Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 2 คนเท่าเทียม

ชุดที่ 2 คนเท่าเทียม

Published by georgepitiyan, 2022-06-01 01:23:56

Description: ชุดที่ 2 คนเท่าเทียม

Search

Read the Text Version

1

คำนำ ชุดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานแบบมสี ่วนรว่ ม เรือ่ ง พลเมืองดีในระบอบ ประชาธิปไตย สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนกะเปอรว์ ิทยา จังหวัดระนอง ได้ พัฒนาขนึ้ เพือ่ พฒั นาคุณสมบตั ิของพลเมอื งตามระบอบประชาธิปไตย โดยใช้ข้ันตอนการจดั การ เรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานของสานักงานมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรียนรู้ (2550 : 8) ได้แบง่ ขนั้ ตอนการจดั การเรียนรแู้ บบใชป้ ัญหาเป็นฐานไว้ ดงั น้ี ขน้ั ท่ี 1 เชือ่ มโยงปัญหาและระบปุ ัญหา เปน็ ข้นั ทค่ี รูนาเสนอสถานการณป์ ญั หา เพื่อกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนเกิดความสนใจและมองเห็นปญั หา สามารถระบุสิ่งทเ่ี ปน็ ปญั หาที่นกั เรยี น อยากรอู้ ยากเรยี นและเกดิ ความสนใจที่จะค้นหาคาตอบ ข้นั ท่ี 2 กาหนดแนวทางที่เป็นไปได้ นกั เรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการศกึ ษา คน้ ควา้ ทาความเข้าใจ อภิปรายปญั หา ระดมสมอง คดิ วิเคราะห์ เพอ่ื หาวธิ ีการหาคาตอบ ครูคอย ช่วยเหลอื กระตุน้ ใหเ้ กิดการอภปิ รายในกลมุ่ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจวิเคราะหป์ ญั หาแหล่งขอ้ มลู ขน้ั ที่ 3 ดาเนินการศึกษาคน้ ควา้ นกั เรยี นกาหนดสิง่ ทตี่ ้องเรยี น ดาเนินการศึกษา คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ดว้ ยวธิ กี ารหลากหลาย ขนั้ ที่ 4 สงั เคราะห์ความรู้ นกั เรยี นนาขอ้ คน้ พบ ความรู้ท่ีไดค้ น้ ควา้ มาแลกเปลยี่ น เรียนรรู้ ว่ มกัน อภิปรายผลและสงั เคราะหค์ วามรู้ทีไ่ ด้มาว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ ขน้ั ท่ี 5 สรปุ และประเมนิ คา่ ของคาตอบ นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สรปุ ผลงานของกลุม่ ตนเอง และประเมินผลงานวา่ ข้อมูลที่ศึกษาคน้ ควา้ มีความเหมาะสมหรอื ไมเ่ พียงใด โดย พยายามตรวจสอบแนวคิดภายในกล่มุ ของตนเองอยา่ งอสิ ระ ทุกกลมุ่ ช่วยกันสรุปองคค์ วามรใู้ น ภาพรวมของปัญหาอีกครั้ง ขั้นท่ี 6 นาเสนอและประเมนิ ผลงาน นกั เรยี นนาขอ้ มลู ท่ไี ดม้ าจดั ระบบองค์ความรู้ และนาเสนอเป็นผลงานในรูปแบบที่หลากหลาย ครปู ระเมนิ ผลการเรียนรู้และทกั ษะกระบวนการ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เรอื่ ง พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย สาหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มีทั้งหมด จานวน 3 ชดุ ได้แก่ ชุดที่ 1 เคารพกตกิ า ชุดที่ 2 คนเทา่ เทยี ม ชดุ ที่ 3 รบั ผิดชอบต่อสังคม ผจู้ ดั ทาหวงั ว่าชดุ กิจการจดั การเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานชดุ น้ี จะเป็นรปู แบบการ สอนที่จะกอ่ ให้เกิดการพัฒนาคุณสมบตั ิของพลเมอื งตามระบอบประชาธิปไตย ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ต่อการศกึ ษาในระดับสูงต่อไป ของผ้เู รยี นและนาขอ้ คิดไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต ได้อยา่ งเหมาะสม พติ ยิ ันต์ รักษ์พงศ์ 2

สำรบัญ หนำ้ 2 เรือ่ ง 3 คานา 4 สารบญั 5 แผนผงั แสดงขัน้ ตอนการศกึ ษาชุดการจัดการเรียนรู้ 6 คาชแี้ จงสาหรับชดุ การจัดการเรียนรู้ 7 คาแนะนาสาหรบั ครู 13 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 15 แบบบันทกึ การศกึ ษาคน้ คว้าและการแก้ปัญหา 16 คาแนะนาสาหรับนักเรียน 17 บตั รคาส่งั 19 แบบทดสอบก่อนเรียน 20 เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 38 ใบความร้ทู ่ี 1 39 ใบกิจกรรมที่ 1 สิทธิ เสรีภาพตามรฐั ธรรมนญู 40 ใบกิจกรรมท่ี 2 กระดานสิทธิ์ 42 แบบทดสอบหลงั เรยี น 43 เฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน บรรณานกุ รม 3

แผนผังแสดงข้นั ตอนกำรศึกษำชดุ กำรจัดกำรเรยี นรู้ ดังน้ี อ่ำนคำช้ีแจง และคำแนะนำ ศกึ ษำสำระสำคญั ศกึ ษำจดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ศึกษำบัตรคำสง่ั บัตรเนื้อหำ และบัตรแบบฝกึ หดั ทำแบบทดสอบหลังเรียน ผำ่ นเกณฑ์ ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ศึกษำชุดกำรจดั กำรเรยี นรูช้ ดุ ต่อไป 4

คำชี้แจงสำหรับชุดกำรจดั กำรเรียนรู้ 1. เอกสารชุดนเ้ี ปน็ ชดุ การจดั การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานแบบมีส่วน ร่วม เรอ่ื ง พลเมอื งดีในระบอบประชาธปิ ไตย สาหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนกะเปอร์วทิ ยา จังหวัดระนอง เล่มท่ี 2 เรอ่ื ง คนเทา่ เทยี ม 2. ชดุ การจดั การเรียนรชู้ ุดน้ี ประกอบด้วย - คาชแี้ จงเกี่ยวกบั ชดุ การจดั การเรยี นรู้ - คาแนะนาสาหรับครู - คาแนะนาสาหรับนักเรียน - แผนผงั แสดงขั้นตอนการศึกษาชุดการจัดการเรยี นรู้ - มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชว้ี ดั - สาระสาคญั / จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - กระดาษแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - บัตรเนอ้ื หา - บตั รแบบฝึกหัด - แบบทดสอบหลงั เรียน - กระดาษแบบทดสอบหลังเรียน - เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน - เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น - บัตรเฉลยแบบฝึกหดั 3. ชุดการจดั การเรียนรู้ ชุดน้ใี ชเ้ วลาในการเรยี น 2 ช่ัวโมง 5

คำแนะนำสำหรบั ครู คู่มอื สาหรับครู ประกอบการใชช้ ุดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานแบบมีส่วน รว่ ม เรอื่ ง พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย สาหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียน กะเปอรว์ ิทยา จังหวดั ระนอง บทบำทของครผู ู้สอน ครูผสู้ อนเตรียมตวั ให้พร้อมโดยศกึ ษาละเอียดเกย่ี วกับการใช้ชุดการจัดการเรียนรู้ การ จดั ชน้ั เรยี น และการเตรยี มส่อื การเรียนรทู้ ่ใี ชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจะตอ้ งจดั กจิ กรรมใหเ้ ขาตามท่ีระบไุ วใ้ นแผนการจดั การ เรียนรู้ เพอ่ื ใหก้ ิจกรรมเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เน่ืองและบรรลจุ ุดประสงค์ กอ่ นทากจิ กรรมทุกคร้ัง ครตู ้องใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอ่ื ใชส้ าหรบั ประเมินผลการเรยี นรู้ ครจู ะต้องอธบิ าย ชแ้ี จงวธิ ีปฏบิ ตั ิกิจกรรมให้ชัดเจนเพื่อให้นกั เรียนเข้าใจตรงกนั จึง จะทาใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรียนรบู้ รรลเุ ป้าหมายและมีประสทิ ธภิ าพ ครูควรเน้นให้นกั เรยี นทกุ คนมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ัติกจิ กรรมเพือ่ เปน็ การใหน้ ักเรียน รจู้ กั การทางานร่วมกัน ช่วยเหลือซงึ่ กันและกัน รับผิดชอบต่อหนา้ ทแ่ี ละกล้าแสดงออก ขณะดาเนินกิจกรรมและก่อนส้ินสุดกิจกรรม ครูต้องสังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม ของนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ และบันทกึ ผลในแบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ของนักเรียน หลังจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ สร็จสน้ิ ลงในแตล่ ะชดุ การจดั การเรียนรู้ ครเู ป็นผู้ ประเมนิ ผลการเรียนของนกั เรียนโดยใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หดั สิ่งทค่ี รตู ้องเตรยี ม 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ 2. ส่ือการเรยี นร้ทู ่ีใช้ในกจิ กรรม 3. ใบความรู้ 4. ใบกิจกรรม 5. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 6. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ของนักเรียน 7. แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ กำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ 1. ประเมนิ ผลด้านความรู้ 2. ประเมินผลดา้ นทกั ษะการทางานกลุ่ม 3. ประเมินผลด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน รายวิชาหน้าทีพ่ ลเมืองฯ กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เร่ือง คนเท่าเทยี ม เวลา 2 ช่วั โมง 1. ชอ่ื เรอ่ื ง คนเท่ำเทยี ม 2. เปำ้ หมำยกำรเรยี นรู้ 2.1 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สาระที่ 2 หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิต มาตรฐาน ส 2.1 ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมืองดี ตาม กฎหมาย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทย และ สงั คมโลกอย่างสันตสิ ขุ 2.2 ผลกำรเรยี นรู้ 6) ปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย 2.3 จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ ด้ำนควำมรู้ (K) 1. นกั เรียนสามารถอธบิ ายการปฏิบัติตนตามสทิ ธิเสรีภาพและหนา้ ท่ี ตามรัฐธรรมนูญได้ ด้ำนทกั ษะกระบวนกำร (P) นักเรียนมี 1. ทักษะกระบวนการทางานกลมุ่ ดำ้ นคุณธรรมลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) นักเรยี นมี ซือ่ สัตยส์ จุ รติ มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน 7

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ 2 แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน รายวชิ าหนา้ ทพี่ ลเมืองฯ กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เรอื่ ง คนเทา่ เทยี ม เวลา 2 ช่วั โมง 3. สำระสำคญั รฐั ธรรมนญู เป็นกฎหมายสงู สุดในการปกครองประเทศการปฏบิ ัตติ าม บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั เก่ยี วกบั สทิ ธเิ สรภี าพ และหน้าท่ีนน้ั ตอ้ งไมก่ ระทบกระเทือนหรือเปน็ อนั ตรายตอ่ ความม่นั คงของรฐั ความ สงบเรยี บร้อยหรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชนและต้องไมล่ ะเมดิ สทิ ธิเสรีภาพของ ผู้อื่น 4. สำระกำรเรียนรู้ การดาเนนิ ชวี ิตตามวถิ ีประชาธิปไตย 5. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 5.1 ขัน้ กำหนดปญั หำ 1. ครูพดู คยุ และซกั ถามนักเรียนเกี่ยวกบั สิทธขิ องนกั เรยี นมอี ะไรบา้ ง โดยครูอาจใชค้ าถามตอ่ ไปนี้ - นักเรียนมสี ิทธใิ นโรงเรยี นอะไรบ้าง - แลว้ สทิ ธมิ คี วามสาคัญอย่างไรกับการใชช้ ีวติ ของนกั เรยี นอยา่ งไร 2. นกั เรยี นช่วยกนั อภิปรายและแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับสทิ ธิ เสรีภาพ 3. ให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 5 คน 8

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน รายวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมืองฯ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 เร่ือง คนเทา่ เทยี ม เวลา 2 ชว่ั โมง 4. ครูใชค้ าถามเพือ่ ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันแสดงความคิดเห็น ดงั น้ี - สิทธิ เสรภี าพ และหน้าที่ของปวงชนชาวไทยถูกบัญญัตไิ ว้ หรือตราเปน็ กฎหมายไว้ เราจะสามารถศกึ ษาไดจ้ ากกฎหมายฉบบั ใด หมวดใด (แนวตอบ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย หมวด 3 และหมวด 4) - การลงโทษหรอื ทาร้ายรา่ งกายนักเรยี นเป็นสิ่งที่ควรเกดิ ข้ึนในโรงเรียน หรอื ไม่ เพราะเหตุใด (แนวการตอบ ไม่ควร เพราะนักเรยี นก็มีสทิ ธิ เสรีภาพ ควรให้ ความสาคญั กบั คณุ คา่ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์) - นกั เรียนคิดว่าสทิ ธิเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั เสรีภาพ และสทิ ธคิ วร ประกอบดว้ ยสิทธอิ ะไรบา้ ง (แนวการตอบ สทิ ธิในชวี ิตและรา่ งกาย สิทธิไดร้ ับบรกิ าร สาธารณสขุ สทิ ธขิ องประชาชนในการรบั รู้ข้อมลู ขา่ วสาร สทิ ธใิ นการรอ้ งทกุ ขต์ ่อหน่วยงาน ของรฐั เสรภี าพในการชมุ นุม เสรภี าพในการนับถอื ศาสนา สิทธิของผู้บริโภค สทิ ธขิ อง ผูส้ งู อายุ ชายและหญงิ มีสิทธเิ์ ท่าเทียมกัน) 5.2 ข้นั ทำควำมเขำ้ ใจกบั ปญั หำ 5. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั อภปิ รายประเด็นปัญหาทต่ี ั้งข้ึนวา่ มีประเด็นใดบา้ งท่ี นา่ สนใจและหาคาตอบไดจ้ ากท่ีใด โดยวธิ กี ารใด 6. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั วางแผนการดาเนินการศึกษาค้นควา้ ตามประเด็น ปัญหาทคี่ รูต้ังขึ้นและประเดน็ ปญั หาอืน่ ที่ตอ้ งการศึกษา 5.3 ขน้ั กำรดำเนนิ กำรศึกษำคน้ ควำ้ 7. ตัวแทนกลุม่ ออกมารับใบความรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง คนเทา่ เทยี ม 8. ดาเนินการศกึ ษาค้นคว้าตามประเดน็ ท่ีต้องการเช่น ความสาคญั ของสิทธิ เสรภี าพ และหนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย รวมถึงประเด็นอ่ืนๆที่นกั เรียนต้องการศกึ ษาจากใบ ความรทู้ ี่ 1 9. นักเรียนบนั ทกึ ข้อมลู และผลการดาเนินการศกึ ษาค้นควา้ ลงแบบบันทึกข้อมลู การศกึ ษาค้นควา้ 9

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี 2 แผนการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน รายวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื งฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 เรอ่ื ง คนเทา่ เทียม เวลา 2 ชวั่ โมง ชว่ั โมงที่ 2 5.4 ขน้ั สงั เครำะห์ควำมรู้ 10. นกั เรียนแตล่ ะคนนาข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ มาแลกเปล่ียนเรยี นรู้กัน ในกล่มุ 11. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั คิดพจิ ารณาต่อไปวา่ ความรทู้ ี่ได้มามีความถูกต้อง สมบูรณ์และครบถว้ นตามประเด็นท่ีตอ้ งการศึกษาแลว้ หรือยังถ้าข้อมลู ยังไม่เพียงพอให้ ร่วมกันอภิปรายไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เพ่มิ เติม 12. เมื่อไดข้ ้อมลู ที่เพยี งพอแล้วใหน้ กั เรียนทาใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง สทิ ธิ เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ และใบกิจกรรมท่ี 2 เรอ่ื ง กระดานสิทธ์ิ 5.5 ข้นั สรุปและประเมินคำ่ ของคำตอบ 13. ทกุ คนรว่ มกนั นาเสนอข้อมลู ท่ีสังเคราะห์ได้และร่วมกันอภิปรายวา่ ข้อมูลของ แตล่ ะกลุม่ ท่ไี ด้ศึกษาคน้ ควา้ มาครบถว้ นถกู ต้องสมบูรณ์หรอื ไม่ โดยครผู ู้สอนชว่ ยตรวจสอบ และแนะนาเพ่มิ เติม 14. นกั เรียนทุกคนชว่ ยกันสรปุ องค์ความรู้ในภาพรวมของปัญหาอีกคร้ัง 5.6 ขั้นนำเสนอและประเมินผลงำน 15. ให้นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมการออกแบบการสรุปผลการดาเนินการศึกษา ค้นคว้าของกลมุ่ เพือ่ นาเสนอหนา้ ชน้ั เรียนตามรูปแบบทน่ี กั เรยี นสนใจ 16. ครูผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่มระหว่างการทากจิ กรรมของนักเรียน 17. ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการดาเนินการศึกษา ค้นควา้ หนา้ ชั้นเรยี น 18. ครูผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่มก่อนส้ินสุดกจิ กรรม และประเมิน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรียน 10

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน รายวชิ าหน้าทพ่ี ลเมืองฯ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เรอ่ื ง คนเทา่ เทยี ม เวลา 2 ช่วั โมง 6. สอ่ื /อุปกรณ์/แหลง่ เรยี นรู้ 6.1 ใบความรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง คนเทา่ เทียม 6.2 ใบกจิ กรรมที่ 1 เร่อื ง สิทธิ เสรีภาพตามรฐั ธรรมนูญ 6.3 ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอื่ ง กระดานสิทธิ 6.4 แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น เรอื่ ง คนเท่าเทยี ม 7. กำรวดั ผลและประเมนิ ผล ส่งิ ที่วัด วธิ กี ำรวดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ำรวดั ด้านความรู้ ทดสอบ ผ่านรอ้ ยละ 80 ดา้ นทกั ษะ แบบทดสอบ เรอื่ ง สังเกตพฤตกิ รรม คนเทา่ เทียม เปอรเ์ ซ็นต์ ด้านคุณลกั ษณะอัน ประเมนิ ทักษะ ผา่ นระดบั ดี ขึ้นไป พึงประสงค์ กระบวนการ แบบสงั เกต พฤติกรรมการ ผ่านระดับ ดี ขึน้ ไป สงั เกตพฤตกิ รรม ทางานกลุ่มของ นกั เรยี น แบบประเมิน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 11

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน รายวชิ าหน้าท่ีพลเมืองฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 เรอื่ ง คนเทา่ เทยี ม เวลา 2 ช่วั โมง 8. สรปุ ผลกำรสอน 8.1 ผลกำรสอน 1. สรปุ จานวนและคะแนนเฉลย่ี ของนกั เรยี นที่ทดสอบ เรอ่ื ง คนเท่าเทยี ม 2. สรุปจานวนผู้ผ่านเกณฑป์ ระเมินและคะแนนเฉลี่ยจากการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น ด้านทักษะกระบวนการ 3. สรปุ จานวนผ้ผู า่ นเกณฑป์ ระเมินและคะแนนเฉล่ยี จากการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 8.2 ปัญหำ/อุปสรรค 8.3 ข้อเสนอแนะ/แนวทำงกำรแกไ้ ข 12

แบบบนั ทึกกำรศกึ ษำคน้ ควำ้ และกำรแก้ปัญหำ เร่ือง………………………………………………………….. กลมุ่ ที่..........................................สมาชิก ประกอบด้วย 1. …………………………………………………………………………………….ประธาน 2. …………………………………………………………………………………….เลขานกุ าร 3. ……………………………………………………………………………………. 4. ……………………………………………………………………………………. 5. ……………………………………………………………………………………. 6. ……………………………………………………………………………………. ตอนท่ี 1 หัวขอ้ ปัญหำ................................................................................................ ทำควำมเขำ้ ใจปญั หำ • สง่ิ ท่ตี อ้ งการรู้............................................................................ • วิธีการหาคาตอบ....................................................................... • แหลง่ ขอ้ มลู ............................................................................... กำรศกึ ษำค้นควำ้ และแกป้ ญั หำ ชอ่ื สมำชิก กำรแบ่งหนำ้ ท่ี แหลง่ ข้อมลู ผลกำรศกึ ษำ 13

ตอนที่ 2 สรุปผลกำรศึกษำคน้ ควำ้ และแกป้ ญั หำ .................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... 14

คำแนะนำสำหรับนักเรยี น คู่มอื สาหรับนักเรยี นประกอบการใชช้ ุดการจัดการเรียนรู้โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานแบบมีส่วนรว่ ม เรื่อง พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนกะเปอร์วทิ ยา จงั หวัดระนอง 1. คำแนะนำในกำรปฏิบัติ การใช้ชดุ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานแบบมสี ่วนรว่ ม เรอ่ื ง พลเมอื งดใี นระบอบประชาธิปไตย สาหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนกะเปอร์วิทยา จังหวดั ระนอง ให้บรรลจุ ดุ ประสงคแ์ ละมปี ระสทิ ธภิ าพ ให้ นักเรยี นปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี้ 1. ก่อนดาเนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอน ให้นักเรียนปฏบิ ัติตามใบ กจิ กรรม และถ้ามีการแบ่งกลมุ่ ให้นกั เรียนคดั เลือกประธาน เลขานกุ าร บันทึก รายช่อื สมาชกิ กลมุ่ ลงในใบกิจกรรม 2. เตรยี มความพร้อมทางด้านรา่ งกายและอารมณข์ องตนเองใหพ้ ร้อม สาหรบั การปฏิบตั ิกิจกรรมรว่ มกับเพ่อื นในห้องเรียนหรือภายในกลมุ่ กบั เพื่อนรว่ มชั้น เรยี น เพอื่ ใหเ้ รียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกบั ครูและเพื่อนภายในกลุ่มหรือ เพื่อนร่วมช้นั เรียนโดยปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆอย่างต้งั ใจ 2. กจิ กรรมทนี่ กั เรียนต้องปฏิบตั ิ 1. ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามลาดับขน้ั ตอน อา่ นคาชี้แจงจากใบกิจกรรม ใบ ความรู้ และบนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน เพ่อื ให้ทราบความกา้ วหน้าในการเรียนแตล่ ะ ครง้ั 2. มคี วามกระตือรอื ร้นในการปฏบิ ัติกจิ กรรม เมื่อมปี ัญหาให้ปรึกษา เพือ่ นรว่ มกล่มุ หรอื ครู ร่วมกนั อภปิ รายและแสดงความคดิ เหน็ กับทกุ คนอยา่ งมี เหตผุ ล 3. กำรประเมนิ ผล นกั เรยี นบนั ทึกใบกิจกรรมและทาแบบทดสอบเพื่อประเมินผลทางการ เรยี น 15

บัตรคำส่ัง ให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิตำมขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้ 1. เลขานุการแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมารับชุดการจัดการ เรยี นร้โู ดยใช้ปญั หาเป็นฐานแบบมสี ว่ นร่วม เรอื่ ง พลเมอื งดีในระบอบ ประชาธปิ ไตย สาหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นกะเปอร์ วทิ ยา จังหวัดระนอง ชดุ ที่ 2 เร่ือง คนเท่าเทยี ม จากครู 2. ใหน้ กั เรียนแต่ละคนศึกษาสาระสาคัญ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นจานวน 10 ขอ้ 3. ให้นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ ทากิจกรรมกลมุ่ ตามใบกจิ กรรมที่ ครกู าหนดให้ 4. ถ้าไม่เขา้ ใจให้ศกึ ษาจากบตั รเนื้อหาอกี คร้งั หนง่ึ 5. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน 10 ขอ้ 16

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรื่อง คนเท่าเทยี ม คาชแี้ จง (จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งเพยี งข้อเดียว) 1. ขอ้ ใดไม่ใช่หน้าท่ีของประชาชนทม่ี ตี อ่ รฐั ก. ไปใชส้ ทิ ธิ์เลือกตง้ั ข. เสยี ภาษีอากรตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ ค. เข้าไปรับการศกึ ษาอบรมในการศกึ ษาภาคบังคับ ง. รฐั ตอ้ งดแู ลให้มีการปฏบิ ตั ติ ามและบังคบั ใช้กฎหมายอย่างเครง่ ครดั 2. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเก่ียวกบั ความเสมอภาคภายใต้รฐั ธรรมนญู ก. บคุ คลผู้มีคุณวุฒิมากกวา่ ย่อมมีสิทธไิ ด้รับเงินเดือนสูงกวา่ ผู้มีคณุ วฒุ ิน้อย ข. ผพู้ กิ ารมสี ทิ ธ์ไิ ดร้ บั ความช่วยเหลอื จากรฐั ค. ชายและหญงิ มีสิทธเ์ิ ทา่ เทียมกัน ง. บุคคลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย 3. นายเขียวขบั ข่รี ถจกั รยานยนต์ออกจากบ้านระหวา่ งทางถูกตารวจยึดกญุ แจรถไว้ โดย ทนี่ ายเขยี วมไิ ดก้ ระทาความผดิ ใด เหตุการณท์ ตี่ ารวจยดึ กุญแจรถของนายเขียวถือ เป็นการละเมดิ สิทธิตามขอ้ ใด ก. สทิ ธิของผูบ้ ริโภค ข. สิทธใิ นความเปน็ อยู่ส่วนตวั ค. สิทธิในชีวติ และรา่ งกาย ง. สทิ ธิในการเขา้ รบั บรกิ ารของรัฐ 4. การจับกุมคมุ ขังบคุ คลจะทาไดต้ อ้ งมคี าส่ังหรือหมายศาล เพราะเปน็ การเคารพใน สทิ ธติ ามขอ้ ใด ก. สทิ ธิในทรพั ย์สนิ ข. สิทธใิ นชวี ติ และร่างกาย ค. สิทธิของบคุ คลในครอบครัว ง. สทิ ธใิ นความเป็นอยูส่ ่วนตัว 5. ความเป็นอิสระของคนเราทจ่ี ะทาหรอื ไม่ทาอะไรก็ไดแ้ ต่ตอ้ งไม่ขดั ตอ่ กฎหมายเปน็ ความหมายของข้อใด ก. สทิ ธิ ข. กฎหมาย ค. เสรภี าพ ง. ความเสมอภาค 17

แบบทดสอบกอ่ นเรียน (ตอ่ ) เร่อื ง คนเท่าเทยี ม คาชีแ้ จง (จงเลอื กคาตอบทถี่ ูกตอ้ งเพยี งขอ้ เดยี ว) 6. นางวิมลกักขังเด็กชายเกง่ ซ่งึ เป็นบุตรไวใ้ นหอ้ งตามลาพังขณะออกไปทางาน นอกบ้านเหตุการณ์ดังกลา่ วเปน็ การละเมิดสทิ ธติ ามข้อใด ก. สทิ ธดิ า้ นการศกึ ษา ข. สทิ ธดิ ้านสุขภาพอนามัย ค. สิทธิในการประกอบอาชพี ง. สทิ ธิในการรับรู้ขอ้ มูลขา่ วสาร 7. แมข่ องหญงิ ขอให้หญิงออกมาจากโรงเรยี นเพอ่ื มาช่วยครอบครวั ทางาน ในขณะทหี่ ญงิ เวยี นอยใู่ นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วเป็นการ ละเมิดสิทธิตามขอ้ ใด ก. สทิ ธิดา้ นการศกึ ษา ข. สิทธิดา้ นสุขภาพอนามยั ค. สทิ ธิในการประกอบอาชีพ ง. สทิ ธิในการรับรู้ขอ้ มูลข่าวสาร 8. รัฐธรรมนูญบญั ญตั ิว่าบคุ คลซง่ึ มีอายุเกินกวา่ กป่ี ีมสี ทิ ธิ์ไดร้ ับความช่วยเหลือที่ เหมาะสมจากรฐั ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ ก.เกิน 50 ปี ข.เกิน 60 ปี ค.เกนิ 59 ปี ง.เกิน 69 ปี 9. ข้อใดคอื หนา้ ที่ของประชาชนทมี่ ีตอ่ รฐั ก.เลีย้ งดูบดิ ามารดา ข.ปฏิบัติตามกฎหมายอยา่ งเคร่งครดั ค.คานงึ ถงึ สิทธิของตนเองและคนในครอบครวั เป็นสาคญั ง.ให้ความสาคัญต่อเจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐ 10. บคุ คลในข้อใดปฏิบตั ติ นไดถ้ กู ต้องตามเสรภี าพในการชมุ นมุ ก. น้อยและกลมุ่ ผู้ชมุ นุมประทว้ งเดนิ ขบวนเขา้ ไปยึดสนามบินดอนเมือง ข. แดงและกลุ่มผู้ชุมนมุ ประทว้ งขอศาลากลางจงั หวดั จะได้รับความ เสยี หาย ค. ใหญพ่ กมดี ตดิ ตัวไประหว่างเขา้ ร่วมชุมนมุ ประท้วงเพ่ือเอาไวป้ อ้ งกนั ตวั เอง ง. กลมุ่ ผชู้ มุ นมุ ประทว้ งชูปา้ ยข้อความขอให้รฐั บาลแก้ไขปัญหาราคาลาไย 18

ใบควำมรทู้ ี่ 1 เร่ือง คนเท่าเทียม 1. ควำมสำคญั ของสิทธิ เสรีภำพและหน้ำทต่ี ำมรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนญู เป็นกฎหมายสูงสุดในการบรหิ ารประเทศในระบอบ ประชาธปิ ไตย ดงั น้ัน เพ่อื ให้บรรลุตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนญู ทีไ่ ด้ คุ้มครองสิทธิและเสรภี าพ โดยการใชส้ ทิ ธิ์และเสรีภาพน้ันตอ้ งไม่ กระทบกระเทอื นหรอื เปน็ อนั ตรายตอ่ ความม่ันคงของรฐั ความสงบ เรยี บรอ้ ย หรอื ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน และตอ้ งไมล่ ะเมิดสิทธิ เสรีภาพของผู้อ่นื สิทธเิ สรีภาพและหน้าท่ีของปวงชนชาวไทยถือเปน็ หนึ่งในหัวใจ สาคัญ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ได้บัญญัติไว้ชดั เจนในหมวด 3 สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย และในหมวด 4 หนา้ ทข่ี องปวงชน ชาวไทย 19

ใบควำมร้ทู ่ี 1 เรือ่ ง คนเทา่ เทียม 2. รฐั ธรรมนูญกบั ศักดิศ์ รคี วำมเปน็ มนุษย์ สงั คมประชาธปิ ไตยเป็นสงั คมของคนหมูม่ าก มคี วามแตกต่าง กนั ทางเพศ วยั ฐานะ การศกึ ษา ศาสนา ความคดิ เห็นทางการเมือง แต่ท่อี ยรู่ ว่ มกนั ได้อยา่ งปกติสขุ เพราะตา่ งเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์ ซงึ่ กันและกัน ไมม่ ใี ครมีความเป็นคนมากกว่าคนอนื่ ซึง่ ไม่มีใครที่จะมี สทิ ธ์ิไปดหู มนิ่ เหยียดหยามกนั หรือกระทาต่อกนั เสมือนมิใชม่ นษุ ยใ์ ห้รสู้ ึก ด้อยคุณค่าหรือขาดความมัน่ ใจในตนเอง รฐั ธรรมนญู ไดใ้ ห้ความสาคญั กบั ศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์โดย บัญญัตไิ วใ้ นมาตรา 4 ว่าศักดศิ์ รีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและ ความเสมอภาคของบุคคลยอ่ มได้รับความค้มุ ครอง ปวงชนชาวไทยยอ่ ม ได้รบั ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนญู เสมอกัน การทรี่ ัฐธรรมนญู มีบทบญั ญัตคิ ุ้มครองไวเ้ ช่นน้ัน เพราะความ เปน็ จรงิ ในสงั คมยงั มกี ารค้ามนษุ ย์ มกี ารทาร้ายทบุ ตดี ว้ ยวธิ กี ารโหดร้าย ทารณุ กกั ขังหนว่ งเหน่ียว มกี ารนาผ้ตู ้องหาหรอื จาเลยมาประจานตอ่ สาธารณะ รวมถึงยังมีการทจุ รติ ซอ้ื สทิ ธข์ิ ายเสยี งในการเลือกตงั้ ถ้าคน ถกู ซือ้ ขายได้เหมอื นอตั ราเทา่ กับสูญส้นิ ศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ยท์ ง้ั ผู้ซื้อ และผูข้ าย 20

ใบควำมรทู้ ี่ 1 เร่ือง คนเทา่ เทียม 3. สิทธแิ ละเสรภี ำพของประชำชน หลักการประชาธิปไตยทส่ี าคัญประการหน่งึ คือหลักสิทธิและเสรภี าพ รฐั ธรรมนญู ของเราจงึ มีบทบัญญตั เิ กี่ยวกับสิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย ไวเ้ พื่อเปน็ หลักประกนั ว่ารัฐจะรบั รองและค้มุ ครองสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน สทิ ธิ หมายถึง ประโยชน์ท่ีกฎหมายรับรองและใหค้ วามคมุ้ ครอง ปอ้ งกัน เช่น สทิ ธใิ นชวี ติ และรา่ งกายมใี หใ้ ครมาทารา้ ยทุบตเี ราหรอื สิทธิใน ทรัพย์สนิ หากมีใครมารกุ ลา้ หรอื เอาทรพั ย์สนิ ของเราไปโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตกถ็ อื ว่าละเมดิ สทิ ธิ์ทาผิดกฎหมาย สาหรบั เสรีภาพนน้ั หมายถึง ความเป็นอสิ ระของคนเราทจ่ี ะทา หรอื ไม่ทาอะไรก็ได้ การใช้เสรีภาพต้องอยู่ในขอบเขต เช่น เรามเี สรีภาพใน การแสดงความคดิ เหน็ ก็ต้องไม่พูดให้ร้ายคนอืน่ หรือมเี สรีภาพในการประกอบ อาชีพแต่ไปค้ายาเสพติดก็ถอื ว่าผดิ กฎหมาย หลกั การสาคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตยคอื หลักความ เสมอภาคซงึ่ ไมไ่ ดห้ มายถงึ ทุกคนจะตอ้ งได้รับทกุ อยา่ งเทา่ ๆ กันแตเ่ ป็นความ เสมอภาคในโอกาสทที่ ุกคนจะไดร้ บั เพอ่ื ใหส้ ามารถเขา้ ถึงการใชส้ ทิ ธแิ ละเสรีภาพ ไดเ้ ชน่ เดียวกบั ผอู้ ื่น ตวั อย่างในตาบลแห่งหนึ่งมี 10 หมบู่ า้ นเป็นหมู่บา้ นมั่งมศี รีสขุ แล้ว 9 หมู่บ้านอกี 1 หมบู่ ้านผูค้ นยงั ยากจนขน้ แคน้ ขาดแคลนแหลง่ น้าถนนหนทางไม่ สะดวกถา้ เราจะจัดสรรงบประมาณพัฒนาหม่บู ้านท้ัง 10 หมบู่ ้านน้ีเราจะจดั สรร อย่างไร ถ้าในหมบู่ า้ นไดร้ บั งบประมาณเท่า ๆ กันหมู่บา้ นทีม่ ง่ั มอี ยู่แล้วก็จะ ได้รบั เกินความจาเป็นขณะท่หี มู่บา้ นยากจนกย็ งั ขาดแคลนอย่แู ต่ถา้ ใชห้ ลักความ เสมอภาคโดยชว่ ยเหลือ หม่บู ้านท่ียากจนเป็นพเิ ศษคณุ ภาพชีวิตและความ เป็นอยูข่ องคนในหมบู่ า้ นนน้ั ก็จะดีขึน้ อยา่ งเสมอภาคเท่าเทยี มกันกับหมูบ่ ้าน อนื่ ๆ 21

ใบควำมรู้ที่ 1 เรอ่ื ง คนเท่าเทียม 4. กำรหำ้ มเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รฐั ธรรมนูญหา้ มมใิ ห้มีการเลือกปฏิบัตโิ ดยไม่เปน็ ธรรมไว้ใน มาตรา 27 วรรค 3 วา่ การเลือกปฏิบตั ิโดยไมเ่ ป็นธรรมต่อบคุ คล ไมว่ ่า ด้วยความแตกต่างดา้ นถ่นิ กาเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความ พิการสภาพทางรา่ งกายหรอื สขุ ภาพสถานภาพของบุคคลฐานะทาง เศรษฐกจิ หรือสังคมความเชอ่ื ทางศาสนาการศกึ ษาอบรมหรือความ คิดเหน็ ทางการเมอื งน้นั ไม่ขัดต่อบทบัญญตั ิแห่งรัฐธรรมนูญหรอื เหตุอน่ื ใด จะกระทามิได้ แมร้ ัฐธรรมนูญบญั ญัตหิ า้ มมิใหม้ กี ารเลอื กปฏิบตั ิโดยไม่เปน็ ธรรม ตอ่ บุคคลในเรือ่ งราวต่างๆไวแ้ ต่อย่างไรกต็ ามผู้คนในสังคมใช่ว่าจะมขี ีด ความสามารถเทา่ เทียมกนั ในทุกเรื่องรัฐธรรมนญู จึงบญั ญัตใิ ห้รฐั สามารถ กาหนดมาตรการพเิ ศษตา่ งๆเพ่ือชว่ ยให้ผูท้ ่เี สียเปรียบในสงั คมได้มีโอกาส เชน่ เดียวกับคนอืน่ ๆโดยไมถ่ อื ว่าเปน็ การเลอื กปฏิบตั ิโดยไม่เปน็ ธรรม เช่น การทหี่ น่วยงานต่างๆมีหอ้ งน้าเฉพาะสาหรบั ผู้สงู อายหุ รือคนทอ้ ง ท่ี จอดรถสาหรบั คนพิการ มีเงนิ ชว่ ยเหลือค่ายงั ชีพคนพิการเป็นต้น 22

ใบควำมรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง คนเท่าเทยี ม 5. ประชำชนทโี่ ดนละเมดิ สทิ ธิเสรีภำพยอ่ มไดร้ ับกำรเยียวยำ รัฐธรรมนูญมบี ทบญั ญตั ิเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ ก็เพ่ือเป็น หลกั ประกันว่ารฐั จะรบั รองและค้มุ ครองสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน แต่ การละเมดิ สทิ ธเิ สรภี าพก็ยังมอี ยู่ บางครั้งผไู้ ดร้ บั ความเสยี หายไม่สามารถ เรยี กร้องความเปน็ ธรรมเพราะไม่ทราบวา่ เป็นความผดิ ของใคร หรือไม่ สามารถนาตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษได้ รวมถึงบางคนตอ้ งติดคุกท้ัง ทไี่ ม่ได้กระทาผิด รฐั ธรรมนญู จึงบัญญตั ไิ ว้ในมาตรา 25 ใหบ้ คุ คลซ่ึงถูกละเมิดสิทธิ หรือเสรีภาพสามารถยกบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู ใช้สิทธทิ างศาลหรือ ยกข้นึ เป็นข้อต่อส้คู ดใี นศาลไดร้ วมทัง้ ผ้ทู ไ่ี ด้รบั ความเสยี หายจากการถกู ละเมดิ สทิ ธหิ รอื เสรีภาพหรอื การกระทาความผดิ ทางอาญาของบุคคลอน่ื มี สิทธท์ิ ี่จะไดร้ ับการเยยี วยาหรอื ความช่วยเหลือจากรัฐตามทก่ี ฎหมาย บญั ญัติ 23

ใบควำมรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง คนเท่าเทียม 6. สิทธใิ นชีวิตและรำ่ งกำย มาตรา 31 บคุ คลยอมมีสทิ ธิและเสรีภาพในชวี ิตและรา่ งกาย รัฐธรรมนูญให้ความสาคัญกับสิทธแิ ละเสรภี าพในชวี ติ และ รา่ งกายของบุคคลโดยหา้ มมใิ ห้มีการทรมานทารณุ กรรมหรือลงโทษดว้ ย วธิ กี ารโหดร้ายหรอื ไรม้ นษุ ยธรรมการจบั กมุ คมุ ขงั จะทาไดต้ ้องมคี าสงั่ หรอื หมายศาลหรือมเี หตอุ น่ื ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติไว้เช่นเปน็ การกระทา ความผดิ ซ่งึ หนา้ หรือมีความพยายามกระทาความผดิ มีอาวธุ ทอี่ าจใช้ กระทาความผิดหรอื ทาผดิ แล้วกาลังจะหลบหนี นอกจากน้นั ในการค้นตัวบุคคลหรอื กระทาการใดอัน กระทบกระเทอื นต่อสทิ ธหิ รอื เสรีภาพในชีวิตและร่างกายในเร่อื งอ่นื ๆเช่น การบกุ เข้าไปตรวจค้นในบ้านโดยอ้างว่าเข้าไปค้นหายาเสพตดิ หรอื หาตัว คนร้ายหรือการต้ังดา่ นตรวจแลว้ ยดึ กุญแจรถไวก้ ไ็ ม่สามารถกระทาได้โดย พละการเวน้ แต่มเี หตตุ ามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ 24

ใบควำมรู้ท่ี 1 เรือ่ ง คนเท่าเทยี ม 7. สิทธิและเสรีภำพในกำรศึกษำหำควำมรู้ ประชาชนมีเสรีภาพในการเลือกศึกษาหาความรู้และรฐั จะตอ้ งมี หน้าท่ีจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานให้เปล่าอยา่ งนอ้ ย 12 ปี มาตรา 42 บคุ คลยอ่ มมเี สรีภาพในทางวชิ าการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัยและการเผยแพร่ งานวิจัยตามหลกั วิชาการยอ่ มไดร้ ับคุ้มครอง ทั้งน้ีเท่าท่ีไม่ขดั ต่อหน้าที่ ของพลเมอื งหรือศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน มาตรา 43 บคุ คลยอ่ มมสี ิทธเิ สมอกันในการรับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานไม่นอ้ ยกวา่ สิบสองปที ร่ี ฐั จะตอ้ งจดั ใหอ้ ย่างทัว่ ถึงและมคี ุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย 25

ใบควำมร้ทู ่ี 1 เร่อื ง คนเท่าเทียม 8. สทิ ธิได้รับบริกำรสำธำรณสุข รัฐธรรมนูญได้ใหค้ วามสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชวี ิตของคนใน สงั คมโดยบัญญัติไวใ้ นมาตรา 47 ให้ประชาชนมสี ิทธิทจ่ี ะไดร้ ับบรกิ าร สาธารณสขุ ของรัฐโดยบคุ คลผูย้ ากไร้ยอ่ มมสี ิทธิ์ได้รับบริการสาธารณสขุ ของรฐั โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ยตามทก่ี ฎหมายบัญญตั แิ ละบคุ คลยอ่ มมีสิทธิ์ ได้รบั การปกป้องและขจัดโรคตดิ ตอ่ อนั ตรายจากรฐั โดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย นอกจากประชาชนจะมีสทิ ธ์ิได้รับบริการสาธารณสุขแล้ว รัฐธรรมนญู มาตรา 55 ยงั กาหนดให้รัฐมหี นา้ ท่ีต้องดาเนนิ การให้ ประชาชนได้รับบริการสาธารณสขุ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพอย่างท่วั ถงึ โดยรัฐตอ้ ง พฒั นาบรกิ ารสาธารณสุขใหม้ คี ุณภาพและมีมาตรฐานสูงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ด้วย 26

ใบควำมร้ทู ี่ 1 เร่ือง คนเท่าเทยี ม 9. สทิ ธิของประชำชนในกำรรับรขู้ ้อมลู ขำ่ วสำร ประชาธปิ ไตยใหค้ วามสาคญั กับประชาชนผเู้ ปน็ เจา้ ของอานาจ อธิปไตยดงั นั้นในสังคมประชาธปิ ไตยจงึ กาหนดหลกั การวา่ รับรูอ้ ะไร ประชาชนตอ้ งรอู้ ยา่ งน้ัน รฐั ธรรมนญู มาตรา 58 จงึ บญั ญัติให้บุคคลและชุมชนมีสทิ ธ์ิ ได้รบั ทราบและเข้าถงึ ข้อมลู หรือขา่ วสารสาธารณะในครอบครองของ หนว่ ยงานของรัฐและกาหนดให้เป็นหน้าที่ของรฐั ทจ่ี ะตอ้ งเปดิ เผยขอ้ มูล หรือข่าวสารสาธารณะในความครอบครองของรฐั ท่ไี ม่ใชข่ อ้ มลู เก่ยี วกบั ความมน่ั คงของรัฐหรือเปน็ ความลับของทางราชการตามทีก่ ฎหมาย บญั ญตั ริ วมทั้งตอ้ งจัดให้ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรือข่าวสาร ดงั กล่าวได้โดยสะดวก 27

ใบควำมรูท้ ี่ 1 เรอื่ ง คนเทา่ เทยี ม 10. สิทธิในกำรรอ้ งทุกขต์ อ่ หน่วยงำนของรัฐ รฐั มีหน้าทีต่ ่อประชาชนหลายอยา่ งทั้งการปกปอ้ งค้มุ ครองสิทธิ และเสรภี าพของประชาชนการจดั หาบริการสาธารณะและใหบ้ ริการ อานวยความสะดวกตา่ งๆแกป่ ระชาชนรัฐจึงเป็นทพี่ ่ึงบาบัดทุกข์บารงุ สขุ ของประชาชนดว้ ยแต่ก็มหี ลายกรณีเม่อื ประชาชนถูกละเมดิ สิทธหิ รอื ได้รับความเสียหายเดอื ดร้อนไปรอ้ งเรยี นรอ้ งทกุ ข์ตอ่ หน่วยงานของรฐั มี การพิจารณาทีล่ ่าช้าหรอื ไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรมจากการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ของ เจา้ หน้าท่หี รอื หนว่ ยงานของรัฐ รฐั ธรรมนญู จงึ บญั ญัตไิ ว้ในมาตรา 41 ใหบ้ คุ คลและชมุ ชนมีสทิ ธิ เสนอเรือ่ งราวร้องทุกข์ต่อหนว่ ยงานของรฐั และไดร้ ับแจง้ ผลการพิจารณา โดยรวดเรว็ ทั้งยังใหส้ ิทธใิ นการฟ้องหน่วยงานของรฐั ให้รบั ผดิ ชอบ เนอ่ื งจากการกระทาหรอื การละเวน้ การกระทาของข้าราชการพนกั งาน หรือลูกจ้างของหนว่ ยงานของรัฐ 28

ใบควำมรทู้ ี่ 1 เรื่อง คนเท่าเทียม 11. เสรีภำพในกำรชุมนุม การชมุ นุมเรยี กร้องความเป็นธรรมหรือการชุมนุมทางการเมือง ถือเปน็ เรื่องปกติธรรมดาทีเ่ กิดข้นึ ในสังคมประชาธปิ ไตยทป่ี ระชาชนมี สิทธเิ สรภี าพทางความคิดและการแสดงออก อกี ทง้ั การชมุ นุมยงั เป็นช่องทางแสวงหาความเป็นธรรม นอกเหนอื จากการขอความเป็นธรรมจากกลไกอืน่ ที่เรยี กรอ้ งแลว้ ยังไม่ได้ รับความเปน็ ธรรมหรือมีความล่าชา้ ในการแกป้ ัญหา รัฐธรรมนูญ มาตรา 44 วรรคแรก บทบัญญัตริ ับรองเสรภี าพใน การชมุ นุมไวโ้ ดย “บุคคลย่อมมเี สรภี าพในการชุมนมุ โดยสงบและ ปราศจากอาวธุ ” โดยไมฝ่ า่ ฝืนกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับความมน่ั คงของรัฐ ความปลอดภัยของสาธารณะความสงบเรยี บรอ้ ยหรือศลี ธรรมศีลธรรมอัน ดี และไมก่ ระทบต่อสิทธแิ ละเสรภี าพของคนอนื่ 29

ใบควำมร้ทู ่ี 1 เร่อื ง คนเท่าเทยี ม 12. เสรภี ำพในกำรนับถอื ศำสนำ สงั คมไทยเราประกอบดว้ ยคนหมูม่ ากทม่ี ีความแตกตา่ ง หลากหลายทางเพศวัยฐานะการศกึ ษาความคิดเหน็ ทางการเมืองรวมท้งั มี การนบั ถอื ศาสนาท่ีแตกตา่ งกนั รฐั ธรรมนูญไดบ้ ัญญตั ิให้บุคคลมีเสรีภาพ สมบูรณ์ในการนบั ถอื ศาสนาและปฏิบัติหรอื ประกอบพิธีกรรมตามหลัก ศาสนาของแต่ละคน เพอ่ื ให้ทกุ คนสามารถอย่รู ่วมกันได้อยา่ งมคี วามสุขและยอมรบั ความหลากหลายในการนบั ถอื ศาสนาตามความเช่ือของแตล่ ะคนโดยไม่มี ความขดั แยง้ อันเนอ่ื งมาจากความเชือ่ ทางศาสนารัฐธรรมนูญ มาตรา 38 จงึ กาหนดขอบเขตไวว้ ่าการใชเ้ สรภี าพจะนับถือศาสนาใดปฏิบตั ศิ าสนกจิ อย่างไรมีพิธีกรรมทางศาสนาอย่างไรต้องไม่เป็นปฏปิ กั ษ์ต่อหน้าท่ขี องปวง ชนชาวไทยไม่เป็นอนั ตรายตอ่ ความปลอดภยั ของรัฐและไม่ขัดตอ่ ความ สงบเรียบร้อยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน 30

ใบควำมรู้ท่ี 1 เร่อื ง คนเทา่ เทียม 13. สิทธิของผ้บู ริโภค ก่อนหน้านหี้ ากเราไปซอ้ื สินคา้ หรอื บริการแลว้ ถูกเอารดั เอา เปรียบเช่นสินค้าไม่มีคุณภาพไมต่ ดิ ปา้ ยราคาโฆษณาเกินความจรงิ หรือ ขายของเกนิ กว่าราคาที่กาหนด วธิ กี ารแกป้ ญั หา คอื เอาของไปคนื หรือเอาไปเปลยี่ นซ่ึงหลาย คร้งั ท่ีผู้ขายสนิ ค้าไม่ยอมรับคืนสินค้านั้นแมว้ ่าจะมกี ารร้องเรยี นไปที่ หน่วยงานราชการทม่ี หี น้าทีด่ ูแลค้มุ ครองผู้บรโิ ภคแต่กไ็ ม่สามารถ แก้ปญั หาได้ รัฐธรรมนญู มาตรา 57 จึงกาหนดใหเ้ ป็นสิทธขิ องผบู้ ริโภคที่ จะไดร้ ับความคุ้มครองมใี หต้ ้องถกู ละเมิดและยังใหป้ ระชาชนมีสิทธิรวมตวั กันจดั ต้งั องค์กรผูบ้ รโิ ภคข้ึนเพอื่ คมุ้ ครองและพิทักษ์สทิ ธิที่ของตนโดย องค์กรผบู้ ริโภคดังกลา่ วสามารถรวมกันจัดต้งั เป็นองคก์ รท่ีมีความเป็น อิสระและจะได้รบั การสนบั สนุนจากรัฐในด้านตา่ งๆรวมทัง้ ทางด้าน การเงนิ เพือ่ สนบั สนนุ การดาเนินการ 31

ใบควำมรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง คนเท่าเทยี ม 14. สทิ ธใิ นกำรแจง้ ควำมร้องทุกข์ ประชาชนมีสทิ ธริ ้องทกุ ขใ์ นเร่ืองต่าง ๆ และมสี ทิ ธฟิ อ้ ง หนว่ ยงานของรัฐได้ มาตรา 61 บุคคลย่อมมีสทิ ธิเสนอเรอื่ งราวรอ้ งทกุ ขแ์ ละไดร้ บั แจง้ ผลการพิจารณาภายในเวลาอนั สมควร ทั้งนี้ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ มาตรา 62 สิทธิของบุคคลท่ีจะฟ้องหน่วยงานราชการ หนว่ ยงาน ของรฐั รัฐวิสาหกิจ ราชการสว่ นทองถิ่น หรอื องค์กรอ่ืนของรฐั ทีเ่ ป็นนติ ิ บคุ คลใหรบั ผิดเนื่องจากการกระทาหรอื การละเวน้ การกระทาของ ขา้ ราชการพนักงาน หรอื ลูกจา้ งของหน่วยงานน้นั ย่อมไดร้ ับความ คุม้ ครอง ทง้ั นต้ี ามที่กฎหมายบญั ญตั ิ 32

ใบควำมรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง คนเทา่ เทยี ม 15. สิทธขิ องบคุ คลวยั ต่ำง ๆ สทิ ธขิ องเดก็ คนชรา และคนพกิ าร จะไดร้ บั ความคุ้มครอง โดยเด็กจะได้รับการดแู ลและคมุ้ ครองโดยรฐั จากความโหดร้ายทารุณ คนชราและคนพกิ ารมีสทิ ธไิ ดร้ บั ความช่วยเหลอื จากรัฐตามความ เหมาะสม รฐั ธรรมนญู มาตรา 53 เด็ก เยาวชน และบคุ คลในครอบครวั มสี ทิ ธิไดร้ บั ความคมุ้ ครองโดยรัฐจากการใช้ความรนุ แรงและการปฏบิ ัตอิ ัน ไมเ่ ปน็ ธรรม มาตรา 54 บคุ คลซึง่ มอี ายเุ กนิ 60 ปีและไม่มีรายไดเ้ พยี งพอแก่ การยังชพี รวมทั้งผทู้ ี่ยากไรย้ ่อมมีสทิ ธิ์ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ท่เี หมาะสมจาก รัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา 55 บคุ คลซง่ึ พิการหรือทุพพลภาพมีสทิ ธไิ ดร้ บั ส่งิ อานวย ความสะดวกอนั เป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออืน่ ของรฐั ท้ังน้ตี ามที่ กฎหมายบญั ญตั ิ 33

ใบควำมรู้ที่ 1 เร่อื ง คนเท่าเทยี ม 16. ชำยและหญงิ มสี ทิ ธิเ์ ท่ำเทียมกนั รัฐธรรมนญู มบี ทบัญญัติเพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและความเสมอ ภาคของบคุ คลไวใ้ นหลายมาตรารวมท้ังมาตรา 27 ท่บี ัญญัตไิ ว้ในวรรค หนง่ึ ว่าบคุ คลย่อมเสมอกนั ในกฎหมายมีสิทธิและเสรภี าพและได้รับความ คุม้ ครองตามกฎหมายเท่าเทียมกันแตก่ ย็ งั ต้อง บญั ญตั ิไว้ในวรรคท่ี๒วา่ ชายและหญงิ มสี ทิ ธ์ิเทา่ เทยี มกัน เหตุทต่ี อ้ งระบเุ น้นย้าว่าชายและหญิงมสี ิทธเิ ท่าเทยี มกนั นน้ั เพราะคา่ นยิ มในสงั คมซง่ึ แม้แตร่ ะเบียบกฎหมายยงั ให้คุณค่าของเพศชาย มากกวา่ หญิง ทาใหท้ ่ีผ่านมาผหู้ ญิงถูกเลือกปฏบิ ตั โิ ดยไม่เป็นธรรมหลาย ประการเชน่ ถูกจากัดกิจการในการเข้าทางานไม่ได้รบั การแตง่ ตง้ั ให้ กา้ วหนา้ ในหน้าท่กี ารงานเปน็ ตน้ บทบญั ญัตใิ นกฎหมายอยา่ งเดียวไม่เพยี งพอที่จะทาใหบ้ คุ คลมี ศักดศิ์ รคี วามเป็นมนษุ ยแ์ ละความเสมอภาคเท่าเทยี มกนั ได้ความรคู้ วาม เขา้ ใจกบั คนในสงั คมจึงมคี วามสาคัญและจาเป็นดังนน้ั การระบุคาว่าชาย และหญงิ มีสิทธเิ ทา่ เทยี มกันจึงเปน็ การสร้างความตระหนกั เพิ่มข้ึน 34

ใบควำมรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง คนเทา่ เทยี ม 17. หนำ้ ทข่ี องปวงชนชำวไทยตำมรัฐธรรมนญู รัฐธรรมนญู บญั ญตั ิให้คนไทยมีหน้าทที่ ตี่ อ้ งยึดถือและปฏิบัติ 10 ประการด้วยจติ สานกึ รบั ผดิ ชอบไดแ้ ก่ 1. พทิ ักษ์รกั ษาไวซ้ ึง่ ชาติศาสนาพระมหากษัตริย์และการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2. ป้องกันประเทศพิทกั ษ์รกั ษาเกยี รติภมู ิผลประโยชน์ของชาติ รวมทัง้ สาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดินและใหค้ วามรว่ มมอื ในการบรรเทาสา ธารณภยั 3. ไปใช้สิทธิเ์ ลอื กตงั้ หรอื ลงประชามตอิ ย่างอิสระโดยคานึงถงึ ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศเปน็ สาคัญ 4. รว่ มมือและสนบั สนนุ การอนรุ ักษแ์ ละคุ้มครองสิง่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละความหลากหลายทางชวี ภาพรวมทงั้ มรดกทาง วัฒนธรรม 5. ไม่รว่ มมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทกุ รปู แบบ 35

ใบควำมรู้ที่ 1 เรื่อง คนเทา่ เทยี ม 17. หน้ำท่ีของปวงชนชำวไทยตำมรัฐธรรมนญู (ตอ่ ) 6. เคารพและไม่ละเมิดสทิ ธิและเสรภี าพของบคุ คลอนื่ และไม่ กระทาการใดๆที่อาจก่อใหเ้ กิดความแตกแยกหรอื เกลยี ดชังในสงั คม 7. ปฏิบตั ติ ามกฎหมายอยา่ งเคร่งครัด 8. เข้ารับการศกึ ษาอบรมในการศึกษาภาคบงั คบั 9. ดอกราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญตั ิ 10. เสียภาษอี ากรตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ คนไทยทุกคนในฐานะพลเมอื งของประเทศจงึ มีหน้าทท่ี ตี่ อ้ ง ปฏบิ ตั ติ ามบทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญซึ่งเปน็ กฎหมายสูงสุดในการ ปกครองประเทศที่ตอ้ งยดึ ถือและปฏบิ ตั ิตาม 36

ใบกิจกรรมท่ี 1 สิทธิ เสรภี ำพตำมรัฐธรรมนญู กลมุ่ ท.ี่ ................... สมำชกิ 1……………………………….…. 4………………………………….... 2………………………….......... 5………………………………….... 3…………………………………. 6……………………………………. วัสดุอุปกรณก์ ลุม่ 1. กระดาษบรู๊ฟ 2. ปากกาเคมี 3. ประเดน็ ที่ตอ้ งศึกษา ประเดน็ ทตี่ อ้ งศกึ ษา มีดังนี้ 1. สทิ ธิ เสรภี าพตามรัฐธรรมนญู 2. บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนูญท่ีเกยี่ วขอ้ งกับสทิ ธิ และเสรีภาพ 3. หน้าท่ีของปวงชนชาวไทย 37

ใบกิจกรรมที่ 2 กระดำนสทิ ธ์ิ กลมุ่ ท.ี่ ................... สมำชิก 1……………………………….…. 4………………………………….... 2………………………….......... 5………………………………….... 3…………………………………. 6……………………………………. วสั ดอุ ุปกรณก์ ลมุ่ 1. ผังสทิ ธดิ ้านต่าง ๆ ของประชาชน ถำ้ มพี ร 1 ขอ้ นักเรยี นอยำกไดร้ ับสทิ ธติ ำ่ ง ๆ ตำมหัวขอ้ ดำ้ นล่ำงนี้อะไรบำ้ ง สิทธิและเสรภี าพในการศกึ ษาหาความรู้ สทิ ธิไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. สทิ ธิในชีวติ และรา่ งกาย สิทธิในการรอ้ งทกุ ขต์ ่อหน่วยงานของรฐั ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. สิทธิของประชาชนในการรบั รูข้ อ้ มลู ข่าวสาร เสรภี าพในการนบั ถือศาสนา ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. เสรภี าพในการชมุ นมุ สทิ ธขิ องผู้บรโิ ภค ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. สิทธิของผสู้ งู อายุ ชำยและหญงิ มสี ทิ ธิ์เท่ำเทียมกัน ................................................................. ................................................................. .............................................................3.8... .................................................................

แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง คนเทา่ เทียม คาชแ้ี จง (จงเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องเพียงข้อเดียว) 1. ข้อใดไมใ่ ช่หนา้ ทีข่ องประชาชนทม่ี ีตอ่ รฐั ก. ไปใช้สทิ ธ์ิเลอื กตัง้ ข. เสยี ภาษอี ากรตามทีก่ ฎหมายบญั ญัติ ค. เข้าไปรับการศกึ ษาอบรมในการศกึ ษาภาคบังคบั ง. รัฐตอ้ งดูแลให้มกี ารปฏิบัติตามและบงั คับใช้กฎหมายอย่างเครง่ ครดั 2. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ต้องเกีย่ วกบั ความเสมอภาคภายใตร้ ัฐธรรมนญู ก. บุคคลผมู้ ีคุณวุฒิมากกว่าย่อมมีสิทธิได้รบั เงินเดอื นสูงกวา่ ผู้มีคณุ วฒุ ิน้อย ข. ผู้พกิ ารมสี ิทธิ์ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากรัฐ ค. ชายและหญงิ มสี ิทธ์ิเทา่ เทยี มกัน ง. บคุ คลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย 3. นายเขยี วขบั ข่รี ถจกั รยานยนตอ์ อกจากบ้านระหวา่ งทางถูกตารวจยึดกญุ แจรถไว้ โดย ที่นายเขยี วมไิ ด้กระทาความผดิ ใด เหตุการณท์ ีต่ ารวจยดึ กุญแจรถของนายเขียวถือ เป็นการละเมิดสทิ ธิตามข้อใด ก. สทิ ธขิ องผูบ้ ริโภค ข. สทิ ธใิ นความเป็นอยู่ส่วนตัว ค. สิทธิในชีวติ และร่างกาย ง. สทิ ธใิ นการเขา้ รับบริการของรัฐ 4. การจบั กมุ คมุ ขงั บุคคลจะทาได้ต้องมคี าส่ังหรือหมายศาล เพราะเปน็ การเคารพใน สิทธิตามขอ้ ใด ก. สิทธิในทรพั ย์สิน ข. สิทธิในชีวติ และรา่ งกาย ค. สิทธิของบคุ คลในครอบครวั ง. สทิ ธใิ นความเปน็ อยสู่ ว่ นตวั 5. ความเป็นอิสระของคนเราที่จะทาหรอื ไม่ทาอะไรก็ไดแ้ ตต่ อ้ งไม่ขดั ตอ่ กฎหมายเปน็ ความหมายของข้อใด ก. สิทธิ ข. กฎหมาย ค. เสรีภาพ ง. ความเสมอภาค 39

แบบทดสอบหลงั เรียน (ตอ่ ) เรอ่ื ง คนเท่าเทียม คาช้ีแจง (จงเลือกคาตอบท่ถี กู ตอ้ งเพยี งข้อเดยี ว) 6. นางวิมลกักขังเด็กชายเกง่ ซงึ่ เป็นบตุ รไว้ในห้องตามลาพงั ขณะออกไปทางาน นอกบ้านเหตุการณ์ดงั กลา่ วเปน็ การละเมดิ สทิ ธติ ามข้อใด ก. สทิ ธดิ า้ นการศกึ ษา ข. สทิ ธดิ ้านสขุ ภาพอนามัย ค. สิทธิในการประกอบอาชพี ง. สทิ ธิในการรับรู้ขอ้ มูลขา่ วสาร 7. แมข่ องหญงิ ขอใหห้ ญงิ ออกมาจากโรงเรยี นเพอื่ มาช่วยครอบครวั ทางาน ในขณะทหี่ ญงิ เวียนอยใู่ นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วเป็นการ ละเมิดสิทธิตามข้อใด ก. สทิ ธิดา้ นการศกึ ษา ข. สิทธิดา้ นสุขภาพอนามยั ค. สทิ ธิในการประกอบอาชีพ ง. สทิ ธิในการรับรู้ขอ้ มูลข่าวสาร 8. รัฐธรรมนูญบญั ญัติว่าบคุ คลซ่ึงมีอายุเกนิ กว่ากป่ี ีมีสทิ ธิ์ได้รบั ความช่วยเหลือที่ เหมาะสมจากรัฐตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ ก.เกิน 50 ปี ข.เกิน 60 ปี ค.เกนิ 59 ปี ง.เกิน 69 ปี 9. ข้อใดคอื หนา้ ที่ของประชาชนท่ีมตี ่อรัฐ ก.เลีย้ งดูบดิ ามารดา ข.ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเครง่ ครดั ค.คานงึ ถงึ สทิ ธิของตนเองและคนในครอบครวั เป็นสาคญั ง.ให้ความสาคัญตอ่ เจา้ หน้าทขี่ องรัฐ 10. บคุ คลในข้อใดปฏิบัตติ นได้ถูกตอ้ งตามเสรภี าพในการชมุ นุม ก. น้อยและกลมุ่ ผู้ชมุ นมุ ประท้วงเดินขบวนเขา้ ไปยึดสนามบินดอนเมือง ข. แดงและกลุ่มผชู้ ุมนุมประทว้ งขอศาลากลางจงั หวัดจะได้รับความ เสยี หาย ค. ใหญพ่ กมดี ตดิ ตัวไประหว่างเขา้ รว่ มชุมนมุ ประท้วงเพ่ือเอาไวป้ อ้ งกนั ตวั เอง ง. กลมุ่ ผชู้ มุ นมุ ประทว้ งชปู า้ ยข้อความขอให้รฐั บาลแกไ้ ขปัญหาราคาลาไย 40

บรรณำนกุ รม สุเทพ เอ่ียมคง. 2564. สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย. สบื ค้นเมอ่ื 10 ตลุ าคม 2654 จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ. 2564. สิทธิและหนา้ ท่ขี องประชาชนตามรฐั ธรรมนญู . สืบค้นเมือ่ 10 ตลุ าคม 2654 จาก https://www.dsi.go.th คณะกรรมการการเลือกตง้ั . 2560. สทิ ธิ เสรีภาพและหน้าทขี่ องปวงชนชาวไทย. สืบคน้ เมื่อ 10 ตุลาคม 2654 จาก https://www.ect.go.th/lamphun/ewt_dl_link.php?nid=483 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook