Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

Published by Wisut Wichit, 2022-11-09 06:44:22

Description: รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

Search

Read the Text Version

48 อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคม จึงนำมาซึ่งความไว้วางใจจากผู้ปกครองและสังคม ได้รับการยอม รับ จากชมุ ชน ข้อเสนอแนะการวจิ ยั 1. ขอ้ เสนอแนะจากผลการศึกษาวจิ ยั 1.1 ดา้ นปจั จัยนำเข้า 1.1.1 สถานศึกษาควรจัดสรรอาคารสถานที่ ห้องเรียนและพิเศษต่าง ๆ เช่น ห้องศูนย์การ เรียนรู้ ให้เพยี งพอต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ั้งในและนอกห้องเรยี น 1.1.2 สถานศึกษาควรเพิ่มพื้นที่แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของ นักเรยี น 1.1.3 ผู้บริหารควรส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทำสื่อการเรียนการสอนให้เพียงพอ ทนั สมยั และเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1.1.4 สถานศึกษาควรประสานชมุ ชม สรา้ งเครือข่ายขอความร่วมมอื ในดา้ นการวางแผนการ จัดการศึกษาโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม และส่งเสริมให้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้เป็นภูมิปัญญาเพื่อสร้าง ประสบการณก์ ารเรียนรูใ้ ห้กับนักเรยี น 1.1.5 สถานศึกษาควรทบทวนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมกับวัย และเอื้อต่อ การเรยี นรู้ของนักเรียน 1.1.6 สถานศกึ ษาควรทบทวนและพฒั นาหลกั สตู รใหม้ คี วามสอดคล้องกับความตอ้ งการของ ชมุ ชนและการเปลยี่ นแปลงของสภาพเศรษฐกิจ สงั คมปจั จบุ ัน 1.2 ด้านกระบวนการ 1.2.1 สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษา 1.2.2 สถานศกึ ษาควรสรา้ งความตระหนักให้แกบ่ คุ ลากรและจัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ในการพฒั นาหลักสตู รใหแ้ กบ่ คุ ลากรในโรงเรียน 1.2.3 สถานศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาวิชาชีพครู โดยเชิญวิทยากร ภายนอกมาให้ความรแู้ กค่ รูและบคุ ลากร 1.2.4 สถานศึกษาควรรวบรวมข้อมูลและปัญหาที่พบจากการดำเนินการใช้หลักสูตรมา ปรับปรุงหลกั สูตรอย่างสม่ำเสมอ 1.2.5 สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมพฒั นานักเรยี น โดยใหน้ กั เรยี นเลอื กเรียนตาม ความสนใจและความถนัด ด้วยรูปแบบและเทคนิคที่หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญใหน้ กั เรียนไดพ้ บปญั หา และร้จู กั แกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง 1.2.6 สถานศึกษาควรส่งเสรมิ ให้ใชก้ ารวิจยั เปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ 1.2.7 สถานศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ วิธิการที่หลากหลาย และมีเกณฑ์การวัดผลและประเมินผลที่สอดคล้องกับแนวการ วดั ผลและการประเมนิ ผลตามหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) 1.2.8 สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน และกำกับติดตามให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยฝึกให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่ดี และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามความมุ่งหมายของหลักสูตร สถานศึกษา

49 1.3 ดา้ นผลผลิต 1.3.1 สถานศึกษาควรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ มีทักษะในการสื่อสารสมวัย สามารถ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างถกู ต้องและเหมาะสม อีกท้ังมีทกั ษะการดำเนินชีวิต สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นในสังคม 1.3.2 สถานศึกษาควรปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการอดออม มีความพอประมาณ มีความ รบั ผดิ ชอบ เสียสละ มรี ะเบียบวินยั มจี ิตสาธารณะ มุ่งทำประโยชนเ์ พ่ือผอู้ ื่น และสงั คม รวมถงึ สร้างจติ สำนึกใน การดแู ลรกั ษาสิ่งแวดล้อม ใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยู่อยา่ งคุ้มค่า 1.3.3 สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมทักษะภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และการอ่านออกเขียนได้ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียนทั้งในและนอก ห้องเรียน 2. ข้อเสนอแนะสำหรบั งานวิจยั ครงั้ ต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยประเมินหลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบการประเมินอื่น ๆ ที่หลากหลาย ครบถว้ น เหมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา 2.2 ควรมีการศึกษาวิจัยการประเมินหลักสูตรระหว่างการใช้หลักสูตร เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาปรับปรงุ หลกั สูตรให้มคี ณุ ภาพ องค์ความรใู้ หม่ สังคมปัจจุบันมีความผันผวนเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จากผลกระทบของความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเป็น กระบวนการสำคญั ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและประมวลผลข้อมูล เพ่อื ให้ผู้มีสว่ นเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา นำข้อมูลมาใช้ตัดสินใจ เพื่อปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความทันสมัยต่อสภาพเศรษฐกิจสังคม สอดคล้องกบั ความต้องการของคนในชมุ ชน และประเทศชาติ สามารถพัฒนาผลผลิตของการจัดการศึกษาให้มี ความพร้อมในการเผชญิ กบั การเปล่ยี นแปลงที่จะเกดิ ขึ้นในอนาคต เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2545). หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ ครุ ุสภา ลาดพร้าว. จารุวัลฐ์ สุทธสิ านนท.์ (2553). ปจั จยั เชงิ สาเหตุท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียน สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเลย เขต 1. วทิ ยานพิ นธค์ รุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการบริหาร การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย. จันทร์จิรา บรุ มี าศ และ อดุล นาคะโร. (2556). ปัจจยั ท่สี ง่ ผลต่อการบรหิ ารหลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรียน ประถมศกึ ษาสังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพังงา. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต, 9(1), 114-132.

50 ปรญิ ญา วงศ์สุขสิน. (2547). ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อกระบวนการบริหารหลกั สตู รสถานศกึ ษาของโรงเรยี นเครือข่าย การใชห้ ลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2544 ในจงั หวดั นครราชสมี า. วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา. พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (ออนไลน)์ (อ้างเมอ่ื 12 พฤษภาคม 2564). จาก http://www.bic.moe.go.th/images/stories/5Porobor._2542pdf.pdf สมบูรณ์ ชิตพงศ.์ (2522). รูปแบบการวิจยั เพื่อประเมินหลักสตู ร. วารสารการวดั ผลการศึกษา, 1(1), 28-42. สุนยี ์ ภพู่ นั ธ์. (2546). แนวคิดพ้นื ฐานการสร้างและพฒั นาหลักสตู ร. เชยี งใหม่ : เดอะโนวเ์ ลจเซ็นเตอร์. สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (ออนไลน)์ (อ้างเม่อื 30 เมษายน 2564). จากhttp://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id =75 อฉั รา จนิ ดาพงษ,์ 2547. กระบวนการนเิ ทศท่สี ง่ ผลต่อการจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรียนนำรอ่ งและ โรงเรยี นเครอื ขา่ ยการใชห้ ลักสูตรข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขตตรวจราชการที่ 4. วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตร์มหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.

ชอ่ื -สกุล 51 วัน เดือน ปเี กิด ภูมิลำเนา ประวัติผู้วิจยั สถานท่ีอยปู่ ัจจบุ ัน นางพรรณนารี ภริ มย์ไกรภักด์ิ ตำแหนง่ หน้าที่ 21 มถิ ุนายน พ.ศ. 2526 สถานที่ทำงานปจั จุบนั อำเภอชัยบาดาล จังหวดั ลพบุรี บา้ นเลขที่ 344/1 หมู่ 5 ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จงั หวดั ลพบุรี ประวตั ิการศึกษา 15130 พ.ศ. 2544 รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ โรงเรียนสามัคควี ิทยา จังหวัดลพบรุ ี พ.ศ. 2548 โรงเรยี นสามัคคีวทิ ยา หมู่ 5 ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล พ.ศ. 2552 จังหวัดลพบุรี 15130 พ.ศ. 2560 มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย นนทบุรี วิทยาศาสตรบณั ฑิต (เทคนิคการแพทย)์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชวิทยา) มหาวิทยาลัยมหดิ ล ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต (เภสัชวทิ ยา) มหาวทิ ยาลัยมหิดล

52 การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นโรงเรียนวดั สำโรง (หิรญั ราษฎร์ภกั ดวี ทิ ยา) สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1 The EVALUATION OF THE ASSISTANCE AND THE STUDENT CARE SYSTEM RROJECT IN WATSAMRONG SCHOOL UNDER NONTHABURI PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1 สวุ ิตรา บญุ แจง้ 1* วสิ ุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์2 อจั ฉรา นยิ มาภา3 Suwittra Bunjaeng1 Wisut Wichitputchraporn 2 Achara Niyamabha3 1นสิ ิตหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education Program in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 0909687897 2อาจารย์ประจำหลักสตู รศึกษาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0636539651 3อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0984532945 บทคัดยอ่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนวัดสำโรง(หิรัญ ราษฏรภ์ ักดีวทิ ยา) สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรเี ขต 1 โดยใชร้ ปู แบบการประเมินซี โป คือ ปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการ กระบวนการดำเนินโครงกร และผลผลิตของโครงการ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ 29 คน คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน หัวหน้า งาน 4 ฝ่าย 4 คน และครู 24 คน ผู้ปกครองจำนวน 119 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามโครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น โดยใช้สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู คือ ค่าเฉล่ีย และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การประเมินปจั จัยพ้ืนฐานด้านสภาวะแวดลอ้ มของโครงการ โดยรวม พบว่า ลักษณะของโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีความต้องการจำเป็นของโครงการ ความเป็นไปได้ ของโครงการ และวัตถุประสงค์ของโครงการอยู่ในระดับที่เหมาะสมมากที่สุด ในส่วนของความพร้อมและ ทรพั ยากรนัน้ อยใู่ นระดับมาก 2. การประเมนิ กระบวนการดำเนนิ โครงการ โดยรวมพบวา่ การดำเนนิ งานในดา้ น นี้อยู่ในระดับมาก โดยที่ครูผู้รับผิดชอบมีการส่งเสริมกิจกรรมทั้งการทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การ คัดกรองนักเรียน การส่งเสริมนักเรียนทั้งกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง มีการป้องกันและแก้ไขปัญหา และส่งต่อ นกั เรยี น 3. การประเมนิ ผลผลิตของโครงการ โดยภาพรวมพบวา่ การดำเนนิ งานดา้ นผลผลิตอย่ใู นระดับมาก ซงึ่ คุณลักษณะของนักเรียนที่เกิดขึน้ จากการดำเนินโครงการสามารถบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ จากผลการประเมินในแต่ละด้านทำให้สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมได้ว่าการดำเนินงาน โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นนีไ้ ดผ้ ลในระดบั มาก และโครงการมีประโยชน์สำหรับนกั เรียน ซง่ึ โรงเรยี น ควรที่จะดำเนินโครงการนี้ต่อไป และควรมีการส่งเสริมด้านความพร้อมทรัพยากร การปรับปรุงพัฒนา กระบวนการดำเนินงานให้เป็นรูปธรรม การกำกับ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนิน โครงการมปี ระสทิ ธผลและประสิทธภาพมากยิง่ ข้ึนต่อไป คำสำคัญ: การประเมนิ โครงการ; ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน

53 ABSTRACT This research aims to evaluate the assistance and the student care system project in Watsamrong School under Nonthaburi primary education service area office. The CPO’s Evaluation Model which is basic factors of environment of project, procedure of project and productivity of project is used in this research. The samples of this research consisted of responsible people in the project 29 persons including of School Director 1 person, manager of each department 4 persons, teacher 24 persons and guardians 119 persons. The tools were questionnaires of the assistance and the student care system project by using statistics to analyze data, mean and standard deviation. The finding of research found that 1) the evaluation of basic factors of environment of project found that the quality of the assistance and the student care system project had necessary requirement of the project. The possibility and objective of project were at the most suitable level. The readiness and resources were at very suitable level. 2) The evaluation of procedure of project found that the procedure of project was at very suitable level. The responsible teachers supported activities and got to know each individual student. 3. The evaluation of productivity of project found that it was at very suitable level. The characteristics of students formed from the project was able to meet the objective of the project. From the evaluation of each aspect, it was able to summarize the result of overall evaluation that the process of the assistance and the student care system project was at very good level and the project was useful for the students. The school should continue proceeding this project and should support the readiness of resources, improvement of working process to be solid plan and should check, follow up and evaluate continuously in order for the proceeding project more effectively. Keywords: Evaluation of project; the student care system

54 บทนำ เด็กและเยาวชนถือเป็นทรัพยากรมนุษย์ทีม่ ีความสำคญั ของชาติ ซึ่งเด็กทุกคนนั้นสมควรและจำเป็นท่ี จะต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดูอย่างถูกต้องและเหมาะสม ให้เด็กและเยาวชนนั้นมีความมั่นคงในคุณความดี เปี่ยมไปด้วยความประพฤติที่เรียบร้อย สุจริต เปี่ยมไปด้วยสติปัญญาอันชาญฉลาด ดังตอนหนึ่งในพระบรม ราโชวาท พระราชทานเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ.2526 ความว่า “...เด็ก ๆ ต้องฝึกหัดอบรมทั้งกายทั้งใจให้ เข้มแข็งเป็นระเบียบและสจุ ริตเพือ่ ประโยชน์ของตนภายหน้า เพราะคนที่ไม่มีความเข้มแขง็ ไม่สามารถควบคุม กาย ใจ ให้อยู่ในระเบียบและความดี ยากนักที่จะประสบความสำเร็จและความเจริญอย่างแท้จริงในชีวิต... ” (อารยา สิงห์สวัสดิ์, 2552) นอกจากนี้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติมาตรา ต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเด็กและเยาวชน เชน่ มาตรา 52 ความว่า เด็กและเยาวชน มี สิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดล้อม ที่ เหมาะสม โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็ก และเยาวชนเป็นสำคัญ เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคล ใน ครอบครวั มีสิทธิไดร้ บั ความค้มุ ครองจากรฐั ให้ปราศจากการใช้ความรุนแรงและการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม ทั้ง มีสิทธิได้รับการบำบัดฟื้นฟูในกรณีที่มีเหตุดังกล่าว และมาตรา 80 บัญญัติไว้ว่า รัฐต้อง ดำเนินการตาม แนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม อาทิ (1) คุ้มครอง และพัฒนาเด็กและ เยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาค ของหญิงและชาย เสรมิ สรา้ งและพัฒนาความเปน็ ปกึ แผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน และ (6) สง่ เสริมและสนับสนุนความรู้ รักสามัคคีและการเรียนรู้ ปลูกจิตสำนึก และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนคา่ นยิ มอนั ดีงามและภูมิปญั ญา (สำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา, 2551) ในการพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถีที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวังโดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุนดา้ นความรู้แกน่ ักเรยี นแล้ว การป้องกัน การช่วยเหลือแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับนักเรยี นกเ็ ป็น สิ่งที่สำคัญของการพัฒนา (กรมสุขภาพจิต, 2544) ทั้งนี้ในกระบวนการเรียนนั้นต้องคำนึงถึงความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คล การฝึกใหผ้ ู้เรยี นสามารถประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้ผู้เรียนรู้จักคิดเป็น ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา รวมถึงมีการประสานความร่วมมอื กับบดิ า มารดา ผูป้ กครองและบุคคลทุกฝา่ ยในชมุ ชน เพอื่ ร่วมกนั พฒั นาผ้เู รียนตามศกั ยภาพ (กรมสามัญศึกษา , 2544) กระทรวงศึกษาธิการได้เห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องสนองตอบเจตนารมณ์ของการจัดการศึกษาและ หาทางแก้ปัญหาดังกล่าว จึงได้ประสานความร่วมมือกับกรมสามัญศึกษา กรมวิชาการและกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จัดทำระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้กระบวนการทำงานเป็นระบบมีความ ชัดเจน มีการประสานความร่วมมือทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งวิธีการกิจกรรม เครื่องมือ เพ่ือให้การดูแล ช่วยเหลือนักเรียนประสบความสำเร็จ โดยมีแนวคิดหลักในการดำเนินงาน 2 ประการ คือ ประการแรกมนุษย์ ทุกคนมีศักยภาพที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิตเพียงแต่ใช้เวลาและวธิ ีการที่แตกต่างกัน เนื่องจาก แต่ละคนมีความเป็นปัจเจกบุคคลดังนั้นการยึดนักเรียนเป็นสำคัญในการพัฒนา เพื่อดูแลด้านการป้องกัน การ แก้ไขปัญหา หรอื การสง่ เสริมจึงเปน็ สิ่งจำเป็น และประการทสี่ องความสำเรจ็ ของงาน ต้องอาศัยการมีส่วนร่วม ทั้งการร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมทำงานของทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรโรงเรียนในทุกระดับ ผู้ปกครองหรือชุมชน (สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร, 2547) ต่อมาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ได้กำหนดนโยบายให้สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัด ดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมี ประสทิ ธิภาพ (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน, 2547) หลงั จากนน้ั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

55 ประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 ได้รับนโยบายมาขยายผลในสถานศึกษา โดยมีผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 เป็นผู้รับผิดชอบเพื่อมอบหมายให้ผู้บริหารโรงเรียนไปดำเนินระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของแต่ละโรงเรยี นตอ่ ไป ในส่วนของโรงเรียนวัดสำโรง (หิรัญราษฎร์ภักดีวิทยา) ได้เริ่มดำเนินโครงการระบบช่วยเหลือดูแล นักเรียน โดยมีการดำเนินการให้ครูที่ปรึกษาได้ดำเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในด้านการส่งเสริม การ ป้องกันปัญหา และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านความสามารถในการเรียนรู้ ด้าน สุขภาพร่างกาย ด้านสุขภาพจิต และด้านครอบครัวโดยยึดหลักการดำเนินการตามแนวทางของกรมสามัญ ศึกษาที่กำหนดไว้ 5 องค์ประกอบ นั่นคือ การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การส่งเสริม นกั เรยี น การปอ้ งกันและแก้ไข และการสง่ ต่อนักเรียนอย่างต่อเนื่อง แต่ดว้ ยความความไมช่ ัดเจนในการดำเนิน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขาดความเข้าใจที่ตรงกันในการดำเนินโครงการ อีกทั้งยังขาดการ วางแผนในการดำเนินงานที่ดี ขาดการกำกับติดตาม และการเมินผลโครงการที่ดี ทำให้โครงการระบบดูแล ชว่ ยเหลือนกั เรียนยงั ไม่บรรลุเป้าหมายทตี่ ้ังไว้ หากแตม่ กี ารวางแผนท่ดี ี มกี ารดำเนินการทดี่ ี การกำกับ ติดตาม และการประเมินผลที่ดี ย่อมจะทำให้โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนประสบความเรจ็ ตามเป้าหมายที่ตั้ง ไว้ ด้วยเหตุนี้ผูว้ ิจัยจงึ ได้ทำการประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการนำแบบจำลองการ ประเมินของเยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี (2542 อ้างใน อาสณี นิสาแล๊ะ, 2555) ที่เรียกว่า แบบจำลองการ ประเมินซีโป (CPO’s Evaluation Model) มาเป็นรูปแบบการประเมินโครงการ โดยประเมิน 3 ด้าน คือ ปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อม (Context) การบวนการดำเนินโครงการ (Process) และผลผลิต (Outcome) ซึ่งผลการประเมินจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้เกี่ยวข้องในการปรับปรุง พัฒนาโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนวัดสำโรง(หิรัญราษฎร์ภกั ดีวิทยา) สังกัดสำนักงานเขต พนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบุรเี ขต 1 ต่อไป วตั ถุประสงค์การวจิ ัย 1. เพื่อประเมินปจั จยั พื้นฐานด้านสภาพแวดล้อมของโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นโรงเรียน วัดสำโรง (หิรัญราษฎร์ภักดวี ทิ ยา) สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ีเขต 1 2. เพอื่ ประเมินกระบวนการดำเนินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนโรงเรยี นวัดสำโรง (หริ ญั ราษฎร์ภักดีวิทยา) สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรเี ขต 1 3. เพ่อื ประเมินผลผลิตของโครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นโรงเรียนวดั สำโรง (หิรัญราษฎรภ์ กั ดี วิทยา) สงั กัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรเี ขต 1 ระเบยี บวิธีวจิ ัย 1. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา การวิจัยครง้ั นม้ี ุ่งศึกษาการประเมนิ โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น โรงเรียนวดั สำโรง (หิรัญราษฎร์ภักดวี ิทยา) สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 โดย การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ การประเมินปัจจัยพื้นฐานด้าน สภาวะแวดล้อม การประเมินกระบวนการ และการประเมนิ ผลผลิต

56 2. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2.1 ประชากร ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ครัง้ น้ี คอื ผูบ้ ริหาร ครู และผู้ปกครองในโรงเรยี นวดั สำโรง (หริ ัญ ราษฎรภ์ ักดีวทิ ยา) สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ เี ขต 1 2.2 กล่มุ ตวั อยา่ ง ทใี่ ชใ้ นงานวิจยั ครัง้ นี้คอื ผบู้ ริหาร ครู และผูป้ กครองในโรงเรยี นวดั สำโรง (หิรญั ราษฎร์ภักดีวิทยา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 โดยผู้วิจัยได้กำหนดกลุ่ม ตัวอย่างโดยเทยี บตารางของ krejcie and morgan จงึ ได้กล่มุ ตวั อยา่ ง จำนวน 162 คน 3. กรอบแนวคดิ การวิจยั การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาการประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนวัดสำโรง (หิรัญราษฎร์ภักดีวิทยา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 ตามแนวคิดรูปแบบ ประเมนิ ซีโป (CPO’s Evaluation Model) โดยมกี รอบแนวคิดในการวจิ ยั ดงั น้ี โครงการระบบช่วยเหลือนักเรยี นใน การประเมิน - ความต้องการจำเปน็ ของโครงการ โรงเรยี นวัดสำโรง (หิรัญราษฎรภ์ กั ดี ปัจจัยพื้นฐานดา้ น - ความเปน็ ไปได้ของโครงการ สภาวะแวดล้อม - วตั ถุประสงค์ของโครงการ วทิ ยา)สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่ - ความพร้อมและทรัพยากร การศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรีเขต (Context) 1 จงั หวดั นนทบุรี การประเมนิ - กจิ กรรมรู้จกั นกั เรยี นเป็นรายบุคคล 1. เตรียมการและวางแผนการ กระบวนการ - กจิ กรรมคดั กรองนกั เรยี น (Process) - กิจกรรมสง่ เสริมนักเรยี น ดำเนนิ งาน - กจิ กรรมปอ้ งกนั และชว่ ยเหลอื นกั เรียน 2. ปฏิบตั ติ ามแผน - กจิ กรรมสง่ ตอ่ นกั เรยี น 2.1 นกั เรยี นเป็นรายบคุ คล การประเมนิ คณุ ลักษณะของนักเรียน 2.2 คดั กรองนักเรียนและ ผลผลติ สรปุ ผล (Outcome) 3. ประเมนิ ทบทวนครั้งท่ี 1 3.1 ให้คำปรึกษา ใหค้ วาม ชว่ ยเหลือหรอื สง่ ตอ่ นักเรียน 3.2 ส่งเสริมพัฒนา 3.3 ประชมุ ผปู้ กครองชน้ั เรยี น 4. ประเมินทบทวนครั้งที่ 2 5. สรปุ ผลการดำเนินงานตลอดปี การศึกษาและรายงานผล 5.1 รายงานผลการดูแล ช่วยเหลอื นกั เรียนกลุ่ม เสย่ี งและกลุม่ มีปัญหา 5.2 สรปุ ผลการปฏบิ ัติ ประจำปี 4. วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย การวจิ ัยครง้ั น้เี ปน็ การวจิ ัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ซึ่งการวจิ ัยไดด้ ำเนินการตามข้ันตอน ซ่ึงได้ ศกึ ษาและสงั เคราะหง์ านวจิ ัยที่เกี่ยวข้องและเอกสาร หลกั การแนวคิด ทฤษฎที ่ีเก่ยี วข้องกับการโครงการระบบ ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นและกำหนดระเบยี บวิธีและกระบวนการวิจัยโดยสร้างเครอื่ งมอื แบ่งออกแบ่ง 3 สว่ น คือ

57 สว่ นที่ 1 แบบสอบถามการประเมนิ ปจั จัยดา้ นสภาวะแวดล้อม (Context) ซง่ึ ประกอบด้วยกนั 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การประเมินปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม (Context) ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามการประเมินปัจจัยด้านกระบวนการ (Process) ซึ่งประกอบด้วยกัน 3 ตอน ตอนท่ี 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การประเมนิ ปจั จัยดา้ นกระบวนการ (Process) ตอนที่3 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ สว่ นที่ 3 แบบสอบถามการประเมนิ ปัจจัยด้านผลผลติ (Outcome) ซงึ่ ประกอบดว้ ยกนั 3 ตอน ตอนท่ี 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม การประเมนิ ปัจจัยดา้ นผลผลติ (Outcome) ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 5. การหาคุณภาพเครอ่ื งมอื 5.1 นำแบบสอบถามเกี่ยวกับการประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเสนออาจารย์ที่ ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับนิยามศัพท์เฉพาะ นำค่าคะแนนในแต่ละข้อมาหาค่าดัชนีความ สอดคลอ้ ง (Item objective Congruency : IOC) รายขอ้ อยรู่ ะหว่าง 0.67 – 1.00 5.2 นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ในโรงเรียนอื่นที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน และนำมา วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบราค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ไดค้ ่าความเช่อื มัน่ 0.979 5.3 จดั เกบ็ ข้อมลู โดยสง่ แบบสอบถามไปยงั กลมุ่ ตวั อย่าง จำนวนทั้งสนิ 162 คน 5.4 รวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับคืนทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 91.36 ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์ ของการตอบแบบสอบถาม จากน้ันนำข้อมลู ไปใช้ในการวเิ คราะห์ตอ่ ไป 6. การวเิ คราะห์ข้อมูล 6.1 วเิ คราะหข์ ้อมูลสถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยหาคา่ รอ้ ยละ 6.2 วเิ คราะหข์ ้อมลู การประเมินปจั จยั ด้านสภาวะแวดล้อม (Context) โดยการหาคา่ เฉล่ีย (���̅���) และ คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) เป็นรายขอ้ และโดยภาพรวม 6.3 วิเคราะหข์ อ้ มลู การประเมนิ ปัจจัยดา้ นกระบวนการ (Process) โดยการหาค่าเฉลีย่ (���̅���) และค่า เบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) เป็นรายขอ้ และโดยภาพรวม 6.4 วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินปัจจัยด้านผลผลิต (Outcome) โดยการหาค่าเฉลี่ย (���̅���) และค่า เบยี่ งเบนมาตรฐาน (SD) เป็นรายขอ้ และโดยภาพรวม ผลการวจิ ัย การวเิ คราะห์การประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรยี นวัดสำโรง (หริ ัญราษฎร์ภักดี วิทยา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรเี ขต 1 โดยผลการประเมินโครงการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ การประเมินปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อม (Context) การ ประเมินกระบวนการ (Process) และการประเมินผลผลิต (Outcome) โดยผู้วิจัยนำผลการวิเคราะห์ข้อมูล แสดงในหัวขอ้ และตารางต่อไปน้ี การวิเคราะห์ข้อมูลในด้านของการประเมินปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม (Context) ของผู้บริหารและ หัวหน้างาน 4 ฝ่าย ประกอบด้วยหัวหน้างานวิชาการ หัวหน้างานงบประมาณ หัวหน้างานบุคคล และหัวหน้า งานบรหิ ารท่ัวไป ผู้วิจัยนำผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงในหัวขอ้ และตารางตอ่ ไปนี้

58 ตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการประเมนิ โครงการระบบชว่ ยเหลือดแู ลนกั เรยี นปัจจยั ดา้ นสภาวะ แวดลอ้ ม (Context) ปจั จัยพื้นฐานดา้ นสภาพแวดลอ้ มของโครงการ ���̅��� ระดบั ความคิดเห็น อนั ดบั (Context) S.D ระดับ 4.70 1 ความตอ้ งการจำเป็นของโครงการ 4.60 0.51 มากทสี่ ดุ 2 ความเป็นไปไดข้ องโครงการ 4.50 0.55 มากทสี่ ดุ 3 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 3.85 0.72 มากที่สุด 4 ความพร้อมและทรัพยากร 0.64 มาก 4.41 0.61 มาก รวม จากตารางที่ 1 พบวา่ การประเมินโครงการระบบชว่ ยเหลือดูแลนักเรยี นปจั จัยด้านสภาวะแวดล้อม (Context) ในทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (���̅��� = 4.41 , SD = 0.61) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความต้องการจำเป็นของโครงการ (���̅��� = 4.70 , SD = 0.51) รองลงมา คือ ความเป็นไปได้ของโครงการ (���̅��� = 4.60 , SD = 0.55) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความพร้อมและ ทรัพยากร (���̅��� = 3.85 , SD = 0.64) การวิเคราะห์ข้อมูลในด้านของการประเมินปัจจัยด้านกระบวนการ (Process) และด้านผลผลิต (Outcome) ของครูในโครงการโครงการระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ผู้วิจยั นำผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลแสดงในหวั ขอ้ และตารางต่อไปน้ี ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการประเมินโครงการระบบชว่ ยเหลือดแู ลนักเรยี นปจั จยั ด้านกระบวนการ (Process) การประเมนิ กระบวนการดำเนนิ โครงการ ระดบั ความคิดเห็น (Process) ̅������ S.D ระดับ อนั ดับ กจิ กรรมรจู้ กั นักเรยี นเป็นรายบุคคล 4.37 0.61 มาก 1 กจิ กรรมคดั กรองนักเรยี น 4.32 0.65 มาก 2 กจิ กรรมส่งเสรมิ นักเรียน 4.32 0.76 มาก 3 กจิ กรรมปอ้ งกันและชว่ ยเหลอื 4.29 0.70 มาก 4 กิจกรรมส่งต่อนกั เรยี น 3.97 0.70 มาก 5 รวม 4.25 0.68 มาก จากตารางที่ 2 พบว่าการประเมินโครงการระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนด้านกระบวนการ (Process) ในทั้ง 5 ด้าน โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (���̅��� = 4.25 , SD = 0.68) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ กิจกรรมรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล (���̅��� = 4.37 , SD = 0.61) รองลงมา คือ กิจกรรมคัด กรองนักเรียน (���̅��� = 4.32 , SD = 0.65) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กิจกรรมส่งต่อนักเรียน (���̅��� = 3.97 , SD = 0.70)

59 ตารางท่ี 3 ตารางแสดงผลการประเมนิ โครงการระบบชว่ ยเหลือดูแลนักเรยี นปัจจยั ด้านผลผลติ (Outcome) คณุ ลักษณะของนกั เรียน ระดบั ความคิดเห็น ̅������ S.D ระดบั อันดับ 1. นักเรียนรู้ความถนดั ความสามารถ ความสนใจ จดุ เด่น จดุ ด้อยของ 4.50 0.59 มากทส่ี ดุ 4 ตนเอง พร้อมที่จะปรบั ปรุงและพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามหลกั สตู ร 4.56 0.51 มากทส่ี ดุ 3 ทกุ รายวชิ า 3. นกั เรียนมีพฒั นาการด้านน้ำหนกั และส่วนสูงตามเกณฑม์ าตรฐานของ 4.50 0.51 มากทส่ี ดุ 4 เดก็ ไทย 4. นกั เรียนมีความมนั่ คงทางอารมณแ์ ละมีสมั พนั ธภาพท่ดี ีกับผอู้ ื่น 4.38 0.58 มาก 5 5. นักเรียนไมเ่ สพสิง่ เสพติด รวมทง้ั ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์จากสง่ิ เสพติด 4.63 0.49 มากที่สุด 1 6. นกั เรยี นสามารถหลีกเลีย่ งและปอ้ งกนั ตนเองใหพ้ ้นภยั 4.58 0.50 มากทีส่ ุด 2 รวม 4.53 0.53 มากทสี่ ดุ จากตารางที่ 3 การประเมินโครงการระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนปัจจัยด้านผลผลิต (Outcome) ใน ทั้ง 6 ข้อ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (���̅��� = 4.53, SD = 0.53) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนไม่เสพสิ่งเสพติด รวมทั้งไม่แสวงหาผลประโยชน์จากสิ่งเสพติด (���̅��� = 4.63 , SD = 0.49) รองลงมา คือ นกั เรียนสามารถหลีกเลย่ี งและป้องกนั ตนเองให้พ้นภัย (���̅��� = 4.58 , SD = 0.50) และ ข้อ ทีม่ ีคา่ เฉล่ียตำ่ สดุ คือ นักเรยี นมีความมัน่ คงทางอารมณ์และมสี ัมพนั ธภาพทดี่ ีกบั ผู้อน่ื (���̅��� = 4.38 , SD = 0.58) การวิเคราะห์ข้อมูลในด้านของการประเมินด้านผลผลิต (Outcome) ของผู้ปกครองนักเรียนใน โครงการระบบช่วยเหลอื ดูแลนกั เรียนในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – 6 ผู้วิจัยนำผลการวเิ คราะห์ข้อมูลแสดง ในหัวขอ้ และตารางต่อไปน้ี ตารางท่ี 4 ตารางแสดงผลการประเมนิ โครงการระบบชว่ ยเหลือดแู ลนักเรียนปัจจยั ดา้ นผลผลติ (Outcome) คุณลักษณะของนักเรียน ระดับความคดิ เห็น ̅������ S.D ระดับ อันดบั 1. นกั เรียนรู้ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ จดุ เด่น จดุ ด้อยของ 3.92 0.75 มาก 6 ตนเอง พร้อมทจี่ ะปรบั ปรุงและพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามหลกั สูตร 3.94 0.72 มาก 5 ทุกรายวิชา 3. นักเรียนมพี ฒั นาการด้านน้ำหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของ 4.09 0.76 มาก 3 เด็กไทย 4. นกั เรยี นมีความมน่ั คงทางอารมณแ์ ละมีสมั พันธภาพท่ดี กี บั ผ้อู ่ืน 4.08 0.75 มาก 4 5. นกั เรยี นไมเ่ สพสิ่งเสพตดิ รวมทง้ั ไมแ่ สวงหาผลประโยชนจ์ ากสง่ิ เสพติด 4.59 0.93 มากท่ีสดุ 1 6. นกั เรียนสามารถหลีกเลีย่ งและปอ้ งกันตนเองให้พ้นภยั 4.15 0.77 มาก 2 รวม 4.13 0.78 มาก จากตารางที่ 4 การประเมินโครงการระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนปัจจัยด้านผลผลิต (Outcome) ใน ทงั้ 6 ข้อ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก (���̅��� = 4.13, SD = 0.78) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ข้อท่ีมคี ่าเฉล่ีย

60 สูงสุด คือ นักเรียนไม่เสพสิ่งเสพติด รวมทั้งไม่แสวงหาผลประโยชน์จากสิ่งเสพติด (���̅��� = 4.59 , SD = 0.93) รองลงมา คือ นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองให้พ้นภัย (���̅��� = 4.15 , SD = 0.77) และ ข้อที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ นักเรียนรู้ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง พร้อมที่จะ ปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ (���̅��� = 3.92 , SD = 0.75) อภิปรายผล การวิจัยครั้งนี้เป็นการประเมินโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดสำโรง (หิรัญราษฎร์ ภักดีวิทยา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 โดยใช้รูปแบบซีโป ( CPO’s Evaluation Model) มุ่งประเมินใน 3 ด้าน คือ ปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการ กระบวนการ ดำเนินโครงการ และผลผลิตของโครงการ สามารถอภิปรายผลการวิจยั ได้ดังน้ี 1. ปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่า ภาพรวมมี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความต้องการจำเป็นของโครงการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนมีความเหมาะสมมากที่สุด ทั้งนี้อาจะเป็นเพราะผู้บรหิ ารและทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องเลง็ เหน็ ถงึ ความสำคัญและประโยชน์ของโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนทจี่ ะสามารถช่วยและแก้ปัญหานักเรียน ได้อย่างเหมาะสมไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้านผลการเรียน ปัญหาทางด้านครอบครัว ปัญหาเรื่องยาเสพติด แหล่งมั่วสุมต่าง ๆ ในชุมชน ซึ่งโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนี้จะช่วยป้องกัน ส่งเสริม สนับสนุนให้ นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สามารถอยู่กับผู้อื่น แก้ไขปัญหาและเอาตัวรอด ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างรวดเร็ว ส่วนในด้านที่มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับ น้อยที่สุดได้แก่ ด้านความพร้อมและทรัพยากรที่สถานศึกษามีงบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินงานและ งบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด ทั้งนี้อาจเนื่องจากว่างบประมาณที่ได้รับนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของ สถานศึกษาและจำนวนนกั เรียน ทำให้สถานศึกษาจำเป็นจะต้องมีการวางแผนและจัดสรรการใชง้ บประมาณที่ มอี ยู่อยา่ งจำกดั และทั่วถงึ ในแตล่ ะโครงการ 2. กระบวนการดำเนนิ โครงการระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน พบว่าภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดบั มาก เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ กิจกรรมรจู้ กั นักเรียนเปน็ รายบุคคลมคี ่าเฉลี่ยมากทีส่ ุด อยู่ในระดบั มาก ท้งั น้ีเมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ กจิ กรรมรูจ้ ักนักเรียนเปน็ รายบุคคลมีคา่ เฉลี่ยมากทสี่ ดุ อยู่ในระดับ มาก ทั้งนเี้ น่ืองสถานศึกษามรี ะบบงานดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นเป็นรายบุคคลทชี่ ดั เจน ครปู ระจำช้ันสามารถดแู ล นักเรยี นได้อย่างท่ัวถงึ อีกทงั้ ยังมีการรวบรวมข้อมูลนักเรยี นเป็นรายบุคคลด้วยวธิ กี ารทีห่ ลายหลาย อกี ทงั้ ยังมี การการศึกษาข้อมลู นกั เรยี นเป็นรายบุคคล วิเคราะห์ และสรปุ ผลนักเรยี นเป็นรายบุคคล และนำขอ้ มูลไปใชใ้ น การสง่ เสริมพฒั นาช่วยเหลอื นักเรยี นได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม นอกจากนยี้ ังพบวา่ ในส่วนของกิจกรรมส่ง ตอ่ นกั เรยี นนั้น มีคา่ เฉลย่ี ต่ำที่สดุ อยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะวา่ สถานศกึ ษายังขาดการประสานความ ร่วมมอื จากหนว่ ยงานภายนอก ขาดการสรา้ งเครือข่ายสหวิชาชีพในการสง่ ต่อนกั เรียน ซึ่งการแก้ไขปัญหาและ การให้ความชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและมีประสทิ ธผิ ลน้ันจำเปน็ ต้องอาศัยความรว่ มมือในการ แกป้ ญั หา เน่ืองจากบางปญั หานัน้ ครปู ระจำชนั้ หรือครูที่ปรึกษาอาจจะไม่สามารถแกป้ ญั หาได้ลุล่วง จึงจำเป็น จะตอ้ งสง่ ต่อนักเรยี นไปยังสว่ นเกี่ยวข้อง หรือผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะต่อไป

61 3. ผลผลิตของโครงการการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน พบว่า ภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนไม่เสพสิ่งเสพติด รวมทั้งไม่แสวงหาผลประโยชน์จากสิ่งเสพติดมี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งผู้ปกครองและครูในโครงการนั้นมีความเห็นที่สอดคล้องกัน เนื่องจากว่าสถานศึกษานั้นมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดอย่าง ต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด กิจกรรมณรงค์งดสูบบุหรี่ กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อกี ทัง้ ยงั มกี ารเชญิ หน่วยงานภายนอกมาให้ความรู้และจัดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมีภมู ิคุ้มกันตนเองจาก ส่งิ เสพตดิ ท้งั ปวงอย่างต่อเน่ือง และเม่อื พจิ ารณาในรายข้อของครูในโครงการ พบวา่ นักเรียนมีความมั่นคงทาง อารมณแ์ ละมีสมั พนั ธภาพทด่ี ีกบั ผูอ้ ่นื มคี า่ เฉล่ียตำ่ ทสี่ ดุ อยู่ในระดบั มาก ทงั้ นอ้ี าจเนอื่ งมากจากสภาพทางสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การอบรมเลี้ยงดูจากผู้ปกครอง ความอบอุ่นในครอบครัว อีกทั้งสถานศึกษายัง ขาดการสง่ เสริมอย่างจริงจงั ในการพฒั นาสุขภาพจิต การแสดงออกและการควบคมุ ทางอารมณ์ความรู้สึกอย่าง เหมาะสม อีกทั้งในเมื่อพิจารณาในรายข้อของผู้ปกครอง พบว่านักเรียนรู้ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง พร้อมที่จะปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด อยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเนื่องจากว่าสถานศึกษาดำเนินกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความภาคภูมิใจในด้านต่าง ๆ ให้ ตรงกับความสนใจของแต่ละบุคคลยังไม่ครอบคลุมและเพียงต่อความต้องการของผู้เรียนเท่าที่ควร ทำให้ นกั เรยี นเกดิ ข้อจำกัดในการพัฒนาได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ นอกจากนี้ยงั ขาดกิจกรรมท่ีส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนน้นั ได้รู้จัก และเข้าใจตนเองอย่างจริงจัง ซึ่งทำให้นักเรียนไม่สามารถค้นพบจุดเด่น จุดด้อยของตนเองเพื่อนำไปสู่การ ยอมรบั ตนเองและพฒั นาต่อไป ขอ้ เสนอแนะการวจิ ัย 1. ข้อเสนอแนะจากผลการศกึ ษาวจิ ัย 1.1 ผู้บรหิ ารควรทบทวนการจดั สรรงบประมาณอยา่ งเหมาะสม ปรบั โครงการและกิจกรรมที่ มีการบูรณาการสอดแทรกและสง่ เสรมิ การสนบั สนนุ โครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนใหเ้ หมาะสม 1.2 ผบู้ รหิ ารควรมีนโยบายและกลยุทธใ์ นการจัดสรรและระดมทรพั ยากรทางการศกึ ษา เพอื่ นำมาบรหิ ารจดั การส่งเสริมโครงการระบบดูชว่ ยเหลอื นักเรยี น 1.3 ผบู้ ริหารควรมกี ารกำกับ ติดตาม ประเมินผล เพือ่ ทบทวนความเหมาะสมของการ จดั สรรงบประมาณท่ีใชใ้ นระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนอยา่ งตอ่ เนื่อง 1.4 ผู้บรหิ ารควรสร้างเครอื ข่ายสหวิชาชีพ มแี ผนการดำเนินงาน และมีกจิ กรรมการ ประสานงาน การรว่ มดำเนินงานป้องกัน แกไ้ ขและส่งเสริมดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนอย่างตอ่ เนื่อง 1.5 ผบู้ รหิ ารควรสร้างระบบการรายงานผลการช่วยเหลอื และการส่งต่อนกั เรียนทัง้ ภายใน หรอื ภายนอกไปยังผู้เชี่ยวชาญภายนอกทกุ ปีการศกึ ษา 1.6 ผู้บริหารควรสร้างระบบจดั เก็บข้อมูลสารสนเทศท่ีสะดวกในการใชง้ าน รวบรวมเก่ยี วกับ การรายงานผลการช่วยเหลอื นักเรียนเพื่อทีผ่ เู้ ก่ยี วขอ้ งสามารถเข้าถึงข้อมูลและนำไปใช้ได้อยา่ งรวดเร็ว 1.7 ผู้บรหิ ารควรสง่ เสรมิ ใหค้ รผู เู้ ก่ียวขอ้ งเขา้ รับการอบรมเพอ่ื พฒั นาความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับแนวทางการส่งเสรมิ ความฉลาดทางอารมณข์ องนักเรยี นอยา่ งต่อเน่ือง 1.8 ผบู้ รหิ ารควรส่งเสริมใหม้ กี ิจกรรมหรือการจดั การเรียนรู้จากทั้งหน่วยงานภายในและ ภายนอกเพือ่ พฒั นานักเรียนทางด้านความมัน่ คงทางอารมณแ์ ละสัมพันธภาพที่ดีกบั ผู้อื่น

62 1.9 ผู้บรหิ ารควรมีนโยบายในการส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการรู้จักตนเองและ เข้าใจตนเอง นอกเหนอื จากในห้องเรยี นเพ่ือใหน้ ักเรยี นได้มพี น้ื ท่ีในการแสดงออกทงั้ ทางด้านศิลปะ ดนตรี กฬี า หรือดา้ นอนื่ ๆ ท่ีนักเรียนสนใจอยา่ งต่อเนอื่ ง 1.10 ผู้บริหารควรมกี ารสง่ เสริมการเย่ยี มบ้านนักเรยี นอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ในการ วเิ คราะหส์ ภาพปัญหา บริบทต่าง ๆ ของนักเรียนเพ่ือสง่ เสริมและพัฒนานักเรียนให้ตรงตามความต้องการ ระหว่างบุคคล 2. ขอ้ เสนอแนะสำหรับการวจิ ยั คร้งั ตอ่ ไป 2.1 ควรศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนภายใน สถานศกึ ษา 2.2 ควรศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาโครงการระบบดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรียน องคค์ วามร้ใู หม่ บนโลกทม่ี ีการเปลยี่ นแปลงอย่างผันผวนในปัจุบันนี้ ส่งผลใหเ้ ด็กและเยาวชนสว่ นใหญเ่ กิดความสับสน และขาดหลกั ในการดำเนินชีวติ อีกทงั้ ปจั จบุ ันยงั สะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ความรุนแรงที่เกิดขน้ึ ทง้ั ในสถานศึกษา ความ รุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบและสังคม ทำให้เด็กและเยาวชนเกิดบาดแผลและความเจ็บปวดทางจิตใจที่นับวันจะ ทวคี วามรนุ แรงมากยิ่งข้นึ ในทกุ ๆ วนั โครงการระบบช่วยเหลือนกั เรยี นท่ีเขม้ แข็ง มีการแก้ปญั หาอย่างรวดเร็ว ตรงจุด และมีการผสานความร่วมมือจากทุกฝา่ ยอย่างต่อเนือ่ งน้ัน ถือเป็นส่วนหนึ่งทีจ่ ะคอยส่งเสรมิ ช่วยเหลอื และแก้ปัญหานักเรียนทั้งท่ีเป็นเด็กกลุ่มปกติและเด็กที่มีความเสี่ยงทำให้เด็กและเยาวชนสามารถที่จะค้นพบ ค้นหา และเห็นคุณค่าในตนเอง สามารถที่จะมีภูมิคุ้นกันและดำรงชีวิตอยู่บนโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงในทุก วนิ าทีไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขตอ่ ไป เอกสารอ้างอิง กรมสามญั ศึกษา. (2544). ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนในสังกัดกรมสามญั ศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: การ ศาสนา. กรมสุขภาพจิต. (2546). คู่มือครรู ะบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน ชว่ งชนั้ ที่ 3-4 (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 ). (ออนไลน)์ (อา้ งเม่ือ 24 เมษายน 2564).จาhttps://www.dmh.go.th/download/ebooks/my2.pdf สำนกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร. (2547). คู่มือแนวทางการประเมินงานตามระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน. (2547). การดำเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นใน สถานศกึ ษาและสถานศึกษาสงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ ร.ส.พ.

63 สำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2550 : มาตราทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การศึกษา. (ออนไลน)์ (อา้ งเม่อื 24 เมษายน 2564) จาก https://www.pld.rmutt.ac.th/. อารยา สงิ หส์ วสั ดิ์. (2552). พระบรมราโชวาท พระราชดำรัส เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน.(ออนไลน์)(อา้ งเมื่อ 24 เมษายน 2564) จาก https://www.thaihealth.or.th/ อาสณี นิสาและ๊ . (2555). การประเมินโครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นในโรงเรยี นแยม้ จาดวิชชานสุ รณ์ สำนกั งานเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร. วทิ ยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาการ ประเมิน มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

ชอ่ื -สกลุ 64 วัน เดือน ปเี กดิ ภูมลิ ำเนา ประวัติผู้วจิ ยั สถานที่อยู่ปจั จุบัน นางสาวสวุ ติ รา บุญแจ้ง ตำแหนง่ หนา้ ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2530 สถานทท่ี ำงานปจั จบุ ัน อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบรู ณ์ บา้ นเลขที่ 55/11 ถนนลาดพร้าวซอย 18 แยก 10 แขวงจอมพล เขตจตจุ กั ร ประวตั ิการศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547 ครชู ำนาญการ โรงเรียนวดั สำโรง (หิรญั ราษฏร์ภักดีวิทยา) พ.ศ. 2552 โรงเรยี นวัดสำโรง (หิรญั ราษฏร์ภกั ดวี ิทยา) 20 หมู่ 8 ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ตำบลบางกรวย พ.ศ. 2559 อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบรุ ี 11130 พ.ศ. 2562 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ณ เพชรพทิ ยาคม ศึกษาศาสตรบัณฑิต (สาขาวทิ ยาศาสตร์ – เคมี) มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนวิทยาศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

65 การประเมนิ โครงการนเิ ทศภายในโดยใช้ห้องเรยี นเปน็ ฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา สรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร An Evaluation of the Internal Supervision based on Classroom Project of Kanchanadit School of Secondary Educational Service Area Office, Suratthani Chumporn อมรรตั น์ โพธเ์ิ พชร1* วสิ ทุ ธ์ิ วจิ ติ รพัชราภรณ์2 อัจฉรา นิยมาภา3 Amornrat Phophet1 Wisut Wichitputchraporn2 Achara Niyamabha3 1นิสิตหลกั สูตรศกึ ษาศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education Program in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 0979545144 2อาจารย์ประจำหลกั สูตรศึกษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0636539651 3อาจารยป์ ระจำหลกั สตู รศึกษาศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0984532945 บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน โรงเรียน กาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร โดยยึดรูปแบบประเมิน CIPP Model ประชากรในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร จำนวน 51 คน ประกอบด้วย 1) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา จำนวน 7 คน 2) ครู จำนวน 31 คน และ 3) คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามด้านสภาพแวดล้อม แบบสอบถามด้านปัจจัยพื้นฐาน แบบสอบถามด้านกระบวนการ และแบบสอบถามด้านผลผลิต เป็นแบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert Method) การวิเคราะห์ใช้ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินด้าน สภาพแวดล้อม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านทีมีความเหมาะสมสูงสุดคือ ด้าน จุดมุ่งหมายของโครงการมีความเหมาะสมและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง 2) การประเมินด้านปัจจัยพื้นฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านที่มีความเหมาะสมสูงสดุ คือ โรงเรียนจัดสรรงบประมาณ สำหรับพัฒนาด้านการนิเทศ เช่น การอบรม ศึกษาดูงาน การจัดซื้อสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เป็นต้น และ จำนวนวนั และเวลาที่ใชใ้ นการนิเทศตลอดโครงการ 3) การประเมินด้านกระบวนการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผา่ นเกณฑ์ การประเมิน ด้านที่มีความเหมาะสมสูงสุดคือ การดำเนินการปฏิบัติกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนการนิเทศ ภายในโดยใชห้ ้องเรียนเปน็ ฐาน โดยการส่งเสรมิ กระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ และ 4) การประเมิน ด้านผลผลิต โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน ด้านที่มีความเหมาะสมสูงสุด คือนักเรียนมี คุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่ีโรงเรียนกำหนด, บคุ ลากรยึดมน่ั ค่านิยมองค์กรในการ ทำงานอยา่ งสร้างสรรค์และมวี ิธีการทำงานท่ีมีประสทิ ธภิ าพ และชมุ ชนและผ้มู ีส่วนเกี่ยวข้องยอมรบั ศรัทธาต่อ การจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ใหค้ วามรว่ มมือและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง คำสำคญั : ประเมนิ โครงการ; นเิ ทศภายใน; ประเมนิ แบบซิปป์; หอ้ งเรียนเปน็ ฐาน

66 ABSTRACT The objective of this research was to assess an evaluation of the internal supervision based on classroom project of Kanchanadit School of Secondary Educational Service Area Office, Suratthani Chumporn using the CIPP Model. The population were 51 in total, consisted of 1) 7 administrators 2) 31 teachers and 3) 13 school boards. The evaluation used Likert’s five-rating scale questionnaires using CIPP evaluation model to assess the contexts, the input, the process, and the products. The data were analyzed by using mean and standard deviation. The results of the research were as follows: 1) overall, the evaluation on the project contexts showed the appropriateness and agreement at the high level, over the set criteria. The objectives of the project are appropriate and practical aspect was the most appropriate, 2) overall, the evaluation on the project inputs showed the appropriateness and agreement at the high level, over the set criteria. The school allocated a budget for supervision development such as training, study visits, purchasing of media, materials, etc., and the number of days and times spent on supervision throughout the project was the most appropriate, 3) overall, the evaluation on the project process showed the appropriateness and agreement at the high level, over the set criteria. Implementation of the activities defined in the classroom-based internal supervision plan by promoting the professional learning community process was the most appropriate and 4) overall, the evaluation on the project process showed the appropriateness and agreement at the high level, over the set criteria. Students had virtue Ethics and desirable characteristics as specified by the school, people uphold the organizational values to work creatively and have an effective way of working and stakeholders acknowledged the school's education, cooperated and supported the ongoing education management was the most appropriate. Keywords: Project Evaluation; Internal Supervision; CIPP Model; Based on Classroom บทนำ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 (2560) ระบใุ ห้มีกลไกและระบบการผลติ คดั กรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ไดผ้ ู้มีจติ วิญญาณของความเป็นครู มีความรคู้ วามสามารถอย่าง แท้จริง ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสรา้ งระบบ คุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู มีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุ เป้าหมายดงั กล่าว โดยให้สอดคล้องกนั ทั้งในระดับชาตแิ ละระดับพืน้ ท่ี นอกจากนี้ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมีเจตนารมย์เพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนา ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” โดยมีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี เก่งและมี คณุ ภาพ มีทกั ษะท่จี าํ เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มงุ่ เนน้ การพัฒนาคนเชงิ คุณภาพในทกุ ชว่ งวยั ตั้งแต่ชว่ งการต้งั ครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ วัยแรงงานและวัยผู้สูงอายุ เพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพมี

67 ทกั ษะ ความรู้ เป็นคนดี มวี ินยั เรยี นรไู้ ดด้ ้วยตนเองในทุกช่วงวัย จึงมกี ารปฏิรูปกระบวนการเรียนรทู้ ต่ี อบสนอง ตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 โดยมุ่งเน้นผเู้ รยี นให้มที กั ษะการเรยี นรู้และมีใจใฝ่เรียนรูต้ ลอดเวลา มีการ ออกแบบระบบการเรยี นรู้ใหม่ การเปล่ยี นบทบาทครู การเพมิ่ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการศึกษาและการ พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวติ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 1 บททั่วไป ใน มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และมีคุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก (1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชน (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้ เปน็ ไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง อีกท้งั สอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2560 – 2579 ในยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีเป้าหมายให้ผู้เรียนมีทักษะและ คุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยทักษะและคุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะความรู้ ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานวชิ าชพี และพฒั นาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและ มาตรฐาน รวมทัง้ แหล่งเรียนรู้ สอ่ื ตำราเรยี น และนวตั กรรม ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไม่จำกดั เวลาและ สถานที่มีระบบและกลไกการวัดการติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพมีระบบการผลิตครูอาจารย์และ บุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล ครู อาจารย์ตลอดจนบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา สมรรถนะตามมาตรฐาน การพัฒนาคุณภาพศึกษาให้เกิดคุณภาพนั้น คุณภาพของผู้เรียนเป็นมิติหนึ่งที่จะต้องสร้างความเชื่อมั่น ว่าโรงเรยี นจะพัฒนาผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสำคญั สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จะต้องมีกระบวนการสู่ความสำเร็จ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุ กระดับ สถานศึกษาต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร การศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance in education) จึงเป็นกลไกสำคัญที่จะ สามารถขบั เคล่อื นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดำเนนิ ไปอยา่ งต่อเนื่อง โรงเรียนกาญจนดิษฐ์เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีภารกิจในการจัดการเรียน การสอนให้กับนักเรียน 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการ บริหารจดั การศึกษา โรงเรียนได้กำหนดเป้าหมายจดั การศึกษาของโรงเรียนใหส้ อดคล้องกับเป้าหมายการศึกษา ของชาติ แต่เนื่องจากสภาพปัจจุบันนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ผลการทดสอบระดับชาติการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (O-Net) พ.ศ. 2563 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่ำกว่าค่ากลางระดับประเทศ จำนวน 2 วิชา ได้แก่ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่ำกว่าระดับประเทศทุกรายวิชา อีกทั้ง บุคลากรครูส่วนหนึ่งจัดการเรียนการสอนไม่หลากหลาย ใช้สื่อการสอนน้อย ขาดการพัฒนาการจัดทำ นวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน ใช้วิธีสอนแบบบรรยายมากกว่าวิธีสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการคิด และทักษะการบูรณาการเชื่อมโยง ขาดการแสวงหาความรู้และเทคนคิ วิธี การสอนใหม่ ๆ ดังปรากฏในการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจำปีการศึกษา 2562 (2562) ของ โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การแก้ปัญหาดังกล่าวจากการศึกษา งานวจิ ยั โครงการท่ีเก่ียวข้องกับการนเิ ทศภายในโรงเรียน พบว่า สามารถใช้กระบวนการนเิ ทศเพ่ือพฒั นาครูให้

68 สามารถทำการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น ผู้ประเมินจึงได้มีการประสานความร่วมมือในการนิเทศภายใน โรงเรียน รวมทั้งหาแนวทางในการนิเทศภายในโรงเรียนร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนกาญจนดิษฐ์ ได้วางแผนดำเนินงานในรูปของโครงการชื่อว่า “โครงการนิเทศ ภายในโดยใช้ห้องเรยี นเปน็ ฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ ปีการศึกษา 2563” อนั จะส่งผลใหเ้ กิดคุณภาพการศึกษา อยา่ งยง่ั ยืนตอ่ ไป การประเมินโครงการนิเทศภายในโดยใชห้ ้องเรยี นเป็นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ ปีการศึกษา 2563 ใน ครั้งนี้ ผู้ประเมินในฐานะผู้อำนวยการสถานศึกษาจึงได้ศึกษาค้นคว้าวิธีการประเมินผลการดำเนินงานของ โครงการโดยยึดรูปแบบประเมินซิปป์ (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบีม (Daneil L. Stufflebeam) เพราะเป็น รูปแบบในการประเมินโครงการที่ครบกระบวนการและเป็นที่นิยม โดยประยุกต์ใช้เป็นการประเมินโครงการ คร้ังเดียวหลงั เสรจ็ ส้ินโครงการ ซ่งึ ประกอบดว้ ยการประเมนิ ท้ัง 4 ดา้ น คือ 1. การประเมนิ ด้านสภาพแวดล้อม (Context Evaluation : C) 2. การประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation : I) 3. การประเมินด้าน กระบวนการ (Process Evaluation : P) และ 4. การประเมินด้านผลผลติ (Product Evaluation : P) วัตถปุ ระสงค์การวิจัย 1. เพื่อประเมินด้านสภาพแวดล้อมโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน โรงเรียน กาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา สรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร 2. เพอ่ื ประเมินด้านปัจจัยพ้ืนฐานโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรยี นเป็นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา สรุ าษฎรธ์ านี ชมุ พร 3. เพื่อประเมินด้านกระบวนการโครงการนเิ ทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา สรุ าษฎร์ธานี ชมุ พร 4. เพอ่ื ประเมินดา้ นผลผลติ โครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเปน็ ฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร ซึ่งมีองค์ประกอบย่อย 3 ประเด็น ได้แก่ ด้านผู้เรยี น ด้านครู และด้านคณุ ภาพสถานศกึ ษา ระเบียบวธิ ีวิจยั 1. ขอบเขตดา้ นเน้อื หา 1.1 การประเมินโครงการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร มุ่งเน้นกระบวนการนิเทศกระบวนการ จดั การเรียนรู้ของครูโดยการนเิ ทศผ้บู ริหาร ครผู สู้ อน และนกั วชิ าการ รว่ มมอื กนั เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการ เรยี นการสอนของครใู ห้มีเทคนคิ วธิ ีการสอนทีเ่ นน้ การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ส่งผลต่อการเรียนรู้ของ ผูเ้ รียน 1.2 การประเมินโครงการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร ใช้รูปแบบประเมินแบบ CIPP Model ประกอบด้วยองค์ประกอบ ดังนี้ 1) การประเมินด้านสภาพแวดล้อม (Context Evaluation : C) 2) การประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation : I) 3) การประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation : P) และ 4) การประเมินด้านผลผลิต (Product Evaluation : P) ซึ่งมีองค์ประกอบย่อย 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ ดา้ นผูเ้ รยี น ด้านครูและบคุ ลากร และด้านคณุ ภาพสถานศกึ ษา

69 2. ประชากร ประชากรในการวิจัยในครั้งนี้ ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร จำนวน 51 คน ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 7 คน 2) ครู จำนวน 31 คน 3) คณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน จำนวน 13 คน 3. กรอบแนวคิดการวจิ ัย การวิจยั คร้งั นเ้ี ป็นการประเมนิ โครงการ ผูว้ ิจยั ไดใ้ ชร้ ูปแบบการประเมินโดย ใช้รูปแบบ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Daneil L. Stufflebeam, 1977 , P. 261-265) โดยประยุกต์ใช้ เป็นการประเมินโครงการครั้งเดียวหลังเสร็จสิ้นโครงการ โดยแบ่งตามลำดับการประเมินเป็น 4 ด้าน และ ดำเนินการวิจัยตามลำดับ ดังน้ี คือ (1) ด้านสภาพแวดล้อม (2) ด้านปัจจัยเบื้องต้น (3) ด้านกระบวนการ (4) ด้านผลผลิต โดยประเมินองค์ประกอบย่อยดังนี้ 4.1) ผลผลิตด้านผู้เรียน 4.2) ผลผลิตด้านครู และ 4.3) ผลผลติ ด้านคุณภาพของสถานศึกษา โดยมีกรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ดังนี้ โครงการนิเทศภายในสถานศกึ ษาโดยใช้ การประเมนิ ด้าน - หลกั การและเหตลุ หอ้ งเรียนเปน็ ฐาน โรงเรยี นกาญจนดษิ ฐ์ สภาพแวดลอ้ ม - ความต้องการจำเปน็ - จุดมงุ่ หมาย สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา (Context) - รปู แบบการดำเนินงานกบั วตั ถปุ ระสงค์ มธั ยมศกึ ษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร 1. เตรียมการและวางแผนการ การประเมิน - บุคลากร ดำเนนิ งาน ปัจจยั เบื้องต้น - งบประมาณ 2. ดำเนนิ งานตามแผน (Process) - เวลา 2.1 ประชุมกำหนดค่าเปา้ หมาย - สถานท่ี 2.2 จดั ทำคำสงั่ แต่งต้ังผู้รับผิดชอบ - การบรหิ ารจัดการ ฯลฯ 2.3 ดำเนนิ การนิเทศภายใน สถานศกึ ษา การประเมนิ - กำหนดเปา้ หมายและแผนการนเิ ทศ 3. กำกับ ติดตาม ชว่ ยเหลอื หนนุ เสรมิ กระบวนการ - กำหนดแต่งต้งั ผู้รับผิดชอบ 4. ประเมนิ ผลการดำเนินงาน (Process) - ดำเนินการนิเทศภายใน 5. สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งาน - ประเมนิ ผลการดำเนินงาน นิเทศภายในสถานศึกษา - สรุปรายงานผลการดำเนนิ งาน การประเมนิ - ผลผลดิ ด้านผ้เู รยี น ผลผลิต - ผลผลติ ดา้ นครู (Product) - ผลผลิตดา้ นคณุ ภาพของสถานศึกษา 4. วิธีดำเนนิ การวิจัย การวิจยั ครง้ั นี้เป็นการวจิ ัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ซงึ่ การวิจยั ไดด้ ำเนินการตามขั้นตอน ซ่ึงได้ ศึกษาและสงั เคราะห์งานวิจยั ที่เก่ียวข้องและเอกสาร หลกั การแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกยี่ วข้องกับการโครงการนิเทศ ภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน และกำหนดระเบียบวิธีและกระบวนการวิจัยโดยสร้างเครื่องมือ แบง่ ออกแบ่ง 3 ฉบับ คือ

70 ฉบับที่ 1 แบบสอบถามประเมินโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานสำหรับผู้บริหาร ซึ่งประกอบด้วย 3 ตอน ประกอบด้วย สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม, แบบสอบถามชนิดเลือกตอบ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating- scale) 5 ระดับ จำนวน 40 ขอ้ และขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ฉบับที่ 2 แบบสอบถามประเมินโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานสำหรับครู ประกอบด้วย 3 ตอน ประกอบด้วย สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม, แบบสอบถามชนิดเลือกตอบ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating- scale) 5 ระดบั จำนวน 26 ขอ้ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ฉบับที่ 3 แบบสอบถามประเมินโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานสำหรับคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถามชนิดเลือกตอบ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating- scale) 5 ระดับ จำนวน 20 ขอ้ ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ 5. การหาคุณภาพเครอ่ื งมอื 5.1 นำแบบสอบถามเกี่ยวกับการประเมินโครงการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน โรงเรยี นกาญจนดษิ ฐ์ เสนออาจารย์ทป่ี รึกษาและผู้เชยี่ วชาญ จำนวน 3 ทา่ น ตรวจสอบความถูกต้อง ความตรง เชิงเนอ้ื หา (Content Validity) ประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับนยิ ามศัพท์เฉพาะ นำค่าคะแนน ในแต่ละข้อมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Item objective Congruency : IOC) รายข้ออยู่ระหว่าง 0.72 – 1.00 5.2 นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ในโรงเรียนอื่นที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน และนำมา วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบราค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ไดค้ ่าความเชื่อมน่ั 0.947 5.3 จดั เกบ็ ข้อมูล โดยส่งแบบสอบถามไปยงั ประชากร จำนวนท้ังสิ้น 51 คน 5.4 รวบรวมแบบสอบถามท่ีไดร้ บั คนื ท้ังหมด คิดเปน็ ร้อยละ 100 ผวู้ ิจยั ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของ การตอบแบบสอบถาม จากน้ันนำขอ้ มูลไปใชใ้ นการวเิ คราะห์ต่อไป 6. การวเิ คราะห์ข้อมูล 6.1 วิเคราะหข์ อ้ มูลสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยหาค่ารอ้ ยละ 6.2 วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม (Context) โดยการหาค่าเฉลี่ย (������̅) และ ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D,) เปน็ รายขอ้ และโดยภาพรวม 6.3 วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินปัจจัยด้านปัจจัยเบื้องต้น (Process) โดยการหาค่าเฉลี่ย (������̅) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นรายขอ้ และโดยภาพรวม 6.4 วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินปัจจัยด้านกระบวนการ (Process) โดยการหาค่าเฉลี่ย (������̅) และ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปน็ รายขอ้ และโดยภาพรวม 6.5 วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินปัจจัยด้านผลผลิต (Product) โดยการหาค่าเฉลี่ย (������̅) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปน็ รายขอ้ และโดยภาพรวม ผลการวิจยั 1. การวิเคราะห์ข้อมูลในด้านของการประเมินปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม (Context) ของกลุ่มบริหาร สถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษา ภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมสอดคล้องอยู่ในระดับมาก/ ผ่านเกณฑ์การประเมิน มีค่าเฉลี่ยรวม (������̅ = 4.10, S.D. = 0.12) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มี

71 ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ จุดมุ่งหมายของโครงการนิเทศภายในมีความเหมาะสมและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง (������̅ = 4.33, S.D. = 0.35) รองลงมา คือ หลักการและเหตุผลของโครงการนิเทศภายในมีความสอดคล้องกับ นโยบายของสถานศึกษา (������̅ = 4.22, S.D. = 0.10) และด้านที่มีค่าเฉลีย่ ตำ่ สุด คือ รูปแบบการดำเนนิ งานตาม โครงการนิเทศภายในมคี วามเหมาะสมสอดคล้อง กบั วตั ถุประสงคข์ องโครงการ (������̅ = 3.86, S.D. = 0.01) 2. การประเมินโครงการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน ด้านปัจจัยพื้นฐาน (Input) ภาพรวมพบวา่ มีความเหมาะสมสอดคล้องอยู่ในระดับมาก/ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน มคี ่าเฉลี่ยรวม (������̅ = 4.41, S.D. = 0.61) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ โรงเรียนจัดสรรงบประมาณสำหรับ พัฒนาดา้ นการนิเทศ เชน่ การอบรม ศึกษาดูงาน การจัดซือ้ ส่ือ วัสดุ อปุ กรณ์ เป็นต้น และ จำนวนวนั และเวลา ที่ใช้ในการนิเทศตลอดโครงการมีความเหมาะสม (������̅ = 4.29, S.D. = 0.49) รองลงมา คือ โรงเรียนจัดหาสื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมอื สำหรับการดำเนินงานนิเทศภายใน (������̅ = 4.14, S.D. = 0.38) และด้านที่มีค่าเฉล่ีย ตำ่ สดุ คอื โรงเรยี นมคี ู่มอื หรือแนวปฏบิ ัติการนิเทศภายในไว้เปน็ แนวทางดำเนนิ การ (������̅ = 3.71, S.D. = 0.49) 3. การประเมินโครงการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน ด้านปัจจัยกระบวนการ (Process) ภาพรวมพบวา่ อยู่ในระดบั มาก (������̅ = 4.17, S.D. = 0.12) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การดำเนินการปฏิบัติกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็น ฐาน โดยการส่งเสริมกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (������̅ = 4.39, S.D. = 0.26) รองลงมา คือ โรงเรยี นได้ทำข้อตกลงรว่ มกนั ในการมีส่วนร่วมและให้ความรว่ มมือในการนเิ ทศเพอ่ื ให้เกิดการพฒั นาและความ ร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (������̅ = 4.34, S.D. = 0.33) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสะท้อนผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้นิเทศ ผู้รับการนิเทศ และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อการเรียนเรียนรู้ร่วมกัน (������̅ = 3.88, S.D. = 0.03) 4. การประเมินโครงการนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน ด้านผลผลิต (Product) ภาพรวมพบวา่ อยู่ในระดับมาก (������̅ = 4.13, S.D. = 0.14) เมือ่ พิจารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ประเดน็ ดา้ นผู้เรียน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่โรงเรียนกำหนด (������̅ = 4.34, S.D. = 0.12) รองลงมา คือ นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีสามารถอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น (������̅ = 4.26, S.D. = 0.15) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นเหมาะสมกับ ศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (������̅ = 4.03, S.D. = 0.14) ประเด็นด้านครูและบุคลากร ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ บุคลากรยึดมั่นค่านิยมองค์กรในการทำงานอย่างสร้างสรรค์และมีวิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (������̅ = 4.24, S.D. = 0.12) รองลงมา คือ บุคลากรมีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีขวัญและกำลังใจในการทำงาน (������̅ = 4.22, S.D. = 0.22) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ครูผู้สอนจัดหา ผลิต และใช้สื่อการสอนที่มี ประสทิ ธิภาพ รวมถึงสื่อไอทแี ละแพลตฟอร์มด้านการเรียนรู้เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการจดั การเรยี นรู้ (������̅ = 3.96, S.D. = 0.09) และประเด็นด้านการคณุ ภาพสถานศึกษา ดา้ นที่มีค่าเฉล่ียสูงสดุ คือ ชมุ ชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยอมรับศรัทธาต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (������̅ = 4.20, S.D. = 0.24) รองลงมา คอื โรงเรียนมีนวตั กรรมในการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาทเี่ หมาะสม กับบริบทของสถานศึกษา และ (������̅ = 4.16, S.D. = 0.11) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ผลการดำเนินงาน ตามโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสอดคล้อง กับเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา (������̅ = 3.98, S.D. = 0.13)

72 อภปิ รายผลการวจิ ัย 1. ผลการประเมนิ สภาพแวดล้อมของโครงการ พบว่า โดยภาพรวมมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมอยู่ ในระดบั มาก / ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ดา้ นจุดมุ่งหมายของโครงการนเิ ทศภายในมคี วามเหมาะสมและสามารถ นำไปปฏิบัติได้จริงมีค่าสูงสุด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการดำเนินงานของฝ่ายบริหารสถานศึกษาเปิดโอกาสการมี ส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอน ตั้งแต่การวางแผน การดำเนินงาน และการประเมินผล ซึ่งเป็นการใช้ ข้อมูลสารสนเทศเป็นฐาน และรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ส่วนเกี่ยวข้อง มีการกำกับ ติดตาม ช่วยเหลือสนับสนุนให้งานประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ สอดคล้องกับ วัชรา เล่าเรียนดี (2553) กลา่ วไว้วา่ องค์ประกอบของเครือข่ายที่สำคญั คอื การทำใหส้ มาชิกในเครือขา่ ยที่มีความรสู้ ึกนกึ คดิ และรบั รู้กัน ถึงเหตุผลการเขา้ ร่วมเป็นเครือขา่ ยแห่งการเรยี นรู้ และแนวคิดของ สมาน อัศวภูมิ (2551) ได้กล่าวโดยสรุปวา่ การมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาเปน็ เรื่องสำคัญและจาํ เป็นในการบริหารยุคปจั จุบัน โดยเฉพาะการมีส่วนร่วม ของบุคคลในท้องถิ่น ซึ่งอาจอยู่ในลักษณะเครือข่ายสถานศึกษาที่เกิดขึ้นจากกการรวมตัวของสถานศึกษาใน เขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน ที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์เครือข่ายสถานศึกษาประเภทที่หนึ่ง เพื่อได้รับการส่งเสริม สนับสนุนการบริหารและจัดการศึกษาให้สามารถรองรับการกระจายอ ำนาจได้เหมือนประเภทที่หนึ่งต่ อไป จึงถือเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการส่งเสริมการดำเนินการนิเทศครูสู่มืออาชีพให้เกิดเป็นรูปธรรมที่ยั่งยืนต่อไป ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ โครงการนิเทศภายในมีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบันปัญหาและความ ตอ้ งการจำเปน็ ของสถานศึกษา แมจ้ ะมีค่าเฉล่ยี ตำ่ สุดแตย่ งั มีค่าคะแนนระดับมาก ซ่งึ ผ้บู ริหารยังใหค้ วามสำคัญ กบั การนเิ ทศการศึกษาโดยใชห้ ้องเรียนเป็นฐานจะเปน็ วธิ ีการพฒั นาครูผสู้ อนให้มปี ระสิทธภิ าพส่งผลโดยตรงต่อ การเรียนรขู้ องผูเ้ รียน และเกิดความสำเรจ็ ของสถานศกึ ษาในภาพรวม สอดคลอ้ งกับ ไพรนิ ทร์ เหมบตุ ร, สมชัย วงษ์นายะ, ทวนทอง เชาวกรี ตพิ งศ์ (2556) กลา่ วถงึ การเพิม่ ศกั ยภาพศึกษานเิ ทศกใ์ ห้กบั ผู้บรหิ ารและครูในการ นิเทศ ให้เอื้อต่อการพัฒนาครูมืออาชีพอย่างทัว่ ถึงรอบดา้ นด้วยวิธีการที่หลากหลาย เป็นกลยุทธ์ที่สร้างความรู้ ความสามารถให้กบั ผู้นิเทศมคี วามเข้มแข็ง ซึ่งสัมพันธ์กับการศึกษาของ ของสุภาภรณ์ กิตติรัชดานนท์ (2550) ไดศ้ กึ ษาองคป์ ระกอบดา้ นวตั ถุประสงค์ของการนเิ ทศ คือ เพอ่ื สง่ เสรมิ สนับสนุน ช่วยเหลือ และร่วมมือกับครูให้ สามารถพฒั นาตนเอง พฒั นาวชิ าชพี และพฒั นาการเรยี นการสอน ท่จี ะนาํ ไปสูค่ ุณภาพของผูเ้ รยี น 2. ผลการประเมนิ ด้านปัจจยั พนื้ ฐาน (Input) ในทัง้ 10 ประเดน็ ภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก ดา้ นที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ โรงเรียนจัดสรรงบประมาณสำหรับพัฒนาด้านการนิเทศ เช่น การอบรม ศึกษาดูงาน การจัดซื้อสือ่ วัสดุ อุปกรณ์ เป็นต้น และ จำนวนวนั และเวลาที่ใชใ้ นการนิเทศตลอดโครงการมีความเหมาะสม เนื่องจากมีการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ และนำมาเป็นฐานในการกำหนดค่าเป้าหมายและ วางแผนพัฒนา ซึ่งกระบวนการนิเทศจะเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการพัฒนาครูให้มีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพ ผู้เรียนและความสำเร็จของสถานศึกษาในภาพรวม สอดคล้อง สกาวรัตน์ ไกรมาก (2562) ที่พบว่า ครูมีความ พึงพอใจการนิเทศมากสูงสุด ได้แก่การนิเทศช่วยให้ครูได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น การนเิ ทศช่วยให้ครูไดแ้ นวคดิ ใหมๆ่ เพือ่ พัฒนาการจัดการเรยี นร้แู ละการนเิ ทศชว่ ยใหค้ รูมีความกระตอื รือร้นใน การทำงาน และสอดคล้องกับ สุพิชญา ตันติวัฒนะผล (2559) พบว่า ประโยชน์ของการนิเทศทำให้ได้ความรู้ ใหม่ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ กระตุ้นให้บุคคลมีเหตุผล รู้จักคิดและค้นคว้าอยู่เสมอ ช่วยแก้ปัญหาได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ MRSLAONGTIP (2018) ที่ระบุว่า การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจึง ต้องมีการสร้างและพัฒนาผู้นำทางวิชาการในสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ ให้ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้นำทางวิชาการ มีความสามารถในการนิเทศการสอน สร้างรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา การพฒั นาการใชห้ ลักสตู รและการสอน ตลอดจนถงึ การวิจยั เพอื่ พัฒนาหลักสตู ร การวจิ ยั เพื่อพฒั นาการจัดการ เรยี นรู้ โดยอาศัยกรอบของมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานเพือ่ การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นกรอบ

73 ในการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ โรงเรียนมีคู่มือหรือแนวปฏิบัติการนิเทศภายในไว้เป็นแนวทางดำเนินการ แนวปฏิบัติในคู่มืออาจจะเป็น แนวทางกวา้ งๆ และกลมุ่ สาระได้ออกแบบการดำเนินการภายในกรอบเวลาท่ีกำหนด ผลจากการดำเนินการใน ครั้งนี้จะนำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงคู่มือหรือแนวปฏิบัติในการนิเทศให้มีขั้นตอนปฏิบัติที่ชัดเจน ขึ้น และมีการแนะนำการใช้คู่มือก่อนดำเนินการ สอดคล้องกับ อภิสรา กังสังข์ (2561) ได้ค้นพบว่า การจัดทำ เอกสารเผยแพร่ จัดให้มีการประชุมสัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา เพราะผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาท สำคัญที่จะผลักดันให้การดำเนินงานด้านการนิเทศในโรงเรียนบรรลุผล โดยมุ่งมั่นที่จะใช้กระบวนการนิเทศ ภายในเปน็ เครอ่ื งมือสำคญั อย่างหน่งึ ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 3. ผลการประเมินดา้ นกระบวนการ (Process) ในทง้ั 10 ประเดน็ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านท่ี มีค่าเฉลีย่ สงู สดุ คอื ดา้ นการดำเนนิ การปฏิบัติกิจกรรมตามที่กำหนดไวใ้ นแผนการนเิ ทศภายในโดยใช้ห้องเรียน เป็นฐาน โดยการส่งเสริมกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ทั้งนี้เนื่องจากนโยบายต้นสังกัดและ ความก้าวหน้าทางวิชาชีพครูกำหนดให้ครูต้องพัฒนาตนเองโดยใช้กระบวนการ PLC และเมื่อได้ดำเนินการ ครูผู้สอนมีเพื่อนคู่คิด ได้รับการหนุนเสริมจากฝ่ายบริหาร ได้รับคำแนะนำและช่วยเหลือในการพัฒนาทักษะ การจัดการเรียนรู้ทั้งจากพี่เลี้ยงและผู้เชี่ยวชาญ ทำให้ครูพัฒนาวิชาชีพในการปฏิบัติงานปกติอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับ ธรินธร นามวรรณ (2561) กล่าวว่า การสร้างโรงเรียนแห่งการเรยี นรู้ เป็นองค์ที่มีความเข้มแข็ง อย่างต่อเนื่อง จะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากผู้บริหารการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา ครูประจำการ ศึกษานิเทศก์ รวมถึงนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาเข้ามาส่งเสริมสนับสนุนใน การเรียนรู้ร่วมกันเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่เป็นรูปธรรม สอดคล้องกับ ไพโรจน์ บริบูรณ์; ฉลาด จันทรสมบัติ; พา อักษรเสือ; วีรวิชญ์ เลิศรัตน์ธำรงกุล และรัชนิวรรณ อนุตระกูลชัย (2563) สรุปได้ว่า การพัฒนาชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี เป็นเครือข่ายในระดับโรงเรยี นและเครือข่ายกลุม่ คณะมีความเหมาะสม และสอดคล้องกับบริบทและสภาพท้องถิ่น การทำงานแบบมีส่วนร่วมในมิติใหม่จากการพัฒนาหน้างาน ห้องเรียนคุณภาพ โรงเรียนคุณภาพ นำไปสู่การผนึกความร่วมมือ ผสานพลังของครูต้นแบบ ผู้บริหารต้นแบบ ศึกษานิเทศก์กลุ่มเป้าหมายและนักวิชาการอุดมศึกษา ส่งผลให้เกิดคลินกิ การนิเทศเพื่อความเป็นเลิศ ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ผลการดำเนินงานตามโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสอดคล้องกบั เปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ทั้งน้จี ากผลการพัฒนาผู้เรียน ในมิติผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนยังไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจากกระบวนการวิเคราะห์ผู้เรียนมุ่งเน้น ด้านความรู้ ซึ่งในมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลักสูตรกำหนดให้จัดการเรียนรู้บูรณาการ เพ่ือเป้าหมายให้ผู้เรียน ดี เกง่ มสี ุข จึงควรใหค้ วามรคู้ รูเรือ่ งการนำหลักสตู รลงสู่ห้องเรียน เริ่มต้งั แต่การวิเคราะห์ผู้เรยี นรายบคุ คล การ ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และการวดั และประเมินผลใหส้ อดคลอ้ งกนั 4. ผลการประเมินด้านผลผลิต (Product) ใน 4 องค์ประกอบย่อย ทั้ง 16 ประเด็น ภาพรวมอยู่ ระดับมาก โดยพิจารณาองค์ประกอบยอ่ ย ดงั นี้ 4.1 ประเด็นด้านผู้เรียน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่โรงเรียนกำหนด ทั้งนี้เนื่องจากแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาได้ กำหนดให้มีโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาบทบาทและมีส่วนร่วมในการ พัฒนาผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นเหมาะสมกับ ศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล เนื่องจากกระบวนการวิเคราะห์ผู้เรียนมุ่งเน้นด้านความรู้ ซึ่งในมาตรฐานและ ตัวชว้ี ดั ของหลักสตู รกำหนดใหจ้ ัดการเรียนรบู้ ูรณาการ เพ่อื เปา้ หมายให้ผูเ้ รียน ดี เก่ง มสี ุข จงึ ควรให้ความรู้ครู

74 เรื่องการนำหลักสูตรลงสู่ห้องเรียน เรมิ่ ต้งั แต่การวเิ คราะห์ผู้เรยี นรายบคุ คล การออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกัน สอดคล้องกับ มานพ วรรณภิละ (2013) สรุปได้ว่าการสร้างเสริม ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่เหมาะสมและเป็นไปได้ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ดังนี้ ด้านพัฒนา หลักสูตร ประกอบด้วย การศึกษาวิเคราะห์เอกสารหลักสูตรฯ, วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย, จัดทำโครงสร้างหลักสูตร, นำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน, นิเทศการใช้หลักสูตร, ติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร, ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรตามความเหมาะสม 2) ด้านการจัดการ เรียนการสอน ประกอบด้วย ศึกษาวิเคราะห์ คัดเลือกหนังสือ สื่อการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้, จัดกิจกรรมที่ สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน, จัดทำเอกสารประกอบการสอน, จัดครูประจำชั้น ครูประจำวิชา, จัด ห้องเรียนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับจำนวนนักเรียน, จัดสถานที่ อุปกรณ์ สนับสนุนการจัดกิจกรรม, จัด ตารางสอนให้เหมาะสม, จัดครูเข้าสอนแทน, ติดตาม ช่วยเหลือ, เป็นผู้นำให้ครูปรับปรุงการสอน และ 3) ด้านวัดและประเมินผล ดังน้ีกำหนดระเบียบการวัด ประเมินผล, ประเมินผลการเรียนรู้, เทียบโอนผลการ เรยี น, ตดั สินอนุมัติผลการเรยี นผ่านช่วงชัน้ และออกหลักฐานแสดงผลการจบการศกึ ษา 4.2 ประเด็นด้านครูและบุคลากร ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ บุคลากรยึดมั่นค่านิยมองค์กรใน การทำงานอย่างสร้างสรรค์และมีวิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เนื่องจากการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วน ร่วมในการกำหนดค่านิยมองค์กร และมีการสื่อสารท้ังในการประชุม การสื่อสารทางเพจ ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างค่านิยมเชิงจริยธรรมในองค์กร ประกาศเป็นแนวนโยบายสู่การปฏิบัตริ ่วมกันในองค์กร สอดคล้องกบั ลักษมี สุนทรจันทร์ (2552) และณรงศักดิ์ ไชยชมภู (2550) ที่พบว่า การเพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศภายใน โรงเรียนใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายที่ต้องการ คือ จัดให้มีการประชุมอบรมเพือ่ ให้ความรู้แกบ่ ุคลากรในโรงเรียนให้ เกิดความเข้าใจในกระบวนการนิเทศมากขึ้นก่อนเข้าทำการนิเทศ และควรมีการประเมินและรายงานผลให้ ทราบอย่างทั่วถึงและชัดเจน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ครูผู้สอนจัดหา ผลิต และใช้สื่อการสอนที่มี ประสทิ ธิภาพ รวมถงึ สื่อไอทีและแพลตฟอร์มดา้ นการเรยี นรู้เพื่อเปน็ เครื่องมอื ในการจดั การเรยี นรู้ เน่ืองจากครู อาจจะขาดทักษะในการใช้ไอซที ีเพ่ือการสื่อสาร ควรมีการพัฒนาสมรรถนะครดู ้านการใช้ไอซีทีเพื่อการสื่อสาร เพิม่ เตมิ 4.3 ประเด็นด้านคุณภาพสถานศึกษา ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยอมรับ ศรัทธาต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างต่อเน่อื ง ทั้งนี้เนื่องจากชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และเห็นภาพการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งด้าน กายภาพ ด้านคุณภาพวิชาการ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาบุคลากรครู และจากการสื่อสารความเคลื่อนไหว ของสถานศึกษาอย่างเน่ืองทางออนไลน์ซึ่งผเู้ กยี่ วขอ้ งสามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ไดส้ ะดวกและเป็นปจั จุบัน สอดคล้อง กับ ชูชาติ พ่วงสมจิตร (2560) ที่พบว่า การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนโดยโรงเรียนประชาสัมพันธ์ให้ชุมชน ทราบเกี่ยวกับ นโยบาย เป้าหมาย กิจกรรม กฎระเบียบ และ สวัสดิการต่าง ๆ ของโรงเรียน ด้วยสื่อและ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อประชาสัมพันธ์คุณภาพการศึกษา ซึ่งดูได้จากคุณภาพของผู้เรยี นที่เปน็ ที่ยอมรับของชมุ ชน ดังนั้นโรงเรียนควรเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นสำคัญเพื่อใช้เป็นเนื้อหาสาระหลักในการ ประชาสัมพันธ์โรงเรียน อีกทั้งการปรับปรุงบุคลากร และอาคารสถานที่ เป็นสัญลักษณ์ของการพัฒนาอย่าง หนึ่งที่จะสร้างความศรัทธาแก่ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไปได้เป็นอย่างดี ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ผลการ ดำเนินงานตามโครงการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนี้เนื่องจากการดำเนินงานในระยะแรกอาจมีปัญหา อปุ สรรคในการดำเนินการ หากนำข้อมลู ท่ไี ด้ไปพฒั นาปรับปรุงการดำเนินการในโอกาสต่อไปอาจสง่ ผลพัฒนาที่ สูงขึ้น

75 ขอ้ เสนอแนะการวจิ ัย 1. ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 จากผลการวิจัยที่พบว่า การพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการนิเทศโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับสถานศึกษา นอกจากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการจัด การศึกษา ผู้บริหารควรพฒั นาคู่มือการนเิ ทศภายในใหม้ ีความสมบูรณ์ทั้งบทบาทผู้มีส่วนเกย่ี วข้อง ข้ันตอนการ ปฏิบัติ และเอกสารประกอบการนิเทศ สามารถนำไปปฏบิ ัติจรงิ ในระดบั โรงเรียน เพื่อให้ผู้ทำหนา้ ทนี่ เิ ทศใชเ้ ป็น แนวทางในการนิเทศครูผู้สอน และเพื่อให้ครูใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองให้มีทักษะในการจัดการเรียน การสอนส่งผลสู่คุณภาพผู้เรียน นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางสำหรับผู้บริหาร ครู และนักวิชาการ ในการสร้าง วัฒนธรรมและค่านิยมแห่งการเรียนรู้ และการประยุกต์ใช้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้สอดคล้องกับ บริบท และสภาพของท้องถิ่น ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และเขตพื้นที่อาจนำคู่มือการดำเนินการ นเิ ทศภายในสถานศึกษาไปขยายผลสูโ่ รงเรยี นอน่ื ๆ 1.2 จากผลการวิจัยที่พบว่า ผู้บริหารจัดสรรงบประมาณสำหรับพัฒนาด้านการนิเทศ และ บริหารจัดการให้การนิเทศดำเนินได้ตลอดโครงการและมีความเหมาะสม ในการนี้ผู้บริหารควรใช้ข้อมูล สารสนเทศในการบริหารจัดการ และนำมาเป็นฐานในการกำหนดค่าเปา้ หมายและวางแผนพัฒนา ซึ่งผู้บรหิ าร ใช้กระบวนการนเิ ทศเป็นกลยทุ ธ์หนงึ่ ในการพัฒนาครใู หม้ ปี ระสิทธภิ าพส่งผลต่อคุณภาพผ้เู รียนและความสำเร็จ ของสถานศึกษาในภาพรวม ชี้ให้เห็นว่า การยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของสถานศึกษา จะต้องขับเคลื่อน โดยผู้บริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นบุคคลท่ีสำคัญที่สุดในสถานศึกษา ในการพัฒนาโรงเรยี นให้เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ มีความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ในโอกาสต่อไปเพื่อให้สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของประเทศไทย 4.0 จะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากคณะกรรมการสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา รวมถึงนักวิชาการจาก สถาบันอุดมศึกษาเข้ามาส่งเสรมิ สนับสนุนในการเรียนรู้รว่ มกันเพื่อนำ ไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาท่เี ปน็ รูปธรรมอย่างยงั่ ยืน 2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยครงั้ ต่อไป 2.1 การศึกษากลยุทธ์การพัฒนาครูสู่การเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับการจัด กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีสอดคล้องกับการศึกษาไทย 4.0 และสง่ ผลต่อคณุ ภาพผู้เรยี น 2.2 แนวทางการสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ในสังคมยุคดิจิทัล (Digital Era) โดยใช้การสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรเู้ ชิงวชิ าชีพ องคค์ วามรู้ การนิเทศภายในสถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน เป็นกระบวนการที่สำคัญในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีเทคนิคและวิธีการสอนที่เป็นการสอนแบบเชิงรุก ( Active Learning) โดยมุ่งเน้นที่ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การนิเทศเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครูผู้สอน และนักวิชาการ ที่จะเป็นผู้แนะนำช่วยเหลือครูผู้สอนให้สามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ซึ่งการนเิ ทศนัน้ อยู่บนหลกั การของการเคารพซึง่ กนั และกันระหว่างผนู้ ิเทศและผูร้ บั การนิเทศ การนิเทศภายใน จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอน ได้แก่ การออกแบบการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผลให้มีความสอดคล้องกัน การพัฒนาดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับทักษะและ ความสามารถของผู้นิเทศ ผู้นิเทศเป็นผู้ที่ทำงานร่วมกับครู ตลอดจนเป็นผู้คอยแนะนำเทคนิคและวิธีการตา่ งๆ ในการนำมาใช้ในการนิเทศภายในสถานศึกษา โดยให้ครูผู้สอนและผู้ร่วมนิเทศได้มีโอกาสสะท้อนผลและ ยกระดับการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความงอกงามขึ้น เม่ือกระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นอย่าง

76 ต่อเนื่อง ย่อมทำให้ครผู ู้สอนได้ปรบั ปรงุ ดา้ นการเรียนการสอนให้ได้ผลดีมีประสทิ ธิภาพย่ิงขึน้ ยอ่ มส่งผลต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนที่ดีขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ผู้ที่หนุนเสริมทำให้ครูผู้สอนประสบผลสำเร็จได้นั้นขึ้นอยู่กับการ ส่งเสรมิ สนับสนุนของผู้บริหารสถานศึกษา เพือ่ นครู ผู้เช่ียวชาญ หรือผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องท่เี ป็นเสมือนลมใต้ปีกใน ผลักดันและขยับระดับการพัฒนาใหเ้ กิดความสะดวก ความคล่องตัว ในการสนับสนุนด้านสื่อ ด้านบุคคล ด้าน งบประมาณ และด้านการบริหารจัดการให้เป็นไปตามนโยบายของการจัดการศึกษา จุดประสงค์ของการให้ การศึกษา ความเหมาะสมของหลักสูตร ความเหมาะสมของวัสดุอุปกรณ์ รูปแบบการสอนและวิธีสอนของครู สภาพแวดล้อมของครูและผเู้ รยี น เป็นตน้ และปัจจัยทีส่ ำคญั ของการนิเทศภายในสถานศึกษาในยุคปัจจุบนั คือ การพัฒนาประเทศไทย 4.0 เป็นการก้าวเข้าสู่สังคมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สังคมดิจิทัลเพื่อ พฒั นาเศรษฐกจิ การพัฒนาด้านการศึกษาจึงต้องมีการเรียนร้ใู ห้เทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงเพื่อการพฒั นาเยาวชน ในอนาคตได้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง และผู้ที่มีบทบาทสำคัญในกระบวนการนิเทศภายใน คือ ผู้บริหาร สถานศึกษาซงึ่ เป็นผนู้ ำในการขบั เคล่ือนนโยบายการศึกษาสู่การปฏิบัตจิ ริงในสถานศึกษา เอกสารอ้างองิ กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2545 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2553. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุ ภัณฑ์ (ร.ส.พ.). ________. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. พิมพค์ ร้งั ท่ี 3 กรงุ เทพฯ :โรง พิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั . ชูชาติ พ่วงสมจิตร. (2560). การสรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรียนกบั ชุมชน. บทความวชิ าการฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560 (ออนไลน์) (อา้ งเมือ่ 10 พฤษภาคม 2564). จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ Veridian-E-Journal/article/download/98396/76585/. ธรินธร นามวรรณ. (2561). การพัฒนาครูโดยใช้นวัตกรรมการนเิ ทศการศกึ ษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ปีท่ี 12 ฉบบั ท่ี 3 กรกฎาคม - กนั ยายน พ.ศ. 2561 ณรงค์ศกั ดิ์ ไชยชมภู. (2550). การนเิ ทศภายในโรงเรยี นเอกชนในเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาลำปางเขต 1. วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลำปาง ไพรนิ ทร์ เหมบุตร, สมชัย วงษน์ ายะ, ทวนทอง เชาวกรี ตพิ งศ.์ (2556). กลยทุ ธ์การนิเทศเพอ่ื พฒั นาครมู ืออาชีพ ในเครือข่ายการนิเทศท่ี 18. วารสารศกึ ษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 ตุลาคม – ธนั วาคม 2556.

77 ไพโรจน์ บริบูรณ์; ฉลาด จันทรสมบัติ; พา อักษรเสือ; วีรวิชญ์ เลิศรัตน์ธำรงกุล และรัชนิวรรณ อนุตระกูลชัย (2563). การพฒั นารูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ สำหรบั อาจารยน์ เิ ทศ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2563) มานพ วรรณภิละ. (2013). รูปแบบการสร้างเสริมภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮ่องสอน เขต 1. ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเวสเทริ น์ . รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (2560). ราชกิจจานุเบิกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560, หนา้ 1-90. โรงเรียนกาญจนดิษฐ์. (2562). รายงานการประเมินตนเองโรงเรยี นกาญจนดษิ ฐ์ ประจำปี 2562. สุราษฎร์ธานี : งานประกันคณุ ภาพภายในโรงเรยี นกาญจนดษิ ฐ.์ ลักษมี สุนทรจันทร์ (2552). การเพิ่มประสิทธาภาพการนิเทศภายในโรงเรียนวชิรวิทย์ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ วัชรา เลา่ เรยี นดี (2553). นิเทศการสอน (Supervision of Instruction). พมิ พ์ครงั้ ท่ี 5. นครปฐม : ศิลปากร สกาวรัตน์ ไกรมาก (2562). การนิเทศด้วยกระบวนการวิจัยเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2. พะเยา : สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาพะเยา เขต 2. สมาน อัศวภูมิ (2551). แนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้มี ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล. วทิ ยาจารยป์ ที ่ี 108 ฉบบั ท่ี 2 เดือนธันวาคม 2551 หนา้ 55-56. สุพิชญา ตันติวัฒนะผล (2559). การนิเทศโดยใช้กระบวนการวิจัย. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2564. จาก https://prezi.com/acqib7z-y55g/presentation/. สุภาภรณ์ กิตติรัชดานนท์ (2550). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารจัดการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการ ของคณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

78 สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2560. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. พมิ พค์ ร้งั ที่ 1. กรงุ เทพ : สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. อภิสรา กังสังข์ (2561). บทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอ สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. Stufflebeam, Danial L. et al. (1977). Phi Delta Kappa national study : Education evaluation and decision making. Indiana: Phi Delta Kappa. MRSLAONGTIP (2018). การนิเทศกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 21 พฤษภาคม 2564) . จ า ก https://mrslaongtip.wordpress.com/2018/02/14/%E0%B8%81%E0%B8% B2%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E 0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8 %9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B8% E0%B8%93/

ช่ือ-สกุล 79 วัน เดือน ปเี กดิ ภูมิลำเนา ประวัติผู้วจิ ัย สถานท่ีอยปู่ ัจจบุ นั นางสาวอมรรตั น์ โพธ์ิเพชร ตำแหนง่ หน้าที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 สถานทที่ ำงานปจั จุบัน อำเภอบ้านนาสาร จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี บ้านเลขท่ี 45/13 หมู่ 9 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอเมืองสุราษฎรธ์ านี จังหวัด ประวตั กิ ารศึกษา สรุ าษฎรธ์ านี 84100 พ.ศ. 2538 ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นกาญจนดษิ ฐ์ พ.ศ. 2542 โรงเรียนกาญจนดษิ ฐ์ หมู่ 2 ตำบลกะแดะ อำเภอกาญจนดิษฐ์ พ.ศ. 2549 จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 84160 พ.ศ. 2550 มธั ยมศึกษาตอนปลาย ณ โรงเรยี นสรุ าษฎร์ธานี ครุ ศาสตร์บณั ฑิต สถาบนั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี พ.ศ. 2557 ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (ศึกษาศาสตร์-การสอน) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประกาศนียบัตรบณั ฑติ (การบรหิ ารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี ครุศาสตรมหาบณั ฑิต (การบรหิ ารการศึกษา) มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี

80 การประเมนิ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์พุแค สระบรุ ี The Evaluation of The Project on White School Free from Drug and Vices for Debsirin Phukhae Saraburi School ณฐดิ า เหลก็ ชยั 1* วสิ ทุ ธิ์ วิจติ รพัชราภรณ์2 อัจฉรา นยิ มาภา3 Natida Lekchai1 Wisut Wichitputcharaporn 2 Achara Niyamabha3 1นกั ศึกษาหลกั สูตรศึกษาศาสตรด์ ษุ ฎีบณั ฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Ph.D. of Education in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 083-262-4292 2อาจารยป์ ระจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Faculty of Education, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 063-653-9651 3อาจารยป์ ระจำคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Faculty of Education, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 098-453-2945 บทคดั ย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี ดังนี้ 1) เพื่อประเมินบริบทโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและ อบายมขุ 2) เพ่ือประเมินปัจจัยนำเข้าโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข 3) เพ่ือประเมิน กระบวนการโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข และ 4) เพื่อประเมินผลผลิต โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 2 คน ครูผู้ดำเนินโครงการจำนวน 10 คน และนักเรียนหัวหน้าฝ่ายจำนวน 200 คน รวมทั้งสิ้น 212 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) วิเคราะห์ข้อมลู ด้วยคา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินพบว่า 1) ผลการประเมินด้านบริบท มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก 2) ผลการ ประเมินด้านปัจจัยนำเข้า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก 3) ผลการประเมินด้านกระบวนการ มีความ เหมาะสมอยู่ในระดับ มาก และ 4) ผลการประเมินดา้ นผลผลิต มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก ขอ้ เสนอแนะ ในการดำเนนิ โครงการ ได้แก่ สถานศึกษาควรสร้างความเข้าใจกับผู้ท่ีมีสว่ นเก่ียวข้องในการดำเนินโครงการทุก คน ได้แก่ คณะผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เป็นต้น เพื่อให้ทุกคนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ในการ ดำเนนิ โครงการ กำหนดเป้าหมาย และดำเนนิ โครงการรว่ มกนั อย่างเข้มแข็ง คำสำคัญ: การประเมนิ โครงการ ; โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข

81 ABSTRACT The objective of this research was to evaluate of The project of white school free from drug and vices for Debsirin Phukhae Saraburi school with the following objective: 1) to evaluate the context of the project of white school free from drug and vices, 2) to evaluate the input of the project of white school free from drug and vices, 3) to evaluate the process of the project of white school free from drug and vices, 4) to evaluate the product of the project of white school free from drug and vices. The sample used in the 2 administrators, 10 teachers and 200 students, totaling 212 people. The tools used to collect data in this evaluation was a project evaluation questionnaire with the rating scale of 5 level, analyzed by means of mean, and standard deviation. The result f this research were as following: 1) evaluation of the context was as a high level. 2) evaluation of the input was as a high level. 3 ) evaluation of the process was as a high level. And 4) evaluation of the product was as a high level. Operational recommendations; School should make understand for those who involved the project Including the administrators, teachers, students, parents, community, etc. So that everyone understands the objectives of the project to set a goal and keep going on the projects together with strength. Keywords: Project Evaluation; The project of white school free from drug and vices บทนำ ปัจจุบันรูปแบบของสังคมเรมิ่ มีการเปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา ความเป็นอยูแ่ ละการติดตอ่ ส่อื สารกัน มคี วามสะดวกมากยิง่ ข้นึ การเข้าถงึ สอื่ ต่างๆ ทง้ั รูปแบบออนไลน์ (Online) หรือ ออฟไลน์ (Offline) กส็ ามารถ ทำได้อย่างไม่มีข้อจำกัด ดังนั้นไม่ว่าจะอยู่ช่วงวัยใดหากต้องการท่องโลกไร้พรมแดน (Globalization) ก็ สามารถทำได้อย่างง่ายดาย แต่แล้วอิสระทางการเรียนรู้เหล่านี้ หากผู้ใช้ไม่สามารถแยกแยะถึงคุณประโยชน์ หรือโทษของการใช้งานได้ จะกลายเป็นดาบสองคมท่ีย้อนกลับมาทำร้ายผู้ใช้งานเอง ยิ่งไปกว่านั้นหากผู้ใช้งาน เป็นเยาวชนที่มีวุฒิภาวะยังไม่เพียงพอ ไม่สามารถคัดกรองข้อมูลข่าวสารที่ได้รับได้ด้วยตนเอง อาจส่งผล กระทบต่อปัญหาสงั คมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ เช่น ปัญหายาเสพติด การพนนั สือ่ ลามกอนาจาร การทะเลาะ วิวาท อาชญากรรม เป็นต้น ดังนั้นรัฐบาลจึงให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเยาวชนของชาติด้วยการดูแลตาม กรอบของแผนพัฒนาประเทศ จากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่ถือเป็นเป้าหมายในการ พัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนโดยมีกรอบการดำเนินการทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ประเทศชาติมั่นคงประชาชนมี สุข ยกระดบั ศักยภาพในหลากหลายมิติ พฒั นาคนในทุกมิติและทุกชว่ งวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ สร้าง ความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำทุกมิติ เติบโต สมดุล ยั่งยืน ทั้งเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม (สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ, 2561) ซึ่งตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติฉบบั ท่ี 12 ทีม่ ุ่งเน้นถงึ การเสริมสรา้ งและพฒั นาศักยภาพมนุษย์ ให้เป็นมนษุ ย์ทส่ี มบูรณ์ ฉะนั้นรัฐบาล จึงไดใ้ หค้ วามสำคัญถึงการดแู ลคุณภาพชีวิต การเติบโต และความเป็นอยู่ของเยาวชนให้เหมาะสม รฐั บาลจึงได้ กำหนดใหก้ ารปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติดเปน็ วาระแห่งชาติที่ทุกหนว่ ยงาน ทุกภาคส่วนตอ้ งร่วมมือกันใน

82 การควบคุม ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัยในการดำรงชีวิต โดยมอบหมายให้ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงศึกษาธกิ ารดำเนินงานตามยุทธศาสตรน์ ั้น ทั้งนี้นอกจากครอบครัวของเยาวชนแล้ว สถานศึกษาถือเป็นองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียนให้เติบโตอย่างงดงาม เป็นบุคคลที่มีความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรม ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าตามความมุ่งหวังของ สงั คม ซงึ่ กระทรวงศึกษาธิการเป็นกระทรวงที่สานต่อแนวทางของการดำเนินการตามเป้าหมายนี้ โดยประสาน ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อสนับสนุนงานของสถานศึกษาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซ่ึง กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดมาตรการป้องกันเด็กและเยาวชนก่อนวัยเสี่ยง และในวัยเสี่ยงไม่ให้เข้าไป เกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรืออบายมุขทั้งปวง กระทรวงศึกษาธิการให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด สอนใหร้ ู้จักวธิ ปี ฏเิ สธ และใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ ตลอดจนดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนที่มคี วามเกยี่ วข้องกับยา เสพตดิ เหลา่ นน้ั กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดนโยบายให้ผ้บู ริหารสถานศึกษาดำเนนิ โครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ซึ่งผู้บริหารทุกระดับต้องนำนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ไปสู่การปฏิบัติ จัดทำแผนปฏิบัติการ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและการมีส่วนร่วมของทุกหน่วยงานที่ เกยี่ วขอ้ งทั้งในและนอกสถานศึกษา อกี ทง้ั ผบู้ รหิ าร ครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ต้องให้ความสำคัญ และมีจิตสำนึกร่วมกันที่จะปกป้องคุ้มครองดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ร่วมแรงร่วมใจ จัดกิจกรรม ทั้งในหลักสูตรและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติดใน สถานศกึ ษา ซง่ึ เปน็ สว่ นหน่งึ ของการเรยี นการสอน (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2560) ปัจจุบันปัญหายาเสพติดในหมู่เยาวชนกำลังเป็นปัญหาที่นับวันจะทวีความรุนแรงข้ึน ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ชีวิตของเยาวชนอย่างมาก ทำใหไ้ รอ้ นาคตและสังคมเกิดปัญหา สง่ิ เหล่านี้จึงกลายเป็นหนา้ ท่ีของประเทศชาติที่ ทุกภาคส่วนต้องแก้ปัญหาร่วมกัน นอกจากปัญหายาเสพติดแล้วยังมีปัญหาด้านอื่นๆ ที่ได้แพร่ระบาดเข้าสู่ สถานศึกษาอีกหลายด้าน เช่น ปัญหาด้านอบายมุข การเล่นการพนัน รวมไปถึงสื่อสิ่งพิมพ์ที่ไม่เหมาะสมซึง่ จะ ส่งผลให้พฤติกรรมของเยาวชนเบี่ยงเบนไปในทางที่ไม่พึงประสงค์ตลอดจนปัญหาการทะเลาะวิวาท อัน ก่อให้เกดิ ความเสยี หายและความเดอื ดร้อนแก่คนทั่วไปในสังคม ตามได้กลา่ วมาน้นั ปัญหาทเี่ กิดข้ึนมีความจำเป็นต้องได้รับการดูแล ป้องกนั และแก้ไขอย่างเร่งด่วน จึงเป็นที่มาของศูนย์อำนวยการป้องและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้มอบหมายให้ สถานศึกษาจัดทำโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุขขึ้น โดยโรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี เป็นโรงเรียนที่อยู่ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้การดูแลของ กระทรวงศึกษาธิการ ที่รับโครงการมาดำเนินการเพื่อเป็นแนวทางในการรณรงค์ปอ้ งกันแก้ไขปัญหาส่ิงเสพติด การพนัน สิ่งไม่เหมาะสมและการทะเลาะวิวาทที่จะเกิดข้ึนกับผู้เรียน ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2559 เป็นต้นมา ซ่ึง ได้ดำเนินการตามแนวทางการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ 5 มาตรการ และกลยุทธ์ 4 ต้อง 2 ไม่ อีกทั้งวางแนวปฏิบัติในการให้ความช่วยเหลือโดยระดม ความร่วมมือจากบ้านและชุมชนในการสร้างภูมิคุ้มกนั ให้กับนักเรียนในสถานศึกษา ทั้งนี้ เพื่อตรวจสอบผลการ ดำเนินงานของสถานศึกษาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา การประเมินโครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี ซึ่งผลการวิจัยจะนำไป พัฒนาการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ของโรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบรุ ี ต่อไป

83 วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 1. เพอื่ ประเมนิ บริบทโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ 2. เพอ่ื ประเมนิ ปัจจยั นำเขา้ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 3. เพ่ือประเมนิ กระบวนการดำเนินโครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 4. เพ่ือประเมินผลผลิตโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย 1. รูปแบบการประเมิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรีครั้งน้ี ประยุกต์ใชร้ ูปแบบในการประเมนิ โครงการโดยนำรูปแบบจำลอง ซิป (CIPP Model) มาประยกุ ต์ใช้ในการวิจัย ซึ่งแบ่งการประเมินออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ การประเมินสภาพแวดล้อม (Context Evaluation) การประเมิน ปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) การประเมินผลผลิต (Output Evaluation) 2. ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษา การประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบรุ ี ผู้วิจัยไดก้ ำหนดขอบเขตดา้ นเนอื้ หาและประชากรของการวิจยั ดังนี้ 2.1 ขอบเขตด้านเน้อื หา เนื้อหาสำหรับวเิ คราะห์องคป์ ระกอบการประเมินโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข โรงเรยี นเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี ประกอบด้วยแนวคดิ เกยี่ วกบั การประเมินผล โครงการและแนวคดิ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 2.2 ขอบเขตด้านประชากร ประชากร ประกอบด้วย ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น จำนวน 1 คน รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนกลุม่ กิจการนักเรยี น จำนวน 1 คน ครผู รู้ บั ผิดชอบโครงการ จำนวน 10 คน นักเรยี นหวั หน้าฝา่ ยงาน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 จำนวน 200 คน รวมทง้ั สนิ้ จำนวน 212 คน

84 2.3 กรอบแนวคดิ การวิจยั 2.4 กรอบการประเมนิ การวจิ ัยเร่ืองการประเมนิ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมุขโรงเรยี นเทพศิรินทร์พุแค สระบุรีครง้ั นี้ มีรายละเอียดของวัตถปุ ระสงค์ ประเดน็ การประเมนิ ตัวชี้วดั และเกณฑ์การตดั สินตามกรอบการประเมนิ ดังตาราง 1

85 ตาราง 1 กรอบการประเมิน วัตถปุ ระสงค์ ประเด็นการประเมิน ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์การตัดสิน 1. เพื่อประเมิน 1. ความตอ้ งการจำเป็น 1. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการมี 1. คา่ เฉลี่ยความคิดเห็น บรบิ ท ของโครงการ (Context) 2. ความเปน็ ไปไดข้ อง ความคิด เห็นสอดคล้องกบั ผลใน ต่อความเหมาะสมของ โครงการ 3. วัตถปุ ระสงค์ของ ประเดน็ อื่น บริบท ระดับมากข้ึนไป โครงการ 2. โครงการสถานศึกษาสีขาว 2. คา่ เฉลี่ยของคุณภาพ ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข ดา้ นบริบท อยู่ระดบั มคี ณุ ภาพด้านบรบิ ทของ มากขึน้ ไป โครงการ 2. เพื่อประเมิน 1. ความพรอ้ มดา้ น 1. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการและ 1. คา่ เฉลยี่ ความคดิ เหน็ ปัจจยั นำเข้า งบประมาณ (Input) 2. ความพร้อมดา้ น นกั เรยี นมีความคดิ เหน็ ต่อความ ต่อความเหมาะสมของ บุคลากร เหมาะสมของปัจจยั นำเข้า ปัจจัยนำเขา้ ระดบั มาก 3. ความพร้อมดา้ นสอื่ วสั ดุ อปุ กรณ์ 2. โครงการสถานศึกษาสขี าว ขน้ึ ไป 4. ความพร้อมดา้ น สภาพแวดลอ้ ม ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 2. ค่าเฉล่ียของคุณภาพ 3. เพื่อประเมิน 1. การบริหารจดั การ มีคณุ ภาพด้านปจั จยั นำเข้า ดา้ นปจั จยั นำเขา้ อยู่ กระบวนการ 2. การวางแผน ดำเนนิ โครงการ 3. การปอ้ งกนั ระดับมากขน้ึ ไป (Process) 4. การคน้ หา 1. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการและ 1. ค่าเฉลยี่ ความคิดเห็น 5. การรักษา นกั เรียนมคี วามคิดเห็นต่อความ ต่อความเหมาะสมของ 6. การเฝา้ ระวงั เหมาะสมของกระบวนการ กระบวนการดำเนนิ 7. การตรวจสอบและ ดำเนินโครงการ โครงการ ระดบั มากขึ้น ประเมนิ ผล 2. โครงการสถานศึกษาสขี าว ไป ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุขมี 2. ค่าเฉลย่ี ของคณุ ภาพ 4. เพือ่ ประเมิน 1. ประสทิ ธิภาพการจัด คณุ ภาพด้านกระบวนการดำเนนิ ด้านกระบวนการดำเนนิ ผลผลิต กจิ กรรมการเรยี นร้ขู อง โครงการ โครงการอยรู่ ะดับมาก (Product) สถานศกึ ษา ขน้ึ ไป 2. พฤตกิ รรมการเรียนรู้ 1. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการและ ของผู้เรยี น นักเรียนมคี วามคิดเหน็ ต่อความ 1. คา่ เฉลย่ี ความคดิ เห็น 3. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ เหมาะสมของผลผลิตของ ต่อผลผลติ ของโครงการ ประสงค์ของผู้เรยี น โครงการ ระดบั มากข้นึ ไป 4. การอย่รู ว่ มกับผู้อน่ื 2. โครงการสถานศึกษาสขี าว 2. ค่าเฉลยี่ ของคุณภาพ อย่างมีความสขุ ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ดา้ นผลผลิตของ มคี ุณภาพด้านผลผลติ ของ โครงการอย่รู ะดบั มาก โครงการ ข้นึ ไป

86 2.5 เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมิน ประกอบด้วย 4 ฉบบั ดังนี้ 2.5.1 แบบสอบถามเพื่อการประเมินบรบิ ทของโครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ 2.5.2 แบบสอบถามเพื่อการประเมินปัจจยั นำเข้าของโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข 2.5.3 แบบสอบถามเพื่อการประเมนิ กระบวนการของโครงการสถานศึกษาสขี าวปลอดยาเสพติด และอบายมขุ 2.5.4 แบบสอบถามเพ่ือการประเมนิ ผลผลติ ของโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข เครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ ครัง้ นี้ มีลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยดำเนนิ การสรา้ งเครือ่ งมือข้ึนเองเสนอผเู้ ชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน เพ่ือพจิ ารณาความตรง เชงิ เนือ้ หา (Content Validity) และการใช้ภาษาหาค่าความเชอื่ มนั่ ของแบบสอบถามฉบับท่ี 1 ไดเ้ ท่ากบั 0.85 ฉบบั ที่ 2 ไดเ้ ทา่ กบั 0.89 และ ฉบับท่ี 3 ได้เท่ากับ 0.87 2.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การประเมิน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์พุแค สระบุรี ผู้ประเมินได้ ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดงั นี้ 2.6.1 ผวู้ ิจัยนำหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เพ่ือขอความอนเุ คราะหไ์ ป ยังโรงเรียนเทพศริ นิ ทรพ์ แุ ค สระบรุ ี เพื่อกำหนดเวลาในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 2.6.2 ผวู้ จิ ยั เก็บขอ้ มูลระหว่างเดอื นมีนาคม - เมษายน 2564 มรี ายละเอียด ดังน้ี ประเดน็ เครื่องมือ แหล่งข้อมูลท่เี กี่ยวข้อง 1. แบบสอบถาม 1. เพื่อประเมนิ ด้าน 1. เอกสารทีเ่ กี่ยวข้องกับโครงการสถานศึกษาสีขาวฯ บรบิ ท (Context) 2. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น จำนวน 1 คน 3. รองผู้อำนวยการกลมุ่ กิจการนักเรยี น จำนวน 1 คน 2. เพื่อประเมินปจั จัย 1. แบบสอบถาม 4. ครดู ำเนินโครงการ จำนวน 10 คน นำเขา้ (Input) 1. เอกสารท่เี กย่ี วข้องกบั โครงการสถานศึกษาสีขาวฯ 3. เพ่ือประเมิน 1. แบบสอบถาม 2. ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 1 คน กระบวนการดำเนนิ 1. แบบสอบถาม 3. รองผู้อำนวยการกลุ่มกิจการนกั เรียน จำนวน 1 คน โครงการ (Process) 4. ครูดำเนนิ โครงการ จำนวน 10 คน 4. เพือ่ ประเมนิ ด้าน 1. เอกสารที่เก่ียวข้องกับโครงการสถานศึกษาสีขาวฯ ผลผลิต (Product) 2. ครดู ำเนินโครงการ จำนวน จำนวน 10 คน 3. นักเรยี น จำนวน 200 คน 1. เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกับโครงการสถานศึกษาสีขาวฯ 2. ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 1 คน 3. รองผูอ้ ำนวยการกลุม่ กจิ การนกั เรยี น จำนวน 1 คน 4. ครูดำเนนิ โครงการ จำนวน 10 คน 5. นักเรียน จำนวน 200 คน

87 2.7 การวเิ คราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูลการประเมนิ โครงการสถานศึกษาสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ โรงเรยี นเทพศิรินทรพ์ ุแค สระบรุ ี วเิ คราะห์ข้อมูลตามความม่งุ หมายของการวจิ ยั โดยแบ่งเปน็ 4 ตอน คือ ประเมินปัจจัยด้านบริบท ประเมนิ ปจั จัยนำเข้า ประเมนิ กระบวนการดำเนินโครงการ และประเมนิ ผล ผลิตของโครงการ ซึ่งการวิเคราะหข์ ้อมลู น้ีจะกระทำไปพร้อมกับการวิเคราะหเ์ อกสาร และแบบสอบถาม เพอ่ื ให้การวเิ คราะห์ข้อมูลมีความน่าเช่อื ถือมากท่ีสุดโดยวเิ คราะหแ์ ละตคี วามขอ้ มลู อย่างละเอยี ด และเปน็ ระบบ 2.8 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผูว้ จิ ัยใชส้ ถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลแยก เปน็ ประเด็นดังต่อไปนี้ 2.8.1 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ ไดแ้ ก่ การหาค่าความเท่ยี งตรงเชิงพนิ จิ (Face validity) ของเคร่ืองมือ โดยหาค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) 2.8.2 สถติ ิพื้นฐานท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ยั 1. ผลการประเมินดา้ นบรบิ ท ของการดำเนินโครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี มีความเหมาะสมในระดับมาก (µ = 4.44, σ = .17) และผ่านเกณฑ์การ ประเมินทุกเร่ือง เมอื่ พจิ ารณาผลการประเมินแต่ละเร่ือง พบว่า เรอ่ื งท่มี ีความเหมาะสมสูงสุด อยู่ในระดับมาก ท่ีสุด ได้แก่ เรื่อง วัตถุประสงคข์ องโครงการ ส่วนเรอ่ื งทม่ี คี วามเหมาะสมตำ่ สดุ อยู่ระดบั มาก ได้แก่ เรื่องความ เป็นไปได้ของโครงการ 2. ผลการประเมนิ ดา้ นปจั จัยนำเข้า ของโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี มีความเหมาะสมในระดับมาก (µ = 4.44, σ = .08) และผ่านเกณฑ์การ ประเมินทุกเรื่อง เมื่อพิจารณาผลการประเมินในแต่ละเรื่อง พบว่า เรื่องที่มีความเหมาะสมสูงสุดอยู่ในระดับ มาก ไดแ้ ก่ เร่อื งความพร้อมด้านบุคลากร สว่ นเร่ืองทมี่ คี วามเหมาะสมตำ่ สุด อย่ใู นระดบั มาก ได้แก่ เร่ืองความ พรอ้ มด้านงบประมาณในการดำเนนิ โครงการ 3. ผลการประเมนิ ด้านกระบวนการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก (µ = 4.30, σ = .16) และผ่าน เกณฑ์การประเมินทุกเรื่อง เมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละเรื่อง พบว่า เรื่องที่มีความเหมาะสมสูงสุด อยู่ ระดบั มากที่สุด ไดแ้ ก่ เรอื่ งการรกั ษา ส่วนเรื่องที่มีความเหมาะสมตำ่ สุด อยู่ระดบั มาก ได้แก่เรื่อง การเฝ้าระวงั 4. ผลการประเมินด้านผลผลิต ของการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุขโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์พุแค สระบรุ ี ดังนี้ 4.1 ผลการประเมินด้านผลผลิตของครู พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดับมาก (µ = 4.27, σ = .05) และผ่านเกณฑ์การประเมินทุกเรื่อง เมื่อพิจารณาผลแต่ละเรื่องพบว่า นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (µ = 4.57, σ = .24) ส่วนเรื่องที่มีความเหมาะสมต่ำสุด อยู่ ระดบั มาก ไดแ้ ก่ ประสทิ ธิภาพการดำเนินโครงการของสถานศึกษา (µ = 4.07, σ = .14) 4.2 ผลการประเมนิ ดา้ นผลผลิตของนักเรียน พบว่า ผลการประเมินอยู่ในระดบั มาก (µ = 4.11, σ = .04) และผ่านเกณฑ์การประเมินทุกเรื่อง เมื่อพิจารณาผลแต่ละเรื่องพบว่า นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด (µ = 4.30, σ = .15) ส่วนเรื่องที่มีความเหมาะสมต่ำสุด อยู่ ระดับมาก (µ = 4.03, σ = .07) ได้แก่ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องนักเรียน

88 อภิปรายผล จากผลการศึกษา สามารถอภิปรายผลดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ผลการประเมินด้านบริบท (Context) ของการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พแุ ค สระบุรี เกิดมาจากหลกั การ และเหตุผล ตลอดจนความจำเป็นที่ต้องดำเนินโครงการ และมีเป้าหมายของโครงการที่ชัดเจน เพื่อมุ่ง ความสำคัญไปที่การดูแลนักเรียน เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติด ซึ่งจะสอดคล้องกับนโยบายการป้องกันและ แก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี ได้นำรูปแบบ แนวทางมาปรับใช้ในการดำเนินโครงการให้เหมาะแก่การดูแลและพัฒนาผู้เรียน สอดคล้องกับ ภาสกร โชค ขจิตสัมพันธ์ (2560) ที่ได้วิจัยเรื่อง การประเมินโครงการสถานศึกษาขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต พบว่า ผลการประเมินด้านบรบิ ทของโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด และ สอดคล้องกับ อมรรัตน์ พนัสนาชี (2562) ที่ได้วิจัยเรื่อง รายงานประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยา เสพตดิ และอบายมุข โรงเรียนบ้านบึงลัด สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาชุมพรเขต 1 พบว่า ผลการ ประเมนิ ดา้ นบริบทของโครงการ อยใู่ นระดับมากท่สี ุด และสอดคลอ้ งกบั รายงานการประเมินสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย พบว่า ผลการประเมินด้านบริบท วัตถุประสงค์ของ โครงการสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งในภาพรวมจากผลการ ประเมินด้านบริบท ของการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิริ นทร์พุแค สระบรุ ี สรปุ ได้ว่าดา้ นบริบทมีความเหมาะสมในการดำเนินโครงการตอ่ ไป 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ของการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพ ติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี พบวา่ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยด้านท่ีมีความ เหมาะสมมากที่สุด ได้แก่ ความพร้อมด้านบุคลากรในการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีประสบการณ์ มีความรู้ ความสามารถหลากหลายด้าน เพียงพอต่อการ ดำเนินโครงการดังกล่าว ซึ่งสอด คล้องกับ เกียรติศักดิ์ คูณประทุม (2560) ได้วิจัยเรื่อง การประเมินโครงการ สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบซิป โมเดล (CIPP Model) : กรณีศึกษาโรงเรียนชุมชนบ้านแก้งคร้อหนองไผ่ พบว่า ความพร้อมของบุคลากรในการดำเนิน งานมีความ เหมาะสม โดยบคุ ลากรมคี วามรูค้ วามสามารถเพียงพอ และมคี วามรว่ มมอื ของบคุ ลากรในการดำเนนิ งานได้เป็น อย่างดี ซึ่งการที่สถานศึกษามีความพร้อมด้านปัจจัยนำเข้าต่อการดำเนินโครงการหรือกิจการงานของ สถานศกึ ษา จะส่งเสรมิ ใหก้ ารดำเนนิ การเหล่านน้ั บรรลุตามวตั ถุประสงค์ไดโ้ ดยงา่ ย 3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ (Process) ของการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยา เสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มี ความเหมาะสมมากที่สุด ได้แก่ ด้านการรักษา ทั้งน้อี าจเปน็ เพราะโรงเรยี นเทพศิรินทร์พุแค สระบรุ ี มีเครือข่าย ชมุ ชนทมี่ คี วามเข้มแข็ง พร้อมจะชว่ ยเหลือและใหก้ ารสนบั สนุนสถานศึกษาในทุกกิจกรรม อีกท้ังยังมีเครือข่าย ภายนอกที่ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาเพ่ือเป็นกำลังในการสร้างเยาวชนของประเทศชาติ ทั้งนี้สถานศึกษา ยังกำหนดนโยบายและแผนการบำบัดยาเสพติดและอบายมุขที่มีความสอดคล้องกับโครงการฯ ซึ่งผลการ ประเมินด้านกระบวนการโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี สอดคล้องกับ แกน่ ตะวนั กาญจนนันทวงศ์ (2561) ไดว้ ิจัยเร่อื ง การประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว

89 ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ โรงเรียนอนบุ าลสมุทรสงคราม สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา สมทุ รสงคราม พบวา่ ผลการประเมินดา้ นกระบวนการการรักษา ตามความเหน็ ของครูและนักเรยี นอยู่ในระดับ มากทส่ี ุด 4. ผลการประเมินด้านผลผลิต ของการดำเนินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และ อบายมุข โรงเรยี นเทพศิรนิ ทรพ์ ุแค สระบุรี ซ่งึ แบง่ เปน็ 2 ส่วนได้แก่ 4.1 การประเมินด้านผลผลิตตามความคิดเห็นของคณะผู้บริหารและครู พบว่า มีการประเมินภาพ รวมอยใู่ นระดับ มาก โดยเรื่องท่มี ีผลการประเมนิ ระดบั มากทีส่ ุด ได้แก่ การอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ อย่างมีความสุข ท้งั นี้ อาจเป็นเพราะ อัตลักษณ์ของนักเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี คือ “ทำงานเป็น เน้นสามัคคี” โรงเรียนจึงให้การสนับสนุนความร่วมมือซึ่งกันและกัน เปิดกว้างอิสระทางความคิด และส่งเสริมทักษะชีวิต ตามหลักสูตรของสถานศึกษา สอดคล้องกับ อุทัยวรรณ ศรีรัตน์ (2562) ได้วิจัยเรื่อง การเป็นโรงเรียนแห่ง ความสุขของโรงเรียนบ้านหนองฝ้าย พบว่า การพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนแห่งความสขุ โรงเรียนควรเปิด โอกาสใหค้ รูไดก้ ำหนดแผนพฒั นาตนเองตาม แผนปฏบิ ัติงาน โรงเรียนมแี ผนพัฒนางานแนะแนวและระบบดูแล ช่วยเหลอื นักเรียน และโรงเรียน เปิดช่องทางการติดต่อสือ่ สารระหวา่ งผู้อำนวยการ ครูและผู้ปกครอง รวมถงึ กระบวนการที่ครูต้องกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วย ตนเอง และครูมีการประเมินผลตามสภาพจริง อีกทั้งโรงเรียนยังเสริมสร้างสุขภาวะและ สุขาภิบาลให้กับ นกั เรยี น โดยโรงเรียนมกี ารพัฒนาระบบความปลอดภยั ในโรงเรียน และโรงเรียนมกี าร ตรวจสอบสภาพเสมอ 4.2 การประเมินด้านผลผลิตตามความคิดเห็นของนักเรียนหัวหน้าฝ่าย พบว่า มีการประเมินภาพ รวมอยู่ในระดับ มาก โดยเรื่องที่มีผลการประเมินระดับ มาก สูงสุด ได้แก่ การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ซึ่งมี ความคิดเห็นตรงกับคณะผู้บริหารและคณะครู ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนเปิดกว้างด้านอิสระทางความคิด และการแสดงความคิดเห็นให้กับนักเรียนโดยผ่านระบบสภานักเรียน นักเรยี นมีอสิ ระในการส่งต่อข่าวสาร ส่ิงดี ที่เกิดขึ้น หรือ เสนอสิ่งที่สถานศกึ ษาควรพัฒนาให้ดียิง่ ขึ้นต่อไป ซึ่งรูปแบบในการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาน้ี สอดคล้องกับ แฮนลา และคณะ (Heinla and others, 2012) ที่ พบว่าบรรยากาศทางสังคมมีความสัมพนั ธ์กับ ความคิดสร้างสรรค์ถ้าบรรยากาศทางสังคมดีจะส่งผลให้มีความคิดสร้างสรรค์สูงขึ้น และการที่ผู้สอนจัด บรรยากาศที่สนับสนุนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนรู้สึกปลอดภัยในการคิดและการกระทำจะเป็นการสร้าง บรรยากาศทีด่ ีในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้สูงข้ึน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมพร หลิมเจรญิ (2552) พบว่า หลักการทส่ี ำคญั ในการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ไดแ้ ก่ การจดั การเรียนรู้โดย ยึดผ้เู รยี นเปน็ สำคญั โดยให้ผู้เรยี นเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองและเรยี นรู้จากการปฏิบตั ิจริง ฝกึ ปฏบิ ัติกระบวนการคิดที่ท่ี ส่งเสริมและเอื้อต่อการคิดสรา้ งสรรคจ์ ัดบรรยากาศในการเรียนรู้ให้มีอสิ ระในการ คดิ มีอสิ ระในการปฏิบัติงาน และมีอิสระในการเรียนรู้สร้างแรงจูงใจโดยเฉพาะแรงจูงใจจากภายในได้แก่ความ อยากรู้อยากเห็นและความ เชอ่ื ม่นั ในตนเอง เปน็ ตน้ สรา้ งผู้เรยี นให้เห็นคุณค่าของความคดิ สรา้ งสรรคก์ าร แกป้ ญั หาและการคดิ ด้วยตนเอง และการเสริมแรงทางบวก ขอ้ เสนอแนะการวิจยั 1. ผลการประเมนิ ดา้ นบริบท (Context) ของการดำเนินโครงการถึงแม้การประเมนิ จะอยใู่ นระดับมาก แต่ในเรื่องของ ความเป็นไปได้ของโครงการ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับความเหมาะสมด้านอ่ืน และปัจจัยด้านผลผลิตของโครงการ ยังถือเป็นผลสะท้อนที่แสดงถึงความเป็นไปได้ของโครงการ ดังน้ัน สถานศึกษาจึงควรดำเนินโครงการตามแผนการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและติดตามผลการดำเนินงาน อย่างตอ่ เน่ืองให้ครบทุกขนั้ ตอน ตั้งแตข่ นั้ ตอนของการบริหารจัดการ การวางแผน การปอ้ งกนั การคน้ หา การ

90 รักษา การเฝ้าระวัง การตรวจสอบและการประเมินผล ก็จะช่วยสนับสนุนกระบวนการดำเนินโครงกา รให้มี ความชดั เจนและเป็นรปู ธรรมมากยิง่ ข้นึ 2. จากการประเมินด้านปัจจยั นำเข้า (Input) พบว่า ปัจจัยนำเข้าคือปัจจัยเบื้องตน้ ท่ีมีความสำคญั ต่อ การดำเนนิ โครงการเปน็ อย่างย่ิง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และประเด็นที่ตอ้ งพิจารณาเพ่ิมเติม ไดแ้ ก่ ความพรอ้ มดา้ นงบประมาณ ถงึ แมว้ า่ โรงเรียนเทพศิรนิ ทรพ์ แุ ค สระบรุ ี จะเปน็ โรงเรียนมัธยมศกึ ษาขนาด ใหญ่พิเศษ ที่ได้รับการดูแล และการสนับสนุนจากชุมชนด้วยดีตลอดมา แต่เนื่องจากว่าบริบทของชุมชน ผู้ปกครองส่วนมากยงั คงประกอบอาชีพรบั จ้าง รับค่าแรงเป็นรายวนั จึงไม่มีกำลังเพียงพอที่จะสนับสนุนด้าน งบประมาณ (เงินทุนพิเศษ) ให้กับสถานศึกษาในการต่อยอดและดำเนินโครงการ ดังนั้น สถานศึกษาจึงควร ทบทวนกิจกรรมี่ใช้งบประมาณในการดำเนินโครงการสูง เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับบริบท หรือ หากบางกิจกรรมตี่ ้องใช้งบประมาณสงู สถานศกึ ษาควรขอความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีจะร่วม ขับเคล่ือนโครงการใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงค์ต่อไป 3. จากการประเมนิ ดา้ นกระบวนการ (Process) พบวา่ กระบวนการดำเนนิ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติด และอบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ที่มีค่าเฉลี่ยใน ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก และคา่ เฉลี่ยตำ่ สดุ อยู่ในระดบั มาก คอื ดา้ นการเฝา้ ระวงั แสดงให้เหน็ วา่ สถานศึกษา ดำเนนิ โครงการฯ ครบทุกขั้นตอนแตย่ ังขาดการเฝา้ ติดตามการดำเนินโครงการฯอย่างต่อเนื่อง ดงั น้ัน ผู้บริหาร สถานศึกษาจึงควรมอบหมายให้หัวหน้างานหรือผู้ดำเนินโครงการฯ ปรับกลยุทธ์ในขับเคลื่อนโครงการฯ ให้ หัวหน้าระดับหรือครูที่ปรึกษาได้ร่วมป้องกัน ค้นหา รักษา เฝ้าระวัง และตรวจสอบ การดำเนินโครงการเป็น ประจำอย่างน้อยดือนละ 2 ครั้ง จากนั้นให้มีการรายงานผลการดำเนินการต่อผู้ดำเนินโครงการฯ เพื่อ ตรวจสอบและประเมินผล ตามลำดับ 4. การประเมนิ ด้านผลผลติ (Product) ประกอบด้วย 2 สว่ น ดงั น้ี 4.1 จากการประเมินด้านผลผลิต (Product) ของครู พบว่า ประสิทธิภาพการดำเนินโครงการของ สถานศึกษาอยู่ในระดับ มาก และประเด็นที่ต้องพิจารณาได้แก่ ประสิทธิภาพการดำเนินโครงการของ สถานศึกษา ดังน้ัน สถานศกึ ษาตอ้ งทบทวนกลยุทธแ์ ละแผนงานใหม่ ปรบั รปู แบบการติดตามการดำเนินงานให้ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา และให้คณะดำเนินการรายงานผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเปิดโอกาสให้มีการ ทบทวนกระบวนการดำเนินงานระหว่างการดำเนินโครงการ และผู้บริหารต้องคอยให้คำชี้แนะกับผู้ดำเนิน โครงการตลอดระยะวลาการดำเนนิ โครงการ กระบวนการท้งั หมดจะช่วยสนับสนนุ เพิ่มประสิทธภิ าพการดำเนิน โครงการของสถานศกึ ษาได้ดี 4.2 จากการประเมินด้านผลผลิต (Product) ของนักเรียน พบว่า ประสิทธิภาพการดำเนิน โครงการของสถานศึกษาอยู่ในระดับ มาก และประเด็นที่ต้องพิจารณา ได้แก่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน ดังนั้น สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่มีความสอดคล้องและเชื่อมโย งโดยตรงกับ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งควรเพิ่มชั่วโมงการอบรมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียนสอดแทรกไปในชั่วโมงของการพบครูที่ปรึกษาในช่วงเช้าก่อนการขึ้นชั้นเรียน จะช่วยส่งเสริมให้ นักเรยี นได้ตระหนกั ถึงบทบาทหนา้ ทแ่ี ละการปฏบิ ตั ิตนของตนเองมากยิ่งขึ้น 5. จากข้อเสนอแนะในการดำเนินการประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรี ดังกล่าว มีสิ่งที่น่าสนใจ ได้แก่ การดำเนินโครงการฯ หาก สถานศกึ ษามคี วามพร้อมด้านบุคลากร มีแนวทางในการดำเนินโครงการทชี่ ดั เจน และเปน็ ไปอยา่ งเหมาะสมจะ ช่วยส่งเสริมให้สถานศึกษาดำเนินโครงการฯ ได้บรรลุตรงตามเป้าหมาย แต่หากในทุกขั้นตอนของการ ดำเนินการไม่ได้รับการกำกับ ติดตามอย่างต่อเนื่อง ก็จะส่งผลเชิงลบให้โครงการดำเนินไปอย่างไม่มี

91 ประสิทธิภาพ ดังนนั้ สถานศึกษาควรสร้างความเขา้ ใจกบั ผู้ทม่ี สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งในการดำเนนิ โครงการทุกคน ได้แก่ คณะผูบ้ ริหาร ครู นักเรยี น ผูป้ กครอง ชมุ ชน เป็นต้น เพ่ือใหท้ ุกคนเข้าใจถงึ วตั ถุประสงค์ในการดำเนินโครงการ กำหดเป้าหมาย และดำเนินโครงการร่วมกนั อยา่ งเขม้ แขง็ องคค์ วามรู้ใหม่ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เป็นโครงการของสำนักส่งเสริมกิจการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นคนที่ สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ห่างไกลจากยาเสพติด อบายมุขทั้งปวง และสามารถอยู่ รว่ มกบั ผู้อื่นได้อยา่ งมคี วามสุข ซึ่งสถานศกึ ษาถือเป็นองค์กรอันดับแรกท่ีจะดำเนินโครงการ สง่ เสริม สนับสนุน แผนงานของกระทรวงศึกษาธิการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยสถานศึกษาต้องดำเนินการ วิเคราะห์สภาพองค์กรนำมาซึ่งการกำหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน กลยุทธ์ มาตรการในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด อบายมุขในสถานศึกษาได้อย่างมีระสิทธิภาพ อีกทั้งการสร้างความเข้าใจถึงแนวทางการ ดำเนินโครงการระหว่างครูกับนักเรียน ให้ตระหนักถึงคุณประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนและองค์กรสามารถ กระตุ้นจิตสำนึกของผู้ที่เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมืออย่างเต็มศักยภาพ ส่งผลให้เกิดคุณลักษณะอันพึง ประสงคท์ ดี่ ีกบั ผเู้ รียน และสมาชกิ ในองคก์ รทกุ คนสามารถอยู่รว่ มกันได้อยา่ งมีความสุข เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือการดำเนนิ งานโครงการสถานศึกษาสขี าว ปลอดยาเสพติดและอบายมขุ ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช2559. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: สกสค. เกียรติศกั ด์ิ คูณประทุม. (2560). การประเมนิ โครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยา เสพติด และอบายมุข โดย ใชร้ ปู แบบการประเมินแบบซิป โมเดล (CIPP Model) : กรณศี กึ ษาโรงเรยี นชุมชนบา้ นแกง้ คร้อหนองไผ่. (ออนไลน)์ (อา้ งเมื่อ 13 พฤษภาคม 2564). https://drive.google.com/file/d/1PVfN9fV6gvu2roiuCvrF9z6fUcYUBcSZ/view แกน่ ตะวัน กาญจนนันทวงศ.์ (2561). การประเมินโครงการสถานศกึ ษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข โรงเรยี นอนุบาลสมุทรสงคราม สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม. (ออนไลน์) (อา้ งเมอ่ื 13 พฤษภาคม 2564). จาก http://skm.go.th/portal2/wp- content/uploads/2019/12 ภาสกร โชคขจติ สมั พันธ.์ (2560). การประเมินโครงการสถานศกึ ษาขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั รังสติ . (ออนไลน)์ (อ้างเม่ือ 10 พฤษภาคม 2564). จาก http://www.skr.ac.th/main/2017/12/10/white_school/ สำนกั งานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561-2580. พิมพ์คร้ัง ที่ 1. กรงุ เทพฯ: สกสค.

92 สมพร หลิมเจริญ. (2552). การพฒั นาหลักสตู รเสรมิ เพื่อสง่ เสรมิ ความคิดสรา้ งสรรคส์ ำหรับนกั เรียนช่วงชน้ั ท่ี 2. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทร วิโรฒ. อมรรัตน์ พนัสนาชี. (2562). รายงานประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนบ้านบึงลัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพรเขต 1. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 13 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 4 ) . จ า ก https://data.bopp- obec.info/emis/news/news_view_school.php?ID_New=90936 อุทัยวรรณ ศรีรัตน์. (2562). การเป็นโรงเรียนแห่งความสุขของโรงเรียนบ้านหนองฝ้าย. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร. Heinla, E., Ruutel, E., Moistlik, M., Liivaar, L.(2012). Students’ creative thinking related aspects of school climate. (Online) http://www.inter-disciplinary.net/wp- content/uploads/2011/06/heinlacpaper.pdf

ช่อื -สกุล 93 วนั เดือน ปเี กดิ ภมู ิลำเนา ประวตั ิผู้วจิ ัย สถานที่อยู่ปัจจบุ ัน ตำแหน่งหน้าท่ี นางสาวณฐิดา เหล็กชยั สถานทีท่ ำงานปัจจบุ ัน 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 อำเภอเมือง จงั หวดั ลพบรุ ี ประวตั ิการศึกษา บ้านเลขท่ี 13/1 หมู่ 5 ตำบลถนนใหญ่ อำเภอเมือง จังหวดั ลพบรุ ี 15000 พ.ศ. 2552 ขา้ ราชการครู โรงเรยี นเทพศิรินทร์พแุ ค สระบุรี สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา พ.ศ. 2558 มัธยมศกึ ษา สระบุรี พ.ศ. 2563 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนวนิ ิตศึกษา ในพระราชูปถัมภส์ มเดจ็ พระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดลพบรุ ี ครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

94 การประเมนิ โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรยี นแห่งหนง่ึ สงั กัดสำนกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร The Evaluation of Bilingual School (English-Thai) Program Under Department of Education Bangkok Metropolitan Administration ปิยะณฐั จริงจติ ร1* วิสุทธ์ิ วจิ ิตรพชั ราภรณ์2 อจั ฉรา นิยมาภา3 Piyanut Jringchit1 Wisut Wichitputchraporn 2 Achara Niyamabha3 1นิสติ หลกั สูตรศกึ ษาศาสตร์ดุษฎีบณั ฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 087-888-8771 2อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Faculty of Education, Kasetsart University 3อาจารย์ประจำคณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Faculty of Education, Kasetsart University บทคดั ย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหน่ึง สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยประยุกต์ใช้แนวคดิ CIPP Model ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ประชากรในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 51 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร 2 คน ครูในโครงการฯ 4 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ และวเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้คา่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ (���̅���) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย พบว่า 1. โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เม่ือพจิ ารณารายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ในระดบั มาก 2. ด้านบริบท พบว่า วัตถุประสงคข์ องโครงการมุ่งเน้นให้นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและมที ักษะ ความสามารถทางภาษาอังกฤษที่ดีขึ้นมีความเหมาะสมในระดับมาก แต่ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ที่ส่วน เกี่ยวขอ้ งในการพัฒนาและปรับปรงุ หลักสูตรสูตรโรงเรยี นสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) ควรประชมุ ช้ีแจง วเิ คราะห์ วางแผนการดำเนินงานต่าง และวิพากษ์หลักสูตรดังกล่าวจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งประชาสัมพันธ์ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการสอดคลอ้ งกับปัญหา สภาพสังคมในบรบิ ทปัจจุบนั และนโยบายของตน้ สงั กัด 3. ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า มีบริการด้านคา่ เล่าเรียน เครื่องแต่งกาย อุปกรณ์การเรียน ชุดนักเรียน การ ทัศนศึกษา และประกันอุบัติเหตุ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย รวมทั้งมีการจัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียนมีความ เหมาะสมในระดับมากที่สุด แต่ผู้บริหารสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดควรปรับปรุงการได้รับการ ชว่ ยเหลือ แนะนำการปฏิบัตงิ านดา้ นการเงินจากสถานศกึ ษา 4. ด้านกระบวนการ พบว่า จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลายโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็น สอ่ื กลางมคี วามเหมาะสมในระดับมาก แต่ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ศกึ ษาธิการเขต ศกึ ษานเิ ทศก์ และหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้ ควรนิเทศ ติดตาม และให้คำแนะนำในการดำเนนิ งานต่าง ๆ ของโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) และควรใช้สื่อสารภาษาอังกฤษในการให้คำแนะนำการดำเนินงานต่าง ๆ ของโครงการอย่าง ใกลช้ ิดและต่อเนื่อง

95 5. ด้านผลผลิต พบว่า นักเรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้มีความเหมาะสมใน ระดับมาก แต่ผู้บริหารสถานศึกษา และหัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ควรเพิม่ เติมกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้นกั เรียน สามารถใชภ้ าษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สาร ทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรยี น คำสำคญั : การประเมนิ โครงการ; โรงเรยี นสองภาษา; CIPP Model ABSTRACT This research aims to evaluate a Bilingual School (English-Thai) Program Under Department of Education Bangkok Metropolitan Administration. The research applied CIPP Model to evaluate which investigates 5 factors as following; 1) Context 2) input 3) Process 4) Product and 5) Impact evaluation. Population used in this study is 51 which included school administrators, teachers, and lower secondary students. The research instrument is a questionnaire by gathering online data and analyzed by using percentage (%) Means (���̅���) Standard Derivation (S.D.). Results of the study show that; 1. Result of the overall of the program shows that the satisfaction of the program was rated as high level. All aspects for project evaluation were rated as high level. 2. Result of the context of the program shows that the purpose of the project for achieving the learning outcome and English language abilities was rated as high level. However, school administrators and staffs should develop the curriculum to achieve the program’s purpose. 3. Result of the input of the program shows that the satisfaction of the program was rated as 3.951 which means very high. However, school administrators should supervise and subsidize the program financial plan. 4. Result of the process of the program shows that free educational services such as tuition fee, student uniform, stationery, field trip and insurances was rated as high level. However, school administrators, superintendent, supervisor and head of the department should supervise the program. 5. Result of the product of the program shows that English language abilities in daily life of students was rated as high level. However, school administrators and head of the department should promote the English language activities which enhance communicative skills. Keywords: project evaluation; Bilingual school; CIPP Model

96 บทนำ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานหนึ่งที่จัดการศึกษาให้กับโรงเรียนในสังกัด กรุงเทพมหานคร จำนวน 437 โรงเรียน ทั้ง 50 สำนักงานเขต ในพื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร (สำนัก ยุทธศาสตร์การศึกษา, 2563) สำนักการศึกษามีนโยบายในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนใน โรงเรียนสงั กัดสำนกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร โดยได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานเป็นภาษาอังกฤษ และได้จัดโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็น ภาษาอังกฤษขึ้น ในรูปแบบ Mini English Program : MEP (หน่วยศึกษานิเทศก์, 2563) ในระดับช้ัน ประถมศึกษา ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2547 โดยเริ่มเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา และขยาย ผลสืบเนื่องต่อในระดับมัธยมศึกษา โดยปัจจุบันมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการดังกล่าวตามนโยบายของสำนัก การศกึ ษาท้งั ส้ิน 60 โรงเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง ในสังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานครได้รับสนองนโยบายดำเนินการจัดการ เรยี นการสอนตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐานเป็นภาษาอังกฤษ ทีเ่ รยี กวา่ โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย- อังกฤษ) ในรูปแบบ Mini English Program : MEP ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดังกล่าวทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นภาษาอังกฤษ จำนวน 5 วิชา ประกอบด้วย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาสุขศึกษา และวิชาศิลปะ ตาม นโยบายเรียนดี เรียนฟรี อย่างมีคุณภาพโรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร โดยไม่ต้องเ สีย คา่ ใชจ้ ่ายประการใดในการเข้าเรยี นโครงการดงั กล่าว งานวิจัยชิ้นนี้ได้ประเมินโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแห่งหนึ่ง สังกัดสำนัก การศึกษา กรงุ เทพมหานคร โดยประยกุ ต์ใช้แนวคิด CIPP Model ทั้งดา้ นบรบิ ท ด้านปัจจัยนำเข้า และผลผลิต เพอื่ ตดั สนิ คณุ คา่ และประกอบการตดั สนิ ใจในการดำเนินโครงการ วัตถุประสงค์ การประเมนิ โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรียนแหง่ หน่ึง สงั กัดสำนกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร โดยประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ CIPP Model มวี ัตถุประสงคด์ ังน้ี 1. เพือ่ ประเมนิ บรบิ ทของโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) 2. เพ่ือประเมินปัจจยั นำเข้าของโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) 3. เพ่อื ประเมินด้านกระบวนการของโครงการโรงเรยี นสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) 4. เพอ่ื ประเมินดา้ นผลผลติ ของโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) วธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ัย 1. ขอบเขตการวจิ ัย 1.1 ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการประเมนิ ครั้งนีม้ ที ั้งสน้ิ 51 คน ประกอบดว้ ย ผบู้ ริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน คณะครูในโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) จำนวน 4 คน และนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ จำนวน 45 คน เป็นผตู้ อบแบบสอบถามทกุ คน

97 1.2 ขอบเขตดา้ นเน้ือหา การประเมินโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย -อังกฤษ) สังกัดสำนักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร ครั้งน้ี ผูว้ จิ ยั นำแนวคดิ CIPP Model มาประยกุ ตใ์ ช้ในการประเมนิ ประกอบด้วย 1. บริบทของโครงการ (Context Evaluation) ด้านวัตถุประสงค์ของโครงการที่มีความ สอดคล้องและสามารถตอบสนองความต้องการจำเป็นของผู้เรียน สอดคล้องกับปัญหา สภาพสังคมในบริบท ปัจจุบัน นโยบายของต้นสังกัด และความสำคัญจำเป็นในการดำเนินการโครงการ และมุ่งเน้นให้นักเรียนมี ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและมที ักษะความสามารถทางภาษาอังกฤษที่ดีขึ้น 2. ปัจจัยนำเข้าของโครงการ (Input Evaluation) ด้านบคุ ลากร ดา้ นงบประมาณ ด้านอาคาร สถานท่ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ และดา้ นวธิ กี ารบริหารจดั การ 3. กระบวนการดำเนนิ งานของโครงการ (Process Evaluation) ดา้ นการปฏบิ ตั ิงานตาม ขัน้ ตอนตา่ ง ๆ และการติดตามโครงการ 4. ผลผลิตของโครงการ (Product Evaluation) ดา้ นผลทเี่ กิดจากการดำเนินงานตาม โครงการ 2. เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย เคร่อื งมือทใี่ ช้สำหรับการประเมินโครงการโรงเรยี นสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) สงั กดั สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร คร้ังน้ี เปน็ แบบสอบถามมลี กั ษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั (Rating Scale) เก่ียวกบั ความเหมาะสม จำนวน 1 ฉบับ ประกอบด้วย 2 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลส่วนตวั ของผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน 4 ข้อ ตอนที่ 2 แบบประเมนิ โครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-องั กฤษ) ท้ัง 4 ด้าน จำนวน 23 ขอ้ 2.1 ขัน้ ตอนการสรา้ งเคร่ืองมอื วิจัย การสร้างเครื่องมือในการวจิ ยั ครง้ั น้ี ผู้วิจัยสรา้ งข้นึ โดยดำเนินการดังน้ี 1. ศกึ ษางานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ งกับ แนวคิด ทฤษฎี และรายงานผลการวจิ ัยที่เกยี่ วข้องกับ โครงการหอ้ งเรียนสองภาษา โรงเรยี นสองภาษา และการประเมินโครงการตามแนวคิด CIPP Model 2. สรา้ งแบบสอบถามฉบบั รา่ งประกอบด้วยข้อคำถาม 25 ข้อ 3. นำแบบสอบถามเสนออาจารย์ท่ีปรกึ ษาเพ่ือตรวจสอบความสมบรู ณ์ 4. ตรวจสอบความตรงเชงิ เน้ือหาของแบบสอบถาม โดยนำแบบสอบถามให้ผเู้ ชย่ี วชาญ พจิ ารณาความสอดคลอ้ งและความเหมาะสมของข้อคำถามรายขอ้ โดยใชค้ า่ ดัชนคี วามสอดคล้อง IOC (Item Objective Congruence) จากผูเ้ ชีย่ วชาญ จำนวน 3 ท่าน โดยมีเกณฑ์คดั เลือกข้อคำถามทีม่ ีค่าดัชนีความ สอดคล้องตง้ั แต่ 0.67 ขน้ึ ไป พบวา่ ไดค้ า่ IOC เทา่ กบั 1.00 จำนวน 23 ข้อ และได้คา่ IOC เท่ากับ -1.00 ซง่ึ ไมม่ ีความตรงเชงิ เน้ือหา จำนวน 2 ข้อ 5. ปรับปรุงแบบสอบถามแล้วนำเสนออาจารยท์ ปี่ รึกษา 6. จดั ทำแบบสอบถามฉบบั สมบรู ณ์ไปใชเ้ กบ็ ข้อมลู 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.1 ทำหนังสือในการขออนุญาตในการเก็บรวบรวมข้อมลู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook