Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลูกอ๊อดกบ

Description: ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม เกี่ยวกับ "ลูกอ๊อดกบ"

Search

Read the Text Version

ลูกอ๊อดกบ ข้ อ มู ล ร า ย สิ น ค้ า จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม ป ร ะ จำ ปี ๒ ๕ ๖ ๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



คำนำ ลูกอ๊อด หรือ ลูกฮวก เป็นอีกหนึ่งทางเลือก สำหรับเกษตรกร มีความต้องการของตลาดสูงขึ้น ใช้ระยะเวลาสั้นในการเลี้ยงเพื่อจำหน่าย อีกทั้งในจังหวัดนครพนม มีเกษตรกรที่เลี้ยงลูกอ๊อด และรวมตัวกัน เป็นกลุ่มแปลงใหญ่มีการเลี้ยงลูกอ๊อดและแปรรูปลูกอ๊อดเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม จึงได้ทำการจัดทำข้อมูลรายสินค้า เรื่อง “ลูกอ๊อด” ซึ่งข้อมูลจะประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป การเพาะเลี้ยง ขั้นตอนการเพาะเลี้ยง ต้นทุนและระยะเวลาคืนทุน คุณค่าทางโภชนาการ การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า การเลี้ยงลูกอ๊อดในจังหวัดนครพนม ในรูปแบบแปลงใหญ่ มีการดำเนินงาน การรวมกลุ่ม การตลาด การพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ในจังหวัดนครพนม ซึ่งข้อมูลดังกล่าว สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการเลี้ยง ลูกอ๊อด เพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายตลาดและส่งออกไปต่างประเทศ และนำไปปรับใช้เป็นตัวช่วยในการ ทำความเข้าใจในการเลี้ยงลูกอ๊อด คณะผู้จัดทำขอขอบคุณ สำนักงานประมงจังหวัดนครพนม ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์ น้ำจืดนครพนม กลุ่มแปลงใหญ่ลูกอ๊อดบ้านหนองแต้ ตำบลนาขาม อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนมและกลุ่มแปรรูปผลผลิตการเกษตรบ้านดอนแดง อำเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม ที่ให้การอนุเคราะห์ข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารนี้จะอำนวยประโยชน์สำหรับส่วนราชการ และผู้ที่สนใจทั่วไป กลุ่มสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครพนม กรกฎาคม ๒๕๖๕

สารบัญ บทที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับลูกอ๊อด ๑-๓ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับลูกอ๊อด ๑ รูปร่างลักษณะของลูกอ๊อด ๒ พันธุ์กบที่นำมาเพาะเป็นลูกอ๊อด ๓ บทที่ ๒ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกอ๊อด ๔-๗ สถานที่เลี้ยง ๔ วิธีการเลี้ยง ๔-๖ การดูแลรักษา ๗ บทที่ ๓ ต้นทุนการผลิต ๘ บทที่ ๔ คุณค่าทางโภชนาการ ๙ บทที่ ๕ เกณฑ์การประเมินฟาร์ม GAP ๑๐-๑๘ บทที่ ๖ รายชื่อผู้ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ๑๙ บทที่ ๗ กลุ่มผู้เลี้ยงลูกอ๊อดในจังหวัดนครพนม ๒๐-๓๒ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ๒๐-๒๘ และกลุ่มแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้านดอนแดง รายชื่อวิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ๒๙ กลุ่มแปลงใหญ่ลูกอ๊อด บ้านหนองแต้ ตำบลนาขาม ๓๐-๓๑ อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม การตลาด รายได้ ปัญหาและอุปสรรค ๓๒ บทที่ ๘ การแปรรูปลูกอ๊อด ๓๓ บทที่ ๙ เมนูอาหารจากลูกอ๊อด ๓๔-๓๗ หมกฮวก ๓๔ แกงฮวกใส่หน่อไม้ส้ม ๓๕-๓๖ อ่อมฮวก ๓๗ บทที่ ๑๐ งานวิจัยเกี่ยวกับลูกอ๊อด ๓๘-๔๒ ผลของการใช้สมุนไพรชนิดต่าง ๆ ร่วมกับน้ำสกัด ๓๘-๓๙ ชีวภาพในการยับยั้งการเกิดโรคในลูกอ๊อดกบ ผลของอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเพาะขยายพันธุ์ ๔๐ กบนาลูกผสมในฤดูหนาว สภาพการเลี้ยงกบและโรคที่พบในเขตจังหวัด ๔๑ สกลนครและนครพนม บทที่ ๑๑ การวิเคราะห์ SWOT ๔๒ บทที่ ๑๒ การวิเคราะห์ TOWS MATRIX ๔๓ บทที่ ๑๓ ปัญหา และแนวทางแก้ไข ๔๔-๔๕ ๔๖ บรรณานุกรม ๔๗ คณะผู้จัดทำ



ข้อมูลทบัลู่วกทไอทป๊ี่อเ1ดกี่ยวกับ

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑ Tadpole ลูกอ๊อด (อังกฤษ: TADPOLE, POLLYWOG, PORWIGLE) ลูกอ๊อด หรือ ลูกฮวก หรือ อีฮวก ในภาษา โดยแบ่งตามโครงสร้างของปาก, โครงสร้าง อีสานหรือภาษาเหนือ เป็นชื่อเรียกของตัวอ่อนของ ของห้องเหงือก, และจำนวนและตำแหน่งของช่อง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอันดับกบ (Anura) เมื่อโตเต็มวัย เปิดเหงือกที่เป็นทางผ่านออกของน้ำ ซึ่งสามารถ จำแนกเป็น ๔ แบบ ได้ดังนี้.. ลูกอ๊อด จะมีรูปร่างเช่นเดียวกบปกติทั่วไป แต่กระนั้นก็ยังมีกบบางชนิดที่ไม่มีช่วงวัยลูกอ๊อด ๑. มีช่องปากยาวและแคบ ลูกอ๊อดมีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายปลา มีหาง ไม่มีขา ๒. มีช่องปากเล็กและซับซ้อนมากกว่า หายใจด้วยเหงือก ส่วนหัวมีขนาดโตมาก ซึ่งลูกอ๊อด ของกบแต่ละวงศ์ก็มี รูปร่างและลักษณะแตกต่างออกไป แบบที่ ๑ ๓. ช่องปากมีจะงอยปากและมีตุ่มฟัน แต่ช่องเปิดของห้องเหงือกอยู่กลางลำตัว ๔. ช่องปากมีจะงอยปากและมีตุ่มฟัน แต่ช่องเปิดของห้องเหงือกอยู่ข้างลำตัว สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๒ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ รูปร่างลักษณะของลูกอ๊อดแต่ละวงศ์ ๑. มีช่องปากยาวและแคบ มีช่องปากยาวและแคบ ไม่มีจะงอยปาก และไม่มีตุ่มฟันบริเวณปาก ช่องเปิดห้องเหงือก มี ๒ ช่อง อยู่ทางด้านข้างของลำตัว กินอาหาร ด้วยการกรองเข้าปาก เช่น กบในวงศ์ Pipidae ๒. มีช่องปากเล็กและซับซ้อนมากกว่าแบบที่ ๑ ๓. ช่องปากมีจะงอยปากและมีตุ่มฟัน แต่ช่องเปิดของห้องเหงือกอยู่กลางลำตัว มีช่องปากเล็กและซับซ้อนมากกว่าแบบที่ ๑ แต่ไม่มีจะงอยปากและไม่มีตุ่นฟันที่บริเวณปากช่อง ช่องเปิดของห้องเหงือกมีช่องเดียวอยู่ในแนว เปิดของห้องเหงือกมีช่องเดียวอยู่ทางด้านท้ายตัว ตรงกลางลำตัว ได้แก่ กบในวงศ์ Ascaphidae, และในแนวกลางลำตัว กินอาหารด้วยการกรอง Bombinatoridae, Discoglossidae เช่น กบในวงศ์ Microhylidae ๔. ช่องปากมีจะงอยปากและมีตุ่มฟัน แต่ช่องเปิดของห้องเหงือกอยู่ข้างลำตัว ช่องเปิดของห้องเหงือกมีช่องเดียวอยู่ทาง ด้านข้างลำตัวและทางซ้ายของลำตัว ซึ่งลักษณะ ของกบส่วนใหญ่นอกจากนี้แล้ว ลูกอ๊อดแต่ละชนิด จะมีรูปร่างต่างกันแล้ว ยังมีระบบนิเวศที่อาศัยแตกต่าง กันอีกด้วย ลูกอ๊อดบางชนิดจะว่ายน้ำระดับผิวน้ำ หรือกลางน้ำและกินอาหาร แต่บางชนิดจะไม่กิน อาหารแต่จะใช้อาหารจากถุงไข่แดงที่ติดมาจาก ไข่แทน บางชนิดเกาะติดอยู่กับก้อนหินหรือโขดหิน ในลำธารที่มีน้ำไหลแรง บางชนิดซุกซ่อนตัวอยู่ ในโคลนที่ใต้พื้นน้ำ ขณะที่บางชนิดจะอยู่ในน้ำ บนใบไม้ ลูกอ๊อด สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้ ในอาหารพื้นบ้านแบบอีสานหรืออาหารเหนือ เช่น แอ็บ, หมก หรือน้ำพริก ที่มา : วิกิพี เดีย สารานุกรมเสรี สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓ พั นธุ์กบ ที่นำมาเพาะเป็นลูกอ๊อด กบที่พบในประเทศไทยนั้นมีถึง ๓๔ ชนิด และในต่างประเทศอีกหลายชนิด ซึ่งรวมแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ชนิด กบบางชนิดมีขนาดที่ใหญ่มาก บางชนิดมีขนาดปานกลาง และบางชนิดก็มีขนาดเล็ก แตกต่างกันไปตามสายพั นธุ์ กบที่นำมาเลี้ยงเป็นลูกอ๊อด มี ดั ง นี้ . . . ๑ . กบนา ๒. กบบูลฟรอค ๓. กบลูกผสม (Rana tigerina Daudin) (Rana catesbeiana show) (กบนาผสมกบบูลฟรอค) เป็นกบขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ เป็นกบที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นกบที่จัดอยู่ในขนาดกลาง ตัวที่โตเต็มที่ยาวประมาณ ๕ นิ้ว เข้าใจว่าใหญ่ที่สุดในประเทศ ตัวโตเต็มที่ประมาณ ๘ นิ้ว กบตัวเมีย ขนาดประมาณ ๔ ตัวต่อกิโลกรัม สหรัฐอเมริกา โตเต็มที่มีน้ำหนัก ขนาดประมาณ ๑-๒ ตัวต่อกิโลกรัม ผิวมีสีน้ำตาลปนเขียว อาจจะแตกต่าง มากกว่า ๑ กิโลกรัมขึ้นไป ตัวที่โต และกบตัวผู้ ขนาด ประมาณ ๓-๔ กันบ้างตามแหล่งที่อยู่อาศัย ลักษณะ มีความยาวถึง ๘ นิ้ว ขนาดลำตัวกว้าง ตัวต่อกิโลกรัม สีผิวน้ำตาลอ่อน โดยทั่ว ๆ ไปสังเกตได้ คือ ขาหน้า ส่วนหัวสีเขียว ส่วนตรงหลังมีสี ส่วนหัวจะมีสีเขียวไล่ไปถึงหลัง สั้นอยู่ระหว่างไหล่กับตา ปุ่มกระดูก น้ำตาลเขียว ส่วนตรงท้องมีสีขาวเหลือง ตัวผู้จะมีลายจุดดำตามลำตัวบ้าง เท้าล่างไม่แหลมคม มีสีคล้ำและมี ผิวหนังขรุขระมีปุ่มขนาดเล็ก ๆ อยู่ที่ เล็กน้อย ลักษณะที่เด่นชัด คือ ลายพาดสีจาง ๆ ตรงริมฝีปากใต้คาง ส่วนหลัง ไม่มีสันข้างตัว แต่จะมี จะไม่มีลวดลายจุดสีดำที่ใต้คาง อาจมีจุดหรือลายริ้วตรงคอหอยด้าน สันตรงด้านหลังของแก้วหูที่ขามีจุด ๆ บริเวณใต้คางจะมีสีขาวล้วน จะมี หลังมีสีเขียวอมน้ำตาล มีจุดสีดำเป็น สีน้ำตาลประปราย บางท้องที่อาจ ทั้งผิวที่เป็นสีน้ำตาลอ่อน เหลืองอ่อน จำนวนมาก มีสีคล้ำหรือดำ และสีออกเขียว สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลเทัล่ีว้บยไทงปลทเูี่กกี่2ยอ๊อวดกับการ

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๔ การเลือกสถานที่เลี้ยงลูกอ๊อด ๑. ควรเป็นที่ที่อยู่ใกล้บ้าน สะดวกต่อการดูแลรักษา และป้องกันศัตรูได้ ๒. เป็นที่สูง ที่ดอน เพื่อป้องกันน้ำท่วม ๓. พื้นที่ราบเสมอ สะดวกต่อการสร้างคอก และแอ่งน้ำในคอก ๔. ใกล้แหล่งน้ำ เพื่อสะดวกต่อการสร้างคอก และแอ่งน้ำในคอก วิธีการเลี้ยง สำหรับบ่อที่จะใช้เป็นบ่อผสมจะทำการล้อมรอบ ด้วยผ้าตาข่ายเขียว หน้ากว้าง ๑.๒๐ เมตร โดยฝัง ๑. การเตรียมบ่อ ไถดะพื้นที่ที่จะทำบ่อกบ กลบชายผ้าตาข่ายลงในดิน ประมาณ ๒๐ เซนติเมตร แล้วโรยปูนขาวตามความเหมาะสมเพื่อปรับสภาพดิน และให้สูงจากพื้นมา ๑ เมตร แต่สำหรับบ่ออนุบาล และตากดินไว้ ๒ สัปดาห์จากนั้นจะปล่อยน้ำเข้า ไม่ต้องล้อมผ้าตาข่ายก็ได้ แล้วทำการไถแปรปรับหน้าดินให้เรียบ ทำคันบ่อสูง ประมาณ ๓๐ เซนติเมตร จึงระบายน้ำออก ทิ้งให้แห้ง โดยขนาดของบ่อจะขึ้นอยู่กับเกษตรกรที่จะทำตาม ความเหมาะสมของพื้นที่ และการปฏิบัติงานของตนเอง เช่น ขนาด กว้าง ๔ * ยาว ๑๐ เมตร ขนาดกว้าง ๔ * ยาว ๒๐ เมตร ขนาด กว้าง ๓ * ยาว ๒๐ เมตร เป็นต้น สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๕ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ วิธีการเลี้ยง (ต่อ) ๒. การผสมพันธุ์ กบพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ สังเกตกบ ๓. เช้าวันรุ่งขึ้น เวลา ๐๘.๐๐ น. ทำการจับ พ่อพันธุ์แม่พันธุ์ที่พร้อมผสม ดังนี้ กบตัวผู้นั้นจะมี พ่อแม่พันธุ์กบออกระบายน้ำออกให้หมด จากนั้น กล่องเสียงบริเวณใต้คางสองจุดจะส่งเสียงร้อง เมื่อพร้อม ปล่อยน้ำใหม่เข้าจนเต็มบ่อและน้ำใสจนมองเห็นพื้นดิน ผสมกบตัวเมียเมื่อพร้อมผสมจะมีสีเหลือง และจะ ก้นบ่อได้โดยน้ำที่ใสจะทำให้แสงแดดส่องไปถึงไข่กบ กระโดดไปกระโดดมา เกษตรกรจะปล่อยน้ำเข้าบ่อผสม ที่วางไว้ที่พื้นก้นบ่อช่วยในการฟักของไข่กบที่จะได้ผล ให้มีระดับสูงประมาณ ๑๐-๑๓ เซนติเมตร จับพ่อ มากขึ้น พันธุ์แม่พันธุ์กบที่พร้อมผสมพันธุ์เข้าบ่อผสม ในอัตรา ๑ : ๑ โดยบ่อขนาดกว้าง ๔ * ยาว ๑๐ เมตร จะใช้ ๔. หลังจากปล่อยน้ำเข้า ประมาณ ๔-๕ ชั่วโมง พ่อแม่พันธุ์ จำนวน ๙๐ คู่ ปล่อยกบไว้ในบ่อผสม ๑ คืน หากสภาพแสงแดดดีไข่จะฟักเป็นตัวลูกอ๊อด แต่ถ้าหาก สภาพแสงแดดไม่ดี เช่น ฟ้าครึ้ม จะใช้เวลานาน ประมาณ ๑ วันครึ่ง ไข่กบจึงจะฟักเป็นตัว สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๖ วิธีการเลี้ยง (ต่อ) ๕. เมื่อไข่ฟักได้ ๓ วัน จึงจะเริ่มให้อาหาร โดยใช้อาหารปลาดุกเล็กแช่น้ำแล้วบดให้ละเอียด ปั้นเป็นก้อนขนาดประมาณไข่ไก่ให้เป็นอาหารสำหรับ ลูกอ๊อดจะให้อาหารวันละสองเวลา คือ เช้าและเย็น โดยจะต้องให้อาหารขณะแดดอ่อน เพราะถ้าให้ในขณะ ที่มีแสงแดดจัดจะส่งผลให้ลูกอ๊อดไม่แข็งแรง ๖. เมื่อลูกอ๊อดมีอายุ ๕-๗ วัน ลูกอ๊อดจะมีขนาด ใหญ่ขึ้นมากและเกิดความหนาแน่นในบ่อผสมเกินไป จะต้องทำการแยกลูกอ๊อดออกมาใส่ในบ่ออนุบาลให้มี ความเหมาะสม โดยในหนึ่งบ่อควรจะมีลูกอ๊อดประมาณ ๑๒,๐๐๐ ตัว การให้อาหารจะใช้อาหารปลาดุกเล็ก คลุกด้วยน้ำพอนุ่ม ให้สองเวลา เช้า – เย็น เช่นเดิม ๗. เมื่อลูกอ๊อด อายุ ๑๐ วัน หากลูกอ๊อดมีการ เจริญเติบโตที่ไม่ดี สามารถเสริมด้วยวิตามินเอชนิดผง ผสมให้ไปพร้อมกับอาหาร เมื่อลูกอ๊อดอายุได้ ๑๘ - ๒๑ วัน ก็สามารถตักออกจำหน่ายได้ ต้องระวังอย่าปล่อยไว้นานเกิน ๒๑ วัน เพราะลูกอ๊อดจะออกขาและไม่เป็นที่ต้องการของตลาด ๘. การเลี้ยงกบพ่อแม่พันธุ์ ต้องแยกเลี้ยงระหว่าง ตัวผู้และตัวเมียเพื่อป้องกันการผสมพันธุ์กันก่อน อาหารที่ ใช้เลี้ยง จะให้อาหารปลาดุกใหญ่ให้วันละสองเวลา เช้า - เย็น เช่นกันเมื่อกบพร้อมที่จะผสม อาจใช้ฮอร์โมนเร่งไข่แบบผง ผสมในอาหารให้กบแม่พันธุ์เพื่อให้กบ ออกไข่จำนวนมาก และพร้อมกัน สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๗ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ การดูแลรักษา ๕. ลูกอ๊อดที่มีอาการน็อคน้ำเนื่องจากปรับตัว กับสภาพอุณหภูมิน้ำไม่ทันเวลาที่เกษตรกรตักมา ๑. เมื่อสังเกตเห็นว่า น้ำในบ่อสกปรกมีสีเข้ม จากบ่อเพื่อเตรียมจำหน่าย แก้ไขโดยการเตรียม และมีกลิ่นเหม็นให้ใช้น้ำหมัก EM ราดลงในบ่อ น้ำใส่ถังไว้ก่อนประมาณ ๔ ชั่วโมง เพื่อให้น้ำมี อัตราการใช้ ๑๐ ซีซี ต่อ น้ำเปล่า ๑๐ ลิตร อุณหภูมิที่ใกล้เคียงกับบ่อเลี้ยง ๒. ถ้าหากกบพ่อแม่พันธุ์ มีบาดแผลเกิดขึ้น ๖. ก่อนจะตักลูกอ๊อดออกมาจำหน่ายนั้นต้อง จะใช้เกลือสมุทร อัตรา ๑ กำมือ ต่อน้ำเปล่า ทำการงดอาหาร ลูกอ๊อด ๑๒ ชั่วโมง เพื่อไม่ให้ ๑๐ ลิตร ราดลงในบ่อ ลูกอ๊อดตายจากการท้องอืด ๓. กรณีที่กบเป็นแผลมาก หรือเกิดโรคระบาด รุนแรง จะใช้ยาปฏิชีวนะผสมกับอาหารให้กบกิน ๔. ถ้าลูกอ๊อดมีอาการกระแตเวียน (อาการ ที่ลูกอ๊อดจะลอยขึ้นมาเหนือน้ำ แล้วว่ายเวียน เป็นวงกลม) ให้รีบจับออกจากบ่อ เพื่อป้องกัน การระบาดนอกจากนั้นยังมักพบเป็นโรคอื่น ๆ เช่น โรคหางขาว หางดอก สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



ต้นทบุนทกทีา่ ร3ผลิต

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๘ ต้นทุนการผลิต ๓,๘๔๐ บาท ๑,๖๔๐ บาท คิดเฉลี่ยต่อการเลี้ยง ๑ รุ่น ๒๕ บาท (ในบ่อขนาด กว้าง ๔ x ยาว ๑๐ เมตร) ๑๐๐ บาท ๔๗ บาท ที่มา : กลุ่มแปลงใหญ่ลูกอ๊อด บ้านหนองแต้ ๕๐ บาท ตำบลนาขาม อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ๔๒ บาท ๑๐๐ บาท ๑. อาหารปลาดุกเล็กสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงลูกอ๊อด จำนวน ๖ กระสอบ ๘.๕๐ บาท ๒. อาหารปลาดุกใหญ่สำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ ๘.๕๐ บาท ๑๒.๕๐ บาท จำนวน ๔ กระสอบ (พ่อแม่พันธุ์ ๑,๐๐๐ ตัว คิดเฉลี่ยต่อเดือน) ๗๐ บาท ๓. ฮอร์โมนเร่งให้ไข่ของแม่พันธุ์ จำนวน ๑/๔ ซอง ๕๐ บาท ๔. วิตามิน จำนวน ๑๐ ซอง ๕,๙๙๓.๕๐ บาท ๕. ตาข่ายหน้ากว้าง ๑.๒๐ เมตร จำนวน ๑ ม้วน ๒๔๐ บาท (๑ บ่อ เลี้ยงปีละ ๒ รุ่น อายุการใช้งานของผ้าตาข่าย ๓ ปี) ๕. ค่าไฟฟ้า ๖. ค่าน้ำมันในการไถเตรียมดิน จำนวน ๑.๔ ลิตร ๗. ยาปฏิชีวนะ จำนวน ๑/๔ ขวด ๘. เกลือสมุทร จำนวน ๑/๑๒ กระสอบ ๙. ปูนขาว จำนวน ๑/๑๒ กระสอบ ๑๐. น้ำหมัก EM จำนวน ๐.๐๕ ลิตร ๑๑. ถุงบรรจุ จำนวน ๒ แพ็ค ๑๒. หนังยาง จำนวน ๑/๔ กิโลกรัม รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

คุณค่าทบาทงทโี่ภ4ชนาการ

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๙ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

เกณฑ์กาบรGทปAทรี่Pะ5เมินฟาร์ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๐ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๑๑ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๒ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๑๓ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๔ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๑๕ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๖ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๑๗ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๘ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

รายชื่มอาผูต้ไบรดทฐ้ราัทบนี่ ก6GารAรัPบรอง

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๙ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ก า ร ผ จ ญ ภั ย แ ฟ น ต า ซี ใกนลุ่มจังผูบห้เลวทีั้ดยทีน่งค7ลูรกพอ๊อนดม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๒๐ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม และกลุ่มแปรรูปผลผลิตการเกษตร บ้านดอนแดง กลุ่มแปรรูปผลผลิต การเกษตรบ้านดอนแดง ในส่วนของกลุ่มแปรรูป ผลผลิตการเกษตร ได้จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มกับสหกรณ์การเกษตร บ้านดอนแดง แปรรูปผลผลิตที่ได้จากวิสาหกิจ ธาตุพนม จำกัด เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ๒๕๖๓ ปัจจุบัน ชุมชนกบนานครพนม โดยแปรรูปเป็น อั่วกบ มีสมาชิก 63 ราย ไส้อั่วกบ น้ำพริกอั่วกบ หมกฮวก กบย่างรมควัน น้ำพริกคั่วกลิ้งกบ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม ได้จดทะเบียน สินค้า และสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร จัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับกรมส่งเสริมการเกษตร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ปัจจุบันมีสมาชิก ในส่วนราชการ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ ๓๔ ราย โดยมี นายสันติ สุนีย์ เป็นประธานกลุ่ม พัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร แปรรูปผลผลิตการเกษตรบ้านดอนแดง และวิสาหกิจ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ต้องการของตลาด ชุมชนกบนานครพนม หรือผู้บริโภค เช่น ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด นครพนม ให้ความรู้ในเรื่องของการเลี้ยงกบให้ได้ วิสาหกิจชุมชนกบนานครพนม เป็นการรวมกลุ่ม มาตรฐาน GAP ของกรมประมง สถาบันวิจัย เกษตรกรที่เลี้ยงกบ จำนวน ๓๔ ราย มีการส่งเสริม นครพนม ให้ความรู้ในเรื่องของการเลี้ยงกบและ การเลี้ยงกบ เลี้ยงลูกอ๊อดในด้านปัจจัยการผลิต เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ จำหน่ายพ่อแม่พันธุ์ และอาหารให้กับสมาชิกในราคา ที่ถูกกว่าท้องตลาด, รับซื้อผลผลิตจากสมาชิกไม่ว่าจะเป็น ที่ทำการกลุ่ม 11 หมู่ 8 บ้านดอนแดง ตำบลธาตุพนมเหนือ ลูกอ๊อด กบเล็ก กบรุ่น หรือ พ่อแม่พันธุ์ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม โทร. 08-5901-9804 สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๒๑ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๒๒ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๒๓ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๒๔ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๒๕ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๒๖ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๒๗ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๒๘ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

รายกชืบ่อนวิาสนาหคกริพจชนุมมชน

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๒๙ สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๐ กลุ่มแปลงใหญ่ลูกอ๊อด บ้านหนองแต้ ตำบลนาขาม อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ นายสมชัย วงษ์สุข ได้ชักชวนเพื่อนบ้าน ได้แก่ นายณรงค์ศักดิ์ ศรีอำคา นายเบ็ญชัย คำจันทร์ นายวีระ สุนา และนายภูวา คำจันทร์ ไปซื้อลูกอ๊อดกบที่บ้านแดนสวรรค์มาเลี้ยงอีกครั้งโดยซื้อ มาคนละ ๑๐ กิโลกรัม กิโลกรัมละ ๒๐๐ บาท เมื่อได้ ผลผลิตได้นำไปขายตามตลาดท้องถิ่นในลักษณะทำเป็น ห่อใบตอง ห่อละ ๑๐ - ๖o บาท แต่ขายไม่ค่อยดี เพราะช่วงนั้นคนไม่นิยมกินลูกอ๊อดที่เลี้ยง เพราะเชื่อว่า ไม่อร่อยเท่าที่หามาจากแหล่งธรรมชาติ และใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ นายสมชัย วงษ์สุข จึงได้หาทางไปติดต่อพ่อค้า จากจังหวัดมุกดาหารที่เป็นคนมารับซื้อลูกอ็อดของบ้าน แดนสวรรค์นั้น เข้ามาดูพื้นที่ผลผลิตลูกอ๊อดที่ผลิตได้ ของบ้านหนองแต้เนื่องจาก ตั้งแต่เดือนมีนาคม - กรกฎาคม สามารถผลผลิตลูกอ๊อดได้จำนวนมาก เมื่อตกลงกับพ่อค้าได้ ความเป็นมา ก็ได้เริ่มทำการขายให้พ่อค้าครั้งแรกในราคา กิโลกรัมละ เริ่มแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เกษตรกร ๓ ราย ๑๘๐ บาท เมื่อเกษตรกรในหมู่บ้านเห็นว่าขายผลผลิต ได้แก่ นายสมชัย วงษ์สุข นายวีระ สุนา และนายภูวา ได้รายได้ดี จึงได้มาซื้อลูกอ็อดไปเลี้ยงไว้ทำพันธุ์เพื่อ คำจันทร์ ได้ไปพบการเลี้ยงกบในบ่อที่พื้นที่บ้านแดน เลี้ยงในฤดูกาลต่อไปจำนวน ๒๘ ราย สวรรค์ ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม จังหวัด นครพนม เกิดความสนใจอยากจะทดลองเลี้ยง จึงได้ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีการริเริ่มตั้งกลุ่มเกษตรกร ชักชวนกันไปขอซื้อพ่อ-แม่พันธุ์กบมาเลี้ยงคนละ ๕ คู่ ผู้เลี้ยงกบขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหาร ในราคาคู่ละ ๕๐๐ บาท พร้อมทั้งได้ซื้อลูกอ็อดกบมา ส่วนตำบลนาขาม ที่ได้สนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ย คนละ ๑,๐๐๐ ตัว ในราคาตัวละ ๑ บาท จากนั้นก็ได้ ๕ ปี แก่กลุ่ม เป็นเงินทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งกลุ่มได้ ทำบ่อเลี้ยง ขยายพันธุ์ให้ผลผลิตลูกอ็อดกบเป็น ดำเนินการนำเงินทุนที่ได้รับการสนับสนุนดังกล่าวมาให้ จำนวนมาก แต่ประสบปัญหาไม่มีตลาดรับซื้อ จึงไม่ สมาชิกกลุ่มยืมไปลงทุน และทางกลุ่มคิดดอกเบี้ยจาก เกิดผลสำเร็จและได้ขายกบที่เลี้ยงไว้ทั้งหมด สมาชิกร้อยละ ๐.๐๕ บาทต่อเดือน สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

หน้าที่ ๓๑ ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ ส่งผลให้ปัจจุบันกลุ่มมีเงินทุนจำนวน ๙๐,๐๐๐ บาท ทั้งนี้หากมองในภาพรวมของกลุ่มแปลงใหญ่ฯ และทำให้เกิดความสนใจในอาชีพการเลี้ยงกบผลิต ในระยะเวลา ๑ ปี สามารถผลิตลูกอ๊อดได้ประมาณ ลูกอ็อดเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ตำบลนาขาม และเมื่อปี ๑๘๐ ตันคิดเป็นมูลค่ารวมกว่า ๑๔.๔๐ ล้านบาท พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้มีนักข่าวจาก ช่อง ๗ สี มาถ่ายทำสารคดี ด้านการจำหน่ายผลผลิตลูกอ๊อดกบ ทางกลุ่มแปลงใหญ่ฯ อาชีพเกษตรที่กลุ่มเกษตรกร ผู้เลี้ยงกบบ้านหนองแต้ จะจำหน่ายเพื่อการบริโภคหรือนำไปเลี้ยงเป็นกบเนื้อ จึงทำให้อาชีพการเลี้ยงกบเริ่มเป็นที่สนใจ และมีชื่อเสียงขึ้น แบ่งเป็น ๒ แบบ คือ ลูกอ๊อดกบมีชีวิตและแช่แข็ง ปัจจุบันมีเกษตรกรผู้เลี้ยงลูกอ๊อดในพื้นที่ตำบลนาขาม สำหรับลูกอ๊อดกบมีชีวิต ส่วนใหญ่ร้อยละ ๘๕ จะส่งไป จำนวน ๙๓ ราย พื้นที่รวม ๑๐๕ ไร่ (เฉพาะในพื้นที่ จำหน่ายให้กับพ่อค้าต่างจังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์ บ้านหนองแต้ ที่เป็นจุดแรกเริ่มมีเกษตรกรที่เลี้ยงกบ บึงกาฬ อำนาจเจริญ และยโสธร ร้อยละ ๑๒ จำหน่าย จำนวน ๕๗ ราย พื้นที่ ๕๙ ไร่) แยกเป็น เกษตรกรที่เป็น ให้กับพ่อค้าภายในท้องถิ่น ส่วนอีกร้อยละ ๓ นั้น สมาชิกกลุ่มนาแปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลนาขาม จำหน่ายแบบแช่แข็ง เพื่อให้สามารถเก็บผลผลิตไว้ได้นาน จำนวน ๔๒ ราย พื้นที่ ๔๔ ไร บ่อเลี้ยง จำนวน ๖๒๒ บ่อ โดยมีบรรจุภัณฑ์ในการเก็บรักษาให้คงคุณภาพ และจะ เกษตรกรที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการนาแปลงใหญ่ จำนวน สามารถจำหน่ายได้ตลอดทั้งปี ซึ่งจะจำหน่ายให้กับ ๕๑ ราย พื้นที่รวม ๕๖ ไร่ บ่อเลี้ยง จำนวน ๖๔๕ บ่อ ร้านอาหารและภัตตาคารในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย กะบี่ สงขลา และกรุงเทพฯ ในราคา ๒๔๐ บาท/กิโลกรัม สำหรับพื้นที่การเพาะเลี้ยงลูกอ๊อดในนา ๑ ไร่ ทั้งนี้ สามารถสั่งซื้อผ่านช่องทางออนไลน์ Facebook จะมีต้นทุนการเลี้ยงเฉลี่ย ๖๑,๒๐๐ บาท/ไร่ (๑ ไร่ “ลูกอ๊อดบ้านหนองแต้” เป็นอีกหนึ่งช่องทางการตลาด มีบ่อเพาะเลี้ยง ๒๐ บ่อ ขนาด ๔ x ๑๕ เมตร) ผลผลิต ซึ่งปัจจุบันมีลูกค้าให้ความสนใจอย่างต่อเนื่อง มียอดสั่งซื้อ ลูกอ๊อดเฉลี่ย ๖๐ กิโลกรัม/บ่อ (๑ กิโลกรัม จะได้ลูกอ๊อด ประมาณ ประมาณ ๑,๘๐๐ กิโลกรัม/ปี ประมาณ ๔๕๐ – ๕๐๐ ตัว) เกษตรกรมีผลตอบแทน ๙๖,๐๐๐ บาท/ไร่ คิดเป็นผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย (กำไร) ๓๔,๘๐๐ บาท/ไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้ ๘๐ บาท/ กิโลกรัม โดยภายในระยะเวลา ๑ ปี สามารถเพาะ เลี้ยงลูกอ๊อดกบได้ถึง ๕ ครั้ง คิดเป็นผลตอบแทน ทั้งปีเกษตรกรจะมีรายได้สุทธิจากการขายลูกอ๊อดกบ มีชีวิตเฉลี่ย ๑๗๔,๐๐๐ บาท/ปี/ราย สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม



ปกัญารหตาลแาลดะอุรปายสรไรด้ค

ข้อมูลรายสินค้าจังหวัดนครพนม ปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๒ การตลาด ปัญหาและอุปสรรค ราคา ๑. อาหารสำเร็จรูปที่ใช้เลี้ยงลูกอ๊อดมีราคาแพง ส่วนใหญ่จะจำหน่ายในรูปแบบลูกอ๊อดที่มีชีวิต เนื่องจากต้องซื้อผ่านตัวแทนจำหน่ายที่ผ่านมา อยู่อัดก๊าซออกซิเจน มีราคาเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ หลายทอด ๙๐ บาท แต่ก็จะขึ้นลงตามปริมาณผลผลิต และ ความต้องการของตลาด แรก ๆ ราคาจะสูงที่ ๒. ปัญหาเรื่องโรคต่าง ๆ เช่น อาการน็อคน้ำ กิโลกรัมละ ๒๐๐ บาท จากนั้นจะลดต่ำลงมาเรื่อย ๆ โรคชักกระตุก เป็นต้น ต่ำสุดที่ประมาณกิโลกรัมละ ๖๐ บาท วิธีการแก้ไข สำหรับรูปแบบลูกอ๊อดที่เอาขี้ออกแล้ว ๑. เกษตรกรรวมกลุ่มกันเพื่อประสานงานซื้อ เกษตรกรจะทำเมื่อราคาต่ำลงมาเหลือในช่วง กับบริษัทโดยตรงเป็นล็อตใหญ่ เพื่อให้ได้ราคาที่ต่ำลง ๖๐ - ๙๐ บาท/กิโลกรัม เป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิต และการบริหารจัดการกลุ่มที่ดี โดยจะได้ราคาที่ประมาณ ๑๒๐ - ๑๕๐ บาท/กิโลกรัม แต่ก็จะต้องจ้างแรงงานในการบีบขี้ออก ที่กิโลกรัมละ ๒. ประสานงานหน่วยงานราชการที่มีความรู้ ๑๕-๖๐ บาท ขึ้นอยู่กับขนาดลูกอ๊อด มาช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องโรคต่าง ๆ เช่น กรมประมง กรมวิชาการ กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นต้น รายได้ เมื่อคิดคำนวณที่ค่าเฉลี่ยกิโลกรัมละ ๙๐ บาท ในการเลี้ยงกบ ๑ รุ่น ๑ บ่อ (ขนาดกว้าง ๔*๑๐ เมตร) จะได้ผลผลิตลูกอ๊อด ๑๐๐ กิโลกรัม คิดเป็นเงิน ๙,๐๐๐ บาท เมื่อรวมทั้งปีการผลิตในพื้นที่ตำบล คิดเป็นมูลค่ากว่า ๒๔ ล้านบาท คิดสัดส่วนกำไรต่อ ต้นทุนอยู่ที่ ร้อยละ ๓๐/๗๐ ถือเป็นอาชีพเสริมที่ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรได้อย่างดี เนื่องจากใช้ พื้นที่ไม่มาก ใช้เวลาน้อย ตลาดมีความต้องการสิน ค้าสูง และได้ราคาดี สำ นั ก ง า น เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จั ง ห วั ด น ค ร พ น ม

กาลรูกแปอ๊อรดรูป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook