Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1. ประวัติการแข่งขันฟุตบอลโลก

1. ประวัติการแข่งขันฟุตบอลโลก

Published by kla.pea2021, 2021-08-21 01:09:11

Description: 1. ประวัติการแข่งขันฟุตบอลโลก

Search

Read the Text Version

ประวตั กิ ารแข่งขนั ฟตุ บอลโลก ต้ังแต่ ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) – ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) พดู ถึงกีฬาฟุตบอลแลว้ (ทางสหรัฐอเมริกาใชค้ าวา่ Soccer เพอื่ มิให้ซ้า กบั อเมริกนั ฟุตบอล) ตอ้ งยอมรับว่าเป็นกีฬาท่ีไดร้ ับความนิยมท้งั เล่น และ ดูกนั ทกุ ประเทศทว่ั โลกมากกวา่ กีฬาชนิดอนื่ ๆ ความเป็นกีฬายอดนิยมน้ี ว่ากนั ว่ามาจากความคดิ ริเร่ิมของ FIFA (Federation International Football Association) ท่ีดาริจดั ใหม้ ีการแข่งขนั ฟตุ บอลชิงถว้ ยฟุตบอลโลกคร้ังแรกข้นึ ในสมยั ที่นาย Jules Rimet (ชาว ฝร่ังเศส) ซ่ึงไดร้ ับเลือกเป็นประธานฟีฟ่ าในปี ค.ศ. 1920 (พ.ศ. 2463) หลงั จากมีการประชุมปรึกษาหารือกนั คร้งั สุดทา้ ยในปี ค.ศ. 1929 (พ.ศ. 2472) ที่ประชุมตกลงเลือกประเทศอรุ ุกวยั ใหเ้ ป็นประเทศแรกที่จะไดจ้ ดั การ แขง่ ขนั World Cup ข้ึนในปี ค.ศ. 1930 ระหว่างวนั ท่ี 15 ก.ค. – วนั ที่ 15 ส.ค. เน่ืองจากอุรุกวยั เคยเป็นแชมป์ โอลิมปิ ก 2 สมยั สมยั แรก ค.ศ.1924 หรือปี พ.ศ. 2467 ที่ปารีส ฝรั่งเศส และสมยั ที่สอง ค.ศ. 1928 ท่ีกรุงอมั สเตอร์ดมั เนเธอร์แลนด์ (หรือปี พ.ศ. 2471) และในปี ค.ศ. 1930 น้ี อรุ ุกวยั จะมีการเฉลิม ฉลองประเทศซ่ึงถูกจดั ต้งั ข้ึนครบ 100 ปี พอดี นบั ไดว้ ่า กีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาประเภทแรกที่แยกตวั ออกมาจดั เป็นอสิ ระ จากกีฬาโอลิมปิ ค 1

การแข่งขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังที่ 1 ประเทศ อรุ ุกวัย ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2473) 1) บทนา การแขง่ ขนั คร้ังแรกซ่ึงจดั ในทวีปอเมริกาใต้ มีประเทศในยโุ รปเพยี ง 4 ประเทศ คอื เบลเยย่ี ม ฝรั่งเศส รูมาเนีย และยโู กสลาเวยี ที่เดินทางโดย เรือเดินสมุทรเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั ส่วนในประเทศแถบทวีปอเมริกากลาง มีสหรัฐอเมริกา และ เมก็ ซิโก ในส่วนของทวปี อเมริกาใต้ ก็มีอาเจนติน่า โบลิเวีย บราซิล ปารากวยั เปรู ชิลี และ อุรุกวยั เจา้ ภาพ รวมท้งั สิ้น 13 ทีม ผลปรากฏว่า อุรุกวยั ชนะเลิศ ตามความคาดหมาย โดยเอาชนะทีม อาเจนตินา ในวนั ชิงชนะเลิศ 4 ประตตู ่อ 2 2) สนามทใ่ี ช้ในการแข่งขนั เป็นสนามท้งั หมด 3 สนามท่ีต้งั อยใู่ นเมืองหลวงของอรุ ุกวยั ท่ีชื่อ Montevideo สนามดงั กลา่ ว คอื 2.1 Estadio Centenario ความจุ 90,000 คน 2.2 Pacitos ความจุ 5,000 คน 2.3 Parque Central ความจุ 20,000 คน 2

3) การจัดการแข่งขนั 3.1 การแบ่งกลุ่ม แบ่งออกเป็น 4 กลมุ่ หรือ 4 สาย กลุ่มละ 3 ทีม ยกเวน้ กลมุ่ 1 มี 4 ทีม 3.2 ผลของการแข่งขันและคะแนน กล่มุ 1 กล่มุ 2 1. ฝรั่งเศส 4 เมก็ ซิโก 1 1. ยโู กฯ 2 บราซิล 1 2. อาเจนติน่า 1 ฝรั่งเศส 0 2. ยโู กฯ 4 โบลิเวีย 0 3. ชิลี 3 เมก็ ซิโก 0 3. บราซิล 4 โบลิเวีย 0 4. ชิลี 1 ฝรั่งเศส 0 5. อาเจนติน่า 6 เมก็ ซิโก 0 กล่มุ 4 6. อาเจนติน่า 3 ชิลี 1 1. สหรัฐฯ 3 เบลเยี่ยม 1 2. สหรัฐฯ 3 ปารากวยั 0 กล่มุ 3 3. ปารากวยั 1 เบลเยี่ยม 0 1. โรมาเนีย 3 เปรู 1 2. อรุ ุกวยั 1 เปรู 0 3. อุรุกวยั 4 โรมาเนีย 0 ผลคะแนนกล่มุ 1 ผลคะแนนกลุ่ม 2 1. อาเจนติน่า 6 คะแนน 1. ยโู กฯ 4 คะแนน 2. ชิลี 4 คะแนน 2. บราซิล 2 คะแนน 3

3. ฝรั่งเศส 2 คะแนน 3. โบลิเวีย 0 คะแนน 4. เมก็ ซิโก 0 คะแนน ผลคะแนนกล่มุ 4 ผลคะแนนกล่มุ 3 1. สหรัฐฯ 4 คะแนน 1. อุรุกวยั 4 คะแนน 2. ปารากวยั 2 คะแนน 2. โรมาเนีย 2 คะแนน 3. เบลเยี่ยม 0 คะแนน 3. เปรู 0 คะแนน การแข่งขันรอบเซมิไฟนัล 1. อรุ ุกวยั 6 ยโู กฯ 1 2. อาเจนติน่า 6 สหรัฐฯ 1 การแข่งขนั รอบชิงชนะเลิศ (ไม่มกี ารชิงที่ 3) อุรุกวัย 4 อาเจนติน่า 2 4) เกล็ดย่อย ต่าง ๆ 4.1 สถิติคนดูในสนาม 590,549 คน หรือคดิ เป็นคนดูเฉล่ียต่อนดั เทา่ กบั 32,800 คน 4.2 คาเรียกชื่อเกมฟตุ บอลน้ี เดิมใชช้ ่ือว่า Association Football ซ่ึงเป็น ท่ีทราบกนั อยแู่ ลว้ มีการพฒั นาการเล่นจากประเทศองั กฤษเป็นประเทศแรก ต่อมาจึงใชค้ าว่า Football อยา่ งเดียว แตอ่ ยา่ งไรก็ตามประเทศองั กฤษ เจา้ ตารับ 4

ไมไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมการแข่งขนั มาเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั คร้ังที่ 4 (ไม่ทราบว่างอนเรื่อง อะไร) 4.3 ผทู้ าประตูสูงสุดในการแข่งขนั คร้ังแรกน้ี คือ Guillermo Stabile จากทีมอาเจนติน่า ทาได้ 8 ประตู 4.4 ลกู ฟุตบอลท่ีใชใ้ นการแขง่ ขนั เป็นลกู ฟตุ บอลรุ่นแรก ที่เป็นหนงั สัตว์ มียางในและเชือกผกู ปิ ดบงั จุ๊บ (Tube) ที่เป็นตวั นาการสูบลมเขา้ รุ่นน้ีช่ือ T-MODEL 4.5 เป็นที่น่าบนั ทึกไวว้ า่ ดาราฟุตบอลผวิ ดาคนแรกของประวตั ิศาสตร์ ที่โชวฟ์ อร์ม และเป็นกาลงั สาคญั ทาให้ทีมอรุ ุกวยั เป็นแชมป์ โอลิมปิ ค 2 สมยั และแชมป์ โลกคราวน้ี กค็ อื หนุ่มที่เลน่ ในตาแหน่งวิงฮาฟ (หรือมิดฟิลดส์ มยั น้ี) ท่ีมีชื่อว่า Jose Leandro Andrade 5

การแข่งขันฟุตบอลโลกคร้ังที่ 2 ประเทศอิตาลี ค.ศ.1934 (พ.ศ. 2477) 1) บทนา การแขง่ ขนั ฟุตบอลคร้ังท่ีสอง ถกู จดั ข้นึ เป็นคร้ังแรกในทวปี ยโุ รปไดแ้ ก่ ประเทศอติ าลี ที่อยภู่ ายใตก้ ารนาของประธานาธิบดี Mussolini อดีตผนู้ าพรรค ฟาสซิสต์ ที่มีชื่อเสียงทางดา้ นการเป็นผนู้ าฝ่าย (ชอบ) บู๊ คร้ังน้ีมีทีมที่เขา้ ร่วม การแขง่ ขนั รวมเป็น 16 ทีม โดยมีทีมนอ้ งใหม่จากทวปี อาฟริกา ซ่ึงไดแ้ ก่ อจี ิปต์ มาร่วมเป็นคร้ังแรก ทีมจากยโุ รป (12 ทีม) ประกอบดว้ ย อติ าลี (เจา้ ภาพ) ฮงั การี เยอรมนั สเปน ฝร่ังเศส สวิสเซอร์แลนด์ เช็คโกฯ สวเี ดน เบลเยียม ออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ รูมาเนีย และ จากทวปี อเมริกากลาง กม็ ีสหรัฐอเมริกา เจา้ เก่าจากทวปี อเมริกาใต้ ก็มีเหลืออยแู่ ค่ 2 ทีม คอื อาเจนติน่า และ บราซิล ส่วนอุรุกวยั ไมส่ ่งทีมมาป้องกนั แชมป์ เสียอยา่ งน้นั แหละ คราวน้ีกเ็ ป็นเจา้ ภาพอติ าลีที่ไดแ้ ชมป์ โดยชนะทีมเชค็ โกฯ ไป 2 ประตู ต่อ 1 6

เป็นท่ีน่าแปลกใจว่า มีผูเ้ ขา้ ชมการแขง่ ขนั ท้งั หมดแค่ 363,000 คน เทา่ น้นั 2) การจดั การแข่งขนั 2.1 สนามที่ใช้ในการแข่งขนั มีท้งั หมด 8 สนาม คือ 1. เมือง Triese สนาม Stadio Del Littorio ความจุ 25,000 คน 2. เมืองมิลาน (Milan) สนาม Stadio San Siro ความจุ 45,000 คน 3. เมืองตรู ิน (Turin) สนาม Stadio Mussolini ความจุ 70,000 คน 4. เมืองเจนวั (Genoa) สนาม Stadio Luigi Ferraris ความจุ 51,000 คน 5. เมืองโบโลญ (Bologna) สนาม Stadio Littoriale ความจุ 65,000 คน 6. เมืองฟลอเร็นซ์ (Florence) สนาม Stadio Berta ความจุ 46,000 คน 7. เมืองเนเปิ้ ลส์ (Naples) สนาม Stadio Ascarelli ความจุ 45,000 คน 8. เมืองโรม (Rome) สนาม Stadio Nazionale Del P.N.F. ความจุ 55,000 คน 2.2 การแบ่งกลุ่ม ผลการแข่งขัน และผลคะแนน การจดั คราวน้ี ไม่มีการแบง่ กลุ่ม แต่ใชว้ ิธีการจบั สลาก และพบกนั แบบน๊อคเอา้ ทท์ ้งั 8 คู่ ผลการแขง่ ขนั รอบแรก ปรากฏดงั น้ี คือ 7

คู่ท่ี 1 อติ าลี 7 สหรัฐฯ 1 ค่ทู ่ี 2 สเปน 3 บราซิล 1 คู่ที่ 3 ออสเตรีย 3 ฝรั่งเศส 2 (ตอ่ เวลา) ค่ทู ่ี 4 ฮงั การี 4 อิจิปต์ 2 คทู่ ี่ 5 เชค็ โกฯ 2 โรมาเนีย 1 คู่ท่ี 6 สวสิ ฯ 3 เนเธอร์แลนด์ 2 ค่ทู ่ี 7 เยอรมนั (ตก) 5 เบลเยี่ยม 2 คู่ที่ 8 สวีเดน 3 อาเจนติน่า 2 รอบควอเตอร์ไฟนัล 1. อิตาลี 0 สเปน 0 ตอ้ งเลน่ แมชที่สอง อติ าลี 1 สเปน 0 2. ออสเตรีย 2 ฮงั การี 1 3. เชค็ โกฯ 3 สวิสเซอร์แลนด์ 2 4. เยอรมนั (ตก) 2 สวเี ดน 1 รอบเซมิไฟนัล 1. อติ าลี 1 ออสเตรีย 0 2. เช็คโกฯ 3 เยอรมนั (ตก) 1 8

รอบชิงท่ี 3 เยอรมนั ตะวนั ตก 3 ออสเตรีย 2 รอบชิงชนะเลศิ อติ าลี 2 เช็คโกสโลวาเกีย 1 (ต่อเวลา) 3) เกลด็ ย่อย ต่าง ๆ 3.1 ผทู้ าประตูสูงสุดในการแขง่ ขนั ไดแ้ ก่ Oldrich Nejedly จากทีม เช็คโกฯ ทาได้ 5 ประตู 3.2 ลกู ฟุตบอลที่ใชใ้ นการแขง่ ขนั เป็นรุ่น Federale 102 3.3 อจิ ิปตท์ ีมนอ้ งใหมเ่ กือบทาเซอร์ไพร้ซในแมชท่ีเล่นกบั ทีม ฮงั การี (เคยชนะฮงั การีตอนแขง่ โอลิมปิ คปี 1924) โดยมาตี เสมอฮงั การี 2 ตอ่ 2 ก่อนจะแพไ้ ปในคร่ึงหลงั 4 ประตตู อ่ 2 3.4 แมชที่แขง่ กนั ยาวนานท่ีสุด ก็คอื แมชระหวา่ งอติ าลี กบั เสปน ท่ีเสมอกนั ท้งั เตม็ เวลา และต่อเวลา (120 นาที) ในเกมแรก และ ตอ้ งมาเล่นกนั ใหม่ในแมชท่ี 2 (เพราะยงั ไมม่ ีการตดั สิน โดย การเตะลูกโทษ) อกี 90 นาที โดยอิตาลี เฉือนสเปนไป 1 ประตู ต่อ 0 ในท่ีสุด 9

การแข่งขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังท่ี 3 ประเทศฝร่ังเศส ค.ศ. 1938 (พ.ศ. 2481) 1) บทนา กอ่ นการแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังน้ีจะเริ่มข้ึน บรรยากาศของความไม่ สงบในยโุ รปทวีความรุนแรงข้นึ เป็นตน้ ว่า เยอรมนั บุกเขา้ ไปยึดครองประเทศออสเตรีย และไม่ยอมให้ ประเทศออสเตรีย แขง่ ขนั ในนามของตวั เอง แต่ใหร้ วมกบั ทีมเยอรมนั สเปน มีปัญหาเร่ืองสงครามกลางเมืองในปี ค.ศ. 1936 ทาให้เตรียมทีม ไม่ทนั เพราะฉะน้นั ทมี จากยุโรป จึงมี 13 ทีม ประกอบดว้ ย เบลเยย่ี ม ออสเตรีย(อดแขง่ ) ฝร่ังเศส เยอรมนั นี ฮงั การี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โรมาเนีย เชค็ โกสโลวาเกีย และ สวิสเซอร์แลนด์ ทีมจากอเมริกากลาง และใต้ มีคิวบา บราซิล ทมี จากเอเชีย เป็นทีมจาก Dutch East Indies หรือ อนิ โดนิเซีย ที่เป็น เมืองข้ึนของฮอลนั ดา หรือ เนเธอร์แลนด์ นนั่ เอง ส่วนผเู้ ลน่ กผ็ สมกนั ระหวา่ ง ฮอลนั ดา กบั อนิ โดนีเซีย (ซ่ึงมีไมก่ ่ีคน) 10

2) การจัดการแข่งขัน 2.1 สนามท่ใี ช้ในการแข่งขนั มีท้งั สนามเก่า และสนามท่ีสร้างใหมเ่ พ่อื การแข่งขนั คร้ังน้ีโดยเฉพาะ อนั ไดแ้ ก่ 1. สนามสร้างใหม่ เมืองบอร์โด (Bordeaux) สนามช่ือ Stade Velodome Municipal Parc Lescure ความจุ 25,000 คน 2. เมือง Lille สนาม Stade Victor-Boucquey ความจุ 20,000 คน 3. เมือง Reims สนาม Stade Velodome Municipal ความจุ 18,000 คน 4. เมือง Le Harre สนาม Stade De La Cavee Verte ความจุ 22,000 คน 5. เมือง Toulouse สนาม Stade Municipal ความจุ 15,000 คน 6. เมือง Strabourg สนาม Stade De La Meinau ความจุ 20,000 คน 7. เมือง Antibes สนาม Stade Du Fort Carre ความจุ 24,000 คน 8. เมือง Marseille สนาม Stade Velodrome ความจุ 39,000 คน 9. เมืองปารีส (Paris) สนาม Parc Des Princes ความจุ 45,000 คน 10. เมือง Colombes (ปรับปรุงและขยายเพ่ิมความจุ) สนาม Stade Olympique Yves-Du-Manoir ความจุ 64,000 คน 11

2.2 การจัดแบ่งกล่มุ และผลการแข่งขนั การจดั คราวน้ี ใชร้ ะบบน๊อคเอา้ ท์ เช่นเดียวกนั กบั ปี 1934 กล่าวคอื จะมี การจบั สลาก 8 คู่ ในรอบแรก ก) ผลการแข่งขันในรอบแรก • อิตาลี 2 นอร์เวย์ 1 (ต่อเวลา) • ฝร่ังเศส 3 เบลเยยี่ ม 1 • บราซิล 6 โปแลนด์ 5 (ตอ่ เวลา) • เช็คโกฯ 3 เนเธอร์แลนด์ 0 (ตอ่ เวลา) • ฮงั การี 6 อินโดนีเซีย 0 • สวสิ ฯ 1 เยอรมนั 1 (ต่อเวลา) • สวิสฯ 4 เยอรมนั 2 (แมชแขง่ คร้ังท่ี 2) • สวีเดน ชนะผา่ น ออสเตรีย • คิวบา เลน่ กบั โรมาเนีย 2 คร้ัง คร้ังแรก เสมอ 3: 3 คร้ังที่สอง ควิ บา 2 โรมาเนีย 1 ข) ผลการแข่งขันรอบสอง (ควอเตอร์ไฟนัล) • อิตาลี ชนะ ฝรั่งเศส 3:1 • บราซิล ชนะ เชค็ โกฯ 2:1 (หลงั จากต่อเวลาคร้ังแรก ผลเสมอกนั ตอ้ งแข่งคร้ังที่สอง) 12

• ฮงั การี ชนะ สวสิ ฯ 2:0 • สวเี ดน ชนะ คิวบา 8:0 ค) ผลการแข่งขันรอบสาม (รอบเซมไิ ฟนัล) 1. อิตาลี ชนะ บราซิล 2:1 2. ฮงั การี ชนะ สวีเดน 5:1 ง) ผลการแข่งขนั ชิงท่ี 3 บราซิล ชนะ สวเี ดน 4:2 จ) ผลการแข่งขนั ชิงชนะเลศิ อิตาลี ชนะ ฮังการี 4:2 3) เกล็ดย่อย ต่าง ๆ 3.1 สาหรับจานวนผเู้ ขา้ ชมในสนามมากข้นึ กว่าการแข่งขนั ในคร้ัง ที่แลว้ เลก็ นอ้ ย กลา่ วคือ เป็นจานวน 375,700 คน 3.2 ผทู้ าประตูสูงสุดคอื Leonidas Da Silva จากทีมบราซิล ทาได้ 7 ประตู 3.3 ลกู ฟุตบอลที่ใชใ้ นการแขง่ ขนั คอื The Allen 3.4 เกมท่ีมีการทาประตไู ดแ้ ก่ เกมระหวา่ งบราซิล กบั โปแลนด์ ซ่ึง บราซิลเป็นฝ่ายเอาชนะไป 6:5 (หลงั จากมีการต่อเวลา) 3.5 ทีมคิวบา ซ่ึงเป็นทีมนอ้ งใหม่ ทาเซอร์ไพร้ส โดยเอาชนะทีม โรมาเนียไปได้ หลงั จากตอ้ งพบกนั ถึง 2 คร้ังสองครา (คร้ังแรก ตอ่ เวลาแลว้ ยงั เสมอกนั ) 13

3.6 ทีมสวิสฯ เป็นอีกทีมหน่ึงที่สามารถลม้ ชา้ งทีมเยอรมนั (ท่ีมีผู้ เล่นออสเตรียรวมอยดู่ ว้ ย) โดยแข่งคร้ังแรกตอ่ เวลา แลว้ กย็ งั เสมอกนั 1:1 จากน้นั แข่งขนั กนั อกี 4 วนั ตอ่ มา ปรากฏวา่ ทีม สวิสฯ เอาชนะทีมเยอรมนั ไปได้ 4:2 14

การแข่งขันฟุตบอลโลก คร้ังที่ 4 ประเทศบราซิล ค.ศ. 1950 หรือ (พ.ศ. 2493) 1) บทนา การแข่งขนั ฟุตบอลโลกคร้ังที่ 4 กลบั ไปจดั ท่ีทวปี อเมริกาใตอ้ กี คร้ังหน่ึง แต่ห่างจากการแข่งขนั คร้ังที่ 3 ถึง 12 ปี เน่ืองจากเป็นช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 และมีการเปลี่ยนชื่อ ถว้ ยเวิลดค์ พั เป็นชื่อ Jules Rimet Cup เพือ่ ให้เกียรติ อดีตประธานฟี ฟ่ า ชาวฝรั่งเศส การแขง่ ขนั คราวน้ี ทีมอรุ ุกวยั เป็นแชมป์ โดยเอาชนะทีมบราซิลเจา้ ภาพ ไป 2 ประตู ต่อ 1 2) การจัดการแข่งขัน 2.1 ทีมทเ่ี ข้าร่วมการแข่งขนั จากทวปี ยุโรป (6 ทีม) องั กฤษ เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั เป็นคร้ังแรก นอกน้นั กไ็ ดแ้ กท่ ีมเสปน สวิสเซอร์แลนด์ อิตาลี สวีเดน และ ยโู กสลาเวีย ส่วนสก๊อตแลนด์ (ไดค้ ะแนนที่ 2 รองจากองั กฤษ) ผา่ นรอบคดั เลือก แต่ไมม่ า เพราะนึกวา่ ไมผ่ า่ นการคดั เลือก เยอรมนั แพส้ งคราม ถูกห้ามแข่ง จากทวปี อเมริกาใต้ (4 ทีม) บราซิลเจา้ ภาพ อรุ ุกวยั ปารากวยั โบลีเวีย และ ชิลี อาเจนติน่า ขอถอนตวั 15

จากอเมริกากลาง (2 ทีม) สหรัฐฯ และเมก็ ซิโก จากเอเชีย ตรุ กี กบั อนิ เดีย ขอถอนตวั ญ่ีป่ นุ แพส้ งคราม ถกู ห้ามแขง่ 2.2 การแบ่งกลุ่มและผลการแข่งขนั การแขง่ ขนั คร้ังน้ี ยกเลิกวธิ ีการจดั แบบน็อคเอา้ ทใ์ นการแขง่ ขนั ที่อติ าลี (1934) และฝรั่งเศส (1938) และหนั กลบั มาใชว้ ธิ ีการแบ่งกลมุ่ แบบท่ีเร่ิมใชใ้ น อุรุกวยั ในปี 1930 ผลการแข่งขัน กล่มุ 1 ผลการแข่งขัน กลุ่ม 2 1. บราซิล 4 เมก็ ซิโก 1 1. องั กฤษ 2 ชิลี 0 2. ยโู กฯ 3 สวิสฯ 0 2. สเปน 3 สหรัฐ 1 3. บราซิล 2 สวิสฯ 2 3. สเปน 2 ชิลี 0 4. เมก็ ซิโก 1 ยโู กฯ 4 4. สหรัฐฯ 1 องั กฤษ 0 5. บราซิล 2 ยโู กฯ 0 5. สเปน 1 องั กฤษ 0 6. เมก็ ซิโก 1 สวสิ ฯ 2 6. ชิลี 5 สหรัฐ 2 ผลคะแนน กลุ่ม 1 ผลคะแนน กลุ่ม 2 1. บราซิล 5 คะแนน 1. สเปน 6 คะแนน 2. ยโู กสลาเวีย 4 คะแนน 2. องั กฤษ 2 คะแนน 3. สวสิ ฯ 3 คะแนน 3. ชิลี 2 คะแนน 16

4. เมก็ ซิโก 0 คะแนน 4. สหรัฐฯ 2 คะแนน ผลการแข่งขนั กล่มุ 3 ผลการแข่งขัน กลุ่ม 4 1. สวีเดน 3 อิตาลี 2 1. อรุ ุกวยั 8 โบลิเวยี 0 2. สวเี ดน 2 ปารากวยั 2 3. อติ าลี 2 ปารากวยั 1 ผลคะแนน กลุ่ม 4 1. อรุ ุกวยั 2 คะแนน ผลคะแนน กลุ่ม 3 2. โบลิเวยี 0 คะแนน 1. สวีเดน 3 คะแนน 2. อติ าลี 2 คะแนน 3. ปารากวยั 1 คะแนน ผลการแข่งขนั กล่มุ รวมสุดท้าย 1. บราซิล 7 สวเี ดน 1 2. อรุ ุกวยั 2 สเปน 2 3. บราซิล 6 สเปน 1 4. อรุ ุกวยั 3 สวีเดน 2 5. สวีเดน 3 สเปน 1 รอบชิงชนะเลศิ อุรุกวัย 2 บราซิล 1 3) เกลด็ ย่อย ต่าง ๆ 17

3.1 สนามทีใ่ ช้ในการแข่งขัน 1. เมืองหลวง Rio De Janeiaro ไดแ้ ก่ สนาม Estadio Muncipal Do Maracana ความจุ 200,000 คน 2. เมือง Sao Paulo ไดแ้ ก่ สนาม Estadio Muncipal Do Pacembu ความจุ 55,000 คน 3. เมือง Recife ไดแ้ ก่ สนาม Estadio Do Recife Ilha Do Retino ความจุ 10,000 คน 4. เมือง Curitiba ไดแ้ ก่ สนาม Estadio Durival De Britto ความจุ 15,000 คน 5. เมือง Belo Horizonte ไดแ้ ก่ สนาม Estadio Independencia 6. เมือง Porto Alegre ไดแ้ ก่ สนาม Stade Ildo Meneaghetti ความจุ 12,000 คน 3.2 จานวนคนดูในสนามท้งั สิ้น 1,045,246 คน 3.3 สหรัฐอเมริกา ชนะ พลิกล๊อค องั กฤษ 1 ประตู ทาใหแ้ ฟนบอลช๊อค ทวั่ โลก ท้งั ๆ ที่ในเกมน้นั องั กฤษเป็นฝ่ายพบั สนาม บุกอยขู่ า้ งเดียว 18

ลกู ท่ีสหรัฐอเมริกา ทาประตูไดล้ ูกเดียว ว่ากนั ว่า เป็นลูกฟลคุ๊ ท่ีลูกบอล ว่ิงมาถกู หวั ผเู้ ล่นสหรัฐฯ ช่ือ Joe Gaetjens ซ่ึงเป็นชาวไฮติ มาเรียนหนงั สืออยู่ ท่ีนิวยอร์ค และทางานลา้ งชามในร้านอาหาร ส่วนสหรัฐฯ น้นั ก็มีผรู้ กั ษาประตมู ือกาว คอยเซฟลูกไวม้ ากมาย ชื่อ Borghi ส่วนกปั ตนั ชื่อ Ed Mc llveny เป็นชาวสกอ๊ ต คนท่ีสามชื่อ Joe Maca เป็นชาวเบลเยี่ยม ท้งั 3 คนน้นั ยงั ไมไ่ ดแ้ ปลงสัญชาติ ทาให้ FIFA ตอ้ งออกกฎ ใหมว่ ่า ผเู้ ลน่ ท่ีจะเล่นใหช้ าติใดชาติหน่ึง ตอ้ งเป็นผเู้ ล่นท่ีเกิดในชาติน้นั เท่าน้นั 3.4 ส่วนการแข่งขันในแมชชิงชนะเลศิ บราซิล แพ้อุรุกวยั ไป 1:2 ทาให้เกิดการช๊อคท้งั สนาม Maracana และทว่ั ประเทศบราซิล ท้งั ๆ ที่บราซิล ยิงนาไปก่อน ว่ากนั ว่า อรุ ุกวยั ใชร้ ะบบการป้องกนั แบบ การคุมตายตวั บา้ ง และทีม บราซิลเล่นเป็นแต่เกมบกุ แต่เกมรับเลน่ ไม่เป็นบา้ ง 3.5 ผู้เล่นของทีมอรุ ุกวัย ชื่อ Alcides Ghiggia เป็นคนแรกท่ีทาประตูได้ ทุกนดั ท่ีลงแข่งขนั (รวมนดั ชิงชนะเลิศ) แต่ทว่าผู้ทาประตสู ูงสุดในการแข่งขัน คร้ังนี้ ได้แก่ Ademir จาก บราซิล คือ ทาได้ 8 ประตู 19

การแข่งขนั ฟุตบอลโลก คร้ังที่ 5 ประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ ค.ศ. 1954 หรือ พ.ศ. 2497 1) บทนา สวสิ เซอร์แลนด์ รับหนา้ ท่ีเป็นทีมเจา้ ภาพของทวปี ยโุ รป ทา่ มกลาง บรรยากาศของสงครามเยน็ ที่โลกถูกแบง่ ออกเป็น 2 ข้วั คอื เสรีประชาธิปไตย แบบแคบปิ ตอลลิส และ คอมมิวนิสต์ ซ่ึงสถานท่ีแข่งขนั ก็น่าจะเหมาะสม เพราะวา่ สวิสเซอร์แลนด์ วางตวั เป็นกลางในสงครามโลกคร้ังที่ 2 ท่ีผา่ นมา การแขง่ ขนั คร้ังน้ี มีการยงิ ประตเู ฉล่ียแลว้ สูงกว่าการแขง่ ขนั 4 คร้ังที่ ผา่ นมา และมีการถ่ายทอดโทรทศั น์ เป็นคร้ังแรก ฮงั การีเป็นทีมเตง็ หน่ึง แต่ตอ้ งพ่ายแพใ้ ห้กบั ทีมเยอรมนั ตะวนั ตก 2:3 ในแมชชิงชนะเลิศ 2) การจัดการแข่งขนั 2.1 ทมี ทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขนั ดงั ไดก้ ล่าวแลว้ วา่ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ วางตวั เป็นกลาง ฝ่ายคอมมิวนิสต์หลงั ม่านเหลก็ ท้งั หลาย (ยกเวน้ สหภาพ โซเวยี ตรัสเซีย ที่ไม่เขา้ ร่วม) เช่น บุลกาเรีย โรมาเนีย มาร่วมคดั เลือกดว้ ย แตก่ ็ ไม่ผา่ นการคดั เลือก 20

ก) จากยโุ รป (12 ทีม) นอกจากสวิสเซอร์แลนด์ เจา้ ภาพ ก็มีทีมองั กฤษ เยอรมนั ตะวนั ตก เบลเย่ยี ม (น็อคสวีเดน) ออสเตรีย อติ าลี ฮงั การี ฝรั่งเศส เช็คโกสโลวาเกีย ยโู กสลาเวยี ตุรกี (น็อคสเปน) และ สก๊อตแลนด์ ข) จากอเมริกาใต้ (3 ทีม) มีบราซิล อรุ ุกวยั เม็กซิโก ค) จากเอเชีย มี เกาหลีใตท้ ีมเดียว 2.2 การแบ่งกลุ่ม และผลการแข่งขนั กลุ่ม 1 กล่มุ 2 1. บราซิล 5 เมก็ ซิโก 1 1. เยอรมนั (ตก) 4 ตุรกี 1 2. ยโู กฯ 1 ฝร่ังเศส 0 2. ฮงั การี 9 เกาหลีใต้ 0 3. บราซิล 1 ยโู กฯ 1 3. ฮงั การี 8 เยอรมนั (ตก) 3 4. ฝร่ังเศส 3 เมก็ ซิโก 2 4. ตุรกี 7 เกาหลีใต้ 0 ผลคะแนน กลุ่ม 1 ผลคะแนน กลุ่ม 2 1. บราซิล 3 คะแนน 1. ฮงั การี 4 คะแนน 2. ยโู กฯ 3 คะแนน 2. เยอรมนั (ตก) 2 คะแนน 3. ฝรั่งเศส 2 คะแนน 3. ตรุ กี 2 คะแนน 4. เมก็ ซิโก 0 คะแนน 4. เกาหลีใต้ 0 คะแนนก หมายเหตุ: เยอรมนั ตะวนั ตก ตอ้ งไปเพลยอ์ อ๊ ฟ กบั ตรุ กี เพื่อหา ตาแหน่งที่ 2 ของกลุ่ม 21

กล่มุ 3 กล่มุ 4 1. อุรุกวยั 2 เชค็ โกฯ 0 1. สวสิ ฯ 2 อิตาลี 1 2. ออสเตรีย 1 สก๊อตแลนด์ 0 2. องั กฤษ 4 เบลเยยี่ ม 4 (ต่อเวลา) 3. อรุ ุกวยั 7 สกอ๊ ตแลนด์ 0 3. อิตาลี 4 เบลเยีย่ ม 1 4. ออสเตรีย 5 เชค็ โกฯ 0 4. องั กฤษ 2 สวิสฯ 0 ผลคะแนน กลุ่ม 3 ผลคะแนน กล่มุ 4 1. อุรุกวยั 4 คะแนน 1. องั กฤษ 3 คะแนน 2. ออสเตรีย 4 คะแนน 2. สวสิ ฯ 2 คะแนน 3. เชค็ โกฯ 0 คะแนน 3. อิตาลี 2 คะแนน 4. สกอ๊ ตแลนด์ 0 คะแนน 4. เบลเย่ียม 1 คะแนน หมายเหตุ: ในกล่มุ 4 มีเพลยอ์ อ๊ ฟ เพอ่ื หาที่ 2 ระหว่าง สวิสเซอร์แลนด์ กบั อติ าลี ผลการเพลย์อ๊อฟ 1. เยอรมนั ตะวนั ตก ชนะ ตรุ กี 7:2 2. สวิสเซอร์แลนด์ ชนะ อิตาลี 4:1 การแข่งขนั รอบควอเตอร์ไฟนัล 1. เยอรมนั ตะวนั ตก ชนะ ยโู กฯ 2:0 2. ออสเตรีย ชนะ สวสิ ฯ 7:5 22

3. ฮงั การี ชนะ บราซิล 4:2 4. อรุ ุกวยั ชนะ องั กฤษ 4:2 การแข่งขันรอบเซมไิ ฟนลั 1. เยอรมนั ตะวนั ตก ชนะ ออสเตรีย 6:1 2. ฮงั การี ชนะ อุรุกวยั 4:2 การแข่งขนั ชิงท่ี 3 และชิงชนะเลิศ 1. ออสเตรีย ชนะ อุรุกวยั 3:1 ไดท้ ี่ 3 2. เยอรมนั ตะวนั ตก ชนะ ฮงั การี 3:2 ไดแ้ ชมป์ โลก (อยา่ งพลิก ความคาดหมาย เพราะรอบแรกโดนฮงั การี เฆี่ยนไป 8:3) 3) เกลด็ ย่อย ต่าง ๆ 3.1 จานวนคนดู 768,607 คน 3.2 สนามทใ่ี ช้แข่งขัน 1. เมือง Basle สนามสร้างใหม่ชื่อ St Jakob-Park ความจุ 56,000 คน 2. เมือง Lausanne สนามสร้างใหม่ช่ือ Stade Olympique De La Pontaise ความจุ 55,000 คน 3. เมือง Lugano สนามสร้างใหม่ช่ือ Stadio Di Cornaredo ความจุ 35,000 คน 23

4. เมือง Zurich ชื่อสนาม Hardturm Stadium ความจุ 35,000 คน (ขยายปรับปรุง) 5. เมือง Berne ชื่อสนาม Stadion Wankdorf ความจุ 68,000 คน (ขยายปรับปรุง) 6. เมือง Geneva ชื่อสนาม Stade Des Charmilles ความจุ 40,000 คน (ขยายปรับปรุง) 3.3 การแข่งขนั คราวนีม้ กี ารทาประตสู ูงสุดเป็ นประวตั ิการณ์ (9:0, 7:0, 8:3 ฯลฯ) ทาให้การยิงประตเู ฉล่ียท้งั ทวั นาเมน้ ทอ์ ยทู่ ่ี 5.4 ประตู 3.4 ผู้ทาประตูสูงสุดไดแ้ ก่ Sandor Kocsis ของทีมฮงั การี ทาได้ 11 ประตู 3.5 เกาหลีใต้ เป็ นตวั แทนของเอเชีย (โดยเอาชนะญ่ีป่ นุ ) ทีมเดียว แตฝ่ ีมือก็ยงั ห่างช้นั 24

การแข่งขันฟตุ บอลโลกคร้ังที่ 6 ประเทศสวเี ดน ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) 1) บทนา ประเทศสวีเดน หน่ึงในกลุ่มประเทศ “แสกนดิเนเวยี ” อนั ประกอบไป ดว้ ย สวเี ดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ค, สวีเดน รับหนา้ ท่ีเป็นเจา้ ภาพตอ่ จาก สวิสเซอร์แลนด์ เท่ากบั เป็นการ “เบิ้ล” เจา้ ภาพของทวีปยโุ รป สวีเดน เป็นประเทศผนู้ าในดา้ นการนานโยบาย “สังคมนิยม” เตม็ รูปแบบ ที่รัฐไม่ไดเ้ ป็นเจา้ ของทรัพยากรตา่ ง ๆ ของประเทศ ซ่ึงแตกต่างไปจาก ค่ายคอมมิวนิสต์ สวีเดน ประเทศเจา้ ภาพไดเ้ ขา้ ไปถึงรอบชิงชนะเลิศ โดยพบกบั ทีม บราซิล แต่ตอ้ งพ่ายแพใ้ หก้ บั ทีมบราซิลไป 2: 5 ประตู 2) การจดั การแข่งขนั 2.1 จานวนทีมที่เข้าร่วมการแข่งขนั มีท้งั หมด 16 ทีม โดยแบง่ ออกเป็น 4 สาย ๆ ละ 4 ทีม 2.2 รายช่ือทมี 25

จากยโุ รป (12 ทีม) ประกอบดว้ ยทีมสวเี ดนเจา้ ภาพ องั กฤษ ฝรั่งเศส ไอร์แลนดเ์ หนือ ออสเตรีย สกอ๊ ตแลนด์ เยอรมนั ตะวนั ตก (แชมป์ เกา่ ) รัสเซีย ฮงั การี เช็คโกสโลวาเกีย ยโู กสลาเวยี และ เวลส์ (แข่งเป็นคร้ังแรก) จากอเมริกาใต้ มี บราซิล ปารากวยั และ อาเจนติน่า จากอเมริกากลาง เมก็ ซิโก จากเอเชีย ไม่ผา่ นการคดั เลือก และไมม่ ีโควตา 2.3 สนามทใ่ี ช้ในการแข่งขนั 1. เมือง Sandviken สนามช่ือ Jernvallen ความจุ 20,000 คน 2. เมือง Vasteras สนามชื่อ Arosvallen ความจุ 20,000 คน 3. เมือง Orebro สนามชื่อ Eyravallen ความจุ 14,500 คน 4. เมือง Eskistuna สนามช่ือ Tunavallen ความจุ 22,000 คน 5. เมือง Uddevalla สนามชื่อ Rimnersvallen ความจุ 20,000 คน 6. เมือง Goteborg สนามชื่อ Ullevi ความจุ 51,500 คน 7. เมือง Boras สนามช่ือ Ryavallen ความจุ 21,300 คน 8. เมือง Norrkoping สนามช่ือ Idrottsparken ความจุ 30,100 คน 9. เมือง Stockholm -Solna สนามชื่อ Rasunda ความจุ 52,400 คน 10. เมือง Halmstad สนามช่ือ Orfansvall ความจุ 22,000 คน 11. เมือง Helsingborg สนามชื่อ Olympia ความจุ 30,000 คน 26

12. เมือง Malmo สนามชื่อ Malmo Stadion ความจุ 34,000 คน 2.4 การแบ่งกล่มุ และผลการแข่งขัน กล่มุ 1 กล่มุ 2 1. เยอรมนั (ตก) 3 อาเจนติน่า 1 1. ฝรั่งเศส 7 ปารากวยั 3 2. ไอร์แลนดเ์ หนือ 1 เชค็ โกฯ 0 2. ยโู กฯ 1 สก๊อตฯ 1 3. อาเจนติน่า 3 ไอร์แลนดเ์ หนือ 1 3. ยโู กฯ 3 ฝร่ังเศส 2 4. เยอรมนั (ตก) 2 เช็คโกฯ 2 4. ปารากวยั 3 สก๊อตฯ 2 5. เยอรมนั (ตก) 2 ไอร์แลนดเ์ หนือ 2 5. ฝร่ังเศส 2 สกอ๊ ตฯ 1 6. เช็คโกฯ 6 อาเจนติน่า 1 6. ปารากวยั 3 ยโู กฯ 3 ผลคะแนน กล่มุ 1 ผลคะแนน กลุ่ม 2 1. เยอรมนั นี 4 คะแนน 1. ฝรั่งเศส 4 คะแนน 2. ยโู กฯ 4 คะแนน 2. ไอร์แลนดเ์ หนือ 3 คะแนน 3. ปารากวยั 3 คะแนน 4. สกอ๊ ตแลนด์ 1 คะแนน 3. เชค็ โกฯ 3 คะแนน กล่มุ 4 4. อาเจนติน่า 2 คะแนน 1. บราซิล 3 ออสเตรีย 0 2. รัสเซีย 2 องั กฤษ 2 กล่มุ 3 3. บราซิล 0 องั กฤษ 0 4. รัสเซีย 2 ออสเตรีย 0 1. สวเี ดน 3 เมก็ ซิโก 0 2. ฮงั การี 1 เวลส์ 1 3. เมก็ ซิโก 1 เวลส์ 1 4. สวเี ดน 2 ฮงั การี 1 27

5. สวเี ดน 0 เวลส์ 0 5. องั กฤษ 2 ออสเตรีย 2 6. ฮงั การี 4 เมก็ ซิโก 0 6. บราซิล 2 รัสเซีย 0 ผลคะแนน กล่มุ 3 ผลคะแนน กลุ่ม 4 1. สวเี ดน 5 คะแนน 1. บราซิล 5 คะแนน 2. เวลส์ 3 คะแนน 2. รัสเซีย 3 คะแนน 3. ฮงั การี 3 คะแนน 3. องั กฤษ 3 คะแนน 4. เมก็ ซิโก 1 คะแนน 4. ออสเตรีย 1 คะแนน มเี พลย์อ๊อฟ 3 คู่ เน่ืองจากคะแนนท่ีสองเท่ากัน คู่แรก (จากกรุ๊ป 1) ไอร์แลนดเ์ หนือ ชนะ เชค็ โกฯ 2:1 คู่สอง (จากกรุ๊ป 3) เวลส์ ชนะ ฮงั การี 2:1 คสู่ าม (จากกรุ๊ป 4) รัสเซีย ชนะ องั กฤษ 1:0 การแข่งขนั รอบ ควอเตอร์ไฟนัล มี 4 คู่ คือ 1. บราซิล ชนะ เวลส์ 1:0 (ท่ี 1 กรุ๊ป 4 พบท่ีสองกลุ่ม 3) 2. สวีเดน ชนะ รัสเซีย 2:0 (ท่ี 1 กลุ่ม 3 พบท่ีสองกลุ่ม 4) 3. ฝรั่งเศส ชนะ ไอร์แลนดเ์ หนือ 4:0 (ท่ี 1 กลมุ่ 2 พบที่ 2 กลมุ่ 1) 4. เยอรมนั นี ชนะ ยโู กฯ 1:0 (ที่ 1 กลมุ่ 1 พบท่ี 2 กลมุ่ 2) รอบ เซมไิ ฟนัล 1. บราซิล ชนะ ฝรังเศส 5:2 2. สวีเดน ชนะ เยอรมนั 3:1 28

รอบชิงชนะเลิศ บราซิลชนะ สวีเดน 5:2 (ผทู้ าประตไู ดแ้ ก่ วาวา นาทีที่ 9 และ 32 ส่วนเปเล่ นาทีท่ี 55 และ 90 ซากาโล นาทีที่ 68) 3) เกล็ดย่อย ต่าง ๆ 3.1 ในวนั ชิงชนะเลศิ สวีเดน ไดเ้ ปรียบหลายอยา่ ง สภาพสนามหนืด คอ่ นขา้ งเป็นไปกบั สไตลก์ ารเล่นของเจา้ ภาพ กองเชียร์ 50,000 คนเศษ เป็น แรงผลกั ดนั แถมยงั จบั สลากไดเ้ ล่นในชุดแข่งขนั เหลืองน้าเงิน (สีตรงกบั ของ บราซิล) ของตวั เองเสียอีก ข่มขวญั ตดั ไมข้ ม่ นามโดยยิงนาบราซิลไปก่อนแค่ 4 นาทีแรก แตว่ าวา กม็ าโหม่งทาประตูตีเสมอสวีเดนในนาทีท่ี 9 และนาทีที่ 32 ก็ยงิ นาไป 2:1 ดว้ ยเทา้ ขวาในคร่ึงแรก คร่ึงหลงั บราซิลโชวค์ วามเหนือช้นั โดยการใชย้ ทุ ธวธิ ีจบั กองหนา้ โดยเฉพาะปี กท้งั สองขา้ งของสวเี ดนอยหู่ มดั โดยใชว้ ิธีการเลน่ แบบ 4:2:4 เป็ นคร้ ังแรกของโลก ส่วนเปเล่ ก็ไดแ้ สดงความยงิ่ ใหญ่ โดยการพกั ลกู ดว้ ยอก และกระดกขา้ ม หวั ของกองหลงั สวีเดน และวิง่ ออ้ มไปยิงประตูโดยลกู ยงั ไมต่ กพ้นื ในนาทีท่ี 55 และโหมง่ เขา้ ประตดู ว้ ย ในนาทีที่ 90 บราซิลไดก้ ลายเป็นแชมป์ พร้อมกบั การแจง้ เกิดของเปเล่ ช่ือจริง Edson Arantes do Nacimento ที่ทาสถิติเป็นนกั ฟุตบอลท่ีอายนุ อ้ ยที่สุดคนแรกใน 29

การแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลก และเป็นคนท่ีอายนุ อ้ ยที่สุดคนแรกท่ีทาประตูใน ฟุตบอลโลกได้ 3.2 ผ้ทู าประตสู ูงสุด ไดแ้ ก่ Just Fontaine จากทีมฝรั่งเศส (เกิดใน มอร๊อคโค) ทาได้ 13 ประตใู นการแข่งขนั กบั ทีมต่าง ๆ ดงั น้ี คือ * ปารากวยั 3 ลูก * ยโู กฯ 2 ลูก * สก๊อตแลนด์ 1 ลกู * ไอร์แลนดเ์ หนือ 2 ลูก * บราซิล 1 ลกู * เยอรมนั (ตก) 4 ลูก 3.3 ดาราคนทีส่ องทแี่ จ้งเกดิ คือ Manoel Francisco dos Santos หรือ พ่อมดเจา้ นกนอ้ ย ท่ีมีช่ือเล่นว่า การินช่า ของทีมบราซิล การินช่า คือสุดยอดของการเลน่ ในตาแหน่งปี กขวา (ถา้ เป็นสมยั น้ีจะ เรียกว่า ริมเสน้ ทางขวา เรียกให้มนั ยาวไปอกี ทาไมกไ็ ม่ทราบ) จดุ เดน่ ของเขา คอื การเล้ียงลกู หลอก และหลบกองหลงั คูต่ ่อสู้ดว้ ยความรวดเร็ว สวยงาม เหมือนการเตน้ ราจงั หวะแทงโก้ (สาหรับท่านที่ไม่สนั ทดั การเตน้ รา การเต้น จงั หวะน้ี จะมีชา้ มีเร็ว ข้นั ตอนท่ีเรียกว่า สโลว์ แลว้ ก็ ควกิ ควิก เปรียบเสมือน 30

การเล้ียงลกู ฟตุ บอลจากจงั หวะชา้ ๆ และเปลี่ยนจงั หวะเป็นเร็ว ๆ ทาให้คูต่ ่อสู้ ตามไมท่ นั ) ส่ิงท่ีน่าพิศวงสาหรับการินช่า กค็ อื กล่าวกนั ว่า ประวตั ิตอนเดก็ ๆ ของ เขามีปัญหาเร่ืองขาหกั และทาท่าจะพกิ ารจากโรคโปลิโอ ทาให้ขาสองขา้ งไม่ เท่ากนั แต่เขาก็ไม่ยอมแพ้ และสามารถพฒั นาความสามารถในการเล้ียงหลบ ค่ตู ่อสูไ้ ดอ้ ยา่ งสวยงาม นบั ไดว้ า่ เป็นคนที่สองที่เลน่ ปี กขวา นอกไปจาก เซอร์แสตนเลอร์ แมทธิวส์ ขององั กฤษ 3.4 ผู้นาค่ายคอมมวิ นสิ ต์ใหญ่ในยโุ รป คอื รัสเซีย ส่งทีมเขา้ แข่งขนั เป็น คร้ังแรก ทีมรัสเซียไดแ้ ชมป์ จากการแข่งขนั โอลิมปิ คก่อนหนา้ น้นั และใน ประเทศที่ยงั ไมม่ ีการแขง่ ขนั ฟุตบอลอาชีพ ผเู้ ล่นของรัสเซียทุกคน จึงนบั ไดว้ ่า เป็นนกั ฟุตบอลสมคั รเล่นท้งั น้นั 3.5 สถติ ิคนดูเพ่มิ ขนึ้ จานวนเกือบลา้ นคน (819,810 คน) และเป็นการ แขง่ ขนั ที่ใชส้ นามแข่งขนั มากถึง 12 แห่ง นี่กถ็ ือเป็นสถิติใหม่ อกี เช่นกนั อยา่ งไรกต็ าม สนามท่ีใชต้ ามหวั เมืองต่าง ๆ ทวั่ สวีเดน เป็นสนามขนาด เลก็ ท่ีบรรจุคนดูไม่เกิน 20,000 คน ยกเวน้ สนาม Rasunda ในเมืองหลวง สต๊อคโฮม ซ่ึงมีความจุเต็มท่ี 52,400 คน จากรายงานบอกว่า ถา้ ทีมสวเี ดนไม่ลงแข่ง มีคนดูสนามละ 2-3 พนั คน กถ็ ือวา่ มากแลว้ 31

การแข่งขนั ฟุตบอลโลกคร้ังท่ี 7 ประเทศชิลี ค.ศ. 1962 หรือ (พ.ศ. 2505) 1) บทนา การแข่งขนั ฟตุ บอลโลกกลบั ไปแข่งกนั ท่ีทวปี อเมริกาใต้ อกี คร้ังหน่ึง ในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) ประเทศทไ่ี ดเ้ ป็นเจา้ ภาพคือ ประเทศชิลี แทนอาเจนติน่าทม่ี ีปัญหาภายในประเทศ ก่อนหนา้ การแข่งขนั 2 ปี กล่าวคอื ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ประเทศชิลี ไดร้ บั ภยั พิบตั ิอยา่ งร้ายแรงจากแผ่นดินไหว (สูงถงึ 9.5 ริกเตอร์) คนตายไป 3,000 คน เศษ และประชาชน 2 ลา้ นคนไร้ท่ีอยอู่ าศยั สนามฟตุ บอลทีจ่ ะใช้ ถกู แผน่ ดินไหว สร้างความ เสียหายไป 4 สนาม อยา่ งไรก็ตาม ประเทศชิลี ซ่ึงคอ่ นขา้ งยากจนเชิงเศรษฐกิจก็สามารถฝ่าฟันอปุ สรรคไป จนสามารถจดั การแขง่ ขนั ไดส้ าเร็จ ขอ้ สังเกตถงึ ความเหมือนและความแตกตา่ งในการจดั การแข่งขนั คร้งั ท่ี 7 กบั คร้ังท่ี 6 มี ดงั น้ี คือ 1.1 การแข่งขนั ในระดบั กลุม่ หรือกรุ๊ปยงั มี 4 กลมุ่ เหมือนเดิม กลุม่ ละ 4 ทมี 1.2 เอาทีมทีไ่ ดท้ ี่ 1 และที่ 2 ในแตล่ ะกลุ่มเขา้ ไปไขวใ้ นรอบควอเตอร์ไฟนลั เหมือนเดิม แต่การจดั เรียงลาดบั คะแนน (Ranking) ใชป้ ระตูเฉล่ยี (goal average) คือ เอาจานวนประตูได้ หาร ดว้ ยประตเู สีย ในกรณีทม่ี ีทีมทไี่ ดค้ ะแนนเท่ากนั ในอนั ดบั 1 หรือ 2 (วธิ ีน้ีถกู นาไปใชใ้ นปี ค.ศ. 1966 และ 1970 หลงั จากน้นั จึงหนั มาใชว้ ธิ ีนบั ประตูได้ ลบดว้ ยประตเู สีย (goal difference) แทน 1.3 มีปัญหาเรื่องผเู้ ลน่ ขา้ มชาติ กลา่ วคือ มผี เู้ ลน่ ท่มี ีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น ดิ สเตฟาโน (Alfredo Di Stefano) ชาวอาเจนตินา ซานตามาเรีย (Jos’e Santamaria) จากอุรุกวยั และอดีต 32

หวั หนา้ ทีมฮงั การีผโู้ ดดเดน่ “ปูสกา้ ด” Ferenc Puska’s) ซ่ึงเลน่ อยใู่ นสโมสรเรียลแมดริด (Real Madrid) ของสเปน ต่างลงเล่นในนามทมี ชาตสิ เปน ในขณะเดียวกนั มีผเู้ ล่นช่ือ Humberto Maschio ชาวอาเจนตินา ซ่ึงเล่นในทมี แอ๊ตแลนตา้ และ Omar Sivori ซ่ึงเลน่ ในทมี จแู วนตสั ลง เลน่ ในนามทมี ชาตอิ ิตาลี นอกจากน้ี ทีมชาตอิ ติ าลี ยงั มีผเู้ ลน่ ของบราซิลอกี 2 คนคือ Jose’ Altafini (เอซีมลิ าน) และ Angelo Sormani (แมนโตวา) ลงเล่นรวมอยดู่ ว้ ย เพือ่ ป้องกนั ปัญหาที่จะตามมา FIFA เลยประกาศเป็นกฎว่า ต่อไปน้ี จะยอมใหเ้ ฉพาะผู้ เล่นท่ีเกิดในประเทศน้นั ๆ เลน่ ในนามประเทศน้นั ๆ เทา่ น้นั 2) การจัดการแข่งขัน 2.1 จานวนทมี ท่เี ข้าร่วมการแข่งขัน ก. จากยุโรป มบี ลุ กาเรียน องั กฤษ สเปน เยอรมนั ตะวนั ตก ฮงั การี สวสิ เซอร์แลนด์ รัสเซีย ยโู กสลาเวีย เช็คโกสโลวาเกีย และอติ าลี ข. จากอเมริกาใต้ มชี ิลี เจา้ ภาพ บราซิลแชมป์ เกา่ อาเจนตนิ ่า อุรุกวยั และ โคลมั เบยี ค. จากอเมริกากลาง เม็กซิโก ง. จากเอเชีย ไม่มีเพราะคดั เลือกไม่ผา่ น 2.2 สนามท่ใี ช้ในการแข่งขนั แตเ่ ดิมคาดว่าจะใชส้ นามถึง 8 สนาม เนื่องจากมกี ารเกิด แผ่นดินไหวข้นึ ทาให้สนามแข่งขนั เสียหายไปถงึ 4 สนาม เลยเหลอื สนามทจ่ี ะแขง่ ขนั 4 สนาม สนามที่จุคนมากท่ีสุด คอื สนามเมอื งหลวงของชิลี (เมือง Santiago De Chile) ช่ือสนาม Estadio Nacional ความจุ 75,000 คน 33

การแข่งขันฟตุ บอลโลกคร้ังที่ 8 ประเทศองั กฤษ ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) 1) บทนา นบั เป็นคร้งั แรกทีป่ ระเทศองั กฤษทีน่ บั ไดว้ ่าเป็นประเทศที่กอ่ กาเนิดการเล่นฟตุ บอล อยา่ งเป็นระบบข้ึนในโลก ไดม้ โี อกาสจดั การแข่งขนั ฟุตบอลโลกข้นึ เป็นคร้งั แรกดูราวกบั ว่า “ฟุตบอลไดก้ ลบั ไปบา้ นเกา่ ” นอกจากน้ี ตลอดในช่วงปี ค.ศ. 1950 ถึงปี ค.ศ. 1962 ซ่ึงเป็นเวลา ถึง 12 ปี ท่ีทมี องั กฤษไม่เคยทะลุเขา้ รอบควอเตอร์ไฟนัล (รอบ 8 ทีมสุดทา้ ย) ไปไดเ้ ลย องั กฤษน่าจะดงั ทางฟุตบอล แต่กลบั เป็น “เดอะบีตเต้ิล” (The Beatles) ทม่ี ีชื่อเสียงโด่ง ดงั กวา่ ไปทว่ั โลก (ในเวลาน้นั ) อยา่ งไรก็ตาม ทีมท๊อตแนม ฮอทเสปอร์ (Tottenham Hot Spurs) สามารถไดเ้ ป็นแชมป์ ยโุ รปของถว้ ย Club Winners’ Cup (ถว้ ยชิงชนะเลศิ ระหว่างแชมป์ สโมสรของแตล่ ะประเทศ ในยโุ รป) ในปี ค.ศ. 1963 ผจู้ ดั การทมี องั กฤษ คอื Alf Ramsey ใหส้ มั ภาษณด์ ว้ ยความมนั่ ใจว่า “องั กฤษ จะเป็น แชมป์ แน่คราวน้ี” 2) การจดั การแข่งขัน 2.1 ทีมท่เี ข้าร่วมการแข่งขัน รูปแบบยงั คงเหมอื นเดิม คือ แบง่ ออกเป็น 4 สาย ๆ ละ 6 ทีม ส่วนโควตา้ ในการแข่งขนั น้นั FIFA จดั ให้ดงั น้ี ก. จากยโุ รป องั กฤษเจา้ ภาพ บุลกาเรีย สเปน ฝรั่งเศส เยอรมนั ตะวนั ตก ฮงั การี อิตาลี สวสิ เซอร์แลนด์ รสั เซีย และ ปอร์ตเุ กส (เขา้ ร่วมเป็นคร้งั แรก) 34

ข. จากอเมริกาใต้ และกลาง บราซิล อาเจนตนิ ่า ชิลี อรุ ุกวยั และเม็กซิโก ค. จากอฟั ริกาใต้ และเอเชีย เนื่องจาก ฟีฟ่ าจดั โควตาให้ทมี จากเอเชีย อฟั ริกา และ โอเช่ียนเนีย อยา่ งละ 1 ทีม เทา่ น้นั พวกทมี จากอฟั ริกาเลยสไตร์ค ไมส่ ่งแข่ง ส่วนทางเอเชียน้ัน เกาหลเี หนือ เอาชนะออสเตรเลยี ไดเ้ ขา้ ไปร่วมเลน่ เป็นทีมแรกของเอเซีย (ไม่นบั อินโดนีเซีย) 2.2 สนามท่ใี ช้ในการแข่งขัน 1. เมือง Sunderland ใชส้ นาม Roker Park ความจุ 63,000 คน 2. เมือง Middlesbrough ใชส้ นาม Ayresome Park ความจุ 40,000 คน 3 เมือง Manchester ใชส้ นาม Old Trafford ความจุ 64,000 คน 4. เมือง ลิเวอร์พลู (Liverpool) ใชส้ นาม Goodison Park ความจุ 65,000 คน 5. เมืองเชฟฟิ ลด์ (Sheffield) ใชส้ นาม Hills-borough ความจุ 65,000 คน 6. เมือง เบอร์มงิ แฮม (Birmingham) ใชส้ นาม Villa Park ความจุ 50,000 คน 7. เมือง ลอนดอน (London) ใชส้ นาม เวมบลีย่ ์ (Wembley) ความจุ 97,000 คน และสนาม White City ความจุ 60,000 คน 2.3 ผลการแข่งขัน รอบ ควอเตอร์ ไฟนัล 1. องั กฤษ ชนะ อาร์เจนติน่า 1: 0 2. ปอร์ตุเกศ ชนะ เกาหลีเหนือ 5:3 3. เยอรมนั ตะวนั ตก ชนะ อรุ ุกวยั 4:0 4. รัสเซีย ชนะ ฮงั การี 2:1 35

รอบรองชนะเลิศ 1. องั กฤษ ชนะ ปอร์ตุเกศ 2:1 2. เยอรมนั (ตก) ชนะ รัสเซีย 2:1 ชิงอนั ดับ 3 2:1 ปอร์ตุเกศ ชนะ รสั เซีย 4:2 ชิงชนะเลศิ ฯ (สนามเวมบลยี ์ ในลอนดอน) องั กฤษ ชนะ เยอรมันตะวนั ตก 36

การแข่งขันฟุตบอลโลกคร้ังท่ี 8 ประเทศองั กฤษ (ต่อ) 3) เกล็ดย่อย ๆ 1. ผ้ชู มในสนามท้งั สิ้น 1,563,135 คน 2. ผ้ทู าประตูสูงสุด ไดแ้ ก่ “ยเู ซบโิ อ (Eusebio) จากทมี ปอร์ตุเกศ ทาได้ 9 ประตู 3. จานวนแมชทผี่ ู้เข้าชมสูงสุด ไดแ้ กเ่ กมระหว่าง องั กฤษ กบั ฝรั่งเศสทสี่ นามเวมบลย่ี ์ 98,270 คน (จากความจุ 97,000 คน) มากกวา่ วนั ชิงชนะเลิศ ระหวา่ ง องั กฤษ กบั เยอรมนั (96,924 คน) เสียอีก 4. ทีมเกาหลเี หนือ จากเอเชีย โชว์ ความเกง่ กาจทเ่ี ข่ยี ทีมอิตาลตี กรอบสอง โดยเอาชนะ อติ าลีได้ 1:0 และเขา้ ไปตดั เชือกกบั ปอร์ตุเกศ และยงิ นา ปอร์ตเุ กศไปกอ่ น 3 ประตู ในการ แข่งขนั ทีเ่ มืองลเิ วอร์พูล จนกระทงั่ ยเู ซบโิ อ เสือดา แห่งโมซมั บคิ (เมืองข้ึนของปอร์ตุเกศ และ เล่นใหท้ ีมเบนนิฟิกา) สามารถทาประตใู หป้ อร์ตเุ กศ 4 ประตู โดยเป็นลกู โทษ 2 ประตู และ เพือ่ นร่วมทีม มายิงตบทา้ ยใหป้ อร์ตุเกศ ชนะไป 5 : 3 วา่ กนั วา่ ตอนทเี่ กาหลเี หนือยงิ นาไป 3 ประตู โค๊ชน่าจะใชย้ ทุ ธวิธีการเลน่ อดุ ประตู แทนที่จะเลน่ บกุ ตามปกติ อยา่ งไรก็ตาม กต็ อ้ งนบั เป็นสถิตทิ ่ีว่า เกาหลีเหนือเป็นทมี แรกจากเอเซียทีมแรกอยา่ ง แทจ้ ริง ทไี่ ปเล่นในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลก และไดเ้ ขา้ รอบควอเตอร์ไฟนัล เป็นทมี แรกดว้ ย 5. ในรอบ ควอร์เตอร์ไฟนลั มกี ารพบกนั ของคู่ทเ่ี รียกวา่ เป็นการชิงความเป็นยอดทีม ของยโุ รปตะวนั ออกอยา่ งแทจ้ ริง นน่ั ก็คือคู่ระหว่างรสั เซีย กบั ฮงั การี ท่ีเมืองซนั เดอร์แลนด์ โดย ท่ีรัสเซียใชร้ ะบบเพรส (หรือการคุมตวั ผเู้ ลน่ หลกั ของฮงั การี) ทาใหฮ้ งั การี ไมส่ ามารถทาอะไร ได้ มากกว่ายิงได้ 1 ประตู แต่รสั เซียทาได้ 2 ประตู ทาใหช้ นะฮงั การีไปเขา้ รอบเซมิฯ 37

เลฟ ยาชิน ยอดประตูของรสั เซีย (อายุ 36 ปี เลน่ ฟตุ บอลโลก 3 คร้งั ) ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็ นประตูที่ดีที่สุดของการแข่งขนั 6. เปเล่ นกั เตะชาวบราซิลผยู้ ิ่งใหญ่ ถกู รุมกนิ โตะ๊ ต้งั แต่แมชแรกท่ีแข่งกบั บลุ กาเรีย ทา ใหเ้ ปเลเ่ จบ็ ตอ้ งพกั แต่บราซิลกเ็ อาชนะไปได้ แต่เปเล่ อดลงเลน่ กบั ฮงั การี ซ่ึงทาให้บราซิลแพ้ ไป พอหายเจบ็ ลงเลน่ กบั ปอร์ตเุ กศ ก็โดนรุมจนเจบ็ อกี เลน่ ไมไ่ ดอ้ กี ทาใหบ้ ราซิลแพ้ และตก รอบแรก ในการเลน่ คร้ังน้ี เปเล่ กล่าวว่า จะไมข่ อไปเลน่ ฟุตบอลโลกที่เมก็ ซิโก ในปี ค.ศ. 1970) 7. เป็ นทีน่ ่าสังเกตว่า (จะโดยบงั เอญิ หรือไมก่ ็ตาม) ในรอบควอเตอร์ไฟนลั ผตู้ ดั สินคู่ ระหว่างองั กฤษ กบั อาเจนติน่า เป็นชาวเยอรมนั และผตู้ ดั สินค่รู ะหวา่ ง เยอรมนั กบั อรุ ุกวยั เป็น ชาวองั กฤษ ในคู่แรก หวั หนา้ ทมี อาร์เจนติน่า ถูกกรรมการเยอรมนั ไล่ออก เพราะไปดึงแขนผู้ ตดั สิน และในขณะเดียวกนั ในคทู่ สี่ อง ผตู้ ดั สินองั กฤษไลผ่ เู้ ลน่ อุรุกวยั ออกไป 2 คน เลยทาให้ บรรดาพรรคพวกทางทวีปอเมริกาใต้ ต้งั ขอ้ สงั เกตไปต่าง ๆ นานา วา่ ชะรอยทางยโุ รปจะรวมหวั กนั กีดกนั ทีมจากอเมริกาใต้ ไมใ่ หผ้ ่านไปเลน่ ในรอบ ตอ่ ๆ ไป 8. ฟตุ บอลโลกคร้ังนี้ นอกจากจะไดเ้ ห็นฝีเทา้ ของยเู ซบิโอ เสือดาแห่งโมซมั บคิ ทวปี อฟั ริกา (แต่ปอร์ตเุ กศ รบั มาแปลงสัญชาติ) ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ยงั มีการแจง้ เกิดของนกั ฟุตบอล หนุ่มชื่อ Franz Beckenbauer (อายแุ ค่ 20 เศษ) จากทีม บาเยินมิวนิค ของเยอรมนั ผซู้ ่ึงต่อมา ไดก้ ลายเป็นหวั หนา้ ทมี ชาติเยอรมนั และสร้างตานานอกี คนหน่ึง 9. คงจะจากันได้ว่า ในแม็ชชิงชนะเลิศระหว่าง อังกฤษ กบั เยอรมนั มเี หตกุ ารณ์ ซ่ึง อาจจะเป็นบอ่ เกิดท่ีฟีฟ่ าพิจารณานาการใชผ้ ตู้ ดั สินท่ีเสน้ ประตูท้งั 2 ขา้ ง (ซ่ึงเกิดข้นึ แลว้ ) และ การก่อเกิดของระบบ VAR (Video Assisted Referee) ในปัจจุบนั กล่าวคือ มลี กู ที่ Geoff Hurst จากทมี องั กฤษ ยิงทีมเยอรมนั ในประตทู ่ี 2 และเป็นลูกท่ี 3 ของเขา ทีเ่ ดง้ คานประตลู งไปท่พี ้ืน แตล่ กู เดง้ ออกนอกประตูไมเ่ ขา้ ไปในตาข่าย แต่ไลนแ์ มนจากรสั เซีย (Tofik Bakhramov) ยกธง 38

ให้ลกู น้ีเขา้ ประตู กรรมการจากสวสิ เซอร์แลนด์ (Gottfried Dienst) เลยตอ้ งให้เป็นประตู หลงั จากหารือกบั ไลนแ์ มนแลว้ เหตกุ ารณ์คร้งั น้ี ทาให้ Geoff Hurst กลายเป็นผเู้ ล่นคนแรกทส่ี ามารถทาแฮททริคไดใ้ น การแขง่ ขนั รอบชิงชนะเลิศฟุตบอลโลก 10. อังกฤษ เป็ นชาติแรกที่นาระบบการเล่น 4:4:2 มาใช้ กล่าวคือ ดึงปี ก 2 ขา้ งลงมาเลน่ คู่ กบั ฮา๊ ฟท้งั 2 โดยใชก้ องหลงั 4 คน เหมอื นทีมบราซิลในปี ก่อน ๆ ทใ่ี ชร้ ะบบ 4:2:4 การทาเช่นน้ี (เนื่องจากมีกองหนา้ นอ้ ย) ทาให้ “แน่นท้งั กลาง และแน่นหลงั ” ในขณะท่เี ยอรมนั ใชก้ ารคุมคน ตอ่ คน เลยทาให้ทมี สับสน เพราะตาแหน่งผเู้ ล่นองั กฤษเปล่ียนแปลง ระบบ 4:4:2 น้ี ตอ่ มาไดถ้ กู นามาใชอ้ ยา่ งแพร่หลายทวั่ โลก 39

การแข่งขันฟตุ บอลโลก คร้ังท่ี 9 ประเทศเมก็ ซิโก ค.ศ. 1970 หรือ (พ.ศ. 2513) 1) บทนา การแข่งขนั ฟุตบอลโลกคร้ังน้ี ยอ้ นกลบั ไปสู่ทวปี อเมริกาใต้ อีกคร้งั หน่ึง โดยจดั ข้ึนท่ี ประเทศเม็กซิโก ซ่ึงต้งั อยใู่ นส่วนท่เี ป็นอเมริกากลาง เม็กซิโกเป็นดินแดนท่อี ยสู่ ูงกวา่ ระดบั น้าทะเล 2-3 พนั เมตร (สูงสุด 2,650 ) ทาให้อากาศมี อ๊อกซิเจนนอ้ ยกวา่ ปกติ ประกอบกบั อากาศร้อน ทาให้ผเู้ ล่นเหนื่อยเร็ว อยา่ งไรก็ตาม การแขง่ ขนั คร้งั น้ี มีสีสรร และสู้กนั อยา่ งสนุกสนาน ประกอบกบั ความกา้ วหนา้ ทางทวี ี ทาให้เราไดม้ องเห็นการถา่ ยทอดฟุตบอลโลกที่เป็นภาพสีเป็นคร้งั แรก แชมป์ ในคราวน้ี ตกเป็นของบราซิล ทมี ท่ีไดร้ บั การยกยอ่ งว่าเป็นทมี ทด่ี ีท่ีสุดใน ประวตั ศิ าสตร์ของฟตุ บอล (ดีกว่าปี 1958 และปี 1962) ซ่ึงมเี ปเล่ (ซ่ึงเคยลนั่ วาจาวา่ จะเลิกเลน่ แต่เปลีย่ นใจ สงสยั ถกู รุกเรา้ จนทนไม่ไหว) เป็นหวั หอกโดยบราซิล ชนะอติ าลี ไป 4:1 ในวนั ชิงชนะเลศิ ทส่ี นาม ESTADIO AZTECA (ความจุ 109,679 คน) ทาใหท้ มี บราซิลไดถ้ ว้ ย Jules Rimet Cup ไปครอบครองโดยเดด็ ขาด เพราะชนะเลิศฟุตบอลโลก ถงึ 3 คร้ัง (1958,1962 และ 1970) 2) การจัดการแข่งขัน 2.1 ทมี ทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขัน การแขง่ ขนั คร้งั น้ี ยงั มี 16 ทมี เหมอื นเดิม และยงั แบง่ ออกเป็น 4 สาย (กลุ่ม) กลมุ่ ละ 4 ทีม ก. จากยโุ รป ไดโ้ ควตา้ แค่ 9 ทีม มีเบลเย่ยี ม บลุ กาเรีย องั กฤษ เยอรมนั ตะวนั ตก อติ าลี โรมาเนีย สวเี ดน เช็คโกสโลวาเกีย และรสั เซีย ข. จากอเมริกาใต้ มีบราซิล อรุ ุกวยั เปรู และ เอลซลั วาดอร์ (แขง่ คร้ังแรก) 40

ค. จากอเมริกากลาง เมก็ ซิโก (เจา้ ภาพ) ง. จากอฟั ริกา โมร๊อคโค (แข่งคร้งั แรก) จ. จากเอเชีย อิสราเอล (เขา้ แขง่ คร้งั แรก) 2.2 สนามที่ใช้ในการแข่งขัน 1. เมือง Leon ไดแ้ กส่ นาม Estadio Guanajuato ความจุ 24,735 คน 2. เมือง Guadalajara ไดแ้ กส่ นาม Estadio Jalisco ความจุ 68,779 คน 3. เมือง Toluca ไดแ้ กส่ นาม Estadio Luis Gutierrez Dasal ความจุ 30,280 คน 4. เมือง Puebla ไดแ้ กส่ นาม Estadio Cuauhtemoc ความจุ 34,272 คน 5. เมือง Mixico City ไดแ้ กส่ นาม Estadio Azteca ความจุ 109,679 คน ผลการแข่งขนั รอบควอเตอร์ ไฟนัล 1. บราซิล ชนะ เปรู 4:2 1:0 2. อุรุกวยั ชนะ รสั เซีย 4:1 3:2 หลงั จากต่อเวลา 3. อิตาลี ชนะ เมก็ ซิโก 4. เยอรมนั ชนะ องั กฤษ (แกม้ อื รอบชิงชนะเลศิ ปี 1966 ได)้ ผลการแข่งขนั รอบ เซมิ ไฟนัล 1. บราซิล ชนะ อุรุกวยั 3:1 2. อติ าลี ชนะ เยอรมนั 4:2 (ต่อเวลา) 41

การชิงท่ี 3 1. เยอรมนั ชนะ อุรุกวยั 1:0 การชิงชนะเลิศทสี่ นาม Azteca ใน Mexico City ความสูงเหนือระดับน้าทะเล 2,240 เมตร บราซิล ชนะ อติ าลี 4:1 3) เกล็ดย่อย ต่าง ๆ 3.1 เป็ นท่นี ่าสังเกตว่า การแขง่ ขนั ฟตุ บอล ทาให้เกิดสงครามระหวา่ งประเทศ ระหวา่ ง ฮอนดรู สั กบั เอลซลั วาดอร์ ซ่ึงเป็นประเทศทม่ี พี รมแดนตดิ กนั และไม่ค่อยจะลงรอยกนั คราวน้ี ท้งั 2 ประเทศ ถกู จดั ใหค้ วอลิฟาย (แยง่ ตาแหน่งกนั โดยฮอนดรู ัสเป็นฝ่ ายแพ้ หลงั จากน้นั ไม่ นาน กม็ ีการปะทะกนั แถว ๆ ชายแดนเป็นเวลา 4 วนั ทหารตายไป 3,000 คน (น่าจะรวมท้งั 2 ประเทศ) มาเซน็ ตส์ ัญญาสงบศึกกนั เม่ือปี ค.ศ. 1990 3.2 จานวนผู้เข้าชมในสนามท้งั ส้ิน 5 สนาม เทา่ กบั 1,500,000 คน เกมทม่ี ีคนดสู ูงสุด ไดแ้ ก่ แมชระหวา่ งเม็กซิโก-เบลเยีย่ ม มคี นดู 108,192 คน มากกว่าเกมแมชชิงชนะเลิศ บราซิล- อิตาลี ที่มีคนดู 107,412 คน 3.3 ทมี เปรู นบั ว่าเป็นทีมนอ้ งใหม่นอกสายตา แตเ่ ผอิญไดโ้ คช๊ ทช่ี ่ือ ดีดี (Didi) อดีตผู้ เล่นของทมี แชมป์ บราซิล ในปี 1958 จึงทาให้เบียดอาเจนติน่า ตกรอบคดั เลอื กไปได้ ดว้ ยการ เล่นสไตลฟ์ ุตบอลบราซิล 3.4 ทีมมอร็อคโค เป็นทีมเดียวท่ีเป็นตวั แทนจากทวีปอฟั ริกา แต่ทาคะแนนไดแ้ ตม้ เดียว (เสมอกบั บุลกาเรีย 1: 1) ตกรอบไปตามระเบียบ 42

3.5 ผ้เู ล่นของบราซิล, แจร์ซินโฮ (Jairzinho) ชื่อน้ีภาษาของเขาอาจออกเสียงตา่ งไป เป็นหน่ึงในผเู้ ล่นตาแหน่งปี กขวา ตวั สารองการินช่า ในปี 1966 สามารถแจง้ เกิดไดเ้ ตม็ ตวั ในการ แข่งขนั คร้ังน้ี 3.6 ซากาโล โค๊ชของทมี บราซิล สร้างประวตั ศิ าสตร์ใหก้ บั วงการฟตุ บอลโลกโดยถือว่า เป็นบุคคลแรกที่ท้งั เล่นในทมี แชมป์ โลก (1958 และ1962) และมาเป็นโค๊ชทมี แชมป์ โลกในปี 1970 (ตอ่ มาจะไดพ้ ูดถงึ ฟรานซ์ บคั เคนบาว Franz Beckenbauer ที่เป็นผเู้ ล่นในทีมเยอรมนั ซ่ึงเป็นแชมป์ โลก ค.ศ.1974 และกลายมาเป็นโคช๊ ทีมเยอรมนั แชมป์ โลกในปี ค.ศ.1990) 3.7 เปเล่ แม้ว่าอายุจะเกือบ 30 ปี ไดล้ งเล่นในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลกคร้ังน้ี เตม็ ทกุ แมทช์ ซ่ึงจะแตกตา่ งไปจากการเล่นของเขาในอดีต และน่าจะเป็นผูเ้ ดียวในโลก ท่ลี งเลน่ ฟตุ บอลโลกถงึ 4 คร้ัง (1958,1962,1966,1970) และสามารถเป็นผเู้ ลน่ ที่สร้างอดีตร่วมกบั ซากาโล ซ่ึงเป็นผเู้ ล่นท่ีร่วมทมี กบั เปเล่ ในปี ค.ศ.1958 แตม่ าเป็นโค๊ชในปี 1970 และชนะเลิศ ร่วมกนั 3.8 ผ้เู ล่นทที่ าประตสู ูงสุดในการแขง่ ขนั คร้ังน้ี เกิร์ด มลุ เลอร์ (Gerd Muller) จากทมี เยอรมนั ตะวนั ตก กล่าวคือ ยิงประตไู ดถ้ งึ 10 ประตู 3.9 การแข่งขนั ฟุตบอลโลกคราวน้ี ใชล้ ูกฟตุ บอลของอดิดาส เป็นคร้ังแรก 43

การแข่งขนั ฟุตบอลโลกคร้ังท่ี 10 ประเทศเยอรมนั ตะวนั ตก ค.ศ. 1974 หรือ (พ.ศ. 2517) 1) บทนา 1.1 การแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังที่ 10 น้ี สลบั กลบั มาแขง่ ขนั ในทวปี ยโุ รปอีกคร้งั หน่ึง โดยคร้งั น้ีประเทศเยอรมนั ตะวนั ตก รบั เป็นเจา้ ภาพจดั การแข่งขนั ส่ิงทน่ี ่าเป็นห่วงกอ่ นการแขง่ ขนั คร้งั น้ี กค็ ือ มเี หตุการณ์ร้ายแรงเกดิ ขนึ้ ในปี ค.ศ. 1972 กล่าวคอื มีผกู้ ่อการร้ายชาวปาเลสไตน์ ไดล้ อบทาร้ายและฆ่านกั กีฬาอิสราเอลในการแขง่ ขนั โอลมิ ปิ กเกมส์ทเ่ี ยอรมนั เป็นเจา้ ภาพ และจดั การแขง่ ขนั ข้นึ ท่ีเมอื งมวิ นิค ทาให้เป็นอทุ าหรณท์ ่ี ทางการจะตอ้ งเขม้ งวดตรวจตราผชู้ มท่จี ะเขา้ ชมในสนามอยา่ งเคร่งครดั เพอื่ ป้องกนั ประวตั ศิ าสตร์ซ้ารอย 1.2 อยา่ งไรกต็ าม เหตกุ ารณว์ ุ่นวายทางการเมอื งระหว่างประเทศกไ็ ม่มอี ะไรเกิดข้ึน เห็นจะตอ้ งขอบคณุ ความสามารถของประเทศเจา้ ภาพท่ีมีมาตรการป้องกนั ไวไ้ ดอ้ ยา่ งดี และ อยา่ งรอบคอบ แต่มีสิ่งท่ีประเทศเยอรมนั ตะวนั ตก ห้ามไม่อยกู่ ค็ อื พายฤุ ดรู ้อนที่ตกมาถล่มเมอื งมิวนิค และเมอื งใกลเ้ คียง ทาใหส้ ภาพของสนามแข่งขนั ไม่เป็นใจกบั ทมี ทีเ่ ลน่ ฟตุ บอลดว้ ยลกู ส้ัน 2) การจัดการแข่งขัน 2.1 ทีมท่เี ข้าร่วมการแข่งขัน ท้งั หมดมี 16 ทมี แบ่งเป็น ทีมจากยโุ รป อนั ไดแ้ ก่ เยอรมนั ตะวนั ตก เนเธอร์แลนด์ อติ าลี โปแลนด์ สกอ๊ ตแลนด์ สวีเดน ยโู กสลาเวยี บุลกาเรีย และเยอรมนั ตะวนั ออก จากอเมริกาใต้ ไดแ้ ก่บราซิล (แชมป์ เกา่ คร้งั กอ่ น) อาเจนตนิ ่า ชิลี และอรุ ุกวยั 44

จากอเมริกากลาง ไดแ้ ก่ทมี ไฮติ จากเอเชีย และโอชันเนีย คือ ทีมออสเตรเลีย จากอฟั ริกา ไดแ้ ก่ ทีมแซร์ (Zaire) 2.2 ส่ิงท่ีแตกต่างไปจากการแข่งขันคราวท่ีแล้ว กค็ ือ การตดั สินให้มีการจดั กล่มุ ข้นั สอง (Second Stage) ข้นึ สองกลุ่ม คอื A กบั B กอ่ นข้นั น๊อคเอา้ ท์ ซ่ึงเคยมีข้นั น๊อคเอา้ ท์ 4 คู่ ส่วน ข้นั น๊อคเอา้ ท์ ก็กลายเป็นการแข่งขนั ชิงท่ี 3 และชิงชนะเลิศ 3) การจดั กล่มุ และผลการแข่งขัน กล่มุ 1 กล่มุ 2 1. เยอรมนั ตะวนั ตก 1 ชิลี 0 1. บราซิล 0 ยโู ก 0 2. เยอรมนั ตะวนั ออก 2 ออสเตรเลยี 0 3. ชิลี 1 เยอรมนั ตะวนั ออก 1 2. แซร์ 0 สกอตแลนด์ 2 4. ออสเตรเลีย 0 เยอรมนั ตะวนั ตก 3 5. ออสเตรเลีย 0 ชิลี 0 3. ยโู กฯ 9 แซร์ 0 6. เยอรมนั (ออก) 1 เยอรมนั (ตก) 0 4. สก๊อตแลนด์ 0 บราซิล 0 5. สกอ๊ ตแลนด์ 1 ยโู กฯ 1 6. แซร์ 0 บราซิล 3 ผลคะแนนกลุ่ม 1 ผลคะแนนกล่มุ 2 1. เยอรมนั ตะวนั ออก 5 คะแนน 1. ยโู กฯ 4 คะแนน 2. เยอรมนั ตะวนั ตก 4 คะแนน 2. บราซิล 4 คะแนน (ลกู ไดเ้ สียดีกว่า) 3. ชิลี 2 คะแนน 3. สกอ๊ ตแลนด์ 4 คะแนน 4. ออสเตรเลีย 1 คะแนน 4. แซร์ 0 คะแนน 45

กล่มุ 3 กล่มุ 4 1. อรุ ุกวยั 0 เนเธอร์แลนด์ 2 1. อิตาลี 3 ไฮติ 1 2. สวีเดน 0 บลุ กาเรีย 0 2. โปแลนด์ 3 อาเจนตนิ า 2 3. เนเธอร์แลนด์ 0 สวีเดน 0 3. ไฮติ 0 โปแลนด์ 7 4. บุลกาเรีย 1 อรุ ุกวยั 1 4. อาเจนตนิ า 1 อิตาลี 1 5. บลุ กาเรีย 1 เนเธอร์แลนด์ 4 5. อาเจนตินา 4 ไฮติ 1 6. สวีเดน 3 อรุ ุกวยั 0 6. โปแลนด์ 2 อติ าลี 1 ผลคะแนน กล่มุ 3 ผลคะแนน กล่มุ 4 1. เนเธอร์แลนด์ 5 คะแนน 1. โปแลนด์ 6 คะแนน 2. สวเี ดน 4 คะแนน 2. อาเจนตินา 3 คะแนน 3. บุลกาเรีย 2 คะแนน 3. อติ าลี 3 คะแนน (แพล้ ูกไดเ้ สีย) 4. อุรุกวยั 1 คะแนน 4. ไฮติ 0 คะแนน ผลการแข่งขันของ 2 กล่มุ ใหม่ กล่มุ B กล่มุ A 1. ยโู กฯ 0 เยอรมนั (ตก) 2 2. สวเี ดน 0 โปแลนด์ 1 1. บราซิล 1 เยอรมนั (ออก) 0 3. เยอรมนั (ตก) 4 สวีเดน 2 2. เนเธอร์แลนด์ 4 อาเจนตนิ า 0 4. โปแลนด์ 2 ยโู กฯ 1 3. เยอรมนั (ออก) 0 เนเธอร์แลนด์ 2 5.โปแลนด์ 0 เยอรมนั (ตก) 1 4. อาเจนตนิ ่า 1 บราซิล 2 6. สวเี ดน 2 ยโู กฯ 1 5. อาเจนตนิ ่า 1 เยอรมนั (ออก) 1 6. เนเธอร์แลนด์ 2 บราซิล 0 46

ผลคะแนน กล่มุ A ผลคะแนนกลุ่ม B 1. เนเธอร์แลนด์ 6 คะแนน 1. เยอรมนั ตะวนั ตก 6 คะแนน 2. บราซิล 4 คะแนน 3. เยอรมนั (ออก) 1 คะแนน 2. โปแลนด์ 4 คะแนน 4. อาเจนตินา 1 คะแนน 3. สวีเดน 2 คะแนน 4. ยโู กฯ 0 คะแนน รอบน๊อคเอ้าท์ 1. ท่ี 2 ของกล่มุ A พบที่ 2 ของกล่มุ B เพ่ือชิงท่ี 3 ปรากฏวา่ โปแลนด์ ชนะ บราซิล 1: 0 2. ที่ 1 ของแตล่ ะกล่มุ เขา้ รอบชิงชนะเลศิ : เยอรมนั ตะวนั ตก ชนะ เนเธอร์แลนด์ 2 : 1 4) เกล็ดย่อยต่าง ๆ 4.1 การแข่งขันคร้ังนี้ ยอดคนดูในสนามแขง่ ขนั เพิ่มเป็น 1,865,753 คน 4.2 ใช้สนามแข่งขนั ท้งั หมด 9 สนาม คือ 1. Olympia Stadion ที่ Berlin ความจุ 84,000 คน 2. Volks Park Stadion ที่ Hamburg ความจุ 60,000 คน 3. Neidersachsen Stadion ท่ี Hanover ความจุ 59,900 คน 4. Park Stadion ที่ Gelsenkirchen ความจุ 69,900 คน 5. Westfalen Stadion ท่ี Dortmund ความจุ 53,700 คน 6. Rhein Stadion ที่ Dusseldorf ความจุ 67,800 คน 7. Wald Stadion ที่ Frankfurt ความจุ 62,000 คน 8. Neckar Stadion ท่ี Stuttgart ความจุ 70,100 คน 47

9. และท่ี Olympia Stadion ในเมือง Munich ท่ใี ชส้ าหรับชิงชนะเลิศ ความจุ 79,000 คน 4.3 ถ้วยรางวลั ชนะเลศิ ก็ต้องถกู สร้างขึน้ ใหม่ เพราะถว้ ยเดิมมอบให้ทมี บราซิลไปแลว้ และเปล่ียนมาใชช้ ื่อใหม่วา่ ถว้ ยชนะเลศิ เวลิ ดค์ พั และจะไมม่ อบใหใ้ ครไปครองอยา่ งถาวรอกี โดยทาง FIFA จะมอบ “ถว้ ยจาลอง” ให้ทมี ชนะเลิศเท่าน้นั ถว้ ยใบน้ีมคี วามสูง 36.8 ซ.ม. หนกั 6.4 ก.ก. เป็นทอง 18 K จานวน 5.092 ก.ก. ออกแบบโดยชาวอติ าลี ช่ือ Silvio Gazzaniga 4.4 การแข่งขันชิงชนะเลศิ ในคร้ังน้ี เป็นการพบกนั ระหวา่ งสองทีมยโุ รปทเ่ี ป็นเพื่อน บา้ นกนั คอื เยอรมนั ตะวนั ตก กบั เนเธอร์แลนด์ ทมี เยอรมนั ไดช้ ื่อว่าเป็นทมี ท่มี คี วามแขง็ แกร่ง และความอดทนของร่างกาย มีการเลน่ ทเ่ี ป็นระบบและดุดนั แต่ทวา่ ทมี เนเธอร์แลนด์ ซ่ึงมีผูเ้ ล่น หลกั ๆ จากทมี “อาแจกซ์ อมั เสตอร์ดมั ” โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งมดี าราผยู้ ่งิ ใหญ่ท่แี จง้ เกิดคือ โยฮนั ครัฟ (Johan Cruijff) เนเธอร์แลนด์ ไดน้ าเอาระบบการเลน่ ทเ่ี รียกวา่ โทเทิลฟตุ บอล (Total Football) มาใช้ (เป็นระบบท่ีอาแจกซใ์ ชอ้ ย)ู่ ทาใหส้ ามารถเอาชนะแชมป์ เก่าบราซิล และเป็นท่ีหน่ึงของสาย A เขา้ ไปชิงชนะเลิศกบั เยอรมนั ได้ แต่กไ็ มว่ ายแพท้ มี เยอรมนั ตะวนั ตก ไป 2 ประตูตอ่ 1 4.5 สาหรับท่านผ้อู ่านทยี่ งั ไมค่ นุ้ เคยระบบการเลน่ ฟุตบอล กข็ ออธิบายเพมิ่ เตมิ เล็กนอ้ ย วา่ คาวา่ “โทเทลิ ฟุตบอล” ไม่ไดห้ มายความว่าแคก่ ารเล่นฟุตบอลโดยทุกคน ซ่ึงอนั ท่ีจริง ฟตุ บอลกเ็ ลน่ กนั ทุกคนอยแู่ ลว้ แตใ่ นความหมายของระบบการเลน่ หมายถงึ การเล่นท่ผี สมผสานระหว่างการ เคล่ือนไหว และการทางานของทุกคนเป็นระบบท่สี ามารถสลบั และทดแทนตาแหน่งกนั ได้ ท้งั ทมี รุก และทีมรับ 48

ข้อดี ก็คือ คู่ตอ่ สูจ้ ะสับสนในการคมุ ตวั ผเู้ ลน่ ของฝ่ ายที่ใชร้ ะบบน้ี เพราะมีการวิ่งเปลย่ี น ตาแหน่งกนั ตลอด จึงเป็นท่มี าของระบบที่เรียกวา่ “โซน ดีเฟ้นซ”์ (Zone Defense) คอื การคมุ พ้ืนที่ คอยระวงั ใครกไ็ ดท้ ี่เขา้ มาในโซน ข้อเสีย ก็คือ ระบบโทเทลิ ฟุตบอล ตอ้ งการการเคล่อื นไหวของผเู้ ลน่ และมคี วามชานาญ หรือทกั ษะ “แบบเป็ด” คือ ตอ้ งเล่นไดห้ ลาย ๆ หนา้ ท่ี ซ่ึงการจะหาผเู้ ลน่ ท่ีทาหนา้ ท่ไี ดท้ ้งั รุก และ รับอยา่ งมีประสิทธิภาพเหนือคู่ต่อสู้ท้งั 2 ทกั ษะ คงตอ้ งฝึกฝน และรู้ใจกนั นานพอสมควร 4.6 ผ้ทู าประตสู ูงสุดในการแข่งขนั คราวน้ี คือ Grzegorz Lato จากทีมโปแลนด์ ทาได้ 7 ประตู 49

การแข่งขันฟุตบอลโลกคร้ังที่ 11 ประเทศอาเจนตนิ ่า ค.ศ. 1978 หรือ (พ.ศ. 2521) 1) บทนา การจดั การแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังท่ี 11 เป็นไปอยา่ งทห่ี ลายท่านเขา้ ใจ คอื สลบั ไป จดั การแข่งขนั ในทวปี อเมริกาใต้ และเป็นการตกลงลว่ งหนา้ ต้งั แต่ปี ค.ศ. 1966 (ทปี่ ระเทศ องั กฤษเป็นเจา้ ภาพ) ก่อนทจี่ ะมกี ารแข่งขนั ราว 2 ปี เกิดเหตกุ ารณ์ปฏิวตั ขิ ้นึ ในประเทศอาเจนตนิ า โดยกลมุ่ นายทหาร นาโดย นายพล Jorge Rafael Videla ทาใหเ้ กิดการคดั คา้ น และทกั ทว้ งสถานะภาพ ทีไ่ มม่ คี วามเป็นประชาธิปไตย อยา่ งทเี่ รารู้เห็น และไดย้ นิ กนั จากหลาย ๆ ประเทศ นอกจากน้ี ยงั มีการประทว้ งถงึ ความโหดร้ายทารุณของกลุม่ ปฏิวตั ิท่ีมตี อ่ กลุ่มตรงกนั ขา้ ม แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม เหตกุ ารณ์ประทว้ งก็ไมล่ กุ ลามไปถงึ เรื่องการเมอื งระหว่างประเทศ 2) การจดั การแข่งขัน 2.1 ในปี น้ี มีทีมจากทวั่ โลกที่เขา้ ร่วมในรอบคดั เลอื กเป็นประวตั กิ ารณ์ถงึ 95 ประเทศ สาหรับทวีปอฟั ริกาปรากฏว่า ไดแ้ ก่ ทมี ตูนีเซียที่เอาชนะอจิ ิปต์ และ ไนจีเรีย ทมี ท่ีเข้ารอบสุดท้ายจากยโุ รป มี 10 ทีม ประกอบดว้ ย เยอรมนั ตะวนั ตก ฝรัง่ เศส เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ สวีเดน สก๊อตแลนด์ อติ าลี สเปน ฮงั การี และ ออสเตรเลีย ส่วนองั กฤษ และ ปอร์ตเุ กศ เช็คโกฯ และรสั เซีย ไม่ไดเ้ ขา้ รอบ จากอเมริกาใต้ มี 3 ทมี คอื บราซิล เปรู และอาเจนตนิ า เจา้ ภาพ จากเอเซีย กไ็ ดแ้ ก่ทมี อิหร่าน จากอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง ไดแ้ ก่ เม็กซิโก ไฮติ และ เอลซลั วาดอร์ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook