Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปความรู้วิชาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

สรุปความรู้วิชาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

Published by Jiraporn254316, 2021-09-25 04:54:47

Description: สรุปความรู้วิชาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

Search

Read the Text Version

ส รุ ป ค ว า ม รู้ วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า EGS304 การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา นำ เ ส น อ จั ด ทำ โ ด ย อาจารย์ ธานินทร์ ปั ญญาวัฒนากุล นางสาวจิราภรณ์ ป้ องพระราช รหัส 62003161007 ชั้ นปีที่ 3

องค์ความรู้ ที่ได้รับจาก วิชาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา พัฒนาการของเด็กมัธยม และทฤษฎีพัฒนาการ การศึกษางานวิจัย รูปเเบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ขอบพระคุณอาจารย์

ค วามรู้ พัฒนาการของเด็กมัธยม ด้านร่างกาย การเปลี่ยนแปลงด้านขนาด รูปร่าง ทรวดทรง และด้านอื่นๆของระบบ ร่างกายและโครงสร้างของร่างกาย เช่น เสียงเเตกหนุ่ม น้ำหนักหรือ ส่วนสูงเพิ่มขึ้ นต่อเนื่ อง ด้านอารมณ์ ความสามารถในการรู้สึกและแสดง ความรู้สึก เช่น พอใจ ไม่พอใจ รัก ชอบ โกรธ เกลียด กลัว และเป็นสุข เช่น อารมณ์เเปรปรวนง่าย ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ความสามารถในด้านการรับรู้ ความสามารถในการปรับตัวให้ เข้าใจอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น เข้ากับสถานการณ์อย่างรวดเร็ว การควบคุมอารมณ์ในการ เช่น เริ่มมองเห็นตัวตนของ แสดงออก เช่น ตนเอง

ค วามรู้ ท ฤ ษ ฎี พั ฒ น า ก า ร ทฤษฎีของซิ กมันด์ ฟรอยด์ ทฤษฎีของ อีริก เอช อีริกสัน ทฤษฎีของ ณอง เพียร์เจต์ ทฤษฎีของ ลอเรนซ์ โคลเบิร์ก

ค วามรู้ การศึกษางานวิจัย ความสำคัญงานวิจัย การวิจัยช่วยให้เกิดวิทยาการ ใหม่ ๆ เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้น ทั้งทางด้าน ทฤษฎีและปฏิบัติ ช่วยส่งเสริมความรู้ทางด้านวิชาการและศาสตร์สาขา ต่าง ๆ ให้มีการค้นคว้าข้อเท็จจริงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะว่าการวิจัยจะ ทำให้มีการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ เพิ่มเติมซึ่งทำให้วิทยาการต่าง ๆ เจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ทั้งตัวผู้วิจัยและผู้นำเอาเอกสารการวิจัยไป ศึกษา ส่วนประกอบ 1. ส่วนนำ ประกอบด้วย ปกนอก ปกใน หน้าอนุมัติ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพประกอบ อักษรย่อและ สัญลักษณ์ 2. ส่วนเนื้อความ 2.1 บทที่ 1 บทนำ ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์/ความมุ่งหมายในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้า มี) สมมติฐาน นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 2.2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.3 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง/ แหล่ง ข้อมูล เครื่องมือในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ ใช้ 2.4 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2.5 บทที่ 5 บทสรุป ประกอบด้วย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ 3. ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบด้วย บรรณานุกรม/ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย

ค วามรู้ รู ป เ เ บ บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ รูปแบบการเรียนเเบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน 1.การสร้างความสนใจ (Engagement) โดยผู้สอนควรสร้างความสนใจ สร้างความอยากรู้อยาก เห็น มีการตั้ง คําถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดดึงเอาคําตอบ 2.การสํารวจและค้นหา (Exploration) ส่งเสริมให้ผู้เรียนทํางานร่วมกัน การสํารวจ ตรวจสอบ สังเกตและฟังการโต้ตอบกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ทําการซักถามเพื่อนําไปสู่การสํารวจตรวจ สอบของผู้เรียน 3.การอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) โดยผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนอธิบายแนวคิด หรือให้ คําจํากัดความ ด้วยคําพูดของผู้เรียนเอง 4.การขยายความรู้ (Elaboration) โดยผู้สอนคาดหวังให้ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากการชี้บอก ส่วนประกอบต่าง ๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนนําสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ 5.การประเมินผล (Evaluation) โดยผู้สอนสังเกตผู้เรียนในการนําแนวคิดและทักษะใหม่ไป ประยุกต์ใช้ประเมิน ความรู้และทักษะผู้เรียน หาหลักฐานที่แสดงว่าผู้เรียนเปลี่ยนความคิดหรือ พฤติกรรม ให้ผู้เรียนประเมินการเรียนรู้และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.aksorn.com/classroom-5es

ค วามรู้ การจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รูปเเบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ E1 E2 E5 Engagement Evaluation Exploration E4 E3 Elaboration Explanation

ค วามรู้ รู ป เ เ บ บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ขั้นตอนการจัดการเรียนโดยใช้ปั ญหาเป็นฐานนั้น ประกอบ ด้วย 6 ขั้นตอน อันได้แก่ ขั้นที่ 1 กำหนดปั ญหา ผู้สอนสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นผู้เรียน โดยอาจเป็นการแนะนำ แนวทาง ขกตัวอย่างสถานการณ์ หรือถามคำถามที่ ให้คิดต่อ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและมอง เห็นปั ญหา ขั้นที่ 2 ทำความเข้าใจกับปั ญหา ผู้สอนจะกระตุ้นผู้เรียนด้วยคำถามหรือการเสริมแรง เพื่อให้ผู้ เรียนทำความเข้าใจกับปัญหาที่อยากรู้ โดยเน้นให้เกิดการระดมสมอง เพื่อหาแนวทางและวิธีการใน การหาคำตอบ ขั้นที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า ผู้เรียนจะต้องดำเนินการกษานคว้าอย่างเป็นระบบร่วมกัน โดยมี การกำหนดกติกา วางเป่าหมาย และดำเนินกิจกรรมตาม ระยะเวลาที่กำหนด ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้ ผู้เรียนแต่ละคนสังเคราะห์ความรู้ที่ได้จากการคันคว้า โดยมีการนำเสนอ กันภายในกลุ่ม เพื่อหาข้อสรุป ทบทวนและตรวจ สอบความถูกต้อง ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำข้อรุปที่ได้มาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ และเลือกวิธีที่จะนำเสนอสู่ภายนอก ขั้นที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำองค์ความรู้ที่ได้ไปนำเสนอตามวิธีการที่ใด้ กำหนดไว้ เพื่อเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ โดยครูผู้สอน ประเมินผลการเรียนรู้จากการดำเนินงานของ ผู้เรียนตามสภาพจริง ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.kruachieve.com/

ค วามรู้ รู ป เ เ บ บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ การจัดการเรียนรู้แบบ STEAM EDUCATION STEAM EDUCATION คือหลักการสอนเเบบบูรณาการข้ามกลุ่มสาระระหว่างศาสตร์ 5 สาขา ได้ เเก้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิตศาสตร์ การจัดการเรียนรู้แบบ STEAM EDUCATION ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1.การระบุปั ญหา (Identify a challenge) เป็นขั้นตอนที่ครูผู้สอนต้องกำหนดปัญหาหรือผู้ เรียนต้องทำความ เข้าใจสิ่งที่เป็นปัญหาในชีวิตประจำวัน เพื่อหาวิธีการหรือสร้างสิ่ง ประดิษฐ์/นวัตกรรม (Innovation) เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว 2.รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง (Explore Ideas) เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับปั ญหามาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อพิจารณาหาแนวทางที่เหมาะสมและ ประเมินความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อเสีย เพื่อเลือกแนวคิดหรือวิธีการที่ เหมาะสมที่สุด 3.ออกแบบวางแผนและพัฒนา (Plan and Develop) เป็นขั้นตอนที่ดำเนินการออกแบบวิธี การแก้ปัญหา กำหนดขั้นตอนการ ดำเนินการ เป้าหมายและระยะเวลาดำเนินการ ให้ชัดเจน พร้อมทดสอบแนวคิดที่จะใช้ในการแก้ปั ญหา 4.การทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluate) เป็นขั้นตอนทดสอบและประเมินผลงาน เพื่อแก้ปัญหา โดยผลที่ได้อาจถูกนำมาปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธ์ให้มีประสิทธิภาพในการ แก้ปั ญหาเพิ่มมากขึ้ นก่อนนำออกไปเผย 5.การนำเสนอผลลัพธ์ (Present the Solution) นำเสนอผลลัพธ์ต่อผู้ที่สนใจผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยต้องออกแบบวิธีการนำเสนอข้อมูลที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจเพื่อให้เกิดการผลิตและการใช้ งานในวงกว้างต่อไป ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.homeschoolno50.com/2019/06/steam-education.html

ค วามรู้ แผนการ จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ส่วนหัวของแผน ประกอบด้วย ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชื่อเรื่องของแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา/รหัสวิชา ชั้นที่สอน โรงเรียน และเวลา ที่ใช้ในการสอน 2. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้ าหมายสำคัญ ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีึคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการเรียน รู้เป็ นกลไกสำคัญในการขับเคลื่ อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบเพราะจะสะท้อนให้ ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนมีหรือ บรรลุซึ่ง มีทั้งด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ 4. สาระสำคัญ เป็นการบรรยายกรอบความคิดหลักในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของแผน การจัดการเรียนรู้แต่ละแผนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยผู้สอนได้ ระบุความคิดรวบยอดของเนื้ อหาที่เรียน 5. สาระการเรียนรู้ เป็นสาระการเรียนรู้ที่ระบุไว้ในตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ และ เป็นสาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่นำสู่การเรียน (ขั้นนำ) กิจกรรม พัฒนาการเรียนรู้ (ขั้นสอน) และ กิจกรรมรวบยอด (ขั้นสรุป) 7. สื่อ/นวัตกรรม และแหล่งเรียนรู้ การกำหนดวัสดุ อุปกรณ์ สื่อ และแหล่ง เรียนรู้ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดและกิจกรรมการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการ เรียนรู้ เป็นการประเมินเพื่อการพัฒนา ซึ่งผู้สอน ประเมินผลการ เรียนรู้ตามตัวชี้ วัด/ผลการเรียนรู้ที่กำหนดเป็นเป้ าหมายในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การซักถาม การสังเกต การแสดงออกในการปฏิบัติผลงานของผู้เรียน โดย มีเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ ใช้ในพัฒนา 9. แบบบันทึกหลังการสอน ประกอบด้วย 3 ส่วน ผลการจัดกิจกรรม ปัญหาที่ พบ ข้อเสนอแนะและแนวทาการแก้ปัญหา

ขอบพระคุณ อาจารย์ธานินทร์ ปัญญาวัฒนากุล ผ่านความวุ่นวายมานานนัก ในที่สุดก็ถึงเวลาพักเสียที ขอบคุณสำหรับหน้าที่ ซึ่งท่านได้สร้างสรรค์ตลอดมา ขอขอบคุณอาจารย์ธานินทร์สำหรับความรู้ดีๆ ที่ท่านได้มอบให้มาโดยตลอด ระยะเวลาตั้งเเต่ ปี1 จนถึงปัจจุบัน ในระยะเวลาที่ผ่านมาทำให้หนูได้เรียน รู้อะไรหลายๆอย่าง และได้ข้อคิดในการเป็นครูที่ดี ได้ฝึกประสบการณ์ต่างๆ ที่หนูไม่เคยทำมาก่อนหนูขออวยพรให้อาจารย์มีเเต่ความสุข มีสุขภาพร่าง กายที่เเข็งแรงนะคะ