Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย

Published by Guset User, 2021-12-04 15:50:01

Description: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย

Search

Read the Text Version

แบบแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมไทย

สมาชิกในกลุ่ม ๑. นางสาว กนวรรณ เพชรศรี ๑๐๐๑ ๒. นางสาว กอบพร เพชรานนั ท์ ๑๐๐๕ ๓. นางสาว ณฐั ธิดา วอทอง ๑๐๐๖ ๔. นางสาว นฤมล ปราบภยั ๑๐๑๘

คานา แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ไดจ้ ดั ทาข้ึน ในช่วงเวลา ของการปฏิรูปประเทศท่ามกลางสถานการณ์โลกท่ีเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและเช่ือมโยงกนั ใกลช้ ิดกนั มากข้ึน โดยนาหลกั “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”มาเป็ นปรัชญานาทางในการพฒั นาประเทศ ตอ่ เน่ืองจาก แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๙–๑๑ เพือ่ เสริมสร้างภูมิคุม้ กนั และช่วยใหส้ ังคมไทยสามารถยนื หยดั อยูไ่ ด้ อยา่ งมน่ั คง เกิดภูมิคุม้ กนั และมีการบริหารจดั การความเส่ียงอยา่ งเหมาะสม ส่งผลให้การพฒั นาประเทศสู่ ความสมดุลและ ยง่ั ยนื ในการจดั ทาแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๒ คร้ังน้ี สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) ไดจ้ ดั ทาบนพ้นื ฐานของยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ซ่ึงเป็นแผนแม่บท หลักของการพฒั นาประเทศ และเป้าหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมท้ังการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย ๔.๐ ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากน้ัน ได้ให้ความสาคญั กบั การมีส่วนร่วมของภาคีการพฒั นาทุกภาคส่วนท้งั ในระดบั กลุ่มอาชีพ ระดบั ภาค และ ระดบั ประเทศในทุกข้นั ตอนของแผนฯ อย่างกวา้ งขวางและต่อเน่ืองเพื่อร่วมกนั กาหนด วสิ ัยทศั นแ์ ละ ทิศทางการพฒั นาประเทศ รวมท้งั ร่วมจดั ทารายละเอียดยทุ ธศาสตร์ของแผนฯ เพ่อื มุ่งสู่ “ความ มนั่ คง มง่ั คง่ั และยงั่ ยนื ” การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ จึงเป็นจุดเปลี่ยนท่ีสาคญั ในการเชื่อมต่อกบั ยทุ ธศาสตร์ ชาติ ๒๐ ปี ในลกั ษณะการแปลงยทุ ธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบตั ิ โดยในแต่ละยทุ ธศาสตร์ของ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๒ ไดก้ าหนดประเด็นการพฒั นา พร้อมท้งั แผนงาน/โครงการสาคญั ที่ตอ้ งดาเนินการให้ เห็นผล เป็นรูปธรรมในช่วง ๕ ปี แรกของการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติเพ่ือเตรียมความพร้อมคน สังคม และ ระบบ เศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงได้อย่างเหมาะสม

ขณะเดียวกนั ยงั ไดก้ าหนดแนวคิดและกลไกการขบั เคล่ือนและติดตามประเมินผลที่ชดั เจนเพ่ือกากบั ให้ การ พฒั นาเป็นไปอยา่ งมีทิศทางและเกิดประสิทธิภาพ นาไปสู่การพฒั นาเพื่อประโยชนส์ ุขท่ียง่ั ยนื ของสงั คมไทย การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรไทยที่จะเข้าสู่สังคมสูงวยั อย่างสมบูรณ์เม่ือสิ้นสุด แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ โดยท่ีสัดส่วนผูส้ ูงอายุจะเพิ่มข้ึนเป็ นร้อยละ ๑๙.๘ ของจานวนประชากรท้งั หมด ในขณะที่จานวน ประชากรวยั แรงงานไดเ้ ร่ิมลดลงมาต้งั แตป่ ี ๒๕๕๘ เป็นตน้ มา ส่งผลใหเ้ กิดการขาดแคลน แรงงานในภาวะ ที่ผลิตภาพแรงงานไทยก็ยงั ต่า เนื่องจากปัญหาคุณภาพแรงงาน ความล่าชา้ ในการพฒั นา เทคโนโลยี และปัญหา การบริหารจดั การจึงเป็ นขอ้ จากดั ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั และ ศกั ยภาพการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศ รวมท้งั การสร้างรายไดแ้ ละการยกระดบั คุณภาพชีวติ ของประชาชนดว้ ย ท้งั น้ี เมื่อพิจารณา คุณภาพคนพบวา่ ยงั มีปัญหาในแตล่ ะช่วงวยั และส่งผลกระทบต่อเน่ือง ถึงกนั ตลอดช่วงชีวติ ต้งั แต่พฒั นาการ ไมส่ มวยั ในเด็กปฐมวยั ผลลพั ธ์ทางการศึกษาของเดก็ วยั เรียนค่อนขา้ ง ต่า การพฒั นาความรู้และทกั ษะของ แรงงานไม่ตรงกบั ตลาดงาน ขณะท่ีผูส้ ูงอายุมีปัญหาสุขภาพและมี แนวโนม้ อยูค่ นเดียวสูงข้ึน ครอบครัว มีรูปแบบที่หลากหลายและเปราะบางสูงส่งผลต่อการบ่มเพาะใหเ้ ด็ก เติบโตอยา่ งมีคุณภาพ ประกอบกบั การเลื่อนไหลของวฒั นธรรมต่างชาติท่ีเขา้ มาในประเทศไทยผา่ นสังคม ยุคดิจิทลั ในขณะท่ีคนไทยจานวน ไม่นอ้ ยยงั ไม่สามารถคดั กรองและเลือกรับวฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ส่งผลต่อวกิ ฤตค่านิยม ทศั นคติ และ พฤติกรรมในการดาเนินชีวิต การพฒั นาในระยะต่อไปจึงตอ้ งใหค้ วาม สาคญั กบั การวางรากฐานการพฒั นาคน ให้มีความสมบูรณ์ เริ่มต้งั แต่กลุ่มเด็กปฐมวยั ที่ต้องพฒั นาให้มี สุขภาพกายและใจท่ีดี มีทกั ษะทางสมอง ทกั ษะ การเรียนรู้ และทกั ษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคูก่ บั การพฒั นาคนไทยในทุกช่วงวยั ให้เป็ นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวนิ ยั มีจิต สานึกท่ีดีต่อสังคมส่วนรวม มีทกั ษะความรู้ และ ความสามารถปรับตวั เท่าทนั กบั การเปล่ียนแปลงรอบตวั ท่ี รวดเร็ว บนพ้ืนฐานของการมีสถาบนั ทางสังคม ท่ีเขม้ แข็งท้งั สถาบนั ครอบครัว สถาบนั การศึกษา สถาบนั ศาสนา สถาบนั ชุมชน และภาคเอกชนที่ร่วมกนั พฒั นาทุนมนุษยใ์ หม้ ีคุณภาพสูง อีกท้งั ยงั เป็ นทุนทางสงั คม สาคญั ในการขบั เคลื่อนการพฒั นาประเทศ

แนวทางการพฒั นา ๑. ส่งเสริมการเล้ียงดูในครอบครัวท่ีเนน้ การฝึกเดก็ ใหร้ ู้จกั การพ่ึงพาตวั เอง มีความ ซ่ือสัตย์ มีวนิ ยั มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ในรูปแบบของกิจกรรมที่เป็ นกิจวตั ร ประจาวนั และให้พ่อแม่หรือ ผปู้ กครองเป็นแบบอยา่ งท่ีดีใหเ้ ด็กสามารถเรียนรู้และยดึ ถือเป็นตน้ แบบในการ ดาเนินชีวติ ๒.ส่งเสริมใหม้ ีกิจกรรมการเรียนการสอนท้งั ในและนอกหอ้ งเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมี วินยั จิตสาธารณะ รวมท้งั เร่งสร้างสภาพแวดลอ้ มภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้ปลอด จากอบายมุข อยา่ งจริงจงั ๓. ปรับวิธีการเผยแผ่หลกั ศาสนาให้มุ่งช้ีแนะแนวทางการดารงชีวิตตามหลกั ธรรมคาสอน ท่ีเขา้ ใจง่าย สามารถนาไปปฏิบตั ิไดจ้ ริง นาไปสู่การปลูกฝังค่านิยมท่ีดีงาม

๔. เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของชุมชนในการมีส่วนร่วมจดั กิจกรรมสาธารณประโยชน์ จดั ระเบียบทางสังคม และกาหนดบทลงโทษแก่ผลู้ ะเวน้ การปฏิบตั ิตามบรรทดั ฐานในสงั คม ๕. จดั สรรเวลาและพ้ืนที่ออกอากาศให้แก่ส่ือสร้างสรรค์ที่ส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมอนั ดีโดยเฉพาะในช่วงเวลาท่ีมีผูช้ มมากท่ีสุด และส่งเสริมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ สร้าง ความรู้ความเขา้ ใจในบทบาท สิทธิ และหนา้ ท่ีการเป็นพลเมืองท่ีดี ๖. ผลกั ดนั ใหม้ ีการนาวฒั นธรรมการทางานที่พึงประสงคไ์ ปใชป้ ฏิบตั ิจนใหเ้ ป็ น คุณลกั ษณะที่สาคญั ของคน ในสังคมไทย อาทิ การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินยั การทางานเป็ นทีม การเคารพใน ความคิดเห็นที่แตกต่าง การทางานอยา่ งกระตือรือร้น ๖.๑ ปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม มีวนิ ยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรม ท่ีพึงประสงค์ ๖.๒ พฒั นาศกั ยภาพคนใหม้ ีทกั ษะความรู้ และความสามารถในการดารงชีวติ อยา่ งมีคุณค่า ส่งเสริมใหเ้ ด็กปฐมวยั มีการพฒั นาทกั ษะทางสมองและทกั ษะทางสังคมทีเ่ หมาะสม ๑) ให้ความรู้แก่พ่อแม่หรือผูด้ ูแลเด็กในเรื่องการมีโภชนาการท่ีเหมาะสม วิธีการ เล้ียงดูเด็กที่จะกระตุน้ พฒั นาการเดก็ ในช่วง ๐ – ๓ ปี แรก รวมท้งั สนบั สนุนใหแ้ ม่เล้ียงลูกดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งนอ้ ย ๖ เดือน ๒) กาหนดมาตรการสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตและการทางานให้พ่อแม่สามารถ เลีย้ งดูบุตรได้ด้วย ตนเองท้งั การจูงใจใหส้ ถานประกอบการจดั ใหม้ ีการจา้ งงานท่ียดื หยนุ่ รณรงคใ์ หผ้ ชู้ าย ตระหนกั และมีส่วนร่วมในการทาหนา้ ท่ีในบา้ นและดูแลบุตรมากข้ึน ๓) พฒั นาหลกั สูตรการสอนที่อิงผลงานวิจยั ทางวชิ าการและปรับปรุงสถานพฒั นาเด็ก ปฐมวยั ใหม้ ีคุณภาพ ตามมาตรฐานที่เน้นการพฒั นาทกั ษะสาคญั ดา้ นต่างๆ อาทิ ทกั ษะทางสมอง ทกั ษะดา้ น ความคิดความจา ทกั ษะการควบคุมอารมณ์ ทกั ษะการวางแผนและการจดั ระบบ ทกั ษะการรู้จกั ประเมินตนเอง ควบคู่กบั การ ยกระดบั บุคลากรในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีความพร้อมท้งั ทกั ษะ ความรู้ จริยธรรม และ ความเป็ นมืออาชีพ ๔) สนบั สนุนการผลิตส่ือสร้างสรรคท์ ี่มีรูปแบบหลากหลายท่ีใหค้ วามรู้ในการเล้ียงดู และพฒั นาเด็กปฐมวยั อาทิ ครอบครัวศึกษา อนามยั แม่และเด็ก วธิ ีการพฒั นาทกั ษะทางสมองและทกั ษะทาง สงั คม

๕) ผลกั ดนั ให้มีกฎหมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใหค้ รอบคลุมท้งั การพฒั นาทกั ษะ การเรียนรู้เนน้ การเตรียม ความพร้อมเขา้ สู่ระบบการศึกษา การพฒั นาสุขภาพอนามยั ให้มีพฒั นาการท่ีสมวยั และการเตรียมทกั ษะการ อยใู่ นสังคมใหม้ ีพฒั นาการอยา่ งรอบดา้ น ๑) พฒั นาเด็กวยั เรียนและวยั รุ่นให้มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์อยา่ งเป็ นระบบมีความคิด สร้างสรรค์ มีทกั ษะ การทางานและการใชช้ ีวติ ท่ีพร้อมเขา้ สู่ตลาดงาน ๒) สนบั สนุนใหเ้ ด็กเขา้ ร่วมกิจกรรมท้งั ในและนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการพฒั นา ทกั ษะชีวติ และทกั ษะการ เรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง อาทิ การอ่าน การบาเพญ็ ประโยชน์ทางสังคม การดูแลสุขภาพ การทางานร่วมกนั เป็ น กลุ่ม การวางแผนชีวติ ๓) สร้างแรงจูงใจให้เด็กเขา้ สู่การศึกษาในระบบทวิภาคีและสหกิจศึกษาที่มุ่งการฝึ ก ทกั ษะอาชีพให้พร้อม เขา้ สู่ตลาดงาน

ประเทศไทยมีกรอบการพฒั นาของตนเองท่ีกาลงั ใชอ้ ยูเ่ พื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายการพฒั นาอยา่ ง ยง่ั ยนื ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยอาศยั หลกั ภูมิปัญญาและความซื่อสัตยส์ ุจริตตลอดจนหลกั การเดินทาง สายกลาง ความสมเหตุสมผลและความรอบคอบตามแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลย เดช จุดเน้นของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือความยงั่ ยืนและไดร้ ับการยอมรับว่าเป็ นหลกั การสาคญั ของ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศไทยมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2545 f



เกณฑ์มาตรฐาน ๑) พฒั นาศูนย์ฝึ กอบรมสมรรถนะแรงงานที่ได้มาตรฐานตามระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานฝี มือ แรงงาน จดั ทามาตรฐานอาชีพในอุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีมีศกั ยภาพ และใหม้ ีการประเมิน ระดบั ทกั ษะของ แรงงานบนฐานสมรรถนะ ปรับกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีการเรียนรู้จากการปฏิบตั ิจริง สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการของสมองแต่ละช่วงวยั เนน้ พฒั นาทกั ษะพ้ืนฐานดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ดา้ น วศิ วกรรมศาสตร์ ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นศิลปะ และดา้้ นภาษาต่างประเทศ ๒) เร่งพฒั นาระบบขอ้ มูลความตอ้ งการและการผลิตกาลงั คนที่มีการบูรณาการ ระหวา่ งหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง และสามารถนาไปใชค้ าดประมาณความตอ้ งการกาลงั คนท่ีสอดคลอ้ งกบั ทิศทางตลาดงานในอนาคต ๓) จดั ต้งั ศูนยบ์ ริการขอ้ มูลและใหค้ าปรึกษาในการเป็ นผปู้ ระกอบการรายใหม่และ อาชีพอิสระท้งั การจดั หา แหล่งเงินทุนและการตลาดที่เหมาะสม และให้สถาบนั การศึกษาจดั ทาหลกั สูตรระยะ ส้ันพฒั นาทกั ษะ พ้ืนฐานและทกั ษะท่ีจาเป็นสาหรับแรงงานกลุ่มน้ี ๔) ส่งเสริมให้สถาบนั การเงินร่วมกบั สถานประกอบการกาหนดมาตรการการออม ทจีู้ ้่งใจแก่แรงงาน และกระตุน้ ใหเ้ กิดพฤติกรรมการออมอยา่ งตอ่ เน่ืองเพ่ือความมนั่ คงทางการเงินหลงั เกษียณ พฒั นาศกั ยภาพของกลุ่มผสู้ ูงอายวุ ยั ตน้ ใหส้ามารถเขา้ สู่ตลาดงานเพมิ่ ข้ึน ๑) จดั ทาหลกั สูตรพฒั นาทกั ษะในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกบั วยั สมรรถนะ ทางกาย ลกั ษณะงาน และ ส่งเสริมทกั ษะการเรียนรู้ในการทางานร่วมกนั ระหวา่ งรุ่น ๒) สนบั สนุนมาตรการจูงใจทางการเงินและการคลงั ให้ผูป้ ระกอบการมีการจา้ งงาน ที่เหมาะสมสาหรับ ผสู้ ูงอายุ ๓) สนบั สนุนช่องทางการตลาด แหล่งทุน และบริการขอ้ มูลเก่ียวกบั โอกาสใน การประกอบอาชีพสาหรับ ผสู้ ูงอายใุ นชุมชน ๓.๑ ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวติ จดั ทรัพยากรร่วมกนั ให้มีขนาดและจานวนที่เหมาะสมตามความจาเป็ นของพ้ืนที่ และโครงสร้างประชากรท่ี มีสัดส่วนวยั เดก็ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง

๓.๒ พฒั นาระบบประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวดั และประเมินผลคุณภาพผูเ้ รียน ทง้ั ดา้ นทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรียนรู้แตล่ ะระดบั การศึกษา ๓.๓ส่งเสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลางที่มีศกั ยภาพ เขา้ ร่วมระบบทวิภาคี หรือสหกิจศึกษา สร้างความรู้ความเขา้ ใจให้กบั ผูป้ ระกอบการ ครูฝึ กหรือครูพี่เล้ียงให้ ร่วมวางแผนการ จดั การเรียนการสอน การฝึกปฏิบตั ิ และการติดตามประเมินผลผเู้ รียน ๓.๔ ปรับระบบบริหารจดั การสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีมีขนาดและจานวนผเู้ รียนต่ากวา่ .๓.๕ ปรับหลกั สูตรการผลิตครูที่เนน้ สมรรถนะมีจิตวญิ ญาณความเป็ นครูเป็นผแู้ นะนา และสามารถกระตุน้ การเรียนรู้ของผเู้ รียน สร้างมาตรการจูงใจใหผ้ มู้ ีศกั ยภาพสูงเขา้ มาเป็นครู ปรับระบบ ประเมินวทิ ยฐานะทางวชิ าชีพใหเ้ ชื่อมโยงกบั พฒั นาการและผลสัมฤทธ์ิของผเู้ รียน และสร้างเครือขา่ ย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจดั การเรียนการสอนท่ีเป็ นการพฒั นาสมรรถนะของครูอยา่ งต่อเนื่อง ๓.๖ขยายความร่วมมือระหวา่ งสถาบนั อาชีวศึกษา สถาบนั อุดมศึกษา ภาคเอกชน และ ผเู้ ชี่ยวชาญท้งั ในและตา่ งประเทศ พฒั นาสาขาวชิ าท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ นสู่ความเป็ นเลิศ การพฒั นา งานวจิ ยั ไปสู่นวตั กรรม รวมท้งั ขยายการจดั ทาและการใช้ หลกั สูตรฐานสมรรถนะใหม้ ากข้ึน สามารถเขา้ ถึงไดง้ ่าย สะดวก ทว่ั ถึง ไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี ๓.๗ ลดปัจจยั เสี่ยงดา้ นสุขภาพและใหท้ ุกภาคส่วนคานึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ ๓.๘พฒั นาใหค้ นมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมีจิตสานึกสุขภาพท่ีดีและมีการคดั กรอง พฤติกรรมสุขภาพดว้ ย ตนเองผา่ นช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย จดั บริการใหค้ าปรึกษาดา้ นสุขภาพจิต ท่ีเขา้ ถึงไดง้ ่าย และกากบั ควบคุมการเผยแพร่ชุดขอ้ มูลสุขภาพท่ีถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ

๓.๙ ส่งเสริมให้คนมีกิจกรรมทางสุขภาพที่เหมาะสมกบั วยั ท้งั รูปแบบการออกกาลงั กาย โภชนาการที่ เหมาะสม และสนบั สนุนใหช้ ุมชนมีการบริหารจดั การ วธิ ีการดาเนินงานระดบั ชาตสิ าหรับการขบั เคล่ือนเป้าหมายการพฒั นาอย่างยั่งยืน รัฐบาลไทยไดจ้ ดั ต้งั คณะกรรมการระดบั ชาติเพื่อการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืน โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน มีกรรมการจานวน 37 คน ซ่ึงมาจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา และภาคประชาสังคม โดยมี เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เป็ นเลขานุการ14 คณะกรรมการระดบั ชาติเพ่ือการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื และหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งและกรอบนโยบายอ่ืน ๆ ไดใ้ ห้ ความสาคญั กบั ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและองค์กรภาคประชาสังคมโดยยึดหลกั ความ ร่วมมือในการพฒั นาอยา่ งไรก็ตามโครงสร้างการดาเนินงานยงั คงมีผแู้ ทนจากองคก์ รภาคประชาสังคมนอ้ ย กวา่ ท่ีคาดการณ์ไว้ โดยมีจานวนตวั แทนองคก์ รภาคประชาสังคมเพียงจานวน 4 คนจากสมาชิกท้งั หมด 38 คน ดงั น้นั ภาครัฐจึงกาหนดกระบวนการของการมีส่วนร่วมขององคก์ รภาคประชาสังคมและเน้ือหาของ ผลลพั ธ์ทางวิชาการท่ีสาคญั เช่น แผนการดานเนินงานของแต่ละเป้าหมายการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน ทาให้ นาไปสู่การร้องเรียนวา่ องคก์ รภาคประชาสังคม/องคก์ รพฒั นาเอกชนที่มีความสาคญั น้อยของรัฐบาลไดร้ ับ การเชิญให้เขา้ ร่วมในการวางแผนเป้าหมายการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืน ในขณะท่ีกลุ่มผูท้ ี่มีความสาคญั มากหรือ กาลงั ทางานอยใู่ นระดบั รากหญา้ หรือในพ้นื ที่ห่างไกลกลบั ไมไ่ ดร้ ับเชิญใหเ้ ขา้ มีส่วนร่วม15 ภาครัฐส่วนใหญ่ใชง้ บประมาณที่รัฐบาลจดั สรรให้กบั หน่วยงานต่างๆเพื่อทางานสนบั สนุนเป้าหมายการ พฒั นาอย่างยงั่ ยืน กองทุนเหล่าน้ีเป็ นรากฐานสาหรับแผนการดาเนินงานแบบบูรณาการของรัฐบาลตาม กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 12 รัฐบาลไดส้ ร้างโครงสร้างสาหรับการประสานงานระหวา่ งหน่วยงานในความพยายามท่ีจะบรรลุเป้าหมาย การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื เม่ือเป้าหมายการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื เป้าหมายและตวั ช้ีวดั ตอ้ งมีการประสานกนั ระหวา่ ง หน่วยงานอย่างน้อย 2 หน่วยงาน และงานน้ีถือว่าเป็ นประเด็นที่สาคญั ตามนโยบายการพฒั นาท่ีสาคญั นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ นโยบายสาคญั อ่ืน ๆ ของรัฐบาลและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง หน่วยงานตา่ งๆ สามารถของบประมาณแบบบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์จากงบประมาณกลางซ่ึงเป็ นโอกาสสาหรับการการ ดาเนินการในการเชื่อมโยงกนั ประสานกนั และสนบั สนุนในลกั ษณะท่ีมีประสิทธิภาพ คุม้ ค่าและไม่ซ้าซ้อน อยา่ งไรก็ตามหลกั ฐานที่แสดงวา่ กระบวนการน้ีกาลงั เกิดข้ึนจริงเป็ นประจามีน้อยในปี พ.ศ. 2560- 2561 คณะรัฐมนตรีไดจ้ ดั ต้งั คณะกรรมการระดบั ชาติข้ึนใหม่อีก 3 คณะ:คณะกรรมการดาเนินการของนโยบาย ของรัฐบาลโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งวาระการปฏิรูปประเทศและการดาเนินการเป้าหมายการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืนใน ระดบั ทอ้ งถ่ิน โดยมีนายกอบศกั ด์ิ ภูตระกลู รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรีเป็นประธานคณะกรรมการ

คณะกรรมการเสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนในทอ้ งถ่ินโดยมีนายสุวพนั ธุ์ ตนั ยุวรรธนะ รัฐมนตรี ประจาสานกั นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการโครงการยัง่ ยืนไทยเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจระดับรากหญ้า โดยมีรัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงมหาดไทยเป็ นประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการน้ีจดั ต้งั ข้นั เมื่อเดือนกุมภาพนั ธ์ 2561ชุมชน ทอ้ งถ่ินและองคก์ รภาคประชาสังคมจะมีช่องทางมากข้ึนในการทางานร่วมกบั ภาครัฐและจะสามารถจดั การ กบั วาระของทอ้ งถิ่นได1้ 7 เม่ือเดือนมกราคม 2561 กระทรวงการต่างประเทศซ่ึงเป็ นหน่วยงานรับผดิ ชอบของเป้าหมายการพฒั นาอยา่ ง ยงั่ ยนื ท่ี 17 ความร่วมมือเพือ่ การพฒั นาไดร้ ิเร่ิมแผนงานแบบเปิ ดซ่ึงมีเป้าหมายเพือ่ แกป้ ัญหาการจากดั จานวน ของผแู้ ทนจากองคก์ รภาคประชาสังคมในคณะกรรมการอยา่ งเป็ นทางการและเพื่อสร้างการเจรจาใหม้ ากข้ึน ระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียอื่นๆเพือ่ แกไ้ ขปัญหาความเหลื่อมล้าดา้ นรายได้ ต้งั แต่ปี พ ศ. 2560 รัฐบาลไดใ้ ช้แนวทางความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชนในการพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน โดยได้ ส่งเสริมวสิ าหกิจขนาดจิ๋วโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในพ้ืนท่ีชนบทโดยไดร้ ่วมมือกบั บริษทั ขนาดใหญ่ใน 76 จงั หวดั ทว่ั ประเทศ บริษทั เอกชนมุ่งมน่ั ท่ีจะถ่ายทอดความเช่ียวชาญทางธุรกิจไปยงั กลุ่มวิสาหกิจในทอ้ งถิ่นจานวน 1,200 แห่ง ความเชี่ยวชาญท่ีแบ่งปันกนั ครอบคลุมจานวน 5 ดา้ นคือประสิทธิภาพทางธุรกิจ การสร้างความ หลากหลาย การสร้างตราสินคา้ การขายและการจดั จาหน่าย และความเป็นมืออาชีพทางธุรกิจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook