Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 ยลรดา

บทที่ 1 ยลรดา

Published by yolrada-t, 2021-11-30 04:58:42

Description: ไว้ให้จารย์ดูนะอิอิ

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 บทนำ 1. ความเปน็ มาหรือความสำคญั ของปญั หา หากกลา่ วถึงวรรณคดเี ร่ืองสงั ข์ทองคนไทยทั่วไปย่อมรู้จักกันอยา่ งแพรห่ ลายมีอยู่หลายสำนวนคอื เปน็ นิทานในปญั ญาสชาดก เปน็ บทละครครง้ั กรงุ เก่า และเปน็ บทละครพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลท่ี2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ฉบบั ทเ่ี ปน็ พระราชนพิ นธน์ ี้แพร่หลายมากทสี่ ดุ เพราะเป็นบทละครนอกท่ี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัยทรงปรบั ปรงุ จากสำนวนเดิม นำไปใหล้ ะครผู้หญงิ ของหลวง เล่นในรัชสมยั ของพระองค์ เรือ่ งสงั ข์ทอง ได้รับความนิยมมาตัง้ แตส่ มัยกรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ ราชธานซี ง่ึ สาเหตุหนึ่งทผ่ี ู้คนรจู้ กั กันดี ก็เพราะเป็นนิทานทเ่ี ล่าไวช้ อื่ สวุ ณณั สังขชาดกแตม่ ลี กั ษณะเป็นเร่อื งพื้นบ้านด้วยคือเล่ากันอยใู่ น ทอ้ งถนิ่ ใดท้องถ่ินหน่งึ จนกระทัง่ คนในท้องถ่ินน้นั เชือ่ กันวา่ เป็นเร่อื งจริง เรือ่ งสังขท์ องนั้นมี ชาวเมือง เหนืออ้าววา่ เมืองทุ่งยั้งเป็นเมืองทา้ วสามนต์ทัง้ ยงั มลี านศลิ าแลงทเ่ี ช่อื กนั ว่าเป็นสนามคลีของพระสงั ข์ ทางหวั เมอื งฝา่ ยตะวนั ตกก็อ้างว่า เมอื งตะกว่ั ป่าเป็นเมืองท้าวสามนตอ์ กี แหง่ หน่งึ เรยี กภูเขาลูกหนึง่ ว่า เขาขมังม้าและกลา่ ววา่ เมือ่ พระสังข์ตีคลีชนะ ก็ไดข้ ่มี ้าเหาะข้ามภเู ขาลกู นนั้ ไป เรอ่ื งสงั ข์ทองเปน็ นิทานและพัฒนามาเปน็ วรรณกรรมทีม่ ีคุณค่าทั้งในด้านให้ความบันเทิง และให้ อรรถรสดา้ นคำประพนั ธเ์ นื้อเรือ่ งสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ เต็มไปดว้ ยจนิ ตนาการทแ่ี ปลกไปจากเร่ือง อ่ืน ๆ นอกจากนี้ยงั กลา่ วถงึ ขนบธรรมเนียมประเพณีบางอยา่ ง สภาพสงั คม ความเป็นอยู่ของผู้คน ค่านยิ มและแนวความคิดบางประการ คนทั่วไปรู้จักเร่ืองสังข์ทองและนิยมกนั อยา่ งกวา้ งขวาง ตง้ั แต่ สมยั โบราณมาจนถึงปจั จบุ ัน นทิ านเรอื่ งสังข์ทองน่าจะเล่ากันแบบมุขปาฐะมาก่อนแล้วจึงมกี ารบนั ทึกเปน็ ลายลักษณ์ เผยแพร่ เขา้ มายังประเทศไทยในรูปของชาดกและกลายมาเป็นบทละครนอกตง้ั แต่สมยั กรุงศรีอยุธยา ซง่ึ เทา่ กับการหยบิ ยกเอาเร่ืองพ้ืนบา้ น คอื นิทานชาดกมาแต่งเป็นวรรณคดีลายลกั ษณ์ วรรณคดลี าย ลักษณ์จึงเป็นแหลง่ ช่วยอนุรักษข์ อ้ มลู ทางคตชิ นวิทยาและวัฒนธรรม และเป็นสือ่ ที่ชว่ ยถา่ ยทอด ขอ้ มลู เหล่านี้ด้วยนน่ั ก็คือวรรณคดีลายลักษณ์ เปน็ ท้ังแหล่งเกบ็ รกั ษาและแหลง่ แพรก่ ระจาย ซึ่งเราจะ เห็นไดว้ า่ วรรณคดีคือแหล่งรวบรวมความคิดความเชือ่ ตา่ งๆ ทัง้ ที่เปน็ เร่ืองธรรมดาและเร่ืองเหนอื วิสยั หรอื เร่อื งในจินตนาการ

2 เรอื่ งสงั ข์ทองมกี ารบนั ทกึ ไวเ้ ป็นลายลักษณ์อกั ษรตัง้ แต่สมยั โบราณ แตส่ มยั นั้นคนอ่านหนังสือออก มีน้อย ผู้คนจะได้รับการถา่ ยทอดวรรณกรรมดว้ ยการฟัง และการดูละครมากกวา่ เนื้อเร่ืองทแ่ี ปลก ทำ ให้เกิดความสนุกสนานเพลดิ เพลินและเกดิ จนิ ตนาการกว้างไกล ความสำคัญของเรื่องสังข์ทองจึงน่าจะ เป็นความสำคญั ในแงท่ ี่เป็นบทสำหรบั เล่นละครนอกจนเป็นทรี่ ้จู กั กันทั่วไป ดงั น้ันจึงควรกลา่ วถงึ ละคร นอกเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาก่อน (เสาวลกั ษณ์ อนนั ตศานต์, ไมป่ รากฏปีที่พิมพ:์ ๑-๒) แม้ในปจั จบุ นั นทิ านสงั ขท์ องก็ยงั ได้รับความนิยมและดำรงอยูใ่ นรูปแบบตา่ งๆ เช่น เน้ือหาใน หนงั สือแบบเรียนหลายหลกั สูตร หนงั สอื การต์ ูน หนังสอื นิทาน ภาพยนตร์การ์ตูนละครพ้ืนบ้าน นว นยิ าย ตลอดจนงานศิลปะรว่ มสมัย เชน่ งานประตมิ ากรรม การแสดงละครหนุ่ สมยั ใหม่ นอกจากนี้ เนื้อหาและตัวละครจากนทิ านสังขท์ องยังสมั พันธ์กบั ส่ิงอืน่ ๆ เชน่ ชอ่ื พนั ธ์ไุ ม้ ชื่อรายการโทรทศั น์ ฯลฯ กล่าวไดว้ ่านิทานสังข์ทอง เปน็ นทิ านทค่ี นไทยคนุ้ เคยและช่ืนชอบมาหลายยคุ หลายสมยั นบั เปน็ มรดก ทางจินตนาการของคนไทย ทีด่ ำรงอยู่ในวิถชี วี ติ ไทยอยา่ งต่อเนื่องตั้งแต่อดีตถึงปจั จุบัน (นางสาว ฉวีวรรณ มุ่งแซกกลาง และนางสาวรัตนาภรณ์ ยันกลาง, ไม่ปรากฎปที ่ีพิมพ์: ออนไลน์) ภาพประกอบ เปน็ ภาพทเ่ี ขียนขึน้ เพ่ือบอกเล่าเร่ืองราวหรอื ถา่ ยทอดเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ให้ผู้อืน่ ไดร้ ับรู้โดยมีจุดมงุ่ หมายใหส้ อดคล้องกับเร่ืองราวนัน้ ๆ และให้เกิดความเขา้ ใจท่ถี ูกตอ้ ง อาจเปน็ ทงั้ ภาพประกอบเร่ืองในหนังสือ พระคมั ภรี ์หรอื ภาพเขยี นบนฝาผนังอาคาร สถาปตั ยกรรมต่างๆและ รวมถึงภาพโฆษณาต่างๆด้วย (ภาพประกอบ, ไมป่ รากฏปที ่ีพมิ พ:์ ออนไลน์) ภาพประกอบมีสว่ นสำคัญในการจูงใจใหเ้ กิดความรู้และความคดิ อย่างรวดเร็ว โดยใชภ้ าพบรรยาย ใหท้ ราบถึงเหตุการณน์ ัน้ ๆ ถา้ หนังสือเลม่ น้ันไมม่ ภี าพ ผู้อ่านก็จะอา่ นคำบรรยายในหนังสืออย่างตั้งใจ และอาจต้องอา่ นซ้ำหลายๆ ครง้ั จงึ จะเข้าใจได้ดี เพราะฉะน้ันภาพในหนังสอื จะช่วยเร้าความสนใจของ ผอู้ า่ นอย่างไดผ้ ล ภาพจะชว่ ยแปลความหมายของเนื้อหาในหนังสอื และช่วยใหผ้ ู้อา่ นจดจำเนือ้ หาได้ดี ย่ิงข้นึ (กฤษณะ ชัยรตั น,์ ไมป่ รากฏปที พ่ี ิมพ:์ ออนไลน์) จากความสาํ คัญดงั กลา่ ว ผู้ศึกษามีแนวคิดทจี่ ะทำภาพประกอบนทิ านพื้นบ้านเรอ่ื งสงั ข์ทอง เพื่อ สืบทอดนทิ านพ้ืนบ้าน รักษาอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมขนบประเพณีไทย และเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ท่ีสนใจ หรอื ศึกษานิทานไทยอยู่ ซ่ึงชว่ ยสร้างเสรมิ ประสบการณ์ เม่ือมีภาพประกอบแลว้ จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถ เข้าใจได้งา่ ยมากยง่ิ ขึ้น เกดิ การจินตนาการ เพม่ิ พนู ความรู้เพอื่ เป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้ท่สี นใจหรือ ศึกษาวจิ ยั นิทานพ้นื บ้านอยู่ 2. วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 2.1 เพ่อื ศกึ ษาความเป็นมาของภาพประกอบ ความหมายของภาพประกอบ วิวฒั นาการของ ภาพประกอบ คุณสมบัตทิ ่ีดขี องภาพประกอบหนงั สือ ภาพประกอบหนงั สอื ประเภทตา่ งๆ ลกั ษณะ ภาพประกอบหนงั สือท่ดี ี ข้อคิดในการเลือกภาพประกอบในงานหนังสอื วิธกี ารถ่ายทอด

3 ภาพประกอบ องคป์ ระกอบในการคิดเลือกภาพประกอบ การสรา้ งสรรคภ์ าพประกอบ หนังสอื ความสำคญั ของภาพประกอบ ประวตั คิ วามเป็นมาเรื่องสงั ข์ทอง บทละครพระราชนพิ นธ์เรือ่ ง สังขท์ อง มี ๙ ตอน และเร่ืองสังขท์ องในปัญญาสชาดก 2.2 เพอื่ ออกแบบภาพประกอบนิทานพน้ื บ้านเร่ือง สงั ข์ทอง 3. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 3.1 ได้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบตัวละคร การวางตำแหน่งต่างๆทั้งโครงเรื่อง เนื้อหา และ ภาพประกอบให้สัมพันธ์กัน ความเป็นมาของสังข์ทอง วิธีการออกแบบภาพประกอบ การเลือกใช้สี สำหรบั ภาพประกอบ เทคนกิ การลงสี 3.2 ไดผ้ ลงานการออกภาพประกอบนทิ านพ้นื บา้ นเร่ืองสังข์ทอง ผู้ที่สนใจสามารถนำไปอ่านเพ่ือ ความเพลิดเพลนิ ได้ 4. ขอบเขตการศกึ ษา การศึกษาและการวจิ ัยในคร้ังนี้มีขอบเขต การศึกษาดงั น้ี 4.1 ด้านเนือ้ หาทใี่ ชใ้ นการศึกษา การศกึ ษาในการวิจยั ครง้ั น้ีผู้วจิ ัยได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องกับเน้ือหาของ โครงการออกแบบภาพประกอบนทิ านพ้นื บา้ นเรื่อง สงั ข์ทอง 4.2 ประชากรทใี่ ชใ้ นการศึกษา ภาพประกอบนิทานพน้ื บ้านเรือ่ ง สงั ขท์ อง จำนวน ๒๕ ภาพ ขนาด 215 x 281 x 4 มม. 5. ขน้ั ตอนการศึกษา โครงการออกแบบภาพประกอบนทิ านพ้นื บา้ นเรอ่ื ง สงั ขท์ อง ประกอบดว้ ยข้นั ตอนตอ่ ไปนี้ 1. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากเอกสารท่เี กีย่ วข้อง 1.1 ปรารถนา คงแป้น. (2539). โครงการออกแบบภาพประกอบหนงั สือนทิ านสำหรบั เด็กเรื่อง “มงั กรนอ้ ยขโี้ มโห”. (ศิลปนพิ นธ์ ปริญญาศลิ ปบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. 1.2 พระราชนพิ นธบ์ ทละครเร่ือง สงั ขท์ อง. (2496). กรงุ เทพฯ: องคก์ ารคา้ ของคุรุสภา. 1.3 สวนีย์ พรวิศวารกั ษกลู . (๒๕๓๖). โครงการออกแบบภาพประกอบหนงั สอื นทิ าน สำหรับเดก็ เรื่อง “หนึ่งถึงร้อย”. (ศิลปะนิพนธ์ ปริญญาศิลปบณั ฑติ ). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 1.4 สริ วิ รรณ มโนบรู ชัยเลิศ. (2547). โครงการออกแบบบภาพประกอบทีแ่ สดง เอกลักษณ์วัฒนธรรมท้องถ่ินเชยี งใหม่. (วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญาศิลป

4 มหาบัณฑติ ). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. 1.5 เสาวลกั ษณ์ อนันตศานต์. (ม.ป.ป.). รจุ้ กั ละครนอกเร่ือง “สังข์ทอง”. วารสารมนษุ ยศาสตร์ ฉบับบัณฑติ ศึกษา. (๑-๒) 2. การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากเว็บไซต์ 2.1 กฤษณะ ชยั รัตน.์ (ม.ป.ป.). 6.1 ความสำคญั ของภาพ. สบื ค้นเม่ือวนั ที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔,จากhttps://sites.google.com/site/kritsana 43256/-6-1-khwam-sakhay-khxng-phaph 2.2 การออกแบบภาพประกอบ. (ม.ป.ป.). สบื คน้ 28 มกราคม 2564, จาก http://www.elfit.ssru.ac.th 2.3 ความสำคัญของภาพประกอบ. (ม.ป.ป). สบื ค้น ๓๐ มกราคม ๒๕๖๔, จาก https://sites.google.com/site/elearningprintingdesign/thre 2.4 ความหมายขององคป์ ระกอบศิลป์. (ม.ป.ป). สบื คน้ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพนั ธ์ 2564, จากhttps://sites.google.com/site/artcompositionforcompute r005/hnwy-thi-1-khwam-hmay-xngkh-prakxb-silp/1-1-khwam- hmay-khxng-xngkh-prakxb-silp 2.5 งานประพนั ธ์ ร.๒. (๒๕๕๙).สบื ค้นเม่ือวนั ที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๔, จากhttp://kingswritingblog.wordpress.com/2016/09/30/สงั ข์ ทอง-เร่ืองยอ่ / 2.6 ฉวีวรรณ มุ่งแซกกลาง และนางสาวรตั นาภรณ์ ยนั กลาง. (ม.ป.ป.). สงั ขท์ อง. สืบคน้ เมอื่ วันที่ ๒ กุมภาพันธ,์ จากhttps://sites.google.com /site/suxphathnakarleanithan /nithan-phun-zban/sangkh-thxng 2.7 ภาทิพ ศรีสทุ ธิ.์ (ม.ป.ป). โครงการจดั ทำแหลง่ เรียนรู้ภาษาไทยโดยครภู าทิพ ศรี สทุ ธ์ิ โรงเรยี นสุราษฎร์ธานี. สืบค้น 29 มกราคม 2564, จาก http://www.st.ac.th/bhatips/tip49/sangthong.html 2.8 ภาพประกอบ. (ม.ป.ป.). สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ภาพประกอบ 2.9 Kooper. (2562). 15 นักวาดภาพประกอบไทยที่มีผลงานโดดเด่นน่าจับตา มอง. สืบค้นวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://kooper.co /10-thai-illustrators/

5 2.10 NUCHUN. (2560). นิทานภาพ ขัน้ ตอนการทำนทิ านภาพสำหรบั เด็ก (ฉบบั มือใหม่). สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จาก http://www.nuchun.com/นทิ านภาพ- ข้นั ตอนการ ทำน.html/ 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การสรุปผลการศกึ ษา 5. การเสนอแนะ 6. คำจำกดั ความทใี่ ช้ในการศึกษา 6.1 ภาพประกอบ คือ ภาพท่ปี ระกอบกับ เน้ือหา นิทาน หรอื ทมี่ ีเรื่องราวตา่ งๆเพื่อช่วยสือ่ สารให้ ผูอ้ า่ นสามารถเข้าใจงา่ ยมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่าย หรือภาพวาด กส็ ามารถชว่ ยถา่ ยทอดอารมณ์ ความนกึ คิดของตัวคาแรคเตอร์ หรอื ของผูแ้ ต่ง 6.2 สังข์ทอง คอื มาจากหน่ึงในทศชาตชิ าดกเรือ่ งสุวัณสังขชาดก และกลายมาเปน็ นิทานพนื้ บ้านที่ แตง่ ขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัยไดพ้ ระราชนิพนธ์ มีทง้ั หมด 9 ตอน แตง่ เปน็ กลอนบทละคร ซึง่ เป็นละครนอก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook