Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา2564

แผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา2564

Published by watnamom93010227, 2021-09-14 07:32:30

Description: แผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา 2564โรงเรียนวัดนาหม่อม

Keywords: โรงเรียนวัดนาหม่อม,แผนปฏิบัติการ,สพป.พัทลุง2

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติมฉบับท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ มีจุดมุ่งหมายมุ่งจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีความรู้ และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเป็นสุข การดาเนนิ การเพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การวางแผนมีความสาคัญอย่างย่ิง โดยเฉพาะการ วางแผนกลยุทธ์เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพราะแผนเป็นกรอบ ทิศทาง และเคร่ืองมือในการบริหารจัดการ ศึกษา ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการสร้างโอกาสและส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนในการแกไ้ ขปญั หา และพัฒนาการศึกษาอย่างย่งั ยนื โรงเรียนวัดนาหม่อมได้จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปกี ารศึกษา ๒๕64 ขน้ึ ภายใต้ใช้กรอบแนวคิด/ทิศทาง นโยบาย/กลยุทธ์ ของต้นสังกัดและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วยแผนงานโครงการตามกลยุทธ์ ทัง้ ๔ กลยุทธ์ จานวน 17 โครงการ ขอขอบคุณคณะครูและบุคลากร คณะทางานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทา แผนปฏิบัติการ ประจาปีการศึกษา ๒๕64 จนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี โรงเรียนวัดนาหม่อมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการฉบับนี้ จะเป็นแนวทางในการ เพื่อส่งเสริมสนับสนุน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ และจุดเน้นของสานักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และกลยุทธ์ ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตลอดจนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องไปสู่การปฏิบัติจนเกิดผล สาเร็จอย่าง เป็นรูปธรรม และเป็นเครื่องมือในการบริหาร และจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ลต่อไป โรงเรยี นวดั นาหม่อม เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2564

ข สำรบญั หน้ำ เรื่อง 1 2 บทที่ 1 บทนำ 2 3 - ข้อมลู ทัว่ ไป 3 - สัญลักษณโ์ รงเรยี น 4 - โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียน 4 - ขอ้ มลู นักเรียน 5 - ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากร 9 - ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ 9 - โครงสรา้ งหลกั สูตร 10 - ผลการจัดการศึกษาทผ่ี ่านมา - สภาพชุมชนโดยรวม 13 - ผลงานทป่ี ระสบความสาเรจ็ 14 - ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกและสภาพแวดล้อมภายใน 14 บทที่ 2 ทศิ ทำงและกลยทุ ธ์กำรจดั กำรศึกษำ 14 14 - วิสยั ทัศน์ 15 - อตั ลักษณ์ - พนั ธกิจ 19 - เป้าประสงค์ 20 - ประเด็นกลยทุ ธ์ 22 - กรอบกลยทุ ธ์การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 24 บทท่ี 3 ประมำณกำรงบประมำณรำยรบั -รำยจ่ำย 25 30 - ประมาณการรายรับตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี 2564 34 - แผนการใชจ้ ่ายงบประจาตามโครงสรา้ ง - แผนการใชจ้ า่ ยงบพฒั นาตามกลยทุ ธ์ 38 บทที่ 4 รำยละเอียดโครงกำรตำมแผนปฏบิ ัติกำรประจำปีกำรศึกษำ 2563 41 44 - โครงการพฒั นาปฐมวัยใหม้ พี ัฒนาการสมวยั 47 - โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สาคญั ในศตวรรษที่ ๒๑ - โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน - โครงการพฒั นากระบวนการเรยี นรเู้ น้นการบูรณาการ และให้ผู้เรยี นปฏิบตั ิจริง(Active Learning) - โครงการจดั การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม - โครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา - โครงการประกนั คุณภาพภายใน

ค - โครงการตามรอยพ่อเศรษฐกิจพอเพยี ง 51 - โครงการปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีดีงาม 54 เพื่อการเป็นพลเมอื งทีด่ ี 58 63 - โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น 67 - โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น 70 - โครงการพฒั นาเทคโนโลยเี พ่ือการบรหิ ารและการเรยี นการสอน 73 - โครงการประชาสัมพนั ธโ์ รงเรยี น 77 - โครงการสานสัมพันธ์สรา้ งสรรค์การศึกษา 81 - โครงการโรงเรยี นสขี าว 85 - โครงการโรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพ - โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นาบุคลากรในสถานศึกษา 88 บทท่ี 5 กำรกำกบั ตดิ ตำม ประเมินผลและรำยงำน

1 ส่วนที่ 1 บทนำ 1. ขอ้ มูลทั่วไป 1.1 ชอ่ื โรงเรยี นวัดนาหมอ่ ม ตงั้ อยู่หมู่ 5 ตาบลนาปะขอ อาเภอบางแก้ว จงั หวดั พัทลุง รหสั ไปรษณยี ์ 93140 โทรศัพท์ - โทรสาร - สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 สงั กัดคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ 1.2 เปดิ สอนตัง้ แตร่ ะดับชนั้ อนุบาล 1 ถึงประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1.3 เนื้อท่ี 3 ไร่ 20 ตารางวา 1.4 มีเขตพ้ืนที่บรกิ าร 3 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมทู่ ี่ 5 บา้ นชา่ งทอง หมู่ท่ี 6 บา้ นนาหม่อม และหมทู่ ่ี 13 บ้านเกาะหยี ตาบลนาปะขอ อาเภอบางแกว้ จังหวดั พทั ลงุ 1.5 ประวตั ิโดยย่อ โรงเรียนวัดนาหม่อม เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาลตาบลนาปะขอ ต้ังอยู่หมู่ท่ี 6 ตาบลนาปะขอ อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง โดยมี นายม่วง ไชยวรรณ แพทย์ประจาตาบลนาปะขอเป็นผู้บริจาคท่ีดินก่อสร้าง โรงเรียน เปิดสอนครั้งแรกเมื่อวันท่ี 20 เมษายน พ.ศ.2483 มีนายธนรัตน์ กสิวงส์ เป็นครูใหญ่คนแรก เปิดสอน ตง้ั แตช่ ัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – 4 ต่อมาปี พ.ศ. 2494 อาคารเก่าชารุด สถานท่ีคับแคบ นายคงแก้ว รองเลื่อน ครูใหญ่ได้ย้ายมาสร้างใน สถานทใี่ หม่ บริเวณวดั นาหม่อม ซงึ่ เป็นสถานท่ีตง้ั โรงเรียนในปัจจบุ นั แผนทโ่ี รงเรียน N สถานรี ถไฟบางแกว้ วัดรตั นวราราม โรงเรยี นวัดนาหม่อม วงเวียนบางแกว้

2 2. สัญลักษณโ์ รงเรียน 2.1 ตราโรงเรยี น 2.2 คาขวัญ “ เรียนดี มคี ุณธรรม นาสังคม” 2.3 ปรัชญา “นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอดว้ ยปญั ญาไมม่ ี” 2.4 สปี ระจาโรงเรียน สนี ้าเงนิ – เหลอื ง 3. โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรงำนโรงเรยี น (เสนอแผนภูมิ) โรงเรียนวัดนาหม่อมแบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 กลุ่มงาน ได้แก่ด้าน กลุ่มงานวิชาการ กลุ่มงาน งบประมาณ กลมุ่ งานบคุ ลากรและกลมุ่ งานบริหารท่วั ไป ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบธรรมาภิ บาล บริหารแบบมีสว่ นรว่ ม เครอื ขา่ ยผปู้ กครอง นายสุมารถนเงินละเอียด รกั ษาการผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ กลุม่ บริหารท่วั ไป นางสาวอจั ราภรณ์ เกตแุ ก้ว นางจินตนา เครานวล นางสาวสุภทั รา มีเสน นางจนิ ตนา เครานวล นางสาวสภุ ทั รา มีเสน นางฤทยั รตั น์ รักเลง่ นางสาวทพิ วรรณ เพชรอกั ษร นางสาวสภุ ทั รา มีเสน นางทพิ วรรณ เพชรอกั ษร นางสาวเนตรนภา สรุ ิยะจนั ทร์ นางสาวอจั ราภรณ์ เกตแุ กว้ นางสาวอัจราภรณ์ เกตุแกว้ นางสาวเนตรนภา สุรยิ ะจนั ทร์ นางสาวทพิ วรรณ เพชรอกั ษร นางฤทยั รัตน์ รกั เลง่ คณุ ภาพนกั เรียน นางสาวเนตรนภา สรุ ยิ ะจนั ทร์

3 4. ข้อมูลนกั เรยี น ตารางแสดงจานวนนกั เรยี นจาแนกตามระดบั ชนั้ ระดับชนั้ ชำย จำนวนนกั เรยี น รวม 0 หญิง 3 ชน้ั อนบุ าลปที ี่ ๑ 3 ชน้ั อนุบาลปที ี ๒ 4 6 ชน้ั อนุบาลปีที 3 5 2 5 0 รวมช้ันอนุบำล 8 14 ชน้ั ประถมศึกษาปีที ๑ 5 ช้ันประถมศึกษาปีที ๒ 0 5 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี ๓ 5 5 8 ชั้นประถมศึกษาปที ี ๔ 2 3 5 ชั้นประถมศึกษาปที ี ๕ 4 3 4 ชน้ั ประถมศึกษาปีที ๖ 5 0 10 3 5 3 รวมชัน้ ประถมศกึ ษำ 0 19 35 รวมนักเรยี นทง้ั หมด 16 27 49 21 5. ข้อมูลครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ตารางแสดงจานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจาแนกตามเพศ ระดบั การศกึ ษา และอายุเฉลี่ย เพศ ระดบั กำรศึกษำสูงสดุ อำยุ ประสบกำรณ์ เฉลย่ี เฉลี่ย ประเภทบุคลำกร ชำย หญงิ ต่ำกว่ำ ป.ตรี สงู กว่ำ ป.ตรี ป.ตรี 50.00 - ผู้อำนวยกำร 1- - 14.67 รองผู้อำนวยกำร -- - -1 9.00 ครูประจำกำร -3 40.33 20.00 ครอู ัตรำจ้ำง -1 --- 41.00 นกั กำร / ภำรโรง -1 48.00 อ่นื ๆ ……………. -3 - 12 42.00 18 รวม -1- -1- -3- ---

4 6. ขอ้ มูลด้ำนอำคำรสถำนท่ี 6.๑ อาคารเรยี น 3 หลัง จานวน 13 หอ้ งเรียน ได้แก่ - แบบ ป.1ก ๒ หลัง จานวน 6 หอ้ ง สรา้ งเม่อื พ.ศ. 2521 และ 2524 - แบบ สปช.105/29 จานวน 7 หอ้ ง สรา้ งเมือ่ พ.ศ.2537 6.๒ อาคารประกอบ - อาคารเอนกประสงค์ จานวน 1 หลงั แบบ 312 สร้างเมอ่ื พ.ศ.2522 - สว้ ม แบบ สปช.601/26 จานวน 1 ที่ สร้างเม่อื พ.ศ.2546 แบบ อ่ืน ๆ จานวน 1 ท่ี สรา้ งเมื่อ พ.ศ.2556 - โรงอาหาร แบบ.........-...............จานวน.....-.......ที่สรา้ งเมื่อ พ.ศ...........-................... 6.๓ สนามกีฬา 6.4 แหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี น - ห้องสมดุ 1 หลังแบบ หอสมดุ สรา้ งเมื่อพ.ศ.2539 - ห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ 1 หอ้ ง เครอื่ งคอมพิวเตอร์ 6 เครอ่ื ง 7. โครงสร้ำงหลักสตู ร โรงเรียนวดั นาหม่อม จัดการสอนตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2560 โดยโรงเรยี นไดจ้ ดั สดั สว่ นสาระการเรียนรแู้ ละเวลาเรยี น ดงั แสดงในตารางต่อไปน้ี โครงสร้ำงหลกั สูตรปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ชว่ งอำยุ ประสบกำรณส์ ำคญั อำยุ 3 - 5 ปี สำระกำรเรยี นรู้ สำระที่ควรเรยี นรู้ ระยะเวลำเรยี น ด้านรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์และจิตใจ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก ดา้ นสังคม เรื่องราวเกย่ี วกบั บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ด้านสตปิ ญั ญา ธรรมชาตริ อบตวั ส่งิ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก เวลำเรียน 3 ปี

5 โครงสรำ้ งหลักสูตรประถมศึกษำ ตำมหลักสตู รสถำนศกึ ษำปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 กลมุ่ สำระกำรเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลำเรียนระดับประถมศึกษำ ป.6 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 160 กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ 160 120 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 120 (40) คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 (80) วทิ ยาศาสตร์ 80 80 80 120 120 80 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 80 80 120 120 40 40 * ประวตั ิศาสตร์ (40) (40) (40) (40) (40) 120 840 * ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม 40 * หนา้ ที่พลเมอื ง วฒั นธรรมและการดาเนนิ ชีวติ ในสงั คม (40) (40) (40) (80) (80) 40 * เศรษฐศาสตร์ 40 40 * ภมู ิศาสตร์ 30 10 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 120 ศิลปะ *20 *20 *20 40 40 การงานอาชพี *20 *20 *20 40 40 ภาษาตา่ งประเทศ 200 200 200 120 120 รวมเวลำเรยี น (พื้นฐำน) 840 840 840 840 840 รำยวิชำเพิม่ เตมิ * หนา้ ท่พี ลเมอื ง 40 40 40 40 40 รวมเวลำเรียน (เพม่ิ เติม) 40 40 40 40 40 กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น * กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 * กจิ กรรมนกั เรยี น ลูกเสอื – เนตรนารี 40 40 40 40 40 * กจิ กรรมชุมนมุ (กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลาร้)ู 30 30 30 30 30 * กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 รวมเวลำกิจกรรม 120 120 120 120 120 รวมเวลำเรยี นทง้ั หมด 1,000 ชัว่ โมง/ปี * จดั บรู ณาการการเรียนรรู้ ่วมกนั ตามความสอดคลอ้ งของเน้ือหาและการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 8. ผลกำรจดั กำรศึกษำทผี่ ำ่ นมำ 8.1 อตั รำกำรเข้ำเรียน ตารางแสดงอัตราเขา้ เรยี นชั้นอนบุ าลปที ่ี 1 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ชัน้ เด็กในเขต ได้เข้าเรียน คดิ เป็นร้อยละ หมายเหตุ บริการ อนุบาลปีที่ 1 10 3 30.00 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 20 5 25.00

6 8.2 ผลกำรทดสอบควำมสำมำรถระดับชำติ 1) ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนออกของผู้เรยี น (Reading Test: RT) ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ 1 ผลการประเมินประจาปีการศึกษา 2563 ตำรำงกำรเปรยี บเทยี บกำรประเมนิ ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนปีกำรศกึ ษำ 2561 – 2563 ผลกำรประเมิน ปี 2561 ปี 2562 คำ่ ปี 2563 ค่ำพฒั นำกำร พัฒนำกำร ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ น 81.16 73.10 88.11 +15.01 -8.06 ออกของผู้เรียน คะแนนเฉลยี่ 81.16 73.10 88.11 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 จากกราฟ จะเหน็ ว่าผลคะแนนความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 มคี ะแนนเฉลย่ี เพิม่ ขึ้นจาก 2 ปที ผ่ี ่านมา จัดอยใู่ นเกณฑ์ ดีมาก คอื ร้อยละ 88.11

7 2) ผลกำรทดสอบควำมสำมำรถระดับชำติ NT นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จานวน 4 คน มผี ลการทดสอบความสามารถด้าน คณติ ศาสตร์ (Mathematics) ร้อยละ 40. 25 ดา้ นภาษาไทย ( Thai Language) รอ้ ยละ 52.37 และคะแนนเฉล่ีย รวมท้ังสองดา้ น ร้อยละ 46.31 โดยมคี ะแนนเฉลี่ยทัง้ สองด้านสงู กว่าระดับเทศ ร้อยละ 2.34

8 3) ผลกำรทดสอบควำมสำมำรถระดับชำติขัน้ พนื้ ฐำน (O-NET) นักเรียนชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563 มนี โยบายถามความมัครใจของนกั เรยี นในการเข้าสอบ ONET โรงเรียนวดั นาหมอ่ มมี นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวน 9 คน สมัครใจสอบ 9 คน ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำตขิ น้ั พน้ื ฐำน (ONET) ปกี ำรศกึ ษำ 2563 ระดบั ช้ันประถมศกึ ษำปที ี่ 6 70.00 60.00 ่คาคะแนนเฉ ่ลีย 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 59.64 31.67 36.78 36.39 คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น 60.86 32.41 41.96 43.40 คะแนนเฉล่ยี ระดบั จังหวัด 54.96 28.59 37.64 38.87 คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ. 56.20 29.99 38.78 43.55 คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ เปรียบเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติข้ึนพนื้ ฐำน (O-NET) ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2559 – 2563 คะแนนเฉลย่ี ระดับโรงเรียน วชิ ำ 2559 2560 ปกี ำรศกึ ษำ 2562 2563 59.45 47.50 2561 54.61 59.64 ภาษาไทย 44.55 40.71 53.50 41.11 31.67 คณติ ศาสตร์ 38.41 37.64 38.75 34.19 36.78 วิทยาศาสตร์ 32.50 28.21 43.25 31.39 36.39 ภาษาองั กฤษ 45.66 38.52 36.88 40.33 41.12 43.10 เฉลี่ย

9 9. สภาพชุมชนโดยรวม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะด้านภูมิศาสตร์เป็นท่ีราบลุ่มชายฝ่ังทะเลสาบ พื้นที่เหมาะแก่การ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่พ้ืนท่ีมีคุณภาพต่าขาดความอุดมสมบูรณ์ ปลูกพืชไม่ค่อยได้ผล โดยเฉพาะการทานา ปจั จุบนั ประชากรเปลย่ี นจากอาชพี ทานา โดยปรับปรุงพื้นท่ีปลูกยางพาราเนื่องจากมีราคาดี แต่พ้ืนท่ีไม่เหมาะกับการ ทาสวนยางพารา จึงทาให้ผลผลติ ตา่ บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ หมู่ 5 บ้านช่างทอง หมู่ 6 บ้านนาหม่อม หมู่ 13 บ้านเกาะหยี อาชีพหลักของชมุ ชนคอื อาชพี เกษตรและรับจ้างทั่วไปเน่ืองจากอาชีพเกษตรผลผลิตต่านอกฤดูกาลต้องไปหางานทาที่ อื่น ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน ท่ีรู้จักกันโดยท่ัวไป คือประเพณีชักพระ การทาบุญเดือนสิบ ประเพณีสงกรานต์ ฯลฯ ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมร้อยละ 70 รบั จ้างทัว่ ไปรอ้ ยละ 30 นบั ถอื ศาสนาพุทธ 100 เปอร์เซ็นต์ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดย เฉลี่ยต่อครอบครัว ตอ่ ปี 48,066 บาท เฉลยี่ ต่อครอบครวั 3.55 คน โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน ด้านโอกาสผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นคุณค่าของการศึกษาและการสนับสนุน กิจกรรมของโรงเรียนด้วยดีตลอดมา เป็นชุมชนท่ีเข้มแข็งร่วมกิจกรรมส่วนรวมด้วยความสามัคคีและเต็มใจ โรงเรียน ต้ังอยู่ติดบริเวณวัดนาหม่อม ได้รับการกรุณาและการสนับสนุนจากวัดและเจ้าอาวาสอย่างดีย่ิง นอกจากน้ันยังได้รับ การสนบั สนนุ อปุ กรณก์ ารเรียน คอมพิวเตอร์และงบประมาณอาหารกลางวัน จากองค์การบริหารสว่ นตาบลนาปะขอ อุปสรรค ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้างทั่วไป ประกอบกับในช่วงปีที่ผ่านมา ประสบปัญหาโรคระบาด สง่ ผลให้มีรายได้คอ่ นข้างตา่ ทาใหก้ ารสนบั สนุนดา้ นงบประมาณมีจานวนจากัด นอกฤดูกาล ต้องไปทางานท่ีอ่ืน จึงไม่มีเวลาในการดูแลบุตรหลานอย่างเต็มท่ี ถึงแม้สถานศึกษาจะได้รับงบประมาณสนับสนุน อาหารกลางวันจากองค์การบริหารสว่ นตาบลนาปะขอแต่มีขอ้ จากดั ด้านงบประมาณในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เนอ่ื งจากมีจานวนนักเรยี นนอ้ ย 10. ผลงำนที่ประสบควำมสำเร็จ รางวัลท่ีไดร้ บั หน่วยงานท่มี อบรางวลั ประเภท สถานศึกษา ไดร้ ับคดั เลือกเป็นสถานศึกษาพอเพียง สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ต้นแบบ ปกี ารศึกษา 2563 ประถมศึกษาพัทลุง เขต 2 ครู เกียรตบิ ัตรครูดีของแผ่นดนิ มูลนธิ คิ รดู ศี รแี ผ่นดนิ นางสาวสุภัทรา มีเสน ขน้ั พืน้ ฐานโครงการเครือขา่ ยครดู ีของแผ่นดิน เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท 2563 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต 2

ประเภท รางวัลทไ่ี ดร้ บั 10 ครู เกยี รตบิ ัตรครูดีไม่มีอบายมขุ (ปที ี่ 10) หน่วยงานทีม่ อบรางวัล นางสาวสภุ ัทรา มีเสน ประจาปีการศกึ ษา 2563 สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ครู เกียรตบิ ัตรครูดีศรีโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2563 เครอื ข่ายพัฒนาคุณภาพ นางสาวสุภัทรา มีเสน เครอื ขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาบางแกว้ การศกึ ษาบางแก้ว 11. ผลกำรวิเครำะหส์ ภำพแวดล้อมภำยนอกและผลกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยใน กำรประเมนิ ศักยภำพท่เี ปน็ สภำพแวดล้อมภำยใน จดุ แข็ง(Strength :S) จุดออ่ น(Weakness :S ) S1 เดก็ ปฐมวัยไดร้ บั การพัฒนาใหม้ ีความพรอ้ มด้าน W1 นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนไมเ่ ปน็ ไปตาม ร่างกาย จติ ใจอารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยมี เปา้ หมายที่กาหนดในกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ รูปแบบการจดั ประสบการณแ์ ละกจิ กรรมที่ และวิทยาศาสตร์ หลากหลาย เพ่อื พัฒนากลา้ มเนื้อมัดเลก็ และมดั ใหญ่ ของเด็กปฐมวัย S2 นกั เรยี นไดร้ ับการปลกู ฝังให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม W2 นักเรียนยังขาดทักษะการเรยี นรู้ทสี่ าคญั ในศตวรรษที่ ค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ ดว้ ยการจัดกจิ กรรมท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการเขียน การสอื่ สาร การคดิ หลากหลายและการจดั ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น วิเคราะห์ และการคดิ คานวณ อยา่ งใกลช้ ิด S3 สถานศกึ ษามีหลกั สตู รสถานศึกษาในแต่ละดบั ท่ี W3 การจดั กระบวนการจัดการเรียนการสอนยังไม่ใช้รูปแบบ เหมาะสมกบั ผเู้ รียนสอดคล้องกบั ทอ้ งถิ่น การจัดการเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย ขาดการเน้นให้ นักเรยี นปฏิบตั ิจริงโดยเฉพาะวชิ าวิทยาศาสตร์ S4 ครมู คี วามม่งุ มัน่ ทมุ่ เทในการจดั การเรยี นการสอน W4 ครผู สู้ อนไมค่ รบชั้นและไมต่ รงเอก และการดูแลนกั เรียนบนพน้ื ฐานตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง S5 S1 โรงเรียนได้รับความรว่ มมอื จากคณะกรรมการ W5 การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ไม่เปน็ ระบบและเป็น สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐานผู้ปกครอง ชมุ ชน ในการร่วม ปจั จุบนั ร่วมระดมความคิด รว่ มปฏบิ ตั ิ ร่วมพฒั นาโรงเรยี น ทาใหข้ าดความคล่องตวั ในการปฏบิ ัตงิ าน อยา่ งดตี ลอดมา S6 ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามเข้มแขง็ ทุม่ เท W6 โรงเรียนขาดการรายงานและการประชาสมั พนั ธเ์ ผยแพร่ การทางานใหก้ บั ภารกิจของโรงเรยี นมคี วามตืน่ ตัว ผลงาน และกระตือรอื ร้นในการพฒั นาตนเองและนามาใชใ้ น การจดั การเรยี นการสอน

11 กำรประเมนิ ศักยภำพทเี่ ปน็ สภำพแวดลอ้ มภำยนอก โอกำส (opportunity :O) อุปสรรค(Threat :T) O1 ผู้ปกครอง ชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ใหก้ าร T1 นโยบายการศึกษามกี ารเปลยี่ นแปลงบอ่ ยส่งผลให้ สนบั สนุนและให้ความร่วมมอื ในการจดั การศึกษาของ โรงเรียนมคี วามยุง่ ยากการบริหารจดั การ โรงเรียน T2 ผปู้ กครองส่วนใหญ่มฐี านะยากจน มเี วลาใหก้ บั ผเู้ รยี น O2 เทคโนโลยี นวตั กรรมมคี วามทันสมยั ราคาถูก สามารถ นอ้ ย ผเู้ รียนต้องอยกู่ ับผสู้ งู อายุและไมส่ ามารถสง่ เสรมิ จัดหามาใชเ้ พ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษา การเรยี นของผู้เรยี นได้ O3 มีแหลง่ เรยี นรู้ในชุมชนท่หี ลากหลายทั้งที่เกี่ยวกับอาชีพ T3 ปจั จัยทางสงั คมมคี วามเส่ยี งในการดาเนินชีวิตและ และภมู ิปัญญา แรงจงู ใจตอ่ การเรยี นมมี ากขึ้น O4 มีสถาบันศาสนาอย่ใู นพ้นื ทโี่ รงเรยี น สามารถใช้เป็น แหล่งในการเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณ ลกั ษณท์ ี่พึงประสงค์ กลยทุ ธก์ ำรพัฒนำตำมศกั ยภำพ จากผลการประเมนิ ศักยภาพ SWOT Analysis ของโรงเรียนท้งั สภาพปจั จัยภายในและปัจจัยภายนอก จงึ ได้ผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการจดั ทากลยุทธ์การพัฒนาโดยใชเ้ ครื่องมือ TOWS Matrix จากการวเิ คราะห์พบวา่ มดี งั น้ี SO1 พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มพี ฒั นาการสมวยั ด้านรา่ งกาย อารมณ์จติ ใจ สงั คมและสตปิ ญั ญา ดว้ ยรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ หลากหลายประสานความรว่ มมือผปู้ กครอง ชุมชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และ ICT ทที่ นั สมัย SO2 ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่พี ึงประสงคด์ ้วยความร่วมมอื กบั ผูป้ กครอง และสถาบันศาสนาอยา่ งใกลช้ ิด SO3 พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาที่เหมาะสมกบั ผู้เรียนสอดคลอ้ งกบั ทอ้ งถิ่น และจดั ทาหลกั สตู รเพมิ่ เตมิ ทส่ี อดคล้องกบั ความ ต้องการและความถนัดของผูเ้ รยี น โดยการแสวงหาความรว่ มมือกบั ผูป้ กครองและชมุ ชน SO4 พัฒนาการจดั การเรยี นการสอนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้แหลง่ เรียนร้ทู หี่ ลากหลายและภมู ิปญั ญาใน ทอ้ งถน่ิ SO5 ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง SO6 พฒั นาครใู หม้ ีความรู้ ความสามารถในการจดั กระบวนการเรียนรใู้ นรปู แบบที่หลากหลายอย่างตอ่ เน่ือง โดยการใช้ เทคโนโลยี นวตั กรรมมคี วามทนั สมัยในการพัฒนา SO7 พฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน แหลง่ เรยี นรู้ บรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่อบอ่นุ ปลอดภัยเออื้ ต่อการเรยี นรู้ WO1 เร่งยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นให้สงู ขนึ้ ด้วยกิจกรรมเสรมิ และกระบวนการเรยี นรู้ที่หลากหลายโดยประสานความ รว่ มมอื ผ้ปู กครอง ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และ ICT ทที่ นั สมัย WO2 เร่งพฒั นาศักยภาพนกั เรียนใหม้ ที กั ษะการเรยี นทสี่ าคญั ในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทกั ษะการเขียน การสื่อสาร การคดิ วเิ คราะห์ และการคิดคานวณ

12 WO3 ปรบั ปรุงการจดั กระบวนการจดั การเรยี นการสอนและกจิ กรรมการเรยี นรู้ด้วยรปู แบบทีห่ ลากหลาย เนน้ การปฏิบตั จิ ริง โดยการประยกุ ต์ใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยี ที่มคี วามทันสมัย และการใชแ้ หล่งเรียนรู้ในชุมชน WO4 พัฒนาครูให้มกี ารจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการเพอื่ ลดปญั หาครูไมค่ รบช้นั เรยี น WO5 ปรบั ปรงุ พฒั นาประสิทธภิ าพระบบการประกนั คุณภาพภายในโดยมงุ่ เนน้ ระบบข้อมลู สารสนเทศ ระบบการวางแผน การ ดาเนินการตามแผน และการตดิ ตามประเมินผล WO6 พฒั นาและนาเทคโนโลยที ที่ ันสมยั มาใช้ในการประชาสมั พันธเ์ ผยแพรผ่ ลงาน ST1 พฒั นาระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นให้เข้มแข็ง ดว้ ยการสรา้ งความพร้อมในการเรยี นรู้ สร้างภูมคิ มุ้ กนั ให้กับนกั เรียน พรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลงทางสังคม WT1 วางแผนการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นใหม้ ีความยดื หยุ่นพรอ้ มรับนโยบายท่ีมีการเปลยี่ นแปลง WT2 วางแผนจดั กระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมการเรยี นรใู้ หม้ ีความยดื หยุ่น พรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง WT3 พฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในท่ีมุ่งเน้นการวางแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาให้มยี ดื หยนุ่ พรอ้ มรับนโยบายทม่ี ีการ เปลยี่ นแปลง WT4 สรา้ งปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างสถานศกึ ษากับชุมชนเพ่มิ ขึ้นในหลากหลายแนวทาง

13 สว่ นที่ 2 ทิศทำงและกลยุทธ์กำรจดั กำรศกึ ษำ ทศิ ทางการพฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรยี นวดั นาหมอ่ ม ประกอบดว้ ยวิสัยทัศน์ พันธกจิ และ เปา้ ประสงค์ มรี ายละเอียดดงั นี้ วสิ ยั ทศั น์ วิสัยทศั นเ์ ป็นเขม็ ทิศนาทางการพฒั นาไปสูอนาคตที่โรงเรยี นวัดนาหม่อม จะใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนา จงึ ไดกาหนดวสิ ัยทัศน์ ดงั นี้ “มุ่งพัฒนำให้ผู้เรยี นเปน็ คนดี คนเก่ง รกั ควำมเปน็ ไทย ยึดหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนเข้มแขง็ พร้อมสำหรบั วิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑” กรอบนยิ ำมของวิสยั ทัศน์ คนดี หมายถึง ผู้เรยี นมีคุณลักษณะ ดงั น้ี 1) มีวนิ ยั ซ่ือสตั ย์ จติ สาธารณะ 2) มคี วามเปน็ พลเมอื งท่ีดี 3) รกั และยดึ ม่นั ในสถาบนั หลกั ของชาติ คนเกง่ หมายถงึ ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะ ดังนี้ 1) มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรเป็นไปตามเกณฑ์ 2) มผี ลการทดสอบระดับชาติสงู กว่าระดับประเทศ รักความเป็นไทย หมายถงึ การแสดงออกถึงความรัก ภาคภมู ิใจ เหน็ คณุ ค่าของชาติไทย ยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ผเู้ รียนมีคุณลักษณะ ดังน้ี 1) รู้จักประหยัด อดออม พอประมาณ 2) มเี หตผุ ล มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3) มีทกั ษะทางอาชพี ชมุ ชนเข้มแขง็ หมายถึง ลักษณะ ดังนี้ 1) มแี หล่งเรยี นรทู้ ี่หลากหลายใกลโ้ รงเรียน 2) ชุมชนและผูป้ กครองมีความเชือ่ มน่ั และใหก้ ารสนบั สนุนโรงเรยี นในการจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ พร้อมสาหรับวิถชี วี ติ ในศตวรรษท่ี 21 หมายถึง ผู้เรียนมีทกั ษะการเรียนรู้ท่สี าคัญสาหรับวิถชี วี ิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 1) การอา่ น เขยี น สอ่ื สาร คิดคานวณ การคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และแกไ้ ขปัญหาได้ 2) คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม 3) คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 4) ความรว่ มมอื การทางานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ า 5) การยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย

14 อตั ลกั ษณ์ “บ่มเพาะความพอเพียง” พันธกิจ พันธกิจเป็นกรอบ และแนวทางในการดาเนินงานตามหน้าท่ี และตามวิสัยทัศน์ที่ได กาหนดไว ซงึ่ ประกอบดวยพนั ธกิจ ดังน้ี 1. พฒั นานักเรยี นให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเพิม่ ขึน้ มที ักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 2. ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ความเปน็ พลเมืองทีด่ ี มีความเปน็ ไทย มี ภูมิคุ้มกันจากภยั ในทุกรูปแบบ มีสุขภาวะที่ดี และมีวิถีชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอน และการวัดผลประเมินผลที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั 4. พัฒนาครูใหเ้ ปน็ ครยู ุคใหม่ท่มี ีขีดความสามารถในการจดั การเรยี นร้รู องรบั การเปลีย่ นแปลง และ สามารถปฏบิ ตั งิ านได้ตามาตรฐานวิชาชพี 5. พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน แหลง่ เรยี นรูท้ ี่มีคุณภาพ เทคโนโลยีทท่ี ันสมัยเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้ 6. พฒั นาระบบการบริหารจัดการท่ดี ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล ให้เป็นทยี่ อมรับชองชุมชนสังคม และส่งเสริม ให้ทกุ ภาคสว่ นเข้ามามผี ้มู สี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา เป้ำประสงค์ เปา้ ประสงคเ์ ปน็ ผลสัมฤทธ์ขิ องการดาเนินงานตามพนั ธกิจที่โรงเรยี นวดั นาหม่อม ม่งุ หวงั ใหเ้ กดิ การบรรลุผล ในปี 2563 – 2565 มรี ายละเอียดดังน้ี 1. นกั เรียนมคี วามรู้ความสามารถตามหลักสตู ร มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการสงู ขึน้ และมีทักษะการเรียนร้ทู สี่ าคัญใน ศตวรรษท่ี ๒๑ 2. นักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ เป็นพลเมอื งทดี่ ี มีภมู ิคมุ้ กันจากภัยในทกุ รปู แบบ มี สขุ ภาวะทด่ี ี และมีวิถีชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รสถานศึกษา หลกั สตู รเสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ และการวัดผลประเมนิ ผลตาม สภาพจรงิ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั 4. ครูเป็นครูยคุ ใหมท่ ่ีมีขีดความสามารถในการจดั การเรยี นรรู้ องรบั การเปล่ยี นแปลง และสามารถปฏบิ ตั ิงานได้ ตามาตรฐานวิชาชพี 5. สถานศกึ ษามโี ครงสรา้ งพื้นฐาน มแี หล่งเรยี นรู้ทม่ี ีคุณภาพ มเี ทคโนโลยีที่ทันสมยั เออื้ ต่อการจดั การเรียนรู้ สถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การทม่ี ีคณุ ภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล เป็นทย่ี อมรับชองชมุ ชนสังคม และ ทุกภาคสว่ นเขา้ มามผี ูม้ ีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ประเด็นกลยุทธ์ ประเดน็ กลยุทธเ์ ปน็ ประเด็นสาคัญตามพันธกิจ ท่ีจะอาศัยการขับเคลอ่ื นด้วยวิธีการทางกลยทุ ธ์ใหม้ ีการ พฒั นาท่ีแตกตา่ ง โดดเดน และก้าวกระโดด ประกอบด้วย 4 ประเด็นกลยุทธ์ ดงั นี้ 1. พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคุณภาพและทักษะในศตวรรษท่ี 21 2. พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 3. พฒั นาคุณภาพโครงสร้างพ้ืนฐานและเทคโนโลยที ่ีทันสมัย 4. พฒั นากระบวนการบริหารจัดการศกึ ษา

15 กรอบกลยทุ ธก์ ำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ พ.ศ. 2564 ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นำผู้เรียนใหม้ ีคณุ ภำพและทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 วัตถุประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ ตวั ช้วี ดั คำ่ เป้ำหมำย กลยทุ ธร์ เิ ร่ิม ปี 2564 1.เด็กปฐมวยั มี รอ้ ยละของนกั เรียนระดับก่อนประถมศึกษาทมี่ ี 88.75 SO1 พฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ี พฒั นาการดา้ น พัฒนาการผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ดีขนึ้ ไป พฒั นาการสมวยั ดา้ นรา่ งกาย ร่างกาย ดา้ นอารมณ์ 98.00 อารมณจ์ ติ ใจ สงั คมและสตปิ ญั ญา และจติ ใจ-อารมณ์ - พฒั นาการด้านรา่ งกาย 82.00 ดว้ ยรูปแบบการจดั ประสบการณท์ ่ี ดา้ นสังคม และ 90.00 หลากหลายประสานความรว่ มมอื สติปญั ญา - พัฒนาการด้านอารมณ์ 85.00 ผูป้ กครอง ชมุ ชน องคก์ รปกครอง 84.00 สว่ นทอ้ งถิน่ และ ICT ท่ีทนั สมยั - พฒั นาการดา้ นสังคม WO2 เรง่ พฒั นาศกั ยภาพนักเรยี น - พฒั นาการดา้ นสติปัญญา 86.00 ให้มีทักษะการเรียนทสี่ าคญั ใน ศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะ 2. นักเรียนเป็นบคุ คล - ร้อยละของนกั เรียนที่มคี วามสามารถในการอ่าน 84.00 การเขียน การสือ่ สาร การคดิ การเขียน การสื่อสารและการคดิ คานวณตาม 82.00 วเิ คราะห์ และการคดิ คานวณ แหง่ การเรียนร้แู ละมี ระดับชน้ั ผา่ นเกณฑ์ท่กี าหนด ทักษะการเรียนรู้ที่ 92.00 WO1 เร่งยกระดับผลสมั ฤทธิ์ - ร้อยละของนกั เรียนทม่ี คี วามสามารถในการคิด ทางการเรียนใหส้ ูงข้นึ ดว้ ยกิจกรรม สาคัญในศตวรรษท่ี 55.00 เสรมิ และกระบวนการเรยี นรู้ที่ วเิ คราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ น หลากหลายโดยประสานความ 82.00 รว่ มมอื ผปู้ กครอง ชมุ ชน องค์กร ๒๑ ความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หาตามระดบั ชนั้ ผา่ นเกณฑ์ ปกครองส่วนท้องถน่ิ และ ICT ที่ ท่กี าหนด 44.00 ทันสมยั - ร้อยละของนักเรยี นทมี่ คี วามสามารถในการสร้าง 77.00 นวัตกรรมตามระดบั ช้นั ผา่ นเกณฑท์ ีก่ าหนด - รอ้ ยละของนักเรยี นที่มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารตามระดับชั้น ผ่านเกณฑท์ ่กี าหนด - รอ้ ยละของนกั เรียนทีม่ ีความรู้ ทกั ษะพื้นฐานและ เจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพตามระดับชั้นผ่านเกณฑท์ ี่ กาหนด - ค่าเฉลยี่ ร้อยละของผูเ้ รียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ของการสอบประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (NT) เพ่ิมข้ึน 3. นักเรยี นมีความรู้ - ร้อยละของนักเรยี นที่มผี ลการเรยี นในแตล่ ะกล่มุ ความสามารถตาม สาระการเรยี นทกุ ระดบั ชัน้ ในระดบั 2 ข้ึนไป หลักสูตรและมี - รอ้ ยละคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษา ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการ ระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET)ชนั้ ป.6 เพ่มิ สงู ขนึ้ สูงข้นึ - ร้อยละคะแนนเฉลี่ยผลการประเมนิ ความสามารถ ดา้ นการอา่ นออกของผูเ้ รยี น (Reading Test: RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เพิม่ สงู ข้นึ

16 วตั ถุประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ัด ค่ำเป้ำหมำย กลยุทธร์ ิเรม่ิ ปี 2564 4. นักเรยี นมคี ณุ ลกั ษณะ รอ้ ยละของนักเรยี นที่มีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีงาม 92.00 SO2 ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม อนั พงึ ประสงคแ์ ละ ตามคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ตามหลักสตู รผ่านเกณฑ์ 100.00 และคา่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ดว้ ย คา่ นิยมทด่ี ีงาม มคี วาม การประเมินในระดับดขี น้ึ ไป ความร่วมมอื กบั ผปู้ กครอง และ เป็นพลเมอื งที่ดี สถาบันศาสนาอย่างใกล้ชิด ร้อยละของนกั เรยี นที่มคี วามภาคภมู ใิ จในท้องถน่ิ และ ความเปน็ ไทยผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละของนกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจและยอมรบั ท่ี 97.00 จะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลายผา่ น 77.00 เกณฑท์ กี่ าหนด รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ สี ุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะ จติ สงั คมผ่านเกณฑท์ ีก่ าหนด ร้อยละของนักเรยี นทมี่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และสามารถ 77.00 ป้องกนั ตนเองจากภัยในรูปแบบใหม่ ร้อยละของนักเรียนที่มจี ติ สานกึ รกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ มผ่าน 82.00 เกณฑท์ ่กี าหนด ร้อยละของนักเรียนทีน่ าแนวคิดตามหลักปรชั ญา 82.00 เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิผ่านเกณฑท์ กี่ าหนด ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาคุณภาพการจดั กระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ตัวชี้วดั คำ่ เปำ้ หมำย กลยทุ ธร์ ิเริม่ ปี 2564 1. โรงเรยี นมกี ระบวนการ ระดบั ความสาเรจ็ การจัดกระบวนการเรยี นร้ผู า่ น 4 WO3 ปรับปรงุ การจัด (ดเี ลิศ) กระบวนการจดั การเรียนการสอน เรยี นรเู้ น้นการบรู ณาการ กระบวนการคดิ และการปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไป และกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ว้ ย และใหผ้ เู้ รียนได้ปฏิบตั ิ ประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้ผ่านเกณฑ์ทกี่ าหนด 4 รปู แบบท่ีหลากหลาย เนน้ การ (ดีเลิศ) ปฏบิ ตั ิจริง โดยการประยกุ ตใ์ ช้ จรงิ (Active Learning) ระดับความสาเรจ็ ในการใชส้ ่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและ 4 นวัตกรรม เทคโนโลยี ท่ีมีความ และมรี ะบบการวัดผล แหล่งเรียนรูท้ ี่เอ้ือต่อ การเรียนร้ผู า่ นเกณฑท์ ก่ี าหนด (ดีเลศิ ) ทันสมัย และการใช้แหลง่ เรียนรใู้ น ประเมินผลผูเ้ รยี นตาม ระดับความสาเรจ็ ในการการบริหารจัดการชนั้ เรียนเชิง 4 ชุมชน สภาพจรงิ ในรปู แบบที่ บวกผ่านเกณฑท์ ีก่ าหนด (ดีเลศิ ) WO4 พฒั นาครใู หม้ ีการจัดการ หลากหลาย ระดับความสาเรจ็ ของการตรวจสอบและประเมินผู้เรียน เรียนการสอนแบบบรู ณาการเพ่อื 4 ลดปญั หาครไู ม่ครบชั้นเรียน อยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ท่ี (ดเี ลศิ ) กาหนด ร้อยละของครทู มี่ ีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และใหข้ ้อ สะทอ้ นกลับเพ่อื พฒั นาและปรบั การจดั การเรยี นรผู้ ่าน เกณฑ์ท่กี าหนด

17 ประเดน็ กลยทุ ธ์ที่ 2 พัฒนาคณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั (ต่อ) วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ตัวช้วี ดั คำ่ เป้ำหมำย กลยทุ ธร์ เิ ร่มิ ปี 2564 2. โรงเรียนมหี ลักสูตรใน ระดบั ความสาเรจ็ ของหลกั สูตรปฐมวยั ท่คี รอบคลมุ 4 SO3 พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา แต่ละระดบั ท่เี หมาะสม พฒั นาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถิ่น (ดเี ลิศ) ทเ่ี หมาะสมกับผูเ้ รยี นสอดคล้อง กับทอ้ งถนิ่ และจดั ทาหลกั สตู ร ระดบั ความสาเรจ็ ของหลกั สตู รการสถานศกึ ษาระดบั 4 เพิม่ เตมิ ทส่ี อดคล้องกับความ การศกึ ษาข้ันพื้นฐานทีม่ คี วามสอดคล้องกับหลักสูตร (ดีเลิศ) แกนกลางและบริบทของทอ้ งถิ่น ตอ้ งการและความถนดั ของผู้เรยี น โดยการแสวงหาความรว่ มมอื กับ ผปู้ กครองและชมุ ชน SO4 พัฒนาการจัดการเรยี นการ สอนตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใช้แหลง่ เรียนรูท้ ี่ หลากหลายและภมู ปิ ัญญาใน ท้องถิ่น ประเดน็ กลยุทธท์ ี่ 3 พัฒนำคุณภำพโครงสรำ้ งพื้นฐำนและเทคโนโลยีที่ทนั สมัย วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวัด ค่ำเปำ้ หมำย กลยทุ ธร์ เิ รมิ่ ปี 2564 1. โรงเรียนมี ระดับความสาเร็จของโรงเรียนทจี่ ดั สภาพแวดล้อมทาง SO7 พฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน สภาพแวดล้อมและ กายภาพทางสังคมท่ีเออ้ื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้อย่างมี 4 แหลง่ เรยี นรู้ บรรยากาศและ บรรยากาศที่เอ้อื ตอ่ คุณภาพสกู่ ารเป็นโรงเรยี นนา่ อยนู่ า่ เรยี นรู้ (Happyness (ดีเลิศ) สภาพแวดลอ้ มท่ีอบอ่นุ ปลอดภัย การจัดการเรยี นรู้ School) เอื้อต่อการเรยี นรู้ อยา่ งมคี ุณภาพสกู่ าร ระดบั ความสาเร็จจัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการ 4 ST1 พัฒนาระบบดแู ลชว่ ยเหลือ เปน็ โรงเรยี นนา่ อยู่ เรยี นรรู้ ะดับปฐมวัยอยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ (ดเี ลศิ ) นกั เรียนให้เขม้ แข็ง ดว้ ยการสร้าง นา่ เรียนรู้ ความพร้อมในการเรยี นรู้ สร้าง ระดับความสาเร็จของโรงเรยี นที่มแี หลง่ เรยี นรูภ้ ายใน 3 ภูมคิ ุ้มกนั ให้กบั นกั เรียนพร้อมรับ 2. โรงเรยี นมรี ะบบ โรงเรยี นทมี่ ีคณุ ภาพ (ด)ี การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม 3 เทคโนโลยี ระดับความสาเรจ็ ของโรงเรยี นทจี่ ดั ระบบเทคโนโลยี (ดี) SO6 พฒั นาครูให้มคี วามรู้ สารสนเทศและการ สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การ สอื่ สาร(ICT) มาใชใ้ น 3 ความสามารถในการจดั การบริหารจดั การ ระดับความสาเรจ็ ของโรงเรยี นในการจดั การเรยี นรู้โดย (ด)ี และการเรียนรู้อย่าง ใช้ DLTV กระบวนการเรียนรใู้ นรูปแบบท่ี มปี ระสิทธภิ าพ หลากหลายอย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยการ ใชเ้ ทคโนโลยี นวัตกรรมมคี วาม ทนั สมัยในการพฒั นา

18 ประเด็นกลยุทธ์ที่ 4 พัฒนำคณุ ภำพกำรบรหิ ำรจดั กำรและกำรมีส่วนรว่ ม วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ชี้วัด คำ่ เปำ้ หมำย กลยุทธร์ ิเริ่ม 1. โรงเรียนมรี ะบบการ ปี 2564 บรหิ ารจดั การการศกึ ษา ระดบั ความสาเรจ็ ของการมีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และ WO5 ปรบั ปรงุ พฒั นา เปน็ ที่ยอมรบั และเช่ือมัน่ พันธกิจทสี่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจนผา่ นเกณฑท์ ่ีกาหนด 4 ประสิทธภิ าพระบบการประกัน ในคุณภาพมาตรฐานจาก ระดบั ความสาเร็จของโรงเรียนที่มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพ (ดีเลศิ ) คุณภาพภายในโดยมงุ่ เน้นระบบ ทุกภาคสว่ น ของสถานศกึ ษา ขอ้ มลู สารสนเทศ ระบบการ ระดบั ความสาเรจ็ ของโรงเรยี นในการดาเนินการพัฒนา 3 วางแผน การดาเนินการตามแผน 2. ครูและบคุ ลากร วชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตร (ด)ี และการตดิ ตามประเมนิ ผล ทางการศกึ ษาไดร้ ับการ สถานศึกษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย 4 WO6พฒั นาและนาเทคโนโลยที ี่ พัฒนาให้สามารถ ระดับความสาเรจ็ ของการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐาน (ดีเลิศ) ทันสมัยมาใช้ในการประชาสมั พนั ธ์ ปฏบิ ตั งิ านไดต้ าม ศึกษาของสถานศึกษาในระดับดีขนึ้ ไป เผยแพรผ่ ลงาน มาตรฐานวิชาชพี 3 ร้อยละทไี่ ดร้ ับการครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญ (ด)ี SO6 พัฒนาครูใหม้ ีความรู้ 3. โรงเรยี นได้รับความ ทางวิชาชีพ รว่ มมือจากผปู้ กครองและ ร้อยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการการ 3 ความสามารถในการจดั ชุมนในการมสี ว่ นรว่ มใน พฒั นาวิชาชีพ ๓๐ ช่ัวโมงต่อปี (ดี) การพัฒนาการเรียนรู้การ 3 กระบวนการเรยี นรูใ้ นรูปแบบท่ี กากับตดิ ตาม ดแู ลผลการ รอ้ ยละของครูทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถในการใช้ (ด)ี ดาเนินงานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่อื การปฏบิ ตั งิ าน 4 หลากหลายอย่างต่อเนื่อง โดยการ ผ่านเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด (ดเี ลิศ) จานวนครงั้ ที่ผ้ปู กครองและชมุ นในการมีส่วนร่วมในการ ใชเ้ ทคโนโลยี นวัตกรรมมคี วาม พัฒนาการเรียนรู้การกากบั ติดตาม ดแู ลผลการ 3 ดาเนนิ งานอย่างต่อเนอื่ ง (ด)ี ทนั สมัยในการพัฒนา SO5 สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมในการ จดั การศกึ ษาของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานผู้ปกครอง ชมุ ชน และหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง

19 สว่ นที่ 3 ประมำณกำรงบประมำณรำยรับ-รำยจ่ำย 3.1 ประมำณกำรรำยรบั ตำมแผนปฏบิ ัติกำรประจำปี 2564 ประเภทรายรบั รายรบั ประมำณกำรรำยรบั รวม งบประมาณปีท่ี ภำคเรียนที่ 1 ภำคเรยี นท่ี 2 48,000 แลว้ ปงี บ 2564 ปงี บ 2565 112,600 1. เงนิ งบประมำณ 39,232.79 24,000 24,000 28,210 16,500 1.1 งบบคุ ลากร 104,667 78,820 33,780 16,250 32,435 28,210 22,390 1.1.1 เงนิ เดือน 17,300 16,500 8,125 1.1.2 คา่ จา้ งประจา 21,855 8,125 6,717 164,400 1.1.3 คา่ จา้ งชว่ั คราว 26,635 15,673 192,000 1.1.๔ เงนิ เพิม่ จา่ ยควบเงินเดอื น 33,500 600,350 1.2 งบดาเนินงาน 82,200 82,200 1.2.1 คา่ สาธารณูปโภค 4,000 96,000 96,000 1.2.2 คา่ ตอบแทน 164,400 1.2.3 คา่ ใชส้ อย 238,900 349,528 250,822 1.2.3 คา่ วสั ดุ 678,925 1.3 งบเงนิ อุดหนุน(คงเหลือ) 1.3.1 อดุ หนุนทั่วไป 1) ค่าจดั การเรียนการสอน 2) ค่าหนงั สอื เรียน 3) คา่ เครื่องแบบนกั เรียน 4) ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น 5) คา่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 1.3.2 อุดหนนุ ทว่ั ไปปจั จัยพื้นฐาน 2. เงินนอกงบประมำณ 2.1 เงินรายไดส้ ถานศึกษา 2.2 เงินบริจาค 2.3 เงินสนบั สนุนจาก อปท. รวม

20 แผนกำรใชจ้ ำ่ ยงบประจำตำมโครงสรำ้ ง งำนวิชำกำร งำน/กิจกรรม เป้ำหมำย งบประมำณ ประเภท ระยะเวลำ ผู้รับผิดชอบ งบประมำณ ดำเนนิ กำร ๑. งานจัดการเรยี นการสอน กจิ กรรม ๑.๑ จดั สรรงบจัดหาวสั ดุ นร.อ.๑ – ป.๖ 7,200 ค่าใชส้ อย/ กอ่ นเปดิ น.ส.สภุ ทั รา คา่ วัสดุ ภาคเรยี น มีเสน สือ่ สอน ประจาชัน้ จานวน 48 คน คนละ 15๐ บาท ๒. งานวัดผลประเมินผล กจิ กรรม ๒.๑ ข้อสอบปลายภาคทุก นร.อ.๑ – ป.๖ 4,800 คา่ ใช้สอย/ ก.พ.- ม.ี ค. น.ส.สภุ ทั รา ค่าวัสดุ 64 มเี สน กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จานวน 48 คน คนละ 100 บาท 2.2 เอกสาร ปพ.5 วิชาละ 100 บาท 1,000 คา่ วัสดุ ตลอดปี น.ส.สภุ ัทรา การศกึ ษา มเี สน 2.3 เอกสาร ปพ.6 นร.อ.๑ – ป.๖ 1,000 คา่ วัสดุ ตลอดปี น.ส.สภุ ัทรา จานวน 48 คน การศกึ ษา มีเสน 2.4 เอกสารชนั้ เรียน นร.อ.๑ – ป.๖ 1,000 คา่ วสั ดุ ตลอดปี น.ส.ทพิ วรรณ จานวน 48 คน การศกึ ษา เพชรอกั ษร จานวน 9 ชนั้ เรียน 3. การจัดอุปกรณ์การเรยี น นร.อนบุ าล 13 คน 16,250 ค่าวัสดุ ก.ค. 63 น.ส.สภุ ทั รา ให้กบั นกั เรียน คนละ 200 บาท และ มเี สน นร.ช้ัน ป. ๑ – ๖ พ.ย. 63 จานวน 35 คน คนละ 390 บาท 4. หนังสือเรยี น นร. อ.1 – ป.๖ 28,210 ค่าวสั ดุ พ.ค. 63 น.ส.อจั ราภรณ์ จานวน 58 คน เกตแุ กว้

21 งำนบริหำรทัว่ ไป เป้ำหมำย งบประมำณ ประเภท ระยะเวลำ ผรู้ ับผิดชอบ งบประมำณ ดำเนนิ กำร งำน/กิจกรรม ๑๒ เดือน ๑๒ เดอื น 18,000 สาธารณูปโภค 12 เดอื น นางจินตนา ๑. งานสาธารณปู โภค เครานวล กิจกรรม 30,000 สาธารณูปโภค 12 เดอื น ๑.๑ คา่ อนิ เตอร์เนต็ ๑.๒ คา่ กระแสไฟฟา้ 2. อาหารกลางวัน นักเรยี น 58 คน 192,000 ค่าใช้สอย ตลอดปี นางฤทยั รัตน์ วนั ละ 20 บาท 200 วัน 15,000 คา่ ใชส้ อย การศกึ ษา รกั เล่ง 3. ทุนปจั จยั พ้ืนฐาน นักเรียนยากจน นักเรยี นยากจน 15 คน ตลอดปี นางจินตนา คนละ 1,000 บาท การศึกษา เครานวล งำนบริหำรงบประมำณ เปำ้ หมำย งบประมำณ ประเภท ระยะเวลำ ผู้รบั ผิดชอบ งบประมำณ ดำเนนิ กำร งำน/กจิ กรรม บริหารงานธรุ การ สานกั งาน ๑๒ เดอื น 10,000 ค่าใชส้ อย/ ตลอดปี น.ส.เนตรนภา ๑. งานจดั หาพัสดุ นร.อนบุ าล 15 คน 16,500 ค่าวสั ดุ การศึกษา สุรยิ ะจันทร์ - วัสดุอปุ กรณ์ คนละ 300 บาท นร.ช้นั ป. ๑ – ๖ ค่าใช้สอย/ ก่อนเปดิ น.ส.สภุ ัทรา สานักงาน จานวน 43 คน คนละ ค่าวสั ดุ เรียนภาค มีเสน 2. เคร่ืองแบบนกั เรยี น 360 บาท เรยี นท่ี 1 งำนบรหิ ำรบคุ ลำกร งำน/กิจกรรม เป้ำหมำย งบประมำ ประเภท ระยะเวลำ ผรู้ ับผดิ ชอบ ณ งบประมำณ ดำเนนิ กำร ๑. งานประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ครแู ละบคุ ลากร 500 ค่าใช้สอย ตลอดปี นางจินตนา จานวน 8 คน การศกึ ษา เครานวล 164,400‬ ค่าตอบแทน 2. จ้างครแู ละบคุ ลากร ครูปฐมวยั 1 คน (เงนิ บรจิ าค/ 12 เดอื น นางจินตนา เดือนละ 7,500 บาท รายไดส้ ถา เครานวล ครูพเ่ี ล้ียง 1 คน นกึ ษา) เดือนละ 6,200 บาท

แผนกำรใชจ้ ่ำยงบพฒั นำตำมกลยุทธ์ 22 ประเดน็ กลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนำผู้เรียนให้มคี ณุ ภำพและทักษะในศตวรรษที่ 21 ผรู้ ับผดิ ชอบ ท่ี โครงกำร งบประมำณ กลุ่ม/ฝ่ำย น.ส.ทพิ วรรณ เพชรอกั ษร 6,500 วชิ าการ น.ส.อัจราภรณ์ เกตแุ กว้ 1 โครงการพฒั นาปฐมวยั ให้มีพัฒนาการสมวัย 8,300 วชิ าการ น.ส.สภุ ทั รา มีเสน 2 โครงการพฒั นาทักษะการเรียนรทู้ ีส่ าคญั ใน 12,000 วชิ าการ นางจนิ ตนา เครานวล ศตวรรษท่ี ๒๑ 23,500 บรหิ ารทัว่ ไป 3 โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 50,300 4 โครงการปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม ท่ดี งี ามเพอ่ื การเปน็ พลเมืองที่ดี รวม ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกระบวนกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ท่ี โครงกำร งบประมำณ กลุม่ /ฝำ่ ย ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1 โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรเู้ น้นการบรู ณาการ 3,500 วชิ าการ 6,000 วิชาการ น.ส.อจั ราภรณ์ เกตแุ ก้ว และใหผ้ เู้ รยี นได้ปฏบิ ัตจิ ริง (Active Learning) 1,000 วชิ าการ น.ส.อจั ราภรณ์ เกตแุ ก้ว น.ส.อจั ราภรณ์ เกตุแกว้ 2 โครงการการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม 11,500 บรหิ ารทั่วไป 3 โครงการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา 22,000 นางฤทยั รตั น์ รกั เลง่ 4 โครงการตามรอยพ่อเศรษฐกิจพอเพียง รวม ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนำคณุ ภำพโครงสรำ้ งพน้ื ฐำนและเทคโนโลยีที่ทนั สมัย ที่ โครงกำร งบประมำณ กลมุ่ /ฝำ่ ย ผรู้ บั ผิดชอบ 71,000 บริหารทั่วไป นางจนิ ตนา เครานวล 1 โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมและแหลง่ เรยี นรู้ 1,200 บริหารท่ัวไป นางจนิ ตนา เครานวล ภายในโรงเรียน 8,000 บริหารทว่ั ไป 80,200 น.ส.เนตรนภา สรุ ยิ ะจันทร์ 2 โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน 3 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการบริหารและ การเรียนการสอน รวม

ประเด็นกลยุทธ์ท่ี 4 พฒั นำคุณภำพกำรบรหิ ำรจดั กำรและกำรมสี ่วนรว่ ม 23 ที่ โครงกำร งบประมำณ กลุม่ /ฝ่ำย ผ้รู บั ผดิ ชอบ 1 โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 5,000 วิชาการ น.ส.อัจราภรณ์ เกตแุ ก้ว 2 โครงการประชาสัมพันธ์โรงเรยี น 3,500 บริหารทว่ั ไป น.ส.เนตรนภา สุรยิ ะจนั ทร์ 3 โครงการส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรในสถานศกึ ษา 8,000 บุคลากร นางจนิ ตนา เครานวล 4 โครงการสานสมั พันธส์ ร้างสรรค์การศึกษา 23,000 บริหารทว่ั ไป นางฤทยั รัตน์ รักเล่ง น.ส.สภุ ทั รา มเี สน 5 โครงการโรงเรียนสขี าว 2,500 บริหารทัว่ ไป นางจนิ ตนา เครานวล 6 โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 42,000 บริหารทวั่ ไป รวม 84,000 งบกลำงสำรองจำ่ ย ตง้ั งบกลาง จานวน 56,390 บาท หมำยเหตุ รวมประมาณการรายรับทั้งสิน้ จะต้องเทา่ กบั รวมรายจ่ายทง้ั สิน้

24 ส่วนที่ 4 รำยละเอยี ดโครงกำรตำมแผนปฏบิ ัตกิ ำร ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2563 ที่ งาน / โครงการ แผนงาน สอดคลอ้ งมาตรฐาน กลยทุ ธ์ 1 โครงการพัฒนาปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวยั วชิ าการ ปฐมวัย พ้นื ฐาน 11 2 โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรทู้ ี่สาคญั ในศตวรรษท่ี ๒๑ วชิ าการ 1 11 3 โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น วิชาการ 11 4 โครงการพฒั นากระบวนการเรียนรูเ้ นน้ การบูรณาการและให้ วิชาการ 2 2 2 ผเู้ รียนไดป้ ฏบิ ตั จิ ริง (Active Learning) 5 โครงการการเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม วิชาการ 2 22 6 โครงการพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา วชิ าการ 2 22 7 โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา วิชาการ 3 33 8 โครงการตามรอยพ่อเศรษฐกิจพอเพียง บริหารทั่วไป 2 22 9 โครงการปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่ดี ีงามเพ่ือการ บริหารทั่วไป 1 1 1 เป็นพลเมืองทด่ี ี 10 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มและแหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน บรหิ ารทวั่ ไป 3 3 3 11 โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น บริหารท่ัวไป 3 33 12 โครงการพฒั นาเทคโนโลยเี พ่ือการบรหิ ารและการเรยี นการสอน บรหิ ารทว่ั ไป 3 3 3 13 โครงการประชาสัมพนั ธโ์ รงเรยี น บรหิ ารทั่วไป 3 34 14 โครงการสานสมั พันธ์สรา้ งสรรค์การศึกษา บริหารทั่วไป 3 34 15 โครงการโรงเรียนสขี าว บรหิ ารทว่ั ไป 3 34 16 โครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ บรหิ ารทว่ั ไป 3 34 17 โครงการส่งเสริมการพฒั นาบุคลากรในสถานศกึ ษา บคุ ลากร 3 34

25 ชื่อโครงกำร โครงกำรพัฒนำปฐมวยั ใหม้ ีพัฒนำกำรสมวัย แผนงำน มำตรฐำนกำรศึกษำ วิชาการ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำร มฐ.1 ลกั ษณะโครงกำร นางสาวทิพวรรณ เพชรอักษร ระยะเวลำดำเนินกำร  โครงการตอ่ เนื่อง  โครงการใหม่ สนองกลยุทธ์ที่ 1 มิถนุ ายน 2564 - 30 เมษายน 2565 1 1. หลกั กำรและเหตุผล พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในมาตรา 6 ได้กล่าวถึงการจัดการศึกษาตาม ความมุ่งหมายของการพัฒนาการศึกษานั้น การพัฒนาด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย มีความสาคัญมาก โดย เม่ือได้มีการพัฒนาการด้านสติปัญญาท่ีสมวัย ซึ่งหมายถึงเด็กมีลักษณะพฤติกรรมท่ีสามารถแสดงออกตามขั้น การพฒั นาดา้ นสติปัญญาได้อย่างเหมาะสมกับวัย มีการเปล่ียนแปลงทางความสามารถทางการเรียนรู้ การคิด โดยพฒั นาจากรับรู้ด้วยประสาทสมั ผัสทง้ั หา้ รวมถึงการพัฒนาการคิดโดยมีรายละเอียดเพ่ิมข้ึน ดังนั้นจึงจัดให้ มีการส่งเสรมิ พัฒนาการทางดา้ นสตปิ ัญญา 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพฒั นาเด็กในการอ่าน การสือ่ สารและการเรยี นรู้ไดร้ อบด้านได้เหมาะสมตามวยั 2. เพ่อื ใหเ้ ด็กมีนิสยั รกั การอ่าน และมที ักษะในการใชป้ ระสาทสัมผสั ทง้ั หา้ 3. เพื่อพัฒนาใหเ้ ด็กมีความสามารถในการคิด การแกป้ ัญหา รูจ้ ักสังเกตและจดจาสิ่งต่างๆมีความคิด รวบยอด ไดต้ ามวัย 4. เพื่อพัฒนาให้เด็กมีความรู้และทกั ษะเบ้ืองต้นมจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 5. เพื่อให้เด็กมเี จตคติทีด่ ตี ่อการเรยี นรู้และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ไดจ้ ากธรรมชาติและสิง่ ต่างๆรอบตัว 6. เพื่อใหเ้ ดก็ มคี ุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์และช่วยเหลอื ตนเอง เรยี นรู้เกย่ี วกบั ตัวเองได้ 3. เปำ้ หมำย เชงิ ปริมำณ 3.1 ร้อยละ 90 นกั เรยี นมีทักษะในการสื่อสารและมคี วามสนใจรว่ มกจิ กรรมด้านดนตรี 3.2 รอ้ ยละ 90 นกั เรยี นมีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลอื่ นไหว ทากจิ กรรมรว่ มกบั ผู้อ่ืน ร่าเรงิ แจม่ ใส และมมี นุษย์สัมพันธ์ทดี่ ี 3.3 รอ้ ยละ 90 นักเรียนไดพ้ ัฒนากลา้ มเน้ือเลก็ กลา้ มเนื้อใหญ่ พฒั นาประสาทสมั ผัส 3.4 ร้อยละ ๙๐ นักเรยี นได้เข้ารบั ประกาศนียบัตรบัณฑิตนอ้ ย 3.5 รอ้ ยละ 90 นักเรียนปฐมวยั ไดร้ ับประสบการณ์ตรงตามโครงการ“บ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย

26 เชิงคุณภำพ 3.6 นกั เรยี นระดับปฐมวยั ใหเ้ ปน็ ผู้ทมี่ ีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 3.7 นักเรียนระดบั ปฐมวัยมที ักษะในการส่ือสารและมคี วามสนใจรว่ มกิจกรรมดา้ นดนตรี 3.8 นกั เรยี นระดับปฐมวยั มีความสนใจและรว่ มกจิ กรรมการเคลอื่ นไหว ทากิจกรรมร่วมกับผ้อู ่นื ร่าเรงิ แจม่ ใส และมีมนุษย์สัมผัส 3.9 นักเรยี นระดับปฐมวัยได้พัฒนากลา้ มเนื้อเลก็ กลา้ มเน้ือใหญ่ พัฒนาประสาทสัมพันธ์ 4. กิจกรรม และขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน เป้ำหมำย ระยะเวลำ ผรู้ ับผดิ ชอบ กิจกรรม/ข้ันตอนกำรดำเนินงำน นกั เรยี นชน้ั ตลอดปี น.ส.ทิพวรรณ กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมดนตรสี รีระอนุบำล อนบุ าล การศึกษา เพชรอักษร ข้นั ตอนกำรดำเนินงำน 1–3 1. ประชมุ คณะทางาน 2. จัดทาโครงการ/ขออนมุ ตั ิ นกั เรียนชั้น กมุ ภาพันธ์ น.ส.ทิพวรรณ 3. ประชุมวางแผนและดาเนินการ อนุบาล 3 เพชรอกั ษร 4. นเิ ทศตดิ ตาม/ประเมินผล ถึง 5. สรปุ ผล/รายงานผล มีนาคม 2565 กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมหนนู ้อยผจญภัย (DAY CAMP) ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน นกั เรียนชนั้ ตลอดปี น.ส.ทพิ วรรณ 1. ประชมุ วางแผนการจัดกิจกรรม อนุบาลปที ่ี การศึกษา เพชรอกั ษร 2. แตง่ ตั้งคณะกรรมการผ้รู บั ผดิ ชอบ 3. ตรวจสอบงาน/โครงการและขั้นตอนการจดั กจิ กรรม 1–3 4. ดาเนินการตามกจิ กรรมทว่ี างแผน 5. สังเกตและประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม 6. รายงานผล 7. ปรบั ปรงุ และพฒั นา กจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมบำ้ นนักวิทยศำสตรน์ ้อย ขน้ั ตอนกำรดำเนินงำน 1. วางแผน 2. ดาเนนิ การ 3. ตรวจสอบ 4. ประเมนิ ผลและรายงาน

27 กิจกรรม/ข้ันตอนกำรดำเนินงำน เปำ้ หมำย ระยะเวลำ ผรู้ ับผดิ ชอบ กิจกรรมที่ 4 กจิ กรรมส่งศิษย์สฝู่ นั ในวันทภี่ ำคภมู ิ มีนาคม 2565 นกั เรียนช้นั น.ส.ทิพวรรณ ข้ันตอนกำรดำเนินงำน อนบุ าลปที ี่ 3 เพชรอกั ษร และนกั เรยี นช้ัน ๑. ประชมุ ผู้เก่ยี วขอ้ งเพื่อวางแผนการดาเนนิ กิจกรรม ประถมศกึ ษาปี ๒. กาหนดวนั เวลาสถานที่ ๓. กาหนดกิจกรรมประกอบด้วยการแสดงของนกั เรียน , ท่ี 6 พธิ มี อบประกาศนียบตั รบัณฑิตนอ้ ย ๔. เสนอรายละเอียดการจดั งานและการดาเนนิ งาน 5. ประเมินผลและรายงานผล 5. งบประมำณ 5.1 รวมทง้ั หมด 6,500 บาท (งบอุดหนนุ 6,500 บาท) 5.2 คา่ ใชจ้ า่ ยจาแนกตามกจิ กรรม กจิ กรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมดนตรีสรีระอนุบำล 500 คำ่ ใช้จำ่ ย อปุ กรณเ์ คร่ืองเคาะจังหวะ เช่น หุน่ มอื 500 เคร่ืองกระทบ กจิ กรรมท่ี ๒ กิจกรรมเขำ้ ค่ำยกลำงวนั (DAY 1,500 CAMP) ปฐมวัย - - 750 ค่ำใชจ้ ำ่ ย - - 500 1. วัสดุ 2. 2. อุปกรณ์ ในการดาเนนิ งานตามฐาน - - 250 กจิ กรรมต่างๆ 3. อาหารและเคร่ืองด่ืมนักเรยี น กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมบ้ำนนกั วิทยศำสตร์นอ้ ย 1,000 คำ่ ใชจ้ ำ่ ย - - 750 - - 250 สารวจวสั ดอุ ุปกรณ์ 1. ดาเนินการจัดหาอุปกรณ์ในการทดลอง/ จดั ซ้อื /จัดจา้ ง 2. กระดาษ

28 กิจกรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ กจิ กรรมที่ 4 กิจกรรมสง่ ศิษย์สฝู่ ันในวนั ท่ี ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ภำคภูมิ 3,500 ค่ำใช้จำ่ ย 3,500 1. ปกเกียรตบิ ัตรบตั รให้กับนกั เรียน 2. จัดเตรยี มซุม้ ถา่ ยรูปให้นักเรยี น 3. จัดหาชุดครุยให้กับนักเรียน 4. จัดสถานท่ีมอบวุฒิบัตร 5. อาหารและเครอ่ื งด่ืม ๖. กำรประเมนิ ผล วธิ ีกำรประเมิน เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ สงั เกต แบบบันทึกการสงั เกต ตวั ชี้วัดควำมสำเร็จ 1. ร้อยละ 90 นักเรียนมคี วามสนใจและร่วม สงั เกต แบบบนั ทึกการสังเกต กิจกรรมการเคล่ือนไหว ทากิจกรรร่วมกบั ผอู้ ื่น แบบบนั ทึก พฤติกรรม ๒. นักเรยี นชน้ั ปฐมวัยมีความรู้ คุณธรรม แบบบันทกึ ความพึงพอใจ จรยิ ธรรม และความสมบูรณ์ทางด้านรา่ งกาย บนั ทกึ พัฒนาการท้ัง 4 ดา้ น - แบบบันทกึ พฒั นาการ และมีความสุข การสังเกตพฤติกรรม - แบบบันทกึ การสงั เกต ๓. เกดิ ความสัมพนั ธ์อันดรี ะหว่างครูผดู้ ูและเด็ก - แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ นักเรยี นและผปู้ กครอง แบบบนั ทึก แบบบันทกึ ความพึงพอใจ ๔. เดก็ ปฐมวัยรอ้ ยละ 90 มีอุปกรณเ์ พียงพอใน การเรียนรูก้ จิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ตาม แบบบนั ทึก แบบบนั ทกึ ความพึงพอใจ โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย 5. นกั เรยี นมคี วามภาคภูมิใจในความสาเร็จของ ตนเอง 6. เกิดความสัมพันธ์อนั ดรี ะหว่างครูผดู้ ูและเด็ก นักเรยี นและผู้ปกครอง

29 7. ผลทค่ี ำดว่ำจะไดร้ บั 1.เด็กสามารถพฒั นาการทั้งด้านรา่ งกายอารมณ์จิตใจสังคมและสติปัญญาสามารถเข้ากับบุคคลอ่นื ได้ 2.เด็กกล้าที่จะแสดงออกมีคุณธรรม จรยิ ธรรมได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป 3. นกั เรียนมีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและคดิ ไตรต่ รอง 4. นกั เรียนมีความสนกุ สนานร่าเรงิ เล่นกจิ กรรมรว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสขุ 5. เด็กปฐมวัย มอี ปุ กรณเ์ พยี งพอในการเรยี นรู้กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ตามโครงการบา้ น นกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย (ลงชอื่ ) ผเู้ สนอโครงการ (นางสาวทพิ วรรณ เพชรอกั ษร) (ลงช่อื ) ผ้อู นมุ ัตโิ ครงการ (นายสุมารถ เงนิ ละเอยี ด) ผู้อานวยการโรงเรยี นวดั รตั นวราราม รักษาการในตาแหน่ง ผ้อู านวยการโรงเรยี นวดั นาหมอ่ ม

30 ชอื่ โครงกำร โครงการพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ทส่ี าคัญในศตวรรษท่ี ๒๑ แผนงำน มำตรฐำน วิชาการ ผูร้ บั ผิดชอบโครงกำร มฐ.1 ลกั ษณะโครงกำร นางสาวอัจราภรณ์ เกตแุ ก้ว ระยะเวลำดำเนนิ โครงกำร  โครงการต่อเนื่อง  โครงการใหม่ สนองกลยทุ ธท์ ี่ 1 มถิ ุนายน 256๔ – 30 เมษายน 256๕ ๑ 1. หลกั กำรและเหตุผล การจัดศึกษาและการเรียนรู้ควรมีเป้าหมายสาคัญในการพัฒนาคนในฐานะพลเมืองให้เป็นมนุษย์ที่ สมบรู ณ์ท้ังร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตอย่าง สมดุล มีทักษะจาเป็นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีภาวะผู้นาการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยเน้นการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมแรงบันดาลใจให้มีชีวิตอยู่อย่างมีความหมาย การเรียนรู้ เพื่อบ่มเพาะความคดิ สรา้ งสรรค์ ความสามารถในการรังสรรค์สิ่งใหม่ๆ การเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึด ประโยชน์ส่วนรวม และการเรียนรู้เพื่อการนาไปปฏิบัติ มุ่งสร้างการทางานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เป็นพลเมืองท่ีมี คุณภาพ พง่ึ พาตนเองได้ และดาเนนิ ชีวิตอย่างมคี วามสขุ ทง้ั นี้ หลกั สูตรและวธิ กี ารจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ควรจัดให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง ดังนน้ั โรงเรียนวัดนาหม่อมจัดทาโครงการเพือ่ พฒั นานักเรียนให้มที ักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ โดย การบรู ณาการประเดน็ ดังกล่าวในมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล หลักสูตรการ เรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และการพัฒนาครูผู้สอน เพื่อก่อเกิดผลลัพธ์ การเรยี นรูท้ ่จี าเปน็ และการพฒั นาผ้เู รยี นทม่ี ีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลทีพ่ งึ ประสงค์ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิด คานวณผ่านเกณฑท์ ีก่ าหนด 2.2 นักเรียนนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-๖ มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและแก้ปัญหาผา่ นเกณฑ์ทก่ี าหนด 2.3 นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑- 6 มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด 2.4 นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑- 6 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 3. เปำ้ หมำย เชงิ ปรมิ ำณ 3.1. นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1-6 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสารและการคดิ คานวณ รอ้ ยละ ๘7 ข้ึนไป 3.2 นักเรียนนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1-๖ มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหาร้อยละ ๘6 ขน้ึ ไป

31 3.3 นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑- 6 มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรมรอ้ ยละ ๘4 ข้นึ ไป 3.4 นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑- 6 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรอ้ ย ละ ๘2 ขนึ้ ไป เชิงคณุ ภำพ 3.5 นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและการคิด คานวณตามระดับชนั้ 3.6 นกั เรียนนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-๖ มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและแกป้ ัญหาตามระดับช้ัน 3.7 นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑- 6 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรมตามระดบั ช้ัน 3.8 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑- 6 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามระดับช้ัน 4. กจิ กรรม และข้นั ตอนกำรดำเนินงำน กจิ กรรม/ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน เปำ้ หมำย ระยะเวลำ ผรู้ ับผดิ ชอบ กิจกรรมท่ี 1 กำรอำ่ นออกเขียนได้ นักเรยี นชั้น ตลอดปี นางจนิ ตนา ๑.1 นักเรยี นอา่ นไม่ออกเขียนไมไ่ ดช้ น้ั ประถมศึกษาปีที่ ประถมศกึ ษาปี การศกึ ษา เครานวล 2 – ๖ เขา้ ร่วมกิจกรรมฝึกอ่าน ฝกึ เขียน ในชว่ งเวลา ๑๔.๓0-๑๕.๓0 น. ในวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ที่ 1 - 6 กจิ กรรมที่ 2 สนุกคดิ กบั คณิตศำสตร์ นักเรยี นทุกคน ตลอดปี น.ส.สภุ ัทรา มีเสน 2.1 ทอ่ งสูตรคูณตอนเช้าและหลังเลกิ เรียน จานวน 48 คน การศึกษา 2.2 แข่งขันทักษะคณติ คิดเรว็ หลงั เลกิ เรยี น 2.3 จดั กจิ กรรมตอบคาถามชิงรางวลั ประจาสัปดาห์ นักเรยี นช้นั ตลอดปี น.ส.อัจราภรณ์ ประถมศกึ ษาปี การศึกษา เกตุแก้ว กจิ กรรมที่ ๓ เสียงตำมสำย ๓.๑ ภาษาองั กฤษวันละคา/ภาษาไทยวันละคา ที่ 4-6 ๓.๒. เกร็ดความรคู้ ู่เสียงเพลง กิจกรรมที่ 4 ผลิตส่ือสรำ้ งสรรค์ นักเรียนทุกคน ตลอดปี น.ส.ฤทยั รัตน์ ๔.๑ บตั รคาบัญชีพื้นฐานภาษาไทย การศึกษา รักเล่ง ๔.๒ บตั รคาบญั ชพี ื้นฐานภาษาองั กฤษ นักเรยี นชนั้ ๔.3 บัตรสตู รคณู ประถมศกึ ษาปี ตลอดปี น.ส.สภุ ทั รา มเี สน การศึกษา กจิ กรรมที่ 5 กำรพัฒนำทกั ษะทำงด้ำนเทคโนโลยี ที่ 4-6 5.1 เปิดห้องคอมพิวเตอร์ให้นกั เรยี นสบื ค้นข้อมลู ในเวลา พักกลางวนั 5.2 จัดกิจกรรม “King Of Coding” และมอบของรางวัล

32 5. งบประมำณ 5.1 รวมทั้งหมด 8,300 บาท (งบอดุ หนนุ 8,300 บาท) 5.2 ค่าใช้จา่ ยจาแนกตามกจิ กรรม กจิ กรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ กจิ กรรมท่ี 1 กำรอ่ำนออกเขียนได้ 3,000 ค่ำใช้จำ่ ย - บอรด์ แขวนสอ่ื การเรียนการสอน - - 1,000 - 1,000 - - ถา่ ยเอกสารแบบฝึกหัด - - 1,000 - กระดาษ A4 8 รีม กจิ กรรมท่ี 2 สนกุ คดิ กับคณิตศำสตร์ 1,000 คำ่ ใช้จำ่ ย - ค่าวสั ดอุ ุปกรณ์ - - 800 - - 200 - ค่าของรางวัลในการร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมท่ี ๓ เสยี งตำมสำย ๒,000 - - ๕00 คำ่ ใช้จำ่ ย 1,300 - - 1,500 1,000 - ค่าถ่านไมโครโฟน AA - - 500 - ไมโครโฟน - - 300 - - 130 กิจกรรมท่ี 4 ผลติ สื่อสรำ้ งสรรค์ - - 140 ค่ำใชจ้ ่ำย - - 220 - - 10 - กระดาษ A4 4 รมี - กระดาษโปสเตอรส์ ี - - 500 - กาว 500 - กรรไกร - กาวสองหน้า - กระดาษโปสเตอร์แขง็ กิจกรรมที่ 5 กำรพัฒนำทกั ษะทำงด้ำน เทคโนโลยี คำ่ ใชจ้ ่ำย - คา่ วัสดอุ ุปกรณใ์ นการจัดกิจกรรม - คา่ ของรางวลั

33 6. กำรวัดและประเมินผล ตัวช้ีวัดควำมสำเร็จ วิธกี ำรวดั เครอื่ งมือ 6.1 นกั เรียนที่มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร การคิดคานวณผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดตาม ประเมนิ การอา่ น การเขียน -แบบประเมินการอ่าน ระดบั ช้ัน 6.2 นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิด การส่ือการ การคดิ คานวณ เขียน การส่ือสารและการคิด วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และ แกป้ ัญหาตามระดับชัน้ คานวณ ๖.๓ รอ้ ยละนกั เรียนช้นั มีความสามารถในการสร้าง ประเมินการคดิ วเิ คราะห์ คิด แบบประเมินการอ่านคดิ นวตั กรรมตามระดบั ชน้ั ปีการศกึ ษาละ ๑ ชน้ิ ๖.๔ รอ้ ยละนักเรียนมคี วามสามารถในการใช้ วจิ ารณญาณ อภปิ ราย วิเคราะหป์ ระจาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารตามระดบั ช้ัน แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแก้ปัญหา ประเมนิ การสรา้ งช้นิ งาน แบบประเมนิ ชิ้นงานนักเรยี น นกั เรียน ประเมินความสามารถใน แบบประเมนิ ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ การใช้เทคโนโลย(ี รายวชิ า คอมพวิ เตอร์) 7. ผลท่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั ผู้เรยี นมีทกั ษะการเรยี นรู้ที่สาคญั ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในทกั ษะการเขยี น การสื่อสาร การคิดวเิ คราะหแ์ ละ การคดิ คานวณ (ลงชอ่ื ) ผ้เู สนอโครงการ (นางสาวอัจราภรณ์ เกตุแกว้ ) (ลงช่อื ) ผอู้ นุมัตโิ ครงการ (นายสุมารถ เงนิ ละเอยี ด) ผู้อานวยการโรงเรียนวดั รัตนวราราม รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนวดั นาหม่อม

34 ชื่อโครงกำร โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น แผนงำน มำตรฐำน วชิ าการ ผู้รับผิดชอบโครงกำร มฐ.1 ลกั ษณะโครงกำร นางสาวสภุ ทั รา มเี สน ระยะเวลำดำเนินโครงกำร  โครงการตอ่ เนื่อง  โครงการใหม่ สนองกลยทุ ธท์ ี่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 เมษายน 2565 1 1. หลักกำรและเหตผุ ล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ในมาตรา 6 ได้กล่าวถึงการจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ ท้ังร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยรู่ ่วมกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมคี วามสขุ สานักงานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้กาหนดสอบวัดความสามารถการอ่าน (RT: Reading Test) สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 การทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT: National Test) สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 และการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (ONET: Ordinary National Education Test) เพื่อให้เป็นไปตามนโยบาย โรงเรียนวัดนาหม่อมจึงได้จัดโครงการเพ่ือพัฒนานักเรียนมีความรู้ ความสามารถเป็นไปตามเปา้ หมายของการศึกษาระดับชาติ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 มผี ลคะแนนเฉลยี่ จากการสอบวัดความสามารถการอ่านเปน็ ไปตาม เป้าหมาย 2.2 นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 มีผลคะแนนเฉลยี่ จากการสอบระดบั ชาติสูงกวา่ ระดบั ประเทศ 2.3 นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 มผี ลคะแนนเฉลี่ยจากการสอบระดบั ชาตสิ ูงกว่าระดับประเทศ 2.4 นักเรียนมโี อกาสได้แสดงความสามารถในเวทกี ารแข่งขันต่าง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ 3. เปำ้ หมำย เชงิ ปรมิ ำณ 3.1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 มีคะแนนเฉล่ียจากการสอบวัดความสามารถการอ่านร้อยละ 77 ขึ้นไป 3.2 นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มผี ลคะแนนเฉลี่ยจากการสอบระดบั ชาติร้อยละ 55 ข้ึนไป 3.3 นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มผี ลคะแนนเฉลีย่ จากการสอบระดับชาติร้อยละ 44 ขนึ้ ไป 3.4 นกั เรียนร้อยละ 80 มีโอกาสได้แสดงความสามารถทางดา้ นวชิ าการและดา้ นอื่น ๆ เชิงคุณภำพ 3.5 นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 สามารถอ่านออกเขียนได้ 3.5 นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มคี วามสามารถพ้นื ฐานระดับชาติ ในดา้ นภาษาไทยและดา้ น คณติ ศาสตร์

35 3.6 นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 มีความรู้ความสามารถระดับชาติขน้ั พนื้ ฐานในวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ 3.7 นกั เรียนทุกระดบั ช้นั มโี อกาสได้แสดงความสามารถทางด้านวิชาการและด้านอ่ืน ๆ 4. กจิ กรรม และข้ันตอนกำรดำเนนิ งำน กิจกรรม/ข้นั ตอนกำรดำเนนิ งำน เป้ำหมำย ระยะเวลำ ผรู้ ับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑ ความสามารถดา้ นการอ่านออกของผู้เรยี น(RT) นกั เรียนชั้น ตลอดปี น.ส.ฤทัยรตั น์ ข้ันตอนกำรดำเนินงำน ประถมศกึ ษา การศึกษา รักเลง่ 1.1 วางแผน 1.2 ดาเนนิ กิจกรรม ดงั นี้ ปีที่ 1 - สอนเสรมิ เพิ่มความรู้ - ตะลุยข้อสอบและประเมินผลทุกเดือน - ตดิ ตาม/ช่วยเหลือนักเรยี นกลุม่ อ่อน - สอบ RT - สรปุ และประเมินผล กจิ กรรมที่ ๒ การประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) นักเรียนช้ัน ตลอดปี นางจนิ ตนา ขัน้ ตอนกำรดำเนนิ งำน ประถมศกึ ษา การศกึ ษา เครานวล 2.1 วางแผน 2.2 ดาเนินกิจกรรม ดงั น้ี ปีท่ี 3 - สอนเสริมเพ่ิมความรู้ - ตะลุยข้อสอบและประเมนิ ผลทุกเดือน - ตดิ ตาม/ชว่ ยเหลือนักเรียนกลมุ่ อ่อน - สอบ NT - สรุปและประเมินผล กจิ กรรมที่ 3 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน นักเรยี นชน้ั ตลอดปี น.ส.สุภัทรา (ONET) ประถมศกึ ษา การศกึ ษา มเี สน ขั้นตอนกำรดำเนนิ งำน ปที ี่ 6 3.1 วางแผน/ประชมุ คณะทางาน 3.2 ดาเนินกจิ กรรม ดังนี้ - สอนเสรมิ เพิ่มความรู้ - ตะลุยข้อสอบและประเมินผลทุกเดือน - ตดิ ตาม/ชว่ ยเหลอื นักเรยี นกลุ่มอ่อน - สอบ Pre – ONET - สอบ ONET - สรปุ และประเมินผล

36 กจิ กรรม/ขนั้ ตอนกำรดำเนินงำน เป้ำหมำย ระยะเวลำ ผ้รู บั ผดิ ชอบ นกั เรยี นทกุ คน กจิ กรรมที่ 4 การแข่งขนั ทักษะวชิ าการในระดบั ต่าง ๆ ตลอดปี ครปู ระจาชนั้ / ขัน้ ตอนกำรดำเนินงำน การศึกษา ครปู ระจาวชิ า 4.1 วางแผน/ประชุมคณะทางาน 4.2 ดาเนนิ กิจกรรม ดังนี้ - หาเวทแี สดงความสามารถทางดา้ นวิชาการและดา้ นอ่ืนๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน - ฝึกซอ้ มเพื่อพฒั นาความสามารถนักเรยี น - สรุปและประเมินผล 5. งบประมำณ 5.1 รวมทัง้ หมด 12,000 บาท (งบอดุ หนุน 12,000 บาท) 5.2 ค่าใช้จา่ ยจาแนกตามกจิ กรรม กิจกรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใช้จำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ กิจกรรมที่ ๑ ความสามารถด้านการอ่านออก ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ ของผู้เรยี น (RT) 3,000 คำ่ ใชจ้ ่ำย 1,000 - คา่ ถ่ายเอกสารประกอบการเรียน 500 - ค่าข้อสอบ 1,000 - คา่ อาหารว่าง กจิ กรรมท่ี ๒ การประเมินคุณภาพผ้เู รยี น (NT) 3,000 ค่ำใชจ้ ำ่ ย 1,000 - ค่าถ่ายเอกสารประกอบการเรียน 500 - ค่าข้อสอบ 1,000 - ค่าอาหารว่าง 500 - ค่ารถรับ – สง่ นักเรียนเพือ่ ไปสอบ กจิ กรรมท่ี 3 การทดสอบทางการศกึ ษา 3,000 ระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (ONET) ค่ำใชจ้ ่ำย 1,000 500 - ค่าถ่ายเอกสารประกอบการเรียน 1,000 - ค่าข้อสอบ Pre – ONET 500 - คา่ อาหารวา่ ง - ค่ารถรับ – สง่ นักเรียนเพอื่ ไปสอบ

37 กิจกรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ งบประมำณ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ กิจกรรมท่ี 4 การแข่งขนั ทักษะวชิ าการใน 3,000 ระดบั ตา่ ง ๆ คำ่ ใช้จำ่ ย - ค่ารถรับ – สง่ นักเรียน 500 1,000 - คา่ กิจกรรมสาหรับฝกึ ซ้อมนกั เรยี นเพื่อ 1,000 การแข่งขนั - อน่ื ๆ (คา่ สมัครสอบ/คา่ ข้อสอบ/ คา่ ลงทะเบียน) 6. กำรวดั และประเมนิ ผล ตัวชวี้ ดั ควำมสำเรจ็ วิธีกำรวดั เคร่ืองมอื การทดสอบระดบั ชาติ แบบทดสอบระดบั ชาติ 6.1 คะแนนเฉลยี่ ของนกั เรยี นในแต่ละระดบั ชน้ั สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ การแขง่ ขนั ทักษะ แบบทดสอบ 6.2 รางวัลการแข่งขนั ทักษะทางวชิ าการในด้านต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน 7. ผลท่คี ำดวำ่ จะได้รบั ผูเ้ รียนมผี ลการทดสอบระดับชาตเิ ปน็ ไปตามเป้าหมายที่กาหนด และไดร้ บั รางวลั ประสบการณจ์ ากการ แข่งขันทกั ษะทางวิชาการ และทักษะด้านอนื่ ๆ (ลงช่ือ) ผ้เู สนอโครงการ (นางสาวสุภทั รา มีเสน) (ลงชอ่ื ) ผอู้ นุมตั โิ ครงการ (นายสมุ ารถ เงนิ ละเอียด) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดรตั นวราราม รักษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดนาหม่อม

ชื่อโครงกำร 38 แผนงำน โครงการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้เนน้ การบูรณาการและใหผ้ ู้เรียนปฏิบตั ิจรงิ มำตรฐำน (Active learning) ผูร้ ับผิดชอบโครงกำร วิชาการ ลักษณะโครงกำร มฐ.๒ ระยะเวลำดำเนนิ โครงกำร นางสาวอัจราภรณ์ เกตแุ กว้ สนองกลยทุ ธท์ ี่  โครงการต่อเนื่อง  โครงการใหม่ 1 มถิ นุ ายน 256๔ – 30 เมษายน 256๕ ๒ 1. หลกั กำรและเหตุผล จากนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้สถานศึกษาลดชั่วโมงเรียนของ นักเรียนในภาควิชาการตามกลุ่มสาระหลักในช้ันเรียนถึงเวลา 14.00 น. จากนั้นนักเรียนจะได้ทากิจกรรมนอก ห้องเรียน ในกลุ่มสาระท่ีเหลือแบบบูรณาการและกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนลดความเครียด และ เสริมสร้างทักษะทุกด้าน คือด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม น้ัน สะเต็มศึกษาเป็นแนวทางการจัดการ เรียนรู้ท่ีเน้นการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน ที่จะทาให้นักเรียนได้ เรียนรู้อย่างมีความหมายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และเป็นกิจกรรมท่ีโรงเรียนสามารถนามาใช้เป็นอีกทางเลือก หนง่ึ ในการจดั กิจกรรมตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารไู้ ด้ ดังนั้นโรงเรียนวัดนาหม่อมจึงจัดทาโครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้เน้นการบูรณาการและให้ผู้เรียน ปฏบิ ัติจริง เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมSTEM และลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีนักเรียนได้ เรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และไดน้ าใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 ครมู กี ารจดั กระบวนการเรยี นรู้กบั นกั เรียนผา่ นกระบวนการคดิ และการปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ผ่านกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้ 2.2 ครมู ีการจัดกระบวนการเรยี นรู้กบั นักเรยี นผ่านกระบวนการคดิ และการปฏบิ ัติจริงและสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ผา่ นกิจกรรมสะเต็มศึกษา 3. เปำ้ หมำย เชิงปริมำณ ๓.1 ครรู อ้ ยละ ๘0 มกี ารจัดกระบวนการเรียนรู้กับนกั เรียนผา่ นกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริงและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ผ่านกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ ๓.2 ครรู อ้ ยละ ๘0 มีการจัดกระบวนการเรียนรู้กับนกั เรียนผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริงและ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ผา่ นกจิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษา เชิงคณุ ภำพ 3.1 ครมู กี ารจัดกระบวนการเรียนรู้กับนกั เรียนผา่ นกระบวนการคิดและการปฏบิ ัติจริงและสามารถนาไป ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ไดร้ ะดบั ดีเลิศ ๓.2 ครมู กี ารจดั กระบวนการเรียนรู้กับนกั เรียนผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบตั จิ ริงและสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ผา่ นกิจกรรมสะเตม็ ศึกษาระดับดีเลศิ

39 4. กิจกรรม และขนั้ ตอนกำรดำเนนิ งำน เป้ำหมำย ระยะเวลำ ผู้รับผิดชอบ ครูประจาช้นั กจิ กรรม/ขนั้ ตอนกำรดำเนินงำน นักเรยี นชนั้ ตลอดปี กจิ กรรมที่ 1 กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในรูปแบบ (STEM Education) ประถมศึกษาปีที่๑-๖ การศึกษา ๑.๑ กิจกรรม STEM ประจาชัน้ เรียน นักเรียนช้นั อนุบาล๑ ตลอดปี ครปู ระจาชน้ั กจิ กรรมท่ี 2 ลดเวลำเรียนเพ่มิ เวลำรู้ –ประถมศึกษาปีที่๖ การศกึ ษา 2.1 กิจกรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ประจาชั้นเรียน 5. งบประมำณ 5.1 รวมท้งั หมด ๓,500 บาท (งบอุดหนุน ๓,500 บาท) 5.2 คา่ ใช้จา่ ยจาแนกตามกจิ กรรม กจิ กรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ กิจกรรมที่ 1 กำรจัดกำรเรียนกำรสอนใน ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รปู แบบ(STEM Education) 1,000 คำ่ ใชจ้ ำ่ ย - - 1,000 ๒,๕00 - อุปกรณก์ ารสอน STEM กิจกรรมที่ 2 ลดเวลำเรยี นเพิม่ เวลำรู้ - - ๒,๕00 ค่ำใช้จำ่ ย - จดั ซือ้ อุปกรณ์ในการจดั กจิ กรรมชัน้ อนบุ าลที่ ๑ –ประถมศึกษาปีท่ี๖ 6. กำรวัดและประเมินผล ตวั ช้วี ัดควำมสำเร็จ วิธีกำรวดั เครอ่ื งมอื -แบบบันทึกการจัดกจิ กรรม 6.1 ครรู ้อยละ ๘0 มีการจัดกระบวนการเรยี นรู้กับ ประเมนิ การสอนกจิ กรรรม ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ นักเรยี นผา่ นกระบวนการคดิ และการปฏบิ ัติจริงและ ลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้ แบบบันทึกการสอนสะเต็ม ศึกษา สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ผ่านกิจกรรมลดเวลา เรียนเพิม่ เวลารู้ 6.2 ครรู อ้ ยละ ๘0 มกี ารจดั กระบวนการเรยี นรู้กบั ประเมินการเรียนการสอน นกั เรียนผา่ นกระบวนการคิดและการปฏิบตั ิจรงิ และ สะเต็มศึกษา สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้ผา่ นกจิ กรรมสะเตม็ ศกึ ษา

40 7. ผลท่คี ำดวำ่ จะไดร้ บั โรงเรยี นมีกระบวนการเรียนรู้เน้นการบูรณาการและให้ผู้เรยี นไดป้ ฏิบตั จิ รงิ (Active Learning) และมี ระบบการวดั ผลประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจรงิ ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย (ลงช่อื ) ผเู้ สนอโครงการ (นางสาวอัจราภรณ์ เกตุแกว้ ) (ลงชอ่ื ) ผู้อนมุ ัติโครงการ (นายสมุ ารถ เงนิ ละเอยี ด) ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั รตั นวราราม รักษาการในตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรยี นวัดนาหมอ่ ม

41 ชื่อโครงกำร โครงการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม แผนงำน มำตรฐำน วิชาการ ผู้รับผิดชอบโครงกำร มฐ.๒, มฐ.๓ ลักษณะโครงกำร นางสาวอจั ราภรณ์ เกตุแก้ว ระยะเวลำดำเนนิ โครงกำร  โครงการต่อเน่ือง  โครงการใหม่ สนองกลยทุ ธ์ที่ 1 มถิ ุนายน 256๔ – 30 เมษายน 256๕ ๒ 1. หลักกำรและเหตผุ ล จุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดไว้ว่าการจัดการศึกษาต้อง เปน็ ไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเ้ ปน็ มนษุ ยท์ ง้ั ร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้และคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมใน การดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขสนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา มีวิธีการเรียนรู้ของ ตนเอง เรียนรู้ร่วมกับผู้อ่ืน ได้สนุกกับการเรียนรู้และชอบมาโรงเรียน สามารถใช้ส่ือเทคโนโลยีในการเรียนรู้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด คิดอย่างมีระบบและมีการคิด แบบองค์สังคมมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา การพัฒนาสาระและกระบวนการเรยี นรใู้ ห้เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โรงเรยี นวัดนาหม่อมจึงได้จัดทา โครงการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม เพ่ือแก้ปัญหาครูไม่ครบช้ันเรียน พัฒนานักเรียนได้เรียนรู้ได้ อยา่ งทว่ั ถึงและมคี ุณภาพ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 ครมู ีการจัดการเรยี นการสอนผา่ นการเรียนการเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV 2.2 ครมู กี ารใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรทู้ ่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ต่อนกั เรยี น 3. เปำ้ หมำย เชงิ ปริมำณ ๓.1 ครรู ้อยละ 100 มกี ารจดั การเรียนการสอนผา่ นการเรียนการเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม DLTV ๓.2 ครรู ้อยละ 100 มกี ารใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรูท้ เ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ต่อนักเรียน เชิงคณุ ภำพ 3.1 ครมู ีการจดั การเรียนการสอนผา่ นการเรียนการเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ระดับดี ๓.2 ครมู กี ารใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ต่อนักเรียนระดับดี 4. กิจกรรม และขน้ั ตอนกำรดำเนินงำน กิจกรรม/ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน เปำ้ หมำย ระยะเวลำ ผรู้ บั ผิดชอบ กิจกรรมที่ 1 DLTV นกั เรียนทุกคน ตลอดปี ครปู ระจาช้นั ๑.๑ ประชุมชี้แจงมอบหมายการจดั การชน้ั เรียน การศกึ ษา ๑.๒ ศึกษาตารางเรียนแตช่ ั้น ๑.๓ จัดทาใบงานประจาสัปดาห์ มอบหมายนักเรยี น ๑.๔ ตรวจใบงาน สรปุ ผลการเรียนประจาสปั ดาห์ ๑.๕ สรปุ ผลรายงานการจดั การเรียนการสอนผู้อานวยการ โรงเรยี นและเขตพนื้ ท่ี ๑.๖ ประเมินผลกิจกรรม สรปุ กิจกรรม

กจิ กรรม/ข้ันตอนกำรดำเนินงำน เปำ้ หมำย ระยะเวลำ 42 นักเรียนทกุ คน กจิ กรรมท่ี 2 กำรใชเ้ ทคโนโลยีกำรจดั กำรเรียนกำรสอน ตลอดปี ผู้รบั ผิดชอบ 2.1 การจัดซ่อมแซมอุปกรณ์สาหรบั จดั การเรยี นการ การศึกษา ครปู ระจาช้ัน สอนในชัน้ เรยี น 5. งบประมำณ 5.1 รวมท้ังหมด ๖,000 บาท (งบอุดหนุน/เงนิ พัฒนาผ้เู รยี น ๖,000 บาท) 5.2 คา่ ใชจ้ ่ายจาแนกตามกิจกรรม กิจกรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ งบประมำณ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ กิจกรรมท่ี 1 DLTV 4,o00 คำ่ ใชจ้ ำ่ ย - กระดาษ A4 ๓ ลงั ๑,๘00 - คา่ ถา่ ยเอกสาร ๒,000 - กระดาษการ์ดสี ขนาด A๔ ๑ รมี ๒00 กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมที่ 2 กำรใช้ ๒,000 เทคโนโลยีกำรจดั กำรเรียนกำรสอน คำ่ ใชจ้ ่ำย - ๒,000 - - ซ่อมแซมอุปกรณร์ ับชม TV กล่อง รบั สัญญาณประจาชน้ั เรียน 6. กำรวัดและประเมินผล วิธีกำรวัด เคร่ืองมือ ตวั ชี้วัดควำมสำเรจ็ ประเมนิ การจดั กจิ กรรม -แบบประเมินการเข้าเรียนนักเรยี น 6.1 ครมู กี ารจดั การเรียนการสอนผ่านการ เรียนการเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ผา่ นการเรยี นการเรียนการ -แบบสรปุ การจดั กิจกรรมนักเรียน DLTV สอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ประจาสปั ดาห์ 6.2 ครมู กี ารใชส้ ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและ แหล่งเรยี นร้ทู ี่เอื้อต่อการเรยี นรู้ตอ่ นักเรียน DLTV -ชนิ้ งาน/ ใบงานนักเรยี น -ภาพถ่าย ประเมินการใช้สื่อ แบบบนั ทึกการใช้ส่อื ส่ือเทคโนโลยี เทคโนโลยสี ารสนเทศและ สารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้

43 7. ผลท่คี ำดวำ่ จะไดร้ บั 1.ครมู ีการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม DLTVได้ครบทุกวิชาในแต่ละชั้นเรียน ๒.ลดปญั หาครไู ม่ครบชน้ั เรียน (ลงช่อื ) ผูเ้ สนอโครงการ (นางสาวอัจราภรณ์ เกตุแกว้ ) (ลงชื่อ) ผูอ้ นุมตั ิโครงการ (นายสุมารถ เงนิ ละเอยี ด) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดรตั นวราราม รักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดนาหม่อม

44 ชอ่ื โครงกำร โครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา แผนงำน มำตรฐำน วชิ าการ ผู้รบั ผิดชอบโครงกำร มฐ.๒ ลักษณะโครงกำร นางสาวอัจราภรณ์ เกตแุ กว้ ระยะเวลำดำเนนิ โครงกำร  โครงการตอ่ เนื่อง  โครงการใหม่ สนองกลยุทธท์ ่ี 1 มถิ นุ ายน 256๔ – 30 เมษายน 256๕ ๒ 1. หลักกำรและเหตผุ ล การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและความ เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖ ได้ให้ ความสาคัญเกี่ยวกับการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสขุ และมาตรา ๘ การจดั การศกึ ษาเปน็ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชนให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจัด การศกึ ษา และการพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ ให้เป็นไปอย่างต่อเน่ือง ซึ่งสถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและ สอดคลอ้ งกบั ทอ้ งถ่นิ โดยการมสี ่วนร่วมของคณะครู นักเรียน ผปู้ กครองและชุมชน อีกท้ังจัดรายวิชาเพิ่มเติมและ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นทีส่ ่งเสริมและตอบสนองความตอ้ งการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน และการนิเทศภายใน กากับ ติดตามตรวจสอบและนาผลไปพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล โรงเรียนวัดนาหม่อม ตระหนักถึงความจาเป็นในการพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษาให้ก้าวทัน และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในท้องถ่ิน ภายในประเทศและก้าวสู่มาตรฐานสากล เพื่อให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์ใหม่ๆ และพร้อม ท่ีจะนาความรู้ท่ีไดไ้ ปพฒั นาตนเองและสังคมใหเ้ จรญิ ย่ิงขนึ้ 2. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่อื จัดทาหลักสตู รสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของท้องถ่ินและชมุ ชน ๒.๒ เพือ่ พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาให้เหมาะสมกับผเู้ รียนและเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ๒.๓ เพอ่ื ใหค้ ณะครู นักเรียน ผปู้ กครอง และชุมชน มสี ่วนร่วมในการปรบั ปรงุ พฒั นาและประเมินการใช้ หลักสตู รสถานศกึ ษา 3. เป้ำหมำย เชงิ ปริมำณ ๓.๑ ร้อยละ ๙๐ ของครู นักเรยี น ผ้ปู กครอง และชมุ ชน มีสว่ นรว่ มในการปรบั ปรุง พัฒนาและประเมิน การใช้หลักสตู รสถานศึกษา ๓.๒ รอ้ ยละ ๙๐ ของครูนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ

45 เชงิ คุณภำพ ๓.๑ โรงเรียนจดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาท่สี อดคล้องกับความต้องการของท้องถนิ่ และชมุ ชน ๓.๒ โรงเรยี นมหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาทเี่ หมาะสมกับผู้เรียนและเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ 4. กจิ กรรม และข้ันตอนกำรดำเนินงำน กิจกรรม/ขน้ั ตอนกำรดำเนินงำน เป้ำหมำย ระยะเวลำ ผู้รบั ผดิ ชอบ กจิ กรรมที่ 1 จดั ทำหลกั สูตรสถำนศึกษำระดับปฐมวยั นกั เรยี นชนั้ เม.ย. - พ.ค. ผูอ้ านวยการ ขนั้ ตอนกำรดำเนนิ งำน อนบุ าล 1 - 3 2564 น.ส.ทพิ วรรณ 1. วางแผน เพชรอกั ษร 2. รวบรวมขอ้ มลู 3. จัดพมิ พข์ ้อมูล 4. ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 5. เสนอผูอ้ านวยการและคณะกรรมการสถานศึกษา 6. เขา้ เลม่ กจิ กรรมที่ 2 หลกั สูตรสถำนศกึ ษำระดับประถมศกึ ษำ นักเรียนชนั้ เม.ย. - พ.ค. ผู้อานวยการ 1. วางแผน ประถมศกึ ษาปที ี่ 25๖๔ น.ส.อจั ราภรณ์ 2. รวบรวมขอ้ มลู ๑ - ๖ เกตุแก้ว 3. จัดพมิ พ์ข้อมูล 4. ตรวจสอบความถูกต้อง 5. เสนอผู้อานวยการและคณะกรรมการสถานศึกษา 6. เข้าเลม่ 5. งบประมำณ 5.1 รวมท้งั หมด 1,000 บาท (งบอดุ หนนุ /เงินพัฒนาผ้เู รียน 1,000 บาท) 5.2 ค่าใชจ้ า่ ยจาแนกตามกิจกรรม กิจกรรม รวม รำยละเอยี ดกำรใช้จ่ำยงบประมำณ งบประมำณ ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ กจิ กรรมที่ ๑ จดั ทำหลักสตู รสถำนศกึ ษำ 500 ระดบั ปฐมวัย ค่ำใชจ้ ่ำย 1. เข้าเลม่ เอกสาร - 200 - 2. ค่ากระดาษ - - 300 กจิ กรรมท่ี ๑ จดั ทำหลักสูตรสถำนศกึ ษำ 500 ระดบั ประถมศึกษำ คำ่ ใช้จ่ำย ๑.เขา้ เลม่ เอกสาร - 200 - ๒.คา่ กระดาษ - - 300

6. กำรวดั และประเมินผล วิธกี ำรวัด 46 สอบถาม สมั ภาษณ์ ตวั ช้ีวัดควำมสำเร็จ เคร่อื งมือ ๖.๑ รอ้ ยละ ๙๐ ของครู นักเรยี น ผปู้ กครอง และ การนิเทศการสอน แบบสอบถาม ชมุ ชน มีส่วนร่วมในการปรับปรงุ พฒั นาและประเมนิ การนิเทศแผนการสอน การใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษา ประเมนิ การใชห้ ลกั สูตร แบบนเิ ทศแผนการสอน ๖.๒รอ้ ยละ ๙๐ ของครนู าหลักสตู รสถานศึกษาไปใช้ แบบนิเทศการสอน ในการจัดการเรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระบบ แบบประเมนิ การใช้หลกั สูตร ๖.๓ โรงเรียนจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษาท่สี อดคล้อง กบั ความต้องการของท้องถ่นิ และชมุ ชน ๖.๔ โรงเรียนมีหลกั สูตรสถานศึกษาทีเ่ หมาะสมกับ ผู้เรยี นและเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 7. ผลท่คี ำดว่ำจะได้รบั ๗.๑ โรงเรียนจัดทาหลกั สตู รสถานศกึ ษาทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการของท้องถิน่ และชมุ ชน ๗.๒ โรงเรียนพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้เหมาะสมกับผู้เรยี นและเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ๗.๓ คณะครู นักเรยี น ผู้ปกครอง และชุมชน มสี ่วนรว่ มในการปรับปรงุ พัฒนาและประเมนิ การใช้ หลกั สูตรสถานศกึ ษา ๗.๔ ครนู าหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช้ในการจดั การเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ (ลงชอื่ ) ผเู้ สนอโครงการ (นางสาวอัจราภรณ์ เกตแุ กว้ ) (ลงชอ่ื ) ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ (นายสมุ ารถ เงินละเอยี ด) ผู้อานวยการโรงเรียนวดั รัตนวราราม รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนวดั นาหม่อม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook