Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 1

ใบความรู้ที่ 1

Published by tanavut.k, 2020-05-25 00:55:40

Description: ใบความรู้ที่ 1

Search

Read the Text Version

1 หนว่ ยที่ 1 ความรู้เก่ยี วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม สาระสาคญั คอมพวิ เตอร์เปน็ เครื่องอเิ ล็กทรอนิกส์ท่ีใช้ในการประมวลผล รับ-สง่ ข้อมลู โดยใช้อุปกรณ์ โทรคมนาคมโดยความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ มกี ารพัฒนาเคร่ืองมืออปุ กรณ์โทรคมนาคม ทชี่ ว่ ยให้การสอ่ื สารผา่ นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เป็นไปได้อย่างทว่ั ถึงและมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ ใน ปจั จุบนั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เพือ่ ให้มคี วามหมายคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อใหท้ ราบความหมายของระบบโทรคมนาคม 3. สามารถบอกชนดิ ของอุปกรณ์โทรคมนาคม 4. เพอ่ื ให้ทราบองคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 5. เพ่ือใหท้ ราบประเภทของคอมพวิ เตอร์ 6. เพื่อทราบลกั ษณะของการประมวลผลคอมพวิ เตอร์แตล่ ะประเภท 7. เพื่อทราบลักษณะของเครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์ 8. เพื่อสามารถอธบิ ายลกั ษณะของเครื่องโนต๊ บุก๊ ปาลม์ และ แท็บเล็ต 9. เพือ่ ใหท้ ราบประเภทของสัญญาณในระบบโทรคมนาคม 10. เพ่ือทราบคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีในการใชค้ อมพวิ เตอร์ มีความสามคั คีในการทางานเปน็ ทีม

2 1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหค้ วามหมายของคอมพิวเตอรไ์ วว้ ่า \"เคร่ืองอิเล็กทรอนิกสแ์ บบอตั โนมัติ ทาหนา้ ท่เี หมือนสมองกล ใช้ สาหรับแกป้ ญั หาต่างๆ ท่งี ่ายและซบั ซ้อนโดยวธิ ีทางคณติ ศาสตร\"์ คอมพวิ เตอร์ หรอื ในภาษาไทยว่า คณติ กรณ์ เป็นเครือ่ งจักรแบบ สง่ั การได้ทอี่ อกแบบมาเพ่อื ดาเนินการกับลาดบั ตวั ดาเนินการทางตรรกศาสตร์หรือ คณิตศาสตร์ โดยอนกุ รมน้ีอาจเปล่ยี นแปลงได้ เมอ่ื พรอ้ ม สง่ ผลให้คอมพวิ เตอร์สามารถแกป้ ัญหาไดม้ ากมาย คอมพวิ เตอร์ถกู ประดิษฐ์ออกมาให้ ประกอบไปดว้ ยความจารปู แบบต่างๆ เพ่ือเก็บข้อมูล อย่างนอ้ ยหนึง่ ส่วนท่มี หี น้าทดี่ าเนนิ การคานวณ เก่ียวกับตวั ดาเนนิ การทาง ตรรกศาสตร์ และตัวดาเนนิ การทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมทีใ่ ช้ เปล่ยี นแปลงลาดบั ของตวั ดาเนนิ การโดยยดึ สารสนเทศที่ถกู เก็บไว้เปน็ หลัก อุปกรณ์เหล่าน้จี ะยอมให้ นาเขา้ ข้อมูลจากแหลง่ ภายนอก และส่งผลจากการคานวณตัวดาเนินการออกไป 1.2 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์มอี ยหู่ ลายประเภทดว้ ยกนั มกี ารแบง่ ประเภทตามขนาดออกเปน็ 6 ประเภทคือ 1.2.1 ซุปเปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer) เปน็ คอมพวิ เตอรข์ นาดใหญท่ ่ีสดุ และมขี ีดความสามารถสูงที่สดุ ภายในประกอบไปดว้ ย หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Process Unit) นบั พนั ตัวทีส่ ามารถคานวณดว้ ยความเรว็ หลาย ล้านคาสง่ั ต่อวินาที จดั เป็นคอมพิวเตอร์ทม่ี รี าคาแพงทสี่ ุด และเรว็ ทีส่ ดุ ตามความหมายของซุปเปอร์ คอมพวิ เตอร์ รปู 1.1 แสดงเคร่ืองซปุ เปอร์คอมพิวเตอร์ ประเภทของงาน เหมาะกับงานท่ีมีการประมวลผลขอ้ มลู ปรมิ าณมาก เช่น การวิเคราะห์ ข้อมลู วจิ ัยทางวิทยาศาสตร์ การคน้ ควา้ ด้านอากาศยานและอาวธุ ยุทโธปกรณ์ การสารวจสามะโน ประชากร งานพยากรณ์อากาศ การออกแบบอากาศยาน การสรา้ งแบบจาลองระดบั โมเลกุลการวจิ ัย นวิ เคลียร์ และการทาลายรหัสลบั

3 1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เครอ่ื งเมนเฟรมเปน็ เคร่ืองท่ีได้รบั ความนยิ มใช้ในองค์กรขนาดใหญท่ ่ัวๆไปจัดเป็นเคร่ืองที่มี ประสิทธิภาพรองลงมาจากซูเปอรค์ อมพวิ เตอร์ เป็นคอมพวิ เตอร์ทมี่ สี มรรถนะสูงมาก แต่ยงั ต่ากว่า ซเู ปอร์คอมพิวเตอร์ คือปกตสิ ามารถทางานได้รวดเร็ว หลายสบิ ลา้ นคาสง่ั ต่อวินาที สาหรับสาเหตุท่ีได้ ช่ือว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ กเ็ พราะครั้งแรกที่สรา้ งคอมพิวเตอรล์ ักษณะน้ีไดส้ ร้างไว้บนฐานรองรบั ท่ี เรียกว่า คสั ซี่ (Chassis) โดยมีช่อื เรยี กฐานรองรบั นีว้ ่า เมนเฟรม รปู 1.2 แสดงเคร่อื งเฟรมคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ ความเหมาะกบั การใชง้ าน ท้ังในด้านวศิ วกรรม วิทยาศาสตร์ และ ธรุ กจิ โดยเฉพาะงานทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ข้อมลู จานวนมากๆ เช่น งานธนาคาร ซงึ่ ตอ้ งตรวจสอบบัญชลี ูกค้า หลายคน งานของสานักงานทะเบยี นราษฎร์ ทเ่ี ก็บรายชอื่ ประชาชนประมาณ 60 ลา้ นคน พรอ้ ม รายละเอียดต่างๆ งานจดั การบันทึกการสง่ เงนิ ของผู้ประกับตนหลายล้านคน ของสานักงาน ประกนั สังคม กระทรวงแรงงาน คอมพิวเตอร์เมนเฟรม ที่มีชอ่ื เสยี งมาก คือ เคร่ืองของบริษทั IBM ในปัจจบุ ัน ความนิยมใชเ้ คร่อื งเมนเฟรม ในหนว่ ยงานตา่ งๆ ไดล้ ดน้อยลงมาก เพราะราคา เครอื่ งค่อนข้างแพง การใชง้ านค่อนข้างยาก และมผี ู้รู้ด้านนี้ค่อนข้างนอ้ ย สถานศกึ ษาท่ีมเี คร่ืองระดบั นี้ ไวใ้ ชส้ อน ก็มเี พยี งไม่ก่ีแหง่ เหตผุ ลสาคัญอกี ประการหน่งึ คือ คอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ กว่า ได้รับการ พัฒนาให้มสี มรรถนะมากข้นึ จนสามารถทางานไดเ้ ท่ากบั เครอ่ื งเมนเฟรม แต่ราคาถูกกว่าอยา่ งไรก็ ตามเครื่องเมนเฟรม ยงั คงมีความจาเป็น ในงานทีต่ ้องใชข้ ้อมลู มากๆ พร้อมๆ กันอย่ตู ่อไปอกี ท้งั นี้ เพราะ เคร่ืองเมนเฟรมสามารถพ่วงต่อ และควบคุมอปุ กรณ์รอบข้าง (Peripheral) เชน่ เครื่องพมิ พ์ เครอื่ งขับเทปแม่เหลก็ เคร่อื งขบั จานแมเ่ หล็ก ฯลฯ ได้เปน็ จานวนมากในเวลาเดยี วกนั

4 1.2.3 มินคิ อมพวิ เตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพวิ เตอร์ที่มสี มรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ชา้ กว่า และควบคมุ อปุ กรณร์ อบข้างไดน้ ้อยกวา่ จุดเดน่ สาคญั ของเครอ่ื งมินคิ อมพวิ เตอร์ ก็คือ ราคายอ่ มเยากว่าเมนเฟรม การใชง้ านก็ไมต่ ้องใชบ้ ุคลากรมากนกั นอกจากน้นั ยงั มผี ูท้ ่รี ู้วธิ ใี ช้มากกว่าดว้ ย เพราะเคร่ืองประเภทน้ี มีใชต้ าม โรงแรม โรงพยาบาล รวมท้งั ในสถานศึกษาดับอดุ มศกึ ษาหลายแหง่ รูป 1.3 แสดงเครอื่ งมินคิ อมพวิ เตอร์ มินิคอมพวิ เตอร์ เหมาะกับงานหลายประเภท คอื ใช้ได้ท้ังในงานวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม มีใชต้ ามหนว่ ยงานราชการระดบั กรมเครื่องมินคิ อมพวิ เตอร์ ที่ไดร้ บั ความนิยมใชก้ นั มี บรษิ ทั Digital Equipment Corporation หรอื DEC เคร่ือง Unisys ของบริษัท Unisys เครื่อง NEC ของบริษัท NEC เครอ่ื ง Nixdorf ของบรษิ ัท Siemens-Nixdorf 1.2.4 เวิรก์ สเตช่นั (Workstation) เวิร์กสเตชน่ั ถกู ออก แบบมาให้เป็นคอมพวิ เตอร์แบบตัง้ โต๊ะทมี่ คี วามสามารถในการคานวน ด้านวศิ วกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆทเ่ี นน้ การแสดงผลด้านกราฟฟิกตา่ ง ๆ เช่นการนามาชว่ ย ออกแบบภาพกราฟฟิกในโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ือออกแบบชิน้ ส่วนใหม่ ๆ เป็นต้นซึ่งจากการท่ตี ้อง ทางานกราฟฟิกท่ีมคี วามละเอียดสงู ทาใหเ้ วิรค์ สเตชนั่ ใชห้ นว่ ยประมวลผลทมี่ ีประสิทธภิ าพมากรวมทงั้ มหี น่วยเกบ็ ข้อมูลสารอง จานวนมากด้วย มีผู้ใช้บางกลุ่มเรียกเคร่ืองระดับเวริ ์คสเตชั่นนว้ี า่ ซูเปอร์ไม โคร (super micro) เพราะออกแบบมาให้ใช้งานแบบตัง้ โต๊ะแต่ชิปทใี่ ชท้ างานนั้นแตกตา่ งกนั มาก เนื่องจาก เวริ ค์ สเตช่ันสว่ นมากใชช้ ิปประเภท RISC (reduce instruction set computer) ซง่ึ เปน็ ชิป ท่ีลดจานวนคาสงั่ ทส่ี ามารถใช้สง่ั งานให้เหลอื เฉพาะทจี่ าเป็นเพอื่ ให้สามารถทางานได้ด้วยความเรว็ สูง

5 1.2.5 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และใช้ทางานคนเดยี ว นิยมเรียกอีกชือ่ หนงึ่ วา่ คอมพวิ เตอร์ ส่วนบคุ คล (Personal Computer) เป็นคอมพิวเตอรใ์ ชง้ านทพ่ี บได้อยา่ งแพร่หลาย จดั ว่าเป็นเคร่อื ง คอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ทง้ั ระบบใช้งานครั้งละเคร่อื ง หรือใชง้ านในลกั ษณะเครือข่าย แบ่งไดห้ ลาย ลักษณะตามขนาด เชน่ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคลแบบตั้งโตะ๊ (Personal Computer) หรือแบบ พกพา (Portable Computer) ลักษณะของไมโครคอมพวิ เตอรส์ ามารถแบง่ ได้ เปน็ รปู แบบยอ่ ยดงั นี้ 1) เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ างานท่ัวไป ท่ีเรียกวา่ Desktop Models รวมถงึ tower รูป 1.4 แสดง Desktop Models รวมถงึ Tower Models นอกจากนี้ ยงั มคี อมพวิ เตอร์แบบผู้ใชค้ นเดียวทไี่ ด้รับการออกแบบใหส้ ามารถพกพาตดิ ตัวได้ สะดวก เช่นคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุค (Notebook computer) คอมพิวเตอรป์ าล์มทอป (Palmtop computer) และ PDA (Personal Digital Assistant) ซึง่ คอมพิวเตอร์เหลา่ น้ี จัดไดว้ า่ เป็นเครอื ง ไมโครคอมพวิ เตอร์ชนิดหนึง่ ขนากเลก็ นา้ หนกั เบา และมีรปู ลกั ษณท์ ี่เหมาะกับการพกพา 2) คอมพวิ เตอรโ์ น๊ตบุ๊ก หรือ แล็ปทอ็ ป เปน็ พีซแี บบเคลือ่ นที่ได้ มีนา้ หนกั เบา มีหน้าจอ บาง หรอื มักจะเรยี กวา่ คอมพิวเตอรโ์ นต๊ บ๊กุ เพราะมีขนาดเล็กสามารถทางานด้วยแบตเตอร่ี สามารถ นาไปใช้งานได้ทุกที่ โดยจะมสี ่วนหน้าจอรวมกับสว่ นแป้นพิมพ์ สามารถกพับได้ และนา้ หนักเบา รปู 1.5 แสดง Notebook computer

6 คอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บุ๊กแบ่งออกได้เปน็ 2 รูปแบบ คือ (1) อลั ตร้าบ๊กุ (Ultra book) เปน็ โน๊ตบุ๊กทเี่ นน้ ความบางและน้าหนกั เบา มีจอภาพ ขนาดใหญ่ต้ังแต่ 13-17 นว้ิ สาหรบั ความบางของตวั เคร่อื งจะบางน้อยกว่า 21 มม. มีแบตเตอร่ที ใ่ี ช้ งานได้ยาวนาน (2) โน๊ตบุ๊ก (Net Book) มีหน้าจอขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก คือมีขนาด ประมาณ 8.9-11.6 นิว้ มคี วามหนาประมาณ 1 น้ิว เหมาะสมกบั การใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ตมากกวา่ ใช้ งานท่วั ไป และไม่มีซดี ีรอม 3) แทบ็ เล็ตคอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) เรยี กสน้ั ๆว่า แท็บเลต็ พซี ี เป็น คอมพิวเตอร์ท่รี วมการทางานทกุ อย่างไว้ในจอสมั ผัสโดยใชป้ ากกาสไดลัส ปากกาดจิ ติ อล หรอื ปลาย นว้ิ เป็นอปุ กรณ์อินพตุ พ้นื ฐาน แทนการใชค้ ยี บ์ อรด์ และเมาส์ แต่จะมอี ยูห่ รือไม่มีก็ได้ มีอุปกรณ์ไร้สาย สาหรับการเชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ นต็ และระบบเครือข่ายภายใน แทบ็ เลต็ เป็นเทคโนโลยีเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ค่ี ุณสามารถพกตดิ ตวั ได้โดยวตั ถุประสงค์ ของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ชนิดนี้ใชเ้ พื่อทดแทนสมุดหรอื กระดาษ รูป 1.6 แสดงเครือ่ งแท็ปเล็ต แท็บเล็ต ในความหมายแทจ้ ริงแล้วกค็ อื แผ่นจารึกท่เี อาไวบ้ ันทึกข้อความต่างๆ โดยการเขียน (อาจจะเป็นกระดาษ, ดนิ , ขีผ้ ื้ง, ไม,้ หินชนวน) และ มกี ารใช้กนั มานานแลว้ ในอดีต แตใ่ นปจั จุบนั มกี าร พัฒนาคอมพิวเตอรท์ ่ีใช้แนวคิดนีข้ ึน้ มาแทนทซี่ ึง่ มีหลาย บริษัทได้ให้คานิยามที่แตกตา่ งกันไป หลกั ๆแลว้ มี 2 ความหมายด้วยกันคือ \"แท็บเลต็ พีซี - Tablet PC (Tablet Personal Computer)\" และ \"แทบ็ เลต็ คอมพวิ เตอร์ - Tablet Computer\" หรือเรยี กสนั้ ๆว่า \"แท็บเลต็ - Tablet\" ใน ปัจจบุ ัน แทบ็ เล็ต ถกู พัฒนาใหม้ ีความสามารถใกล้เคยี งเครื่องคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊ค มีขนาดเล็กสามารถถอื ดว้ ยมือเดียว และ นา้ หนกั เบาโดยมี 3 รปู แบบคือ (1) Convertible Tablet มีโครงสรา้ งเดียวกับคอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บกุ๊ แตต่ ัวจอภาพสามารถ หมนุ แลว้ พบั ซ้อนบนคยี บ์ อร์ดหรือสามารถแยกส่วนได้

7 รปู 1.7 แสดงตัวอยา่ ง Convertible Tablet (2) State Tablet จะเปน็ แท็บเล็ตที่มเี พยี งหน้าจอคลา้ ยกับกระดานชนวน จะมีคยี ์บอรด์ ใน ตวั แต่บางยหี่ อ้ สามารถใชป้ ากกาเปน็ อุปกรณ์อินพุตแทนคีย์บอรด์ รปู 1.8 แสดงตัวอยา่ ง State Tablet (3) อุปกรณ์พกพา (Personal Digital Assistant :PDA) เป็นอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์พกพา ขนาดเลก็ สามารถเชอื่ มต่อกับระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตไดด้ ว้ ยระบบไร้สายสามารถในการเพิ่มเติม แอพพลเิ คชั่นเพือ่ ใหใ้ ชง้ านด้านอนื่ ๆ ได้ เป็นอุปกรณเ์ คล่อื นทีส่ าหรบั ผูค้ นยุคใหม่และได้รบั ความนยิ มมาก ข้ึน มีขนาดเล็กกกวา่ คอมพวิ เตอร์โน๊ตบุ๊ก ปจั จุบนั เลกิ ใชง้ าน และมีการพฒั นาเปน็ เครื่องโทรศพั ท์มอื ถอื ท่มี ี จอกว้างขึ้น สามารถใส่ซิมเพ่ือโทรศพั ท์ได้ และใช้เปน็ แทบ็ เลต็ เรยี กว่า แฟบเลต็ รปู 1.9 แสดงตัวอย่าง Personal Digital Assistant :PDA

8 แฟบเล็ต (องั กฤษ: Phablet ,/ˈfæblɪt/) เป็นสง่ิ ทเ่ี รียกอปุ กรณ์ที่อยรู่ ะหว่าง \"มือถือ\" (Phone) กบั \"แทบ็ เล็ต\" (Tablet)[1] ซงึ่ จะเปน็ สมารท์ โฟน ท่มี ขี นาดหนา้ จอระหว่าง 5.1–7 น้ิว (130– 180 มม.) โดยแฟบเล็ตถูกสรา้ งออกมาเพ่ือใหส้ ามารถมีฟงั ก์ชันสาหรบั ทางานระหว่างสมารท์ โฟนกับ แท็บเลต็ โดยแฟบเลต็ จะมขี นาดใหญ่กวา่ สมาร์ทโฟนท่ัวไป แตจ่ ะเลก็ กว่าแท็บเล็ตที่มีขนาดหนา้ จอ ใหญ่กวา่ ทาให้มีความสะดวกสบายในการพกพามากกว่าแท็บเลต็ แฟบเลต็ นน้ั จะเหมาะสมกบั การเขา้ อนิ เทอร์เน็ต และการใชส้ ่ือมัลตมิ ีเดยี ตา่ งๆ ซึ่งมีความเหมาะสมมากกวา่ สมาร์ทโฟนปกติ แฟบเล็ตน้ัน เริ่มมีมากขน้ึ ในยุคปจั จบุ นั ยกตัวอย่างเช่น ในชดุ ของ กาแลคซี โนต้ โดย ซมั ซงุ ซึ่งซอฟต์แวร์ออกแบบ มาสาหรับการใชป้ ากกาสไตลัส ในการเขียนหรอื วาด แฟบเลต็ ที่ไดร้ ับความนยิ มมากทสี่ ดุ ต้งั แต่การเปดิ ตวั คือ กาแลคซโี น้ต โดยในเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 ไอเอชเอส ได้รายงานว่า แฟบเลต็ รุน่ นีถ้ ูกขายไปแลว้ 25.6 ลา้ นเคร่ืองในปี พ.ศ. 2555 และคาดว่าจะเติบโตเป็น 60.4 ลา้ นเครอื่ งในปี พ.ศ. 2556 และ 146 ล้านเครือ่ ง ในปี พ.ศ. 2559 รปู 1.9 แสดงตวั อยา่ ง เครื่องปาลม์ รปู 1.10 แสดงตวั อยา่ งแฟบเลต็ แฟบเลต็ นน้ั ในช่วงแรกถกู ออกแบบมาเพื่อตลาดเอเชียท่ผี ู้บรโิ ภคไมต่ อ้ งการสมาร์ทโฟนที่มี ขนาดเลก็ เกินไปและแท็บเล็ตทมี่ ีขนาดใหญ่เกินไป เหมือนกับผู้บริโภคในทวปี อเมรกิ าเหนืออย่างไรก็ ตาม แฟบเลต็ ก็ได้ประสบความสาเร็จในทวปี อเมริกาเหนือด้วย ซึ่งระบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์ ตั้งแต่ รุ่น 4.0 เป็นต้นมา มีคณุ ลักษณะเหมาะกบั อปุ กรณ์ท่ีมขี นาดหน้าจอใหญ่ เช่นเดยี วกับหนา้ จอขนาดเล็ก ส่วนผ้ใู ชท้ ่ีมอี ายมุ าก ก็ต้องการอุปกรณ์ทม่ี ีขนาดจอใหญ่ๆเช่นกัน เนือ่ งจากปญั หาด้านสายตา ขณะท่ี ผูผ้ ลิตในปจั จบุ ันก็ผลติ แฟบเล็ตท่มี ีขนาดหน้าจอ 5.1 ถงึ 7 นิว้ มากข้ึน สว่ นทางด้านแอ็ปเปลิ (ในยคุ ของ สตีฟ จ็อบส์) ปฏเิ สธที่จะผลติ อุปกรณ์ท่มี หี นา้ จอใหญก่ วา่ ไอโฟน ท่มี ขี นาดหน้าจอ 3.5 นิว้ (89 มม.) และเลก็ กว่า ไอแพด ที่มขี นาดหนา้ จอ 9.7 น้ิว (250 มม.) ในปี พ.ศ. 2555

9 1.2.6 ไมโครคอนโทลเลอร์ (Microcontrollers) ไมโครคอนโทรลเลอร์ (องั กฤษ: microcontroller มักย่อว่า µC, uC หรือ MCU) คอื อุปกรณ์ ควบคมุ ขนาดเลก็ ซงึ่ บรรจคุ วามสามารถท่คี ลา้ ยคลงึ กบั ระบบคอมพวิ เตอร์ ในไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ รวมเอาซีพียู, หนว่ ยความจา และพอร์ต ซง่ึ เปน็ ส่วนประกอบหลกั สาคญั ของระบบคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ไว้ ด้วยกนั โดยทาการบรรจุเขา้ ไว้ในตวั ถงั เดยี วกัน ไมโครคอนโทรลเลอร์ เป็นคอมพิวเตอร์แบบฝงั ตวั (Embedded Computers) ออกแบบมา เปน็ พิเศษ มขี นาดเลก็ ปอ้ นโปรแกรมเพ่อื ใหท้ างานด้านใดดา้ นหนงึ่ โดยเฉพาะสามารถสงั เกตได้จาก อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท่วั ไปในปัจจุบนั มกั มเี ป็นส่วนประกอบแทบท้ังสิน้ เช่น สมารท์ ทวี ี เครือ่ งไมโครเวฟ เครือ่ งซักผา้ และต้เู ยน็ เป็นตน้ รปู 1.11 แสดงตัวอย่างสมารท์ ทวี ี 1.3 อปุ กรณโ์ ทรคมนาคม (Telecommunications) โทรคมนาคม (องั กฤษ: Telecommunication) หมายถงึ การสื่อสารระยะไกล โดยใชเ้ ทคโนโลยี ตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ผ่านทางสญั ญาณไฟฟ้า หรือคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ เน่อื งจากเทคโนโลยที ่ี แตกต่างกันจานวนมากทเี่ ก่ยี วข้องกบั คานี้ จึงมักใช้ในรปู พหูพจน์ เช่น Telecommunications เทคโนโลยีการสอ่ื สารโทรคมนาคมในช่วงตน้ ประกอบด้วยสัญญาณภาพ เชน่ ไฟสญั ญาณ, สญั ญาณควนั , โทรเลข, สัญญาณธงและ เคร่ืองส่งสัญญาณดว้ ยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ตวั อยา่ งอ่นื ๆ ของการส่ือสารโทรคมนาคมก่อนช่วงที่ทนั สมัยไดแ่ ก่ ขอ้ ความเสียง เชน่ กลอง, แตร และ นกหวดี เทคโนโลยีการส่อื สารโทรคมนาคมด้วยไฟฟา้ และแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ได้แก่โทรเลข, โทรศพั ท์และ โทรพิมพ์, เครอื ข่าย, วทิ ยุ, เคร่ืองส่งไมโครเวฟ, ใยแกว้ นาแสง, ดาวเทยี มส่ือสารและอินเทอร์เน็ตโดย อาศยั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าในการสง่ สญั ญาณไปในอวกาศ เช่น การส่งคล่ืนวทิ ยุ โทรทศั น์ และการสง่

10 คลืน่ ไมโครเวฟ และการส่งสัญญาณดวงเดยี ว โดยจุดทีส่ ่งข่าวสารกบั จุดรับอยู่ห่างกัน และข่าวสารทส่ี ง่ จะเฉพาะเจาะจงผู้รบั คนใดคนหนงึ่ หรอื การส่งแบบผรู้ บั ท่ัวไปก็ได้ โทรคมนาคมเปน็ การใชส้ ื่ออุปกรณร์ บั ไฟฟา้ ต่าง ๆ เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ โทรศพั ท์ โทรสาร และ โทรพิมพ์ เพ่ือการส่อื สารในระยะไกล โดยอุปกรณเ์ หลา่ น้จี ะแปลงข้อมลู รูปแบบต่าง ๆ เช่น เสยี ง และภาพไปเป็นสัญญาณไฟฟ้า สัญญาณเหลา่ น้ีจะถกู ส่งไปโดยสอ่ื เช่น สายโทรศัพท์ หรือคล่ืนวทิ ยุ เมือ่ สญั ญาณไปถงึ จุดปลายทาง อปุ กรณ์ด้านผ้รู บั จะรับและแปลงกลบั สญั ญาณไฟฟ้าเหลานีใ้ ห้เป็น ขอ้ มลู ทสี่ ามารถเขา้ ใจได้ เชน่ เปน็ เสียงทางโทรศัพท์ หรอื ภาพบนจอโทรทัศน์ หรอื ขอ้ ความและภาพ บนจอคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมจะช่วยใหบ้ คุ คลสามารถติดตอ่ สารกนั ไดไ้ มว่ ่าจะอยูท่ ี่ใดๆ ในโลก ในรูปแบบของข่าวสาร ความรู้ และความบันเทิง 1.4 องคป์ ระกอบของระบบโทรคมนาคม โทรคมนาคม (Telecommunications) หมายถงึ การส่อื สารข้อมูลระยะทางไกลในรปู แบบ สัญญาณอีเล็กทรอนกิ ส์ ซงึ่ ในอดตี ระบบโทรคมนาคมใหบ้ ริการในรูปแบบของสญั ญาณเสียงผา่ น สายโทรศพั ท์ท่ีเรยี กกนั ว่าสัญญาณในระบบ อนาลอก (Analog Signal) แต่ในปจั จุบันสัญญาณ โทรคมนาคมกาลังกลายเป็นการถา่ ยทอดสญั ญาณในรปู แบบดจิ ติ อล (Digital Signal) ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) คอื ระบบท่ปี ระกอบดว้ ยฮารด์ แวรแ์ ละ ซอฟท์แวร์จานวนหนงึ่ ทสี่ ามารถทางานรว่ มกนั และถูกจดั ไวส้ าหรับการสือ่ สารข้อมลู จากสถานทแ่ี ห่ง หนึง่ ไปยังสถานท่อี ีกแห่งหน่ึงซ่งึ สามารถถ่ายทอดข้อความ ภาพกราฟฟิก เสียงสนทนา และวิดที ัศน์ ได้ มรี ายละเอยี ดของโครงสร้างสว่ นประกอบดังนี้ 1.4.1 เครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ รือเคร่อื งมอื เปลย่ี นปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เช่น โทรศัพท์ หรือไมโครโฟน เปน็ ต้น รปู 1.11 แสดงตวั อย่างเคร่ืองโทรศพั ท์รุน่ ตา่ ง ๆ

11 รปู 1.13 แสดงไมโครโฟนรุ่นต่าง ๆ 1.4.2 เครอ่ื งเทอร์มนิ อลสาหรับการรับข้อมลู หรือแสดงผลข้อมูล เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือ โทรศพั ท์ รูป 1.14 แสดงการสง่ และรบั สญั ญาณโทรศพั ท์ 1.4.3 อปุ กรณ์ประมวลผลการสอื่ สาร (Transmitter) ทาหนา้ ทแี่ ปรรปู สัญญาณไฟฟ้าให้ เหมาะสมกับช่องสัญญาณ เช่น โมเด็ม (MODEM) มัลติเพล็กเซอร์ (multiplexer) แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier) และดาวเทียม (Satellite) ดาเนินการได้ทัง้ รบั และสง่ ข้อมลู รปู 1.15 แสดงการประมวลผลของอุปกรณ์สง่ และรับสญั ญาณ

12 รูป 1.16 แสดงการประมวลผลการส่งสญั ญาณดาวเทียมของสองสถานี 1.4.4 ช่องทางส่อื สาร (Transmission Channel) หมายถงึ การเช่ือมต่อรปู แบบใดๆ เชน่ สายโทรศพั ท์ ใยแก้วนาแสง สายโคแอกเซยี ล หรือแม้แตก่ ารส่ือสารแบบไรส้ าย รูป 1.17 แสดงการสอื่ สารของระบบสัญญาณเสยี ง และสญั ญาณภาพของระบบทีวแี บบอนาลอ็ ก 1.4.5 ซอฟท์แวร์การส่อื สารซึ่งทาหนา้ ทคี่ วบคุมกจิ กรรมการรบั สง่ ข้อมลู และอานวยความสะดวก ในการส่อื สาร รูป 1.18 แสดงตวั อยา่ งโปรแกรมสาหรับการสือ่ สารทไี่ ดร้ ับความนยิ ม

13 1.5 หนา้ ที่ของระบบโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคม ทาหน้าท่ีในการส่งและรบั ขอ้ มลู ระหว่างจดุ สองจุด ไดแ้ ก่ ผสู้ ง่ ขา่ วสาร (Sender) และ ผูร้ บั ขา่ วสาร (Receiver) ดาเนนิ การจัดการลาเลยี งขอ้ มลู ผา่ นเสน้ ทางทม่ี ีประสิทธภิ าพ ท่สี ุด จัดการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่จี ะสง่ และรับเขา้ มา สามารถปรบั เปลย่ี นรูปแบบขอ้ มลู ใหท้ ง้ั สองฝ่ายสามารถเข้าใจได้ตรงกัน ซึ่งท่ีกล่าวมานสี้ ว่ นใหญใ่ ช้คอมพิวเตอร์เป็นตวั จดั การ ในระบบ โทรคมนาคมสว่ นใหญ่ใชอ้ ปุ กรณก์ ารรบั สง่ ข้อมูลข่าวสารตา่ งชนิด ต่างย่หี อ้ กัน แต่สามารถแลกเปล่ียน ขอ้ มูลระหวา่ งกันได้เพราะใช้ชุดคาส่งั มาตรฐานชดุ เดยี วกัน กฎเกณฑ์มาตรฐานในการส่อื สารนเี้ รา เรียกวา่ “โปรโตคอล (Protocol)” อุปกรณแ์ ต่ละชนิดในเครอื ขา่ ยเดียวกนั ต้องใช้โปรโตคอลอย่าง เดยี วกัน จงึ จะสามารถส่อื สารถึงกนั และกนั ได้ หน้าท่ีพนื้ ฐานของโปรโตคอล คือ การทาความรู้จกั กับ อปุ กรณ์ตัวอ่ืนท่ีอยใู่ นเส้นทางการถ่ายทอดข้อมลู การตกลงเงอ่ื นไขในการรบั สง่ ข้อมลู การตรวจสอบ ความถกู ต้องของข้อมลู แก้ไขปัญหาข้อมลู ทีเ่ กิดการผิดพลาดขณะส่ง โปรโตคอลที่รู้จกั กันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต เช่น Internet Protocol , TCP/IP 1.6 ประเภทของสญั ญาณในระบบโทรคมนาคม 1.6.1 ประเภทของข้อมลู สาหรับการส่อื สารในระบบโทรคมนาคม สามารถแยกได้เปน็ 4 ประเภท คือ 1) ประเภทเสียง เช่น เสียงพูด เสยี งดนตรี 2) ประเภทตวั อักษร เช่นอักษร ตัวเลข สญั ลกั ษณ์ 3) ประเภทภาพ ท้งั ภาพนงิ่ และภาพเคล่ือนไหว 4) ประเภทรวม เป็นการส่อื สารท้งั ตวั อักขระ ภาพและเสยี ง 1.6.2 ประเภทของข้อมลู จาแนกตามสัญญาณทส่ี ่งออกโดยจะมกี ารสง่ สญั ญานข้อมลู ทง้ั 4 ปรพ เภทดา้ นบน และนามาแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าท่ีเรยี กว่าสัญญาณข้อมลู (Data Signal) ทาให้สามารถ สง่ ผ่านสอื่ ไปได้ในระยะไกลด้วยความเรว็ สูง ข้อมลู จะถกู แปลงเปน็ สัญญาณข้อมูลได้ 2 ประเภทคือ 1) สัญญาณอนาลอ็ ก (Analog Signal) หมายถึง สญั ญาณข้อมลู แบบตอ่ เนื่อง มีขนาดของ ข้อมลู ไม่คงท่ี มลี ักษณะเปน็ เส้นโคง้ ตอ่ เนื่องกันไป โดยสญั ญาณอนาล็อกจะถูกรบกวนให้มีการแปล ความหมายผิดพลาดได้ง่าย เชน่ สัญญาณในสายโทรศพั ท์ เปน็ ต้น

14 รปู 1.19 แสดงตัวอยา่ งสญั ญาณอนาลอ็ ก รปู 1.20 แสดงตัวอยา่ งการส่งสัญญาณทวี แี บบอนาลอ็ ก 2) สญั ญาณดิจิทัล (Digital Signal) หมายถงึ สญั ญาณท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ข้อมูลแบบไม่ ตอ่ เน่อื ง มีขนาดแนน่ อนซึ่งจะมกี ารกระโดดไปมาระหวา่ งสองคา่ คือ สญั ญาณสงู ทีส่ ุด และระดับ สญั ญาณทรี่ ะดบั ตา่ ทส่ี ุด สัญญาณนเ้ี ปน็ สัญญาณทค่ี อมพิวเตอร์ใช้ในการทางานและตดิ ต่อสอ่ื สารกัน เชน่ ระบบการส่ือสารวิทยดุ ิจิตอล และทวี ดี ิจติ อล

15 รูป 1.21 แสดงตวั อยา่ งการส่งสญั ญาณทีวีแบบดจิ ิตอล รูป 1.22 แสดงตัวอย่างการสง่ สัญญาณทวี แี บบดจิ ิตอล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook