Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

Published by Wisut Wichit, 2022-11-09 06:44:22

Description: รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

Search

Read the Text Version

98 3.2 ผ้วู ิจัยนำส่งลิงค์แบบสอบถามออนไลนส์ ำหรับเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ย googleform.com 3.3 ได้รับแบบสอบถามคนื จำนวน 46 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 90.19 จากนน้ั ผวู้ จิ ยั ได้ตรวจสอบความ สมบรู ณแ์ ละดำเนินการจัดกระทำข้อมลู เพ่อื นำมาวิเคราะหข์ อ้ มูลดว้ ยโปรแกรมสำเร็จรปู คำนวณทางสถติ ิ 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ในการวิเคราะห์ข้อมลู ครั้งน้ี ผ้วู ิจัยวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ คา่ เฉลี่ย และส่วนเบ่ยี งเบน มาตรฐาน และกำหนดเกณฑ์คณุ ภาพ 5 ระดบั (ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์, 2543) ไวด้ ังน้ี คะแนนเฉล่ีย 4.21 - 5.00 แปลความว่า มคี วามเหมาะสมมากท่สี ดุ คะแนนเฉล่ยี 3.41 - 4.20 แปลความวา่ มคี วามเหมาะสมมาก คะแนนเฉล่ยี 2.61 - 3.40 แปลความวา่ มีความเหมาะสมปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.81 - 2.60 แปลความว่า มีความเหมาะสมน้อย คะแนนเฉล่ยี 1.00 - 1.80 แปลความวา่ มคี วามเหมาะสมน้อยทส่ี ุด 5. สรุปผลการวจิ ัย ผลการประเมนิ โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแหง่ หนงึ่ สังกัดสำนกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร สรปุ ผลการวจิ ยั ไดด้ งั ต่อไปน้ี 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน คิดเป็นร้อยละ 86.96 ครูในโครงการฯ คิดเป็นร้อยละ 8.70 และผู้บริหารสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 4.30 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 54.3 อายุของผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 87 และวุฒิการศึกษาส่วนใหญ่ของผู้ตอบ แบบสอบถามเป็นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2. โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (���̅��� = 3.906, S.D. = 0.64) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก และเรียงจากมากไปน้อย พบว่า ด้านกระบวนการมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.953, S.D. = 0.63) ด้านปัจจัยนำเข้ามีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.951, S.D. = 0.52) ด้าน บริบทมีความเหมาะสมมาก (���̅��� = 3.927, S.D. = 0.66) และด้านผลผลิตมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.793, S.D. = 0.73) 3. ด้านบริบท พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.82, S.D. = 0.79) เมื่อ พิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ข้อที่ 3. วัตถุประสงค์ของโครงการมุ่งเน้นให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีทักษะความสามารถทางภาษาอังกฤษที่ดีขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก (���̅��� = 4.17, S.D. = 0.73) รองลงมา คือ ข้อที่ 1. วัตถุประสงค์ของโครงการสอดคล้องและสามารถ ตอบสนองความต้องการจำเปน็ ของผู้เรียนมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.82, S.D. = 0.79) และข้อท่ีมี ความเหมาะสมน้อยที่สุด คือ ข้อที่ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการสอดคล้องกับปัญหา สภาพสังคมในบริบท ปัจจุบัน และนโยบายของต้นสังกัด อันนำไปสู่ความสำคัญและจำเป็นในการดำเนินโครงการ (���̅��� = 3.78, S.D. = 0.78) 4. ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.951, S.D. = 0.52) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ข้อที่ 7. มีบริการด้านค่าเล่าเรียน เครื่องแต่ง กาย อุปกรณก์ ารเรยี น ชุดนกั เรียน การทัศนศึกษา และประกันอุบัตเิ หตุ โดยไม่คดิ คา่ ใชจ้ ่าย รวมทง้ั มีการจัดหา


99 ทุนการศึกษาให้กับนักเรียนมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (���̅��� = 4.26, S.D. = 0.77) รองลงมา คือ ข้อที่ 5. มีเอกสาร ตำราเรียน และหนังสือเสริมสร้างการเรียนรู้เปน็ ภาษาอังกฤษที่ทนั สมัย มีความหลากหลาย และ มีเหมาะสมกับวัยและการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 4.15, S.D. = 0.75) และข้อที่มีความ เหมาะสมน้อยทส่ี ุด คอื ขอ้ ท่ี 4. ได้รบั การชว่ ยเหลือ แนะนำการปฏิบัตงิ านด้านการเงินจากสถานศึกษา มคี วาม เหมาะสมในระดบั มาก (���̅��� = 3.60, S.D. = 0.80) 5. ด้านกระบวนการ พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.953, S.D. = 0.63) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ข้อที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ ข้อที่ 4. จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการท่ี หลากหลายโดยใชภ้ าษาอังกฤษเป็นสื่อกลางมคี วามเหมาะสมในระดบั มาก (���̅��� = 4.08, S.D. = 0.86) รองลงมา คือ ข้อที่ 5. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ส่งเสริมความสามารถและทักษะด้านภาษาอังกฤษ เช่น กิจกรรมการ แขง่ ขนั ทักษะภาษาอังกฤษ กิจกรรมนำเสนอคำศัพทภ์ าษาองั กฤษ เป็นตน้ มคี วามเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 4.06, S.D. = 0.85) และข้อที่มีความเหมาะสมน้อยทีส่ ุด คือ ข้อที่ 7. ผู้บริหารนเิ ทศ ติดตาม และให้คำแนะนำ ในการดำเนินงานต่าง ๆ ของโครงการ มีความเหมาะสมในระดบั มาก (���̅��� = 3.82, S.D. = 0.94) 6. ด้านผลผลิต พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 4.06, S.D. = 0.85) เม่ือ พิจารณารายข้อ พบวา่ ขอ้ ทีม่ ีความเหมาะสมมากท่สี ุด คอื ขอ้ ที่ 4. นกั เรียนสามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจำวันได้ มคี วามเหมาะสมในระดบั มาก (���̅��� = 4.06, S.D. = 0.82) รองลงมา คือ ขอ้ ที่ 3. นกั เรยี นมเี จต คติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ มีความเหมาะสมในระดับมาก (���̅��� = 3.89, S.D. = 0.76) และข้อที่มีความ เหมาะสมน้อยที่สุด คือ ข้อที่ ข้อที่ 2. นักเรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มีความเหมาะสมใน ระดับมาก (���̅��� = 3.58, S.D. = 0.93) อภปิ รายผลการวิจัย การประเมินโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยประยกุ ต์ใช้แนวคดิ CIPP Model มีประเดน็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ทนี่ ำมาอภปิ ราย ได้ดงั นี้ 1. โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครมคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก และบรรลตุ ามเกณฑ์ท่ีระบุไว้ในโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ทั้งนี้อาจเพราะ การประยุกต์ใช้แนวคิด CIPP Model เป็นการตัดสินคุณค่าอย่างเป็นระบบ เกี่ยวกับคุณประโยชน์ (worth) หรือคุณภาพ (Merit) ของสิ่งที่ได้รับการประเมิน (Stufflebeam and Shinkfield, 2007) นอกจากนี้สถานศึกษามีการระบุกลุ่มของกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะดำเนินการในระยะเวลาที่ กำหนดเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนงานที่ระบุไว้ และมีการประเมินผลตัดสินคุณค่าว่า โครงการที่ได้นำไปปฏิบัตินั้นมีความสำเร็จของงานในแง่มุมต่าง ๆ ที่คาดหวังไว้ซึ่งประกอบไปด้วย ที่มาและ ความสำคัญของโครงการ วัตถุประสงค์ แผนปฏิบัติการ งบประมาณ บุคคล งบประมาณ การนิเทศติดตาม การสอื่ สารและประชาสัมพนั ธโ์ ครงการ และวิธกี ารวัดประเมนิ ผล (ดวงกมล ไตรวิจติ รคณุ , 2560; วสิ ทุ ธิ์ วิจิตร พชั ราภรณ์, 2563) 2. จากการประเมินโครงการโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรยี นแห่งหน่ึง สังกัดสำนัก การศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านบริบท พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมากและผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ โดยที่วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการมุ่งเน้นให้นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและมที ักษะความสามารถ ทางภาษาอังกฤษที่ดีขึ้นมีระดับความเหมาะสมสูงสุด ทั้งนี้อาจเพราะ โครงการดังกล่าวมีการวิเคราะห์และ ดำเนินการให้สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายหลักที่คาดหวังว่าจะได้รับประโยชน์และมี การระบุจุดมุ่งหมายของโครงการเพื่อให้กลุ่มหมายที่สนใจเข้าร่วมโครงการดังกล่าวได้อย่างชัดเจน ในขณะท่ี


100 ประเด็นเรื่องวัตถุประสงค์ของโครงการสอดคล้องกบั ปัญหา สภาพสังคมในบริบทปัจจบุ นั และนโยบายของตน้ สังกัด อันนำไปสู่ความสำคญั และจำเป็นในการดำเนินโครงการ มีระดับความเหมาะสมอย่ใู นลำดบั สดุ ท้าย ทั้งน้ี อาจเปน็ เพราะ การเข้าใจของผ้ตู อบแบบสอบถามซึ่งสว่ นใหญ่เปน็ นักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จึงอาจจะมี ความเข้าใจในเรือ่ งสภาพสังคมในบริบทปัจจุบนั และนโยบายของต้นสังกัด (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2558; สมบัติ ธำรงธญั วงศ์, 2560) 3. โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก และผ่านเกณฑ์การ ประเมิน โดยที่การบริการด้านค่าเล่าเรียน เครื่องแต่งกาย อุปกรณ์การเรียน ชุดนักเรียน การทัศนศึกษา และ ประกันอุบัติเหตุ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย รวมทั้งมีการจัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียนมีระดับความเหมาะสม สูงสุด ทั้งนี้เพราะ นโยบายของกรุงเทพมหานครทีท่ ำหน้าที่จดั การศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครใหม้ ีมาตรฐาน และคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รวมทั้งการดำเนินการนโยบายตามโครงการเรียนฟรี เรียนดี อย่างมีคุณภาพ โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ในขณะที่ ประเด็นเรื่องได้รับการช่วยเหลือ แนะนำการ ปฏิบัติงานด้านการเงินจากสถานศึกษา มีระดับความเหมาะสมอยู่ในลำดับสุดท้าย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ การ ดำเนนิ โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) ด้านการเงนิ จากสถานศึกษาเป็นไปตามนโยบายเรียนดี เรียน ฟรี อย่างมีคุณภาพภาพโรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยหน่วยงานต้นสังกัดเป็นผู้จัดสรร งบประมาณใหส้ ถานศกึ ษา (สำนักการศึกษากรงุ เทพมหานคร, 2563) 4. โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านกระบวนการ พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก และผ่านเกณฑ์การ ประเมิน โดยที่การจัดการเรียนการสอนด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลายโดยใช้ภาษาอังกฤษเปน็ สือ่ กลางมีระดับความ เหมาะสมสูงสุด ทั้งนี้อาจเพราะ โครงการโรงเรยี นสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สำนักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร มกี ารจัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามหลักสตู รกระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นภาษาอังกฤษ ในลักษณะของ Mini English Program (MEP) ซึ่งจัดการเรียนรู้โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่ออย่างน้อย 2 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ แต่ไม่เกิน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 8-14 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นอกจากนี้แล้ว ครูผู้สอน ชาวต่างชาติที่ปฏิบัติงานในโครงการสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ต้องจบปริญญาตรีเป็นอย่างน้อย และต้องมี หลักฐานการศึกษาในสาขาวิชาที่จะสอนหรือสาขาวิชาที่เก่ียวข้อง รวมทั้งมีสอบวัดระดับความสามารถในการ ใช้ภาษาองั กฤษได้เหมือนเจ้าของภาษา ท้ังการฟัง การพูด การอา่ น และการเขียน ในการส่ือสารและได้คะแนน สอบ TOEFL ไมน่ อ้ ยกว่า 550 หรือ IELTS ไมน่ ้อยกว่า 5.5 มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเด็กและวิธีการจัดการ เรียนการสอน และอยใู่ นสัญญาการสอนให้ครบ 1 ปี โดยครผู ู้สอนชาวต่างชาติในระดบั ก่อนประถมศึกษา และ ประถมศึกษาจะต้องมีความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษได้ถูกต้องตามสำเนียงของเจ้าของภา ษา (สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2548) ในขณะที่ ประเด็นเรื่อง ผู้บริหารนิเทศ ติดตาม และให้ คำแนะนำในการดำเนนิ งานตา่ ง ๆ ของโครงการ มีระดับความเหมาะสมอยใู่ นลำดับสุดทา้ ย ท้ังนอี้ าจเปน็ เพราะ ผู้บรหิ ารอาจมงุ่ เน้นและให้ความสำคญั กบั การนเิ ทศ ตดิ ตาม และใหค้ ำแนะนำในภาพรวมของสถานศึกษา 5. โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ด้านผลผลิต พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก และผ่านเกณฑ์การประเมิน นักเรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีระดับความเหมาะสมในระดับสูงสุด ทั้งนี้อาจ เป็นเพราะว่า สถานศึกษาที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามโครงการสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ต้องบริหาร จดั การ บคุ ลากร สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ หอ้ งปฏิบัตกิ าร และสถานที่ต่าง ๆ ให้ครูและนักเรียนทุกคนได้ใช้ประโยชน์ ร่วมกันและอย่างเท่าเทียมกัน เชน่ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน กจิ กรรมของโรงเรยี นหรือกจิ กรรมชมุ ชน โดยเฉพาะ


101 กิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นไทย ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพ่ึงประสงค์ และผสมผสาน บรบิ ทของความเปน็ ไทย และความเป็นสากล เพ่ือมุ่งเน้นความรักท้องถิ่น ประเทศชาติ และความเป็นไทย และ สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มที่ดีงาม สรา้ งความมั่นใจ ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนกลา้ ใชภ้ าษาในการส่ือสาร และต้องคำนึงถึงความสามารถพ้ืนฐานในการใช้ภาษาไทยของผู้เรียน ความพร้อม ความสนใจท่ีจะเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ (สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา, 2548) ในขณะที่ ประเด็นเรื่อง นักเรียนสามารถใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มีระดับความเหมาะสมอยู่ในลำดับสุดท้าย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะนักเรียนมีความรู้ ความสามารถทางภาษาอังกฤษ แตข่ าดการนำความร้ดู ังกล่าวไปสอ่ื สารในรปู แบบต่าง ๆ ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการตอ่ ไป 1. ดา้ นบริบท พบว่า ผ้บู ริหารสถานศึกษาและผู้ทีส่ ว่ นเก่ยี วข้องในการพฒั นาและปรับปรุงหลักสูตร สูตรโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ควรประชุม ชี้แจง วิเคราะห์ วางแผนการดำเนินงานต่าง และวิพากษ์ หลกั สตู รดังกลา่ วจากผทู้ ี่มีสว่ นได้สว่ นเสยี รวมท้งั ประชาสมั พันธ์วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการสอดคล้องกับปัญหา สภาพสงั คมในบริบทปัจจบุ นั และนโยบายของตน้ สงั กัด 2. ด้านปัจจยั นำเข้า พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกดั ควรปรับปรุงการไดร้ บั การ ชว่ ยเหลอื แนะนำการปฏิบัติงานดา้ นการเงินจากสถานศกึ ษา 3. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษาธิการเขต ศึกษานิเทศก์ และหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้ ควรนิเทศ ติดตาม และให้คำแนะนำในการดำเนินงานต่าง ๆ ของโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) และควรใช้สื่อสารภาษาอังกฤษในการให้คำแนะนำการดำเนินงานต่าง ๆ ของโครงการอย่าง ใกลช้ ดิ และตอ่ เน่ือง 4. ด้านผลผลิต พบวา่ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา และหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ควรเพิม่ เตมิ กิจกรรมที่ สง่ เสริมให้นักเรยี นสามารถใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ท้งั ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน 2. ขอ้ เสนอแนะในการทำวิจัยครัง้ ตอ่ ไป 1. ควรทำการประเมินเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เช่น เอกสารการขออนุมัติโครงการและ กิจกรรมฯ แผนการใช้งบประมาณในโครงการ รายงานการนิเทศโครงการฯ รวมทั้งรายงานผลการดำเนินการ ตา่ ง ๆ 2. ควรใชว้ ธิ ีการเกบ็ รวมรวบขอ้ มลู ใหห้ ลากหลาย เช่น การสัมภาษณ์ การสังเกต 3. ควรมีการประเมินตามระยะการประเมนิ ของแนวคิด CIPP 4. ควรมีการศึกษาวิจัยในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การประเมินความต้องการจำเป็นของ นักเรยี นโรงเรยี นแห่งหนง่ึ ที่มีต่อโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) และการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการ นเิ ทศโครงการโครงการโรงเรยี นสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) เป็นต้น บทสรุป การประเมินโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยประยุกต์ใช้แนวคิด CIPP Model มีจุดประสงค์เพื่อประเมิน ในด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ดา้ นกระบวนการ และดา้ นผลผลิต ประชากรในการวิจัยครั้งน้ี จำนวน 51 คน ประกอบดว้ ย ผู้บริหาร 2 คน ครูในโครงการฯ 4 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 45 คน โดยได้รับแบบสอบถามคืน จำนวน 46 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 90.19 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ และ


102 วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชค้ ่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย (���̅���) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ในภาพรวมมีความเหมาะสม ในระดับมาก และเมอื่ พจิ ารณารายด้านท้ังดา้ นบริบท ดา้ นปัจจยั นำเข้า ดา้ นกระบวนการ และด้านผลผลิตแล้ว พบวา่ ทกุ ด้านมีความเหมาะสมในระดบั มาก องค์ความรใู้ หม่ การประเมินโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยประยุกต์ใช้แนวคิด CIPP Model ในภาพรวมและรายด้านทุกด้าน ประกอบด้วยด้าน บริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตมีความเหมาะสมในระดับมาก ทั้งนี้พบว่า ด้าน บริบท มีการวิเคราะห์และดำเนินการให้สอดคล้อง สอดคล้อง และเป็นไปได้ตามความต้องการจำเป็นของ กลุ่มเป้าหมายหลักที่คาดหวังว่าจะได้รับประโยชน์ ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า โครงการสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) จัดบริการศึกษาตามนโยบายของกรุงเทพมหานครให้มีมาตรฐานและคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ด้าน กระบวนการ พบว่า มีการจัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็น ภาษาอังกฤษ ในลักษณะของ Mini English Program (MEP) ซ่ึงจดั การเรียนร้โู ดยใช้ภาษาองั กฤษเปน็ สื่อกลาง จำนวน 5 วิชา และมคี รูชาวต่างชาตทิ ่ีมีคุณภาพ และด้านผลผลิต พบวา่ เม่อื นกั เรยี นเข้าร่วมโครงการดังกล่าว แล้ว นกั เรยี นสามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ จึงนบั วา่ โครงการสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) มี ผลการประเมินโครงการในทิศทางบวกและสามารถจัดการเรียนการสอนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของโครงการได้เป็นอย่างดี เอกสารอา้ งองิ ชชั วาลย์ เรืองประพนั ธ์. (2543). สถิติพืน้ ฐานพรอ้ มตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ ดว้ ยโปรแกรม MinitabSPSS และ SAS. ขอนแก่น: มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. ดวงกมล ไตรวิจติ รคุณ. (2560). หลกั การประเมินโครงการ (เอกสารอัดสำเนา). กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั วสิ ุทธ์ิ วจิ ิตรพชั ราภรณ.์ (2563). การนำนโยบายสู่การปฏบิ ัติ. พิมพ์คร้ังที่ 3. กรงุ เทพ ฯ : เอ็น วาย ฟิลม์. ศิรชิ ยั กาญจนวาส.ี (2558). โมเดล CIPP ทีเ่ ปลย่ี นไป: ความหมาย ความสำคัญ และพัฒนาการ. สาร สมาคมวจิ ัยสังคมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย. ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2558): 3-10. สมบตั ิ ธำรงธญั วงศ.์ (2560). นโยบายสาธารณะ : แนวความคดิ การวิเคราะห์และกระบวนการ. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพเ์ สมาธรรม สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (2548). แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนในโครงการจดั การเรยี นการ สอนตามหลักสตู รกระทรวงศึกษาธิการเปน็ ภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน.


103 สำนักยุทธศาสตรก์ ารศึกษา. (2563). แผนปฏบิ ัติราชการประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั การศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: วันไฟน์เดย์. หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์. (2563). ข้อมูลโรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นสองภาษา. กรงุ เทพฯ : สำนกั การศึกษา. Stufflebeam and Shinkfield. (2007). Evaluation Theory, Models and Applications. John Wiley and Son, Ine.


ชอ่ื -สกลุ 104 วัน เดือน ปเี กดิ ภูมลิ ำเนา ประวตั ิผู้วิจัย สถานทอี่ ยู่ปจั จุบนั นายปยิ ะณฐั จรงิ จติ ร ตำแหนง่ หนา้ ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 สถานที่ทำงานปจั จุบนั อำเภอเมือง จงั หวัดตรัง ประวัตกิ ารศึกษา บา้ นเลขที่ 885/559 คอนโดเดอะรเี จนท์บางซ่อน เฟส 28 พ.ศ. 2551 ซอยกรุงเทพ-นนทบุรี 23/1 ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี แขวงบางซือ่ เขตบางซ่ือ พ.ศ. 2558 กรุงเทพ 10800 ข้าราชการครู พ.ศ. 2560 โรงเรียนก่งิ เพชร สำนกั งานเขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนบรู ณะรำลกึ จังหวดั ตรัง ครศุ าสตรบณั ฑิต (เกียรตนิ ิยมอันดับ 1) สาขามธั ยมศึกษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศการศกึ ษาและพัฒนาหลกั สตู ร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


105


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook