจรวด และส่งผลให้เกิดมีแรงในทิศตรงกันข้ามซ่ึงถูกเรียกว่า แรงผลัก หรือ Thrusting Force ผลักดันให้จรวดเคล่ือนที่ไปทางด้านหน้าเช่นกัน นอกจาก Thrust แลว้ ยงั มแี รงอื่น ๆ ที่มสี ว่ นส�ำคญั ในการเคลอ่ื นทไี่ ป หรอื ตอ่ ตา้ นการเคลอื่ นทขี่ องจรวดอกี ซึ่งได้แก่ น�้ำหนัก (Weight), แรงต้าน (Drag ), และแรงยก (Lift ) น้�ำหนัก (Weight) คือ แรงเน่ืองจากสนามความโน้มถ่วงของโลกท่ีกระท�ำต่อวัตถุ โดยท่ัวไป ในการศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ เราจะพิจารณาถึง น�้ำหนักรวมของวัตถุ (Total weight) ซ่ึงเป็นแรงจากสนามความโน้มถ่วงที่กระท�ำ ณ ต�ำแหน่ง จุดศูนย์กลางมวล (Center of Gravity) แรงต้าน (Drag) คือ แรงท่ีขัดขวางการเคล่ือนที่ของวัตถุ ผ่านในตัวกลางที่เป็น ของเหลว (รวมถึงอากาศ) มีทิศในทางตรงกันข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงต้านน้ี เกิดเน่ืองจาก ความแตกต่างของความเร็วท่ีผิวสัมผัสของของแข็ง ในระหว่างท่ีมันเคลื่อนตัว ผ่านไปในของเหลว ดังน้ันทุก ๆ ส่วนของวัตถุจึงมีผลในการก่อให้เกิดแรงด้านน้ี ดังนั้นในการ ออกแบบจรวด หรืออากาศยานใด ๆ จ�ำเป็นต้องพิจารณาถึงรูปร่างของวัตถุน้ันด้วย แรงยก (Lift) เป็นแรงที่ท�ำหน้าที่พยุงอากาศยานให้ลอยได้ในอากาศ แรงยกโดย ท่ัวไปจะเกิดที่ส่วนของปีก และแพนหาง ที่มีการเคล่ือนท่ี และรบกวนในการไหลของอากาศ ให้มีการเบ่ียงเบนทิศทาง ดังน้ันถ้าไม่มีการเคล่ือนท่ีก็ไม่เกิดแรงยกขึ้น วิธีประดิษฐ์จรวดขวดน้�ำ u เตรียมอุปกรณ์ได้แก่ ขวดน้�ำอัดลม จ�ำนวน ๒ ขวด เทปกาว กรรไกรหรือ มีดคัดเตอร์ แผ่นฟิวเจอร์บอร์ด และปากกาเคมีเพ่ือท�ำเคร่ืองหมายบริเวณท่ีจะตัด u ใช้ปากกาเคมีขีดต�ำแหน่งท่ีจะตัดบนขวด�ำลาสติกขวดที่หน่ึง เพื่อจะใช้ท�ำหัวจรวด และส่วนท่ีเรียกว่ากระโปรงจรวด u น�ำส่วนหัวของขวดแรกสวมด้ามท้ายของขวดใบท่ี ๒ เพื่อท�ำเป็นหัวจรวด 16 เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คา่ ยจัดเต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

u สว่ นอกี ดา้ นใหต้ อ่ ทางดา้ นปากขวดเพอ่ื ทำ� เปน็ ปกี ของจรวด ตดิ ใหแ้ นน่ ดว้ ยเทปกาว u ตกแต่งให้สวยงามตามต้องการ วิธีการอาจจะมีการดัดแปลงตกแต่งเพิ่มเติมเพ่ือ ผลของการยิงก็ได้ เพราะส่ิงที่จะเกี่ยวข้องกับรูปร่างของจรวดขวดน้�ำ น�้ำหนัก ครีบ หรืออาจจะ เป็นแรงต้านของอากาศ ส่วนประกอบของจรวดขวดน้�ำ ส่วนฐานยิง ประกอบด้วย ๕ ส่วนส�ำคัญ คือ ส่วนตัวฐานยิง ส่วนปลดล็อก ส่วนประคองขวด ส่วนปรับองศาท่ีจะยิงและปั๊มลม ฐานยิงได้มีการออกแบบฐานยิงออกมา หลายรูปแบบ แต่ระบบที่ยิงหรือปล่อยจรวดออกจากฐานที่ใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทยมี ๒ ระบบ คือ ระบบปลดล็อกคอขวด และ ระบบปลดล็อกเร็ว ฐานยิงระบบปลดล็อกเร็ว ประกอบด้วยส่วนส�ำคัญ คือ ๑. กะโหลกไฟหน้ารถจักรยานยนต์ ๒. ชุดเบรกหลังรถจักรยาน ๓. ชุดข้อสวมเร็วสายฉีดน้�ำ (ใช้ท้ังตัวผู้และตัวเมีย) ๔. ตัวประคองจรวด ๕. แผ่นวัดองศาการยิง (ไม้โปรแทรกเตอร์ ชนิดคร่ึงวงกลม) ๖. ขาต้ัง ๗. สายลมเข้า และยังมีเกจวัดความดันลม (Air Pressure Gauge), วาล์วกันกลับ และ ปั๊มลมจักรยาน ตัวอย่างฐานยิงระบบปลดล็อกเร็ว เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 17 ค่ายจดั เตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

ฐานยิงระบบปลดล็อกคอขวด ประกอบด้วยส่วนส�ำคัญคือ ๑. ฐาน ๒. แผ่นวัดองศาการยิง ๓. แผ่นปรับองศาการยิง ๔. ก้านล็อกคอขวด ๕. สปริงดึงก้านล็อกคอขวด ๖. ตัวประคองจรวด ฐานยิงจรวด ประกอบด้วย ส่วนประกอบหลักท่ีส�ำคัญ ๓ ส่วน คือ ๑. ส่วนอัดอากาศ มีหน้าที่ จ่ายอากาศท่ีมีแรงดัน ผ่านส่วนปล่อยจรวด ให้กับตัวจรวด อาจเป็น สูบจักรยาน , ปั๊มลม , ถังแกส , หรือ อุปกรณ์อ่ืนๆ ๒. ส่วนโครง มีหน้าท่ียึดส่วนปล่อยจรวด ให้แน่นหนา เพ่ือน�ำให้จรวด วิ่งไปในทิศทาง ท่ีต้องการ อาจท�ำจากไม้ , เหล็ก , พีวีซี หรือ วัสดุอื่นๆ ๓. ส่วนปล่อยจรวด เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างส่วนโครง กับตัวจรวด ใช้ในการ ปล่อยจรวด ส่วนปล่อยจรวดนี้ มีหลายลักษณะ แล้วแต่การออกแบบ แบบท่ีง่ายที่สุด ปรับปรุง จาก ชุดต่อสายยาง กับก๊อกน้�ำที่มีขายอยู่ตามท้องตลาด ส่วนล�ำตัวจรวด ๑. ตัวจรวด คือ ส่วนที่ต้องใช้ขวด PET เพื่อรับแรงอัดอากาศและน้�ำ (Pressure Tank) ๒. หัวจรวด คือ ส่วนท่ีต่อจากก้นของขวด PET โดยปกติจรวดจะพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้ก้นขวด ส่วนปากขวดท�ำหน้าที่ปล่อยอากาศ และ น้�ำเพ่ือขับดันตัวจรวด ท�ำหน้าท่ี แหวกอากาศ ๓. ครีบหาง แพนหางหรือ ปีก (Fin) ท�ำหน้าท่ีบังคับทิศทาง 18 เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คา่ ยจัดเต็มสะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

เราสามารถท�ำจรวดเองแบบง่ายๆ โดยใช้ชิ้นส่วนต่าง ๆ ดังกล่าว โดยเริ่มจาก ขวด PET ๒ ขวด ตัดขวด PET โดยใช้ คัตเตอร์ยาวพอให้ปลายกรรไกรสอดเข้าไปได้ ขีดแนวเส้นใช้กรรไกร ตัดจากส่วนล่าง จะได้แนวตัดตรงกว่าตัดจากด้านบนลงล่าง เม่ือได้ขวดท่ีตัดก้นออกแล้ว น�ำดินน้�ำมันมาอุดท่ีปากขวด เพ่ือถ่วงน�้ำหนักให้จรวดพุ่งไป ข้างหน้า น้�ำหนักของดินน้�ำมัน ขึ้นอยู่กับน้�ำหนักของตัวจรวด ด้วย ซึ่งเราจะต้องทดสอบ ขณะยิงจรวดเป็นระยะ ว่า น�้ำหนักมากหรือน้อยเกินไป เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 19 ค่ายจัดเตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

ตอ่ ขวดทงั้ สองใบดว้ ย เทปกาวทใี่ ชต้ ดิ สนั หนงั สอื เพอ่ื งา่ ยแกก่ ารแกะออก เพอ่ื ถว่ งนำ้� หนกั ดินน�้ำมัน แต่ถ้าเราได้น้�ำหนักที่พอดีแล้ว การเช่ือมต่อขวด ควรใช้กาวที่ใช้ติดกระจกตู้ปลา หรือ กาวซีแลนท์กันร่ัวซึม หรือใช้เทปกาวติดสันหนังสือ เพราะใช้กาวอื่น ๆ เช่น กาวช้างจะไม่เกาะติด กับขวด PET ในที่น้ี ขอแนะน�ำให้ใช้เทปกาวติดสันหนังสือ เพราะช่วยเพ่ิมสีสันให้แก่ตัวจรวดด้วย ตัดส่วนแพนหางจากพลาสติกลูกฟูก หรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่มีน�้ำหนักเบา ส่วนรูปแบบขึ้นอยู่กับ ความพอใจของผู้ท�ำ ๒, ๓ หรือ ๔ ช้ิน ซึ่งอาจจะทดลองเปล่ียนรูปแบบอ่ืน ๆ ว่าแบบใดท�ำให้จรวด พงุ่ ไปไดไ้ กล หรอื ตรงมากทส่ี ดุ ในขณะทตี่ วั แปรอน่ื ๆ เทา่ กนั ไดแ้ ก่ จำ� นวนนำ้� ในขวด แรงดนั อากาศ และองศาของการยิงต้องเท่ากัน ติดแพนหางเข้ากับตัวจรวดโดยใช้เทปกาว ๒ หน้าอย่างหนา และอย่างดี เพราะจะติดกับ ขวด PET ได้แน่นกว่าเทปกาวราคาถูก ได้ตัวจรวดตามต้องการ อาจจะมีการต่อตัวจรวดให้ยาวข้ึน หรือต่อชิ้นส่วนท�ำเป็นจรวด ๒ ตอน ติดร่มชูชีพ หรือตกแต่ง เพิ่มข้ึนเพื่อความสวยงาม จรวดติดต้ังบนฐานยิง พร้อมที่จะท�ำการทดสอบ เพ่ือหาข้อบกพร่อง เพ่ือการปรับปรุงให้ดีขึ้นต่อไป รวบรวมมาจาก --> http://funscience.gistda.or.th/thaiwaterrocket/waterrocket.html http://www.ipst.ac.th/magazine/mag๑๒๙/๑๒๙_๔๔.pdf 20 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ค่ายจดั เต็มสะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

ใบงาน เรือ่ ง การประดิษฐจ์ รวดขวดนำ้� การออกแบบจรวดขวดน�้ำ ให้ผู้เรียนอธิบายมาพอสังเขป ๑. หลักการท�ำงานของจรวดขวดน้�ำ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ๒. รูปแบบการเคล่ือนท่ีของจรวดขวดน้�ำ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 21 ค่ายจดั เต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

๓. ให้ผู้เรียนบอกประโยชน์ของการประดิษฐ์จรวดขวดน�้ำ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ๔. แนวทางการปรับปรุงแก้ไขจรวดขวดน้�ำเม่ือได้มีการทดลองยิง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ๕. ผู้เรียนใช้หลักการ STEM (Science Technology Engineering Mathematics) ในการประดิษฐ์จรวดขวดน�้ำอย่างไร S (วิทยาศาสตร์) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... T (เทคโนโลยี) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... E (วิศวกรรมศาสตร์) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... M (คณิตศาสตร์) ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 22 เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เต็มสะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ฐานการเรียนรู้ท่ี ๓ การย่นระยะเวลาดองไข่เค็ม เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 23 ค่ายจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

การย่นระยะเวลาดองไข่เค็ม สาระส�ำคัญ ไข่เค็ม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมท้ังในภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม เพราะไข่เค็มสามารถน�ำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการท�ำผลิตภัณฑ์อาหารได้ทั้งในรูปของอาหารคาว และหวาน โดยอุตสาหกรรมอาหารส่วนใหญ่วัตถุดิบท่ีส�ำคัญในการน�ำมาผลิต คือ ส่วนท่ีเป็น ไข่แดงเค็ม อาทิ ขนมโมจิ ขนมเปี๊ย ขนมไหว้พระจันทร์ ฯลฯ และในปัจจุบันไข่แดงเค็มก็ได้รับ ความนิยมในการน�ำมาประกอบอาหารอ่ืน ๆ อีกด้วย การท�ำไข่เค็มมีจุดอ่อนคือต้องใช้เวลาใน การผลิตนาน ๑๕-๒๘ วัน ท�ำให้เกิดการสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ ตัวช้ีวัด คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ - ระยะเวลา การสืบค้นข้อมลู นำ� กระบวนการ วิทยาศาสตร์ ดองไขเ่ คม็ ต่าง ๆ ทาง ความเปน็ - บนั ทกึ เทคโนโลยีมา กรด เบส รายรับรายจา่ ย ประยุกตใ์ ช้ ของสารเคมีใน ชวี ิตประจำ� วนั สาระการเรียนรู้ : วิทยาศาสตร์ ในชีวิตประจ�ำวัน เราจะต้องเก่ียวข้องกับสารหลายชนิด ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน สารทีใ่ ชใ้ นชีวิตประจ�ำวนั จะมีสารเคมีเปน็ องค์ประกอบ ซงึ่ สามารถจำ� แนกเป็นสารสงั เคราะห์และ สารธรรมชาติ เช่น สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารท�ำความสะอาด สารก�ำจัดแมลงและ สารก�ำจัดศัตรูพืช เป็นต้น สารเคมีให้ประโยชน์มากมาย สารเคมีบางชนิดใช้ชะล้างฆ่าเช้ือโรค บางชนิดก็ช่วยถนอมอาหารไม่ให้บูดเน่าเสีย สารเคมีบางชนิดช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น บางชนิดก็น�ำมาใช้ท�ำโลหะพลาสติก และวัสดุอื่น ๆ ตลอดเวลาท่ีผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ได้ พยายามผลิตสารเคมีใหม่ ที่มีประโยชน์ต่อพวกเรานับร้อย ๆ ชนิด 24 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

สาระการเรียนรู้ : คณิตศาสตร์ เวลา เป็นหนึ่งในปริมาณพื้นฐานซึ่งมีอยู่น้อยนิด ปริมาณมูลฐานเหล่าน้ีไม่สามารถ ถูกนิยามได้จากปริมาณอื่น ๆ ด้วยเพราะความเป็นพ้ืนฐานท่ีสุดของปริมาณต่าง ๆ ที่เรารู้ เพราะฉะน้ัน เราจึงต้องวัดปริมาณเหล่าน้ีแทนการนิยาม ในอดีตประมาณ ๒,๐๐๐ ปี ก่อน คริสตกาล อารยธรรมสุเมเรียนได้ใช้ระบบเลขฐานหกสิบ (Sexagesimal) เป็นหลักในการวัดเวลา ในบางปริมาณ เช่น ๖๐ วินาที เท่ากับ ๑ นาที และ ๖๐ นาที เท่ากับ ๑ ช่ัวโมง ทว่าบางปริมาณ ก็ยึดเลข ๑๒ และ ๒๔ เป็นหลัก คือชั่วโมง ซ่ึง ๑๒ ชั่วโมง เท่ากับ ๑ กลางวัน (โดยประมาณ) และ ๑ กลางคืน (โดยประมาณ) และ ๒๔ ช่ัวโมง เท่ากับ ๑ วัน ซ่ึงเราก็ได้ใช้ระบบที่ชาวสุเมเรียน คิดไว้มาจนถึงปัจจุบันนี้ การบันทึกรายรับรายจ่ายในตารางให้เป็นหมวดหมู่ จะช่วยให้อ่านรายรับรายจ่ายได้ สะดวกและชัดเจนขึ้น สาระการเรียนรู้ : เทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์และออกแบบเทคโนโลยี) เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพ่ือช่วยในการท�ำงานหรือแก้ปัญหา ต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์, เคร่ืองมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระท่ังท่ีไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ น�ำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ ลักษณะของเทคโนโลยีสามารถจ�ำแนกออกได้เป็น ๓ ลักษณะ คือ (Heinich, Molenda and Russell. ๑๙๙๓ : ๔๔๙) ๑. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ (Process) เป็นการใช้อย่างเป็นระบบ ของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือความรู้ต่าง ๆ ที่ได้รวบรวมไว้ เพ่ือน�ำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดย เชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และน�ำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ ๒. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต (Product) หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็น ผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี ๓. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (Process and Product) เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการท�ำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเคร่ืองกับโปรแกรม เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 25 คา่ ยจดั เตม็ สะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

ผังมโนทัศน์ S : วทิ ยาศาสตร์ T : เทคโนโลยี หัวข้อ : หัวข้อ : การค้นหาและ สารเคมีในชีวิตประจ�ำวัน รวบรวมข้อมูล - กรด - เบส - การกำ� หนด - สารปรุงแต่ง วัตถปุ ระสงค์ รสอาหาร - การกำ� หนดขอบเขต - การวางแผน รวบรวมขอ้ มูล - การด�ำเนินการค้นหา และรวบรวมขอ้ มูล การพิจารณา และ สรุปผล การย่นระยะเวลา ดองไข่เค็ม E : วิศวกรรมศาสตร์ M : คณิตศาสตร์ หวั ข้อ : กระบวนการ หัวข้อ :: เวลา ทางวศิ วกรรม : บันทกึ รายรบั - การออกแบบ รายจา่ ย - การวางแผน - การแก้ปัญหา - การสรา้ ง แบบจำ� ลอง 26 เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ค่ายจัดเตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

จุดประสงค์ ๑. ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และร้จู กั คุณคา่ การใช้สารเคมีในชวี ติ ประจ�ำวนั ๒. ผู้เรียนสามารถสังเกตและอธิบายความเป็นกรด เบส สารเคมใี นชวี ิตประจำ� วนั ๓. ผเู้ รียนสามารถเขียนบันทึกรายรับรายจา่ ยได้ วัสดุอุปกรณ์ ๑. ไข่เปด็ ๒. เกลือ ๓. นำ้� สะอาด ๔. น้ำ� ส้มสายชู ๕. ขวดโหล ๖. กะละมัง ๗. เตาไฟฟ้า ๘. ถุงพลาสติก ๙. ยางรัดของ ๑๐. สก๊อตช-์ ไบรต์สีเขียว เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 27 ค่ายจัดเต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ใบความรู้ เรื่อง การย่นระยะเวลาดองไข่เค็ม ความหมายของสารเคมีในชีวิตประจ�ำวัน สารเคมี (Chemical Substance) หมายถึง เป็นสสารวัสดุ ที่ใช้ในกระบวนการเคมี หรือได้จากกระบวนการเคมี (วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. ๒๕๕๑ : ออนไลน์) ซึ่งสารเคมีในโลกนี้ มีอยู่ด้วยกันมากมายหลายชนิด สารเคมีส่วนใหญ่จะดูเหมือนๆกันหมด แต่นักวิทยาศาสตร์ ก็สามารถทราบถึงความแตกต่างได้ นักวิทยาศาสตร์จึงต้ังช่ือให้กับสารเคมีแต่ละชนิดสารเคมี เหล่านี้บ้างก็เป็นของแข็ง บ้างก็เป็นก๊าซ บ้างก็เป็นของเหลว สารเคมีบางอย่างเป็นสารละลาย ซ่ึงก็คือของแข็งและของเหลวผสมกันอยู่น้ันเอง ในชีวิตประจ�ำวัน เราจะต้องเก่ียวข้องกับสารหลายชนิด ซ่ึงมีลักษณะแตกต่างกัน สารที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวันจะมีสารเคมีเป็นองค์ประกอบ ซ่ึงสามารถจ�ำแนกเป็นสารสังเคราะห์ และสารธรรมชาติ เช่น สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารท�ำความสะอาด สารก�ำจัดแมลง และสารก�ำจัดศัตรูพืช เป็นต้น สารเคมีให้ประโยชน์มากมาย สารเคมีบางชนิดใช้ชะล้างฆ่าเช้ือโรค บางชนิดก็ช่วยถนอมอาหารไม่ให้บูดเน่าเสีย สารเคมีบางชนิดช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีข้ึน บางชนิดก็น�ำมาใช้ท�ำโลหะพลาสติก และวัสดุอ่ืน ๆ ตลอดเวลาท่ีผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ได้พยายาม ผลิตสารเคมีใหม่ที่มีประโยชน์ต่อพวกเรานับร้อย ๆ ชนิด (สารานุกรมนักวิทยาศาสตร์. ๒๕๒๙ : ๒) สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจ�ำวัน สารปรุงแต่งอาหาร หมายถึง สารปรุงรสและวัตถุเจือปนในอาหารท่ีน�ำมาใช้เพ่ือปรุงแต่งสี กลิ่น รส และ คุณสมบัติอื่น ๆ ของอาหาร น�้ำส้มสายชู มีส่วนประกอบส�ำคัญ คือ กรดน้�ำส้ม หรือกรดแอซิติก ท่ีได้มาจากพืช มีคุณสมบัติเป็นกรด น�้ำส้มสายชูท่ีปลอดภัยต่อการบริโภค มีด้วยกัน ๓ ชนิด คือ ๑. น้�ำส้มสายชูหมัก ได้การหมักธัญพืช ผลไม้ หรือน้�ำตาล น้�ำส้มสายชูชนิดนี้ รสกลมกล่อมและมีกลิ่นหอม มีเกลือแร่ท่ีจ�ำเป็นต่อร่างกาย แต่ราคาค่อนข้างแพง ๒. น�้ำส้มสายชูกลั่น ได้จากการหมักแอลกอฮอล์กล่ันเจือจางกับเชื้อน้�ำส้มสายชู แล้วน�ำไปกล่ันอีกคร้ัง หรือน�ำน�้ำส้มสายชูหมักมากล่ัน น้�ำส้มสายชูชนิดน้ีกลิ่นและรสไม่ดีเท่า น�้ำส้มสายชูหมัก แต่วิธีท�ำง่ายกว่าและใช้เวลาส้ันกว่า 28 เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

๓. น�้ำส้มสายชูเทียม ได้จากการท�ำกรดน�้ำส้มให้เจือจาง ใช้บริโภคกันแพร่หลาย เพราะมี ราคาถูก แม้จะไม่มีคุณภาพทางโภชนาการดีเท่าน้�ำส้มสายชูหมักและกล่ัน แต่ก็มี ความปลอดภัย การถนอมอาหาร วิธีการถนอมอาหารมีมาตั้งแต่สมัยโบราณท่ีเกิดจากภูมิปัญญาไทย การถนอมอาหาร ช่วยให้สามารถเก็บอาหารไว้บริโภคได้เป็นเวลานาน โดยท่ีอาหารน้ันไม่สูญเสียคุณภาพ ซึ่ง วิธีการถนอมอาหารมีหลายวิธีดังน้ี ๑. การถนอมอาหารโดยตากแห้ง ๒. การถนอมอาหารโดยการดอง ๓. การถนอมอาหารโดยการเชื่อม ๔. การถนอมอาหารด้วยวิธีการกวน ๕. การท�ำแยม ๖. การรมควัน ไข่ ไข่ (Egg) เป็นอาหารท่ีมีค่าทางโภชนาการสูงมาก เป็นแหล่งของโปรตีนที่มีคุณภาพ ดีที่สุด เน่ืองจากโปรตีนไข่มีกรดแอมิโนชนิดที่จ�ำเป็นต่อร่างกายของมนุษย์ครบถ้วนทั้งชนิด และปริมาณ เป็นอาหารท่ีมีสมบูรณ์ท่ีสุด ราคาถูก เม่ือเปรียบเทียบกับเนื้อสัตว์ชนิดอ่ืน ซ่ึงให้ ปรมิ าณโปรตนี ทดั เทยี มกนั ไขส่ ามารถบรโิ ภคในชวี ติ ประจำ� วนั ไดห้ ลายรปู แบบ และยงั เปน็ วตั ถดุ บิ ส�ำหรับการแปรรูปอาหารและน�ำไปท�ำการถนอมอาหารเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้หลากหลาย เช่น ไข่เค็ม ไข่เยี่ยวม้า ไข่ผง และยังมีส่วนประกอบต่าง ๆ คือ ๑. เปลือกไข่ (Egg Shell) ๒. เย่ือหุ้มไข่ ๓. โพรงอากาศ (Air Cell) ๔. ไข่ขาว (Albumen) ใหญ่ ๕. เยื่อหุ้มไข่แดง (Vitelline Membrane) เกลือ เกลือ เป็นแร่ธาตุส่วนใหญ่ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) สารประกอบใน ระดับสูงกว่าเกลือชนิดต่าง ๆ เกลือในธรรมชาติก่อตัวเป็นแร่ผลึกรู้จักกันว่า เกลือหิน หรือแฮไลต์ เกลือพบได้ในปริมาณมหาศาลในทะเลซึ่งเป็นองค์ประกอบของแร่ท่ีส�ำคัญ ในมหาสมุทรมีแร่ธาตุ เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 29 คา่ ยจดั เต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

๓๕ กรัมต่อลิตร ความเค็ม ๓.๕% เกลือเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อชีวิตสัตว์ เกลือผลิตจากเหมืองเกลือ หรือจากการระเหยน้�ำทะเล หรือน�้ำซับที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุในบ่อตื้น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลัก ของเกลือคือโซดาไฟ และคลอรีน และใช้ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมและในการผลิต โพลีไวนิลคลอไรด์ พลาสติก เยื่อกระดาษ และผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ จากการผลิตเกลือปริมาณ สองล้านตันต่อปี มีเพียง ๖% ท่ีให้มนุษย์บริโภค ส่วนอื่น ๆ ใช้ในการปรับสภาวะของน้�ำ ก�ำจัดน�้ำแข็งบนถนน และใช้ในการเกษตร เกลือท่ีกินได้มีขายในหลายรูปแบบ เช่น เกลือสมุทร และเกลือโต๊ะปกติจะบรรจุสารป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน และอาจเสริมไอโอดีนเพื่อป้องกัน ภาวะพร่องไอโอดีนได้ การท�ำไข่เค็ม - การท�ำไข่เค็มสูตรของ นางทัศนา สาระเพ็ชร เกษตรกรท�ำไร่นาสวนผสม หมู่ท่ี ๙ ต�ำบลบางช้าง อ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีสูตรการท�ำดังน้ี ๑. ข้ันตอนการคัดไข่เป็ด ๑.๑ คัดไข่เป็ดให้มีขนาดเดียวกัน ๑.๒ คัดไข่ใบกลมๆ เมื่อผ่าออกมาไข่แดงใหญ่และอยู่ตรงกลาง ๒. ข้ันตอนการล้างไข่เป็ด ๒.๑ น�ำไข่เป็ดจากฟาร์มมาล้างน�้ำสะอาด ๒.๒ น�ำไข่เป็ดที่ล้างผ่ึงให้แห้ง ๓. ข้ันตอนการต้มน้�ำหมักไข่เค็ม /๔๐๐ ฟอง ๓.๑ น�ำใบเตยล้างน้�ำให้สะอาดแล้วหั่นฝอย ๔ กิโลกรัม ๓.๒ เกลือเมล็ด ๑๖ กิโลกรัม ๓.๓ น้�ำสะอาดใส่หม้อเบอร์ ๕๐ ๖๔ กิโลกรัม ๓.๔ ต้มให้เดือด ๓.๕ พักน้�ำเกลือทิ้งไว้ ๑ คืน ๔. ข้ันตอนการน�ำไข่เค็มลงหมักในโอ่งมังกร ขนาดบรรจุ ๔๐๐ ฟอง ๔.๑ น�ำไข่เป็ดที่ผ่ึงแห้งแล้วลงใส่โอ่งก่อน ๔.๒ น�ำน้�ำเกลือที่ต้มแล้วพักไว้ ๑ คืน เพื่อให้น้�ำเกลือเย็นสนิท เทใส่ลงไป ๔.๓ น�ำภาชนะที่มีน�้ำหนักทับไข่ให้จมลงไป ไม่ให้ไข่อยู่เหนือน้�ำเกลือ ๔.๔ ท้ิงไว้ ๑๕ วัน ความเค็มก�ำลังรับประทาน หากต้องการเค็มมากกว่าปกติ สามารถทิ้งไว้นานกว่า ๑๕ วันก็ได้ ๕. ขั้นตอนการน�ำไข่เค็มมาจ�ำหน่าย น�ำไข่เค็มที่หมักทิ้งไว้ แล้วมาต้มน�้ำเดือดนาน ๒ ชั่วโมง เพื่อให้ไข่เค็มเก็บไว้ได้นาน 30 เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ค่ายจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

- การท�ำไข่เค็มของ ม.ร.ว.หญิง เตื้อง สนิทวงศ์ มีข้ันตอนดังน้ี ๑. น�ำดินเหนียวอย่างสะอาดและละเอียด ๔ ส่วน เกลือเมล็ด ๑ ส่วน เถ้าแกลบ ๖ ส่วน นวดให้เข้ากันและใส่น�้ำพอดินนุ่มให้สะดวกในการพอก ๒. เมื่อนวดเข้ากันดีแล้วหยิบดินประมาณให้เล็กกว่าลูกไข่ราว ๓ ใน ๔ บ้ีให้แบน แล้วหยิบไข่ที่วางลงบนดินแผ่นให้หุ้มลูกไข่ และคลึงให้ดินมิดเสมอกัน แล้ววางลงในเถ้าแกลบ คลุกให้ลูกคลึงให้เรียบ ๓. วางในภาชนะอย่างใดอย่างหนึ่งส�ำหรับเก็บโดยตั้งลูกไข่ให้ทางเล็กอยู่ล่างเก็บไว้ ในตู้เย็น ๒ สัปดาห์รับประทานได้และการวางทางเล็กลงล่างน้ีจะเก็บไข่ไว้รับประทานได้ราว ๔ เดือน เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 31 คา่ ยจัดเต็มสะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

ใบกิจกรรม เรื่อง การย่นระยะเวลาดองไข่เค็ม เจ้าหนูถามจัง ชอบทานไข่เค็มมาก และมักจะน�ำไข่เค็มมาแปรรูปอาหาร หลายอย่างด้วยกัน แต่เขาเห็นว่าไข่เค็มท่ีมีขายตามตลาดมีระยะเวลา การผลิตนาน 15-28 วัน เขาจึงคิดอยากจะท�ำการย่นระยะเวลาการดอง ไข่เค็มให้ระยะเวลาสั้นลง เพื่อจะได้น�ำมารับประทาน และน�ำมาแปรรูปเป็น ขนมต่างๆ ได้เร็วข้ึน เจ้าหนูถามจังจึงขออนุญาตคุณแม่ คุณแม่อนุญาต ให้ท�ำไข่เค็มได้แต่ระยะเวลาการดองไข่เค็มต้องน้อยกว่าปกติ โดยใช้ งบประมาณ 100 บาท และต้องขายได้ก�ำไร 20 % เง่ือนไข คิดหาวิธีท�ำให้ระยะเวลาการดองไข่เค็มได้ระยะเวลาส้ันลงโดย - มีงบประมาณในการท�ำทั้งหมด ๑๐๐ บาท - สามารถเลือกท�ำได้ ๒ วิธี วิธีท่ี ๑ ใช้สก๊อตช์-ไบรต์สีเขียวขัด วิธีที่ ๒ แช่ในน้�ำส้มสายชู - ในการท�ำไข่เค็มต้องขายได้ก�ำไร ๒๐ % ท่ี วิธีการ การเปล่ียนแปลง ระยะเวลา ๑ ใช้สก๊อตช์-ไบรต์สีเขียวขัด การดองไข่เค็ม (วัน) ๒ แช่ในน�้ำส้มสายชู สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 32 เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ค่ายจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

ใบบนั ทกึ กิจกรรมรายรบั รายจ่าย กลมุ่ ท่ี.................................................... วัน เดอื น ปี รายการ รายรบั รายจา่ ย คงเหลอื (บาท) (บาท) (บาท) ใบบันทึกกิจกรรม ต้นทุนการย่นระยะเวลาการดองไข่เค็ม ต้นทุนการท�ำไข่เค็ม.............................................. บาท ท�ำไข่เค็มได้............................................................ฟอง ต้องการขายได้ก�ำไร ๒๐% จะขายไข่เค็มฟองละก่ีบาท แสดงแนวคิดในการต้ังราคาไข่เค็ม ต้องการขายให้ได้ก�ำไร ๒๐% นั่นคือ ลงทุน ๑๐๐ บาท ต้องขายให้ได้ ๑๒๐ บาท ถ้าลงทุน ……… บาท ต้องขายให้ได้ ๑๒๐ x ๑๐๐ = ………...........…… บาท จาก ………….....…….บาท ÷ ………....…………ฟอง ได้ …………....………….บาท น่ันคือ ต้องขายไข่เค็มฟองละ ……………………………….. บาท ตอบ ขายไข่เค็มในราคาฟองละ ……………………………………บาท เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 33 คา่ ยจดั เตม็ สะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

แบบทดสอบ ค�ำช้ีแจง จงเลือกค�ำตอบที่ถูกท่ีสุดเพียงข้อเดียว ๑. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นข้ันตอนของการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ ข้ันแรกคือ ก. การน�ำเสนอ ข. การวางแผนและพัฒนา ค. การระบุปัญหา ง. การทดสอบ ๒. การบรู ณาการข้ามสาขาวิชา ครตู ้องคำ� นงึ ถึงปัจจัยที่เกยี งขอ้ งกับการเรยี นร้ขู อง นักเรียน ๓ ปัจจัย ยกเว้นข้อใด ก. ปัญหาหรือค�ำถามที่นักเรียนสนใจ ข. ตัวช้ีวัดในวิชาต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ค. ความรู้เดิมของนักเรียน ง. ทักษะของนักเรียน ๓. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ก. ผู้เรียนได้ใช้เนื้อหาของสาขาวิชาต่างๆมาใช้ร่วมกัน ข. ผู้เรียนท่ีมีทักษะการคิดวิเคราะห์และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ค. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และเชื่อมโยงกันระหว่างกลุ่มสาระวิชา ง. สร้างก�ำลังคนด้านสะเต็มของประเทศไทย ๔. สะเต็มศึกษา ประกอบด้วยวิชาใดเป็นหลัก ก. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม อังกฤษ ข. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อังกฤษ คณิตศาสตร์ ค. วิทยาศาสตร์ ศิลปะ อังกฤษ คณิตศาสตร์ ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ 34 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

๕. ข้อใดไม่ใช่ทักษะหลัก ของทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ก. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ข. ทักษะการสังเกต ค. ทักษะชีวิตและการท�ำงาน ง. ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ๖. เปลือกของไข่เป็ดมีสารชนิดใด เป็นส่วนส�ำคัญ ก. CaO ข. CaCO3 ค. CaSO4 ง. Ca(HCO3)2 ๗. ชื่อวิทยาศาสตร์ของน้�ำส้มสายชูคือ ก. กรดไซยานิก ข. กรดฟอร์มิก ค. กรดแอซิติก ง. กรดเบนโซอิก ๘. ข้อใดคือชนิดของน�้ำส้มสายชู ก. น้�ำส้มสายชูหมัก ข. น�้ำส้มสายชูกลั่น ค. น้�ำส้มสายชูเทียม ง. ถูกทุกข้อ ๙. ไข่ขาวมีท้ังหมดกี่ช้ัน ก. ๒ ช้ัน ข. ๓ ช้ัน ค. ๔ ชั้น ง. ๕ ชั้น เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 35 ค่ายจัดเตม็ สะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

๑๐. ข้อใดคือปฏิกิริยา ของน�้ำส้มสายชู กับ เปลือกไข่ + H2O + CO2 ก. 2HH2HC22CCH2OO3+C33OO++O2CCH\"aaCC+OOC33a2CH\"\"O2O3 CC\"aa((HHCCCOOa(33C))22H++3CCHOO2OO2)2 ข. ค. ง. ๑๑. สาเหตุหลักของการเกิดลมคือข้อใด ก. ดาวศุกร์ ข. ดวงจันทร์ ค. ดวงอาทิตย์ ง. ดาวอังคาร ๑๒. ขอ้ ใดเปน็ ตวั รบั พลงั งานลมและเปลยี่ นใหเ้ ปน็ พลงั งานกลในการขบั เคลอ่ื นเพลา แกนหมุน(rotor) ของใบพัด ก. ห้องส่งก�ำลัง ข. ใบพัด ค. แกนคอหมุนรับทิศทางลม ง. เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ๑๓. “………” ท�ำหน้าท่ีในการเก็บพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากกังหันลม ก. Inverter ข. Battery ค. Charge Controller ง. Lightering Protection ๑๔. ข้อใดคือลักษณะของการน�ำกังหันลมมาใช้ประโยชน์ ก. เปลี่ยนพลังงานศักย์ เป็นพลังงานกล ข. เปลี่ยนพลังงานจลน์ ให้เป็นพลังงานกล ค. เปลี่ยนพลังงานจลน์ ให้เป็นพลังงานศักย์ ง. เปล่ียนพลังงานกล ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า 36 เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คา่ ยจัดเตม็ สะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

๑๕. ส่วนประกอบท่ีส�ำคัญที่สุดของระบบกังหันลม คือข้อใด ก. หอคอย ข. ใบกังหัน ค. ระบบควบคุม ง. ระบบส่งก�ำลัง ๑๖. การเคล่ือนที่ของจรวดขวดน้�ำเป็นการเคล่ือนท่ีแบบใด ก. การเคล่ือนท่ีแบบวงกลม ข. การเคล่ือนที่แบบแนวด่ิง ค. การเคล่ือนท่ีแบบโปรเจกไทล์ ง. การเคล่ือนที่ในแนวราบ ๑๗. แรงทข่ี ดั ขวางการเคลอ่ื นทข่ี องจรวดขวดนำ�้ ทที่ ำ� ใหจ้ รวดขวดนำ้� ไปไดไ้ มไ่ กลคอื ก. แรงดึงดูดอากาศ ข. แรงต้านอากาศ ค. แรงเหวี่ยงอากาศ ง. แรงผลักอากาศ ๑๘. แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา แต่มีทิศทางตรงข้ามกันเสมอ เป็นกฎการเคล่ือนที่ ของนิวตันข้อใด ก. กฎข้อท่ี ๑ ข. กฎข้อที่ ๒ ค. กฎข้อที่ ๓ ง. กฎข้อที่ ๔ ๑๙. ในการยิงจรวดขวดน้�ำ มุมท่ีสามารถยิงจรวดไปได้ไกลที่สุด คือ มุมกี่องศา ก. ๕๐ องศา ข. ๕๕ องศา ค. ๔๕ องศา ง. ๔๐ องศา เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 37 คา่ ยจัดเตม็ สะเต็มศกึ ษา “STEM EDUCATION”

๒๐. การใส่น้�ำให้กับจรวดก่อนยิงควรใส่ในปริมาณเท่าใด จึงจะท�ำให้จรวดไปได้ไกล ท่ีสุด ก. ๑ ใน ๓ ของขวด ข. ๑ ใน ๒ ของขวด ค. ๑ ใน ๔ ของขวด ง. ๑ ใน ๕ ของขวด เฉลยแบบทดสอบ ๑. ค ๒. ง ๓. ก ๔. ง ๕. ง ๖. ข ๗. ค ๘. ง ๙. ข ๑๐. ก ๑๑. ค ๑๒. ข ๑๓. ข ๑๔. ง ๑๕. ค ๑๖. ค ๑๗. ข ๑๘. ค ๑๙. ค ๒๐. ก 38 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คา่ ยจดั เต็มสะเตม็ ศึกษา “STEM EDUCATION”

บันทึกช่วยจ�ำ เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 39 ค่ายจดั เต็มสะเตม็ ศกึ ษา “STEM EDUCATION”

คณะผู้จัดท�ำ ท่ปี รึกษา ผอู้ �ำนวยการศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษา นางอรณุ ี อาร ี นครราชสมี า รองผูอ้ ำ� นวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา นายบญุ รอด แสงสว่าง นครราชสมี า ครชู �ำนาญการพิเศษ เนอ้ื หา ครู นางวรางคร์ ัตน ์ ชายทวีป ครู นางสาวสมติ านนั จันทรสระน้อย นกั วิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นางวิไลวรรณ วงชาร ี นกั วิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นายเชาว์ แบนขนุ ทด นักวิชาการวิทยาศาสตร์ศึกษา นายธนัท โบ้บสูงเนิน นักวิชาการวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา นายประเสริฐ บญุ เชิญ นักวชิ าการวิทยาศาสตร์ศึกษา นายพิศษิ ฏ์ สวุ รรณ์ดวง นกั วิชาการวิทยาศาสตร์ศกึ ษา นายเจริญชัย บอขุนทด นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา นายจักรกฤษณ ์ สางกลาง นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา นางสาวทพิ รัตน ์ ล้วนสงู เนนิ นักวชิ าการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา นางสาวพชั ชา คงทพิ ย์ นางสาวปาริชาต ิ ทิพย์รตั น ์ ผเู้ รยี บเรยี ง/รูปเล่ม ครชู ำ� นาญการพเิ ศษ นางวรางค์รัตน์ ชายทวปี ผู้พมิ พ์/ปก ครชู ำ� นาญการพิเศษ นางวรางค์รตั น ์ ชายทวปี เจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารงานทัว่ ไป วา่ ทรี่ .ต.ญ. วารุณ ี หกั ทะเล 40 เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คา่ ยจดั เตม็ สะเต็มศึกษา “STEM EDUCATION”

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษานครราชสีมา กม. 208 ถ.มิตรภาพ-หนองขาม ต.มิตรภาพ อ.สีค้ิว จ.นครราชสีมา 30140 โทร. 0-4441-6985 , 0-4441-6984 โทรสาร. 0-4441-6983 E-mail: [email protected] www.koratsci.com