Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CAR M301-2/62

CAR M301-2/62

Published by siritornpukpui, 2020-04-09 10:33:52

Description: วิเคราะห์ผู้เรียน301

Search

Read the Text Version

การวเิ คราะห์ผู้เรยี นรายบคุ คล รายวิชา คณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3/1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 ครูผู้สอน นางสาวสริ ิธรณ์ ดวงสิริ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ สงั กดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

คานา ตามหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ไดก้ าหนดเป้าหมายและทิศทางการปฏิรูปการศึกษา กระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคนไทยให้ เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คู่คุณธรรม โดยมีหลักการสาคัญของการจัดการศึกษา ประกอบด้วยผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ ดังนนั้ ครูผสู้ อนซง่ึ เปน็ ผู้มบี ทบาทสาคัญเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ใหผ้ ้เู รียนรจู้ ักแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตามความพึงพอใจ ตามความถนัด ตามความสนใจ ของแต่ละบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือศึกษา ผู้เรียนเป็นรายบุคคลจึงมีความจาเป็นและสาคัญมาก ผู้สอนจึงได้ จัดทาแบบวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนเลม่ นี้ข้ึน เพื่อวิเคราะหผ์ ูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล ก่อนดาเนินการสอนใน ปีการศึกษา 2562 ข้อมูลจากการศกึ ษา วเิ คราะหผ์ ู้เรยี นในครงั้ นม้ี คี วามสาคญั และเป็นประโยชน์ตอ่ การจดั การเรียนการสอนอย่างยง่ิ ลงชื่อ………..……………………………… ( นางสาวสริ ธิ รณ์ ดวงสริ ิ ) ตาแหน่ง พนกั งานราชการ

คาช้แี จง สมดุ วิเคราะหผ์ เู้ รียนฉบับน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับศึกษา วิเคราะห์ แยกแยะผู้เรียน เพ่ือ หาความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู้พื้นฐาน และประสบการณ์เดิมท่ีมีอยู่ก่อนที่จะให้ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้ใดๆในระดบั ชน้ั ตลอดทั้งศึกษาวเิ คราะหเ์ กยี่ วกับความพร้อมด้านพฤติกรรมและองค์ประกอบ ความพร้อมดา้ นตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ 2. ความพรอ้ มดา้ นสติปัญญา 3. ความพร้อมดา้ นพฤตกิ รรม 4. ความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย 5. ความพร้อมด้านสงั คม การวิเคราะห์ผู้เรียนควรมีการดาเนนิ การดังน้ี 1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิม ท่ีได้จากการเรียนรู้ในปีการศึกษาที่ผ่านมา หรอื จดั สรา้ งเครื่องมือแบบทดสอบวิชานั้นๆ ข้นึ ใหม่ แลว้ นามาใชท้ ดสอบผู้เรียนทกุ คน 2. นาขอ้ มลู มาศึกษาวเิ คราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็นจริง พร้อมจัดกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลมุ่ เก่ง กลมุ่ ปานกลาง (หรอื ผ่านเกณฑ)์ และกลมุ่ ที่ต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข 3. การวเิ คราะห์ผเู้ รยี น ควรพจิ ารณาท้ังความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ สติปัญญา และความพร้อม ด้านอ่ืนๆ ของผเู้ รยี น ควบคไู่ ปดว้ ย 4. ผู้เรียนทีม่ คี วามพรอ้ มต่ากว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด ผู้สอนได้รีบดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้มีความพร้อมดีข้ึน กอ่ น จงึ ค่อยดาเนนิ การจัดการเรียนรู้ ในระดบั ชน้ั ทจี่ ะทาการสอน ส่วนความพร้อมอื่นๆ ให้พยายามปรับปรุงแก้ไข ใหด้ ีขน้ึ ในลาดบั ตอ่ ไป

แนวคดิ วัตถปุ ระสงค์ และขอบเขตของการวิเคราะห์ผ้เู รยี น 1. แนวคดิ ในการวิเคราะห์ผูเ้ รยี น 1) การจัดการเรยี นรใู้ ห้ประสบความสาเร็จ มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูง ผู้เรียนจะต้องมีความพร้อมที่ดีใน ทุกดา้ น ดงั นั้น ก่อนจะเริ่มดาเนนิ การสอน ครผู ู้สอนได้ศึกษา วเิ คราะห์ผเู้ รยี นรายบคุ คลเกยี่ วกบั - ความพร้อมดา้ นความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ - ความพรอ้ มด้านสตปิ ญั ญา - ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม - ความพร้อมดา้ นรา่ งกาย - ความพร้อมด้านสงั คม 2) กอ่ นดาเนนิ การจดั การเรยี น ครูผ้สู อนได้ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนให้รู้ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในแต่ ละดา้ น เม่ือผู้เรียนคนใด มีขอ้ บกพร่องดา้ นใด ควรปรบั ปรงุ แก้ไขให้มีความพร้อมท่ีดีก่อน 3) การเตรียมความพร้อม หรือการแก้ไขขอ้ บกพร่อง สาหรบั ผู้เรยี นท่ียังขาดความพร้อมในดา้ นใดๆ ควรใช้ กิจกรรมหลายๆแบบ หรือ ใช้เทคนคิ วิธกี ารท่ีเหมาะสมจนผู้เรียนมคี วามพร้อมดีขึน้ 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิเคราะหผ์ เู้ รยี น 1) เพื่อศึกษาวิเคราะหแ์ ยกแยะ เกี่ยวกบั ความพรอ้ มของผเู้ รยี นในแตล่ ะดา้ นเปน็ รายบุคคล 2) เพื่อใหค้ รูผสู้ อนได้รจู้ ักผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล และหาทางช่วยเหลอื ผู้เรียน ท่ีมีขอ้ บกพรอ่ งใหม้ ีความพรอ้ มท่ดี ขี ึ้น 3) เพื่อให้ครูผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน สื่อ หรือนวัตกรรมสาหรับดาเนินการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้ สอดคลอ้ งเหมาะสม และตรงตามความต้องการของผูเ้ รียนมากย่ิงขึน้ 3. ขอบเขตของการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น การวิเคราะห์ผ้เู รียน เพื่อแยกแยะความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ในเรื่องตา่ งๆ ดังน้ี 1) ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ (1) ความรู้พื้นฐานของวิชาภาษาองั กฤษ (2) ความสามารถในการอา่ น (3) ความสนใจและสมาธิในการเรยี นรู้ 2) ความพรอ้ มดา้ นสตปิ ัญญา (1) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (2) ความมีเหตผุ ล (3) ความสามารถในการเรียนรู้ 3) ความพร้อมด้านพฤติกรรม (1) การแสดงออก (2) การควบคุมอารมณ์

(3) ความมุ่งม่นั อดทน ขยนั หมน่ั เพียร (4) ความรบั ผดิ ชอบ 4) ความพรอ้ มดา้ นร่างกาย (1) ด้านสขุ ภาพร่างกายสมบรู ณ์ (2) การเจริญเติบโตสมวัย (3) ความสมบรู ณ์ทางด้านสุขภาพจิต 5) ความพรอ้ มดา้ นสงั คม (1) การปรบั ตัวเขา้ กับผู้อืน่ (2) การช่วยเหลือ เสียสละ แบง่ ปัน (3) การเคารพครู กตกิ า และมีระเบียบ

แบบสรุปผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียน เกณฑ์การประเมนิ รหสั วิชา ค 31202 ช่ือวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ช้ัน ม. 3/1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช่อื ครูผสู้ อน นางสาวสริ ธิ รณ์ ดวงสิริ ค่าเฉลี่ย 1.00-1.66 หมายถึง ปรับปรุง : คา่ เฉลีย่ 1.67-2.33 หมายถึง ปานกลาง : ค่าเฉลี่ย 2.34-3.00 หมายถงึ ดี ผลการวเิ คราะห์ผูเ้ รยี น สรุปผล ดา้ น รายการวิเคราะหผ์ เู้ รยี น ดี ปานกลาง ปรบั ปรุง x ความหมาย ท่ี คน ร้อยละ คน รอ้ ยละ คน ร้อยละ 1 ดา้ นความรู้ความสามารถและประสบการณ์ 7 25.00 20 71.43 1 3.57 2.21 ปานกลาง 1.ความรู้พน้ื ฐาน 7 25.00 20 71.43 1 3.57 2.21 ปานกลาง 2.ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5 17.86 22 78.57 1 3.57 2.14 ปานกลาง 3.ความสนใจ/สมาธกิ ารเรียนรู้ 9 32.14 18 64.29 1 3.57 2.29 ปานกลาง 2 ความพร้อมด้านสตปิ ญั ญา 8 29.76 19 66.67 1 3.57 2.26 ปานกลาง 1.ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ 10 35.71 18 64.29 0 0.00 2.36 ดี 2.ความมเี หตผุ ล 7 25.00 19 67.86 2 7.14 2.18 ปานกลาง 3.ความสามารถในการเรียนรู้ 8 28.57 19 67.86 1 3.57 2.25 ปานกลาง 3 ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม 13 46.43 14 51.19 1 2.38 2.44 ดี 1.การแสดงออก 9 32.14 18 64.29 1 3.57 2.29 ปานกลาง 2.การควบคมุ อารมณ์ 13 46.43 15 53.57 0 0.00 2.46 ดี 3.ความมงุ่ มัน่ ขยนั หม่ันเพยี ร 17 60.71 10 35.71 1 3.57 2.57 ดี 4 ความพร้อมด้านร่างกายและจติ ใจ 24 86.90 4 13.10 0 0.00 2.87 ดี 1.สขุ ภาพรา่ งกายสมบูรณ์ 25 89.29 3 10.71 0 0.00 2.89 ดี 2.การเจรญิ เตบิ โตสมวัย 22 78.57 6 21.43 0 0.00 2.79 ดี 3.ดา้ นสุขภาพจติ 26 92.86 2 7.14 0 0.00 2.93 ดี 5 ความพร้อมด้านสังคม 10 36.90 16 58.33 1 4.76 2.32 ปานกลาง 1.การปรบั ตัวเข้ากบั ผู้อ่ืน 5 17.86 22 78.57 1 3.57 2.14 ปานกลาง 2.การเสยี สละไม่เห็นแกต่ วั 6 21.43 20 71.43 2 7.14 2.14 ปานกลาง 3.มีระเบียบวินยั เคารพกฏกตกิ า 20 71.43 7 25.00 1 3.57 2.68 ดี เฉลีย่ รวม 46.05 51.13 2.82 2.43 ดี จากตารางสรุปผลการวเิ คราะหผ์ ู้เรียนชนั้ ม.3/1 จานวน 28 คน พบวา่ นักเรยี นส่วนมากของห้องร้อยละ 46.05 มคี วามรู้ความสามารถและประสบการณ์ ความพรอ้ มด้าน สติปัญญา ความพร้อมดา้ นพฤติกรรม ความพร้อมดา้ นร่างกายและจิตใจ ความพร้อมด้านสงั คม อยูใ่ นระดับ ดี ครผู ู้สอนไดน้ าขอ้ มลู การวิเคราะห์ผเู้ รยี น มาจัดแบ่งกลมุ่ ผู้เรยี น ออกเปน็ 3 กลมุ่ โดยพจิ ารณาจากเกณฑ์ ความร้คู วามสามารถและประสบการณ์ ความพรอ้ มดา้ นสตปิ ญั ญา ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม ความพร้อม ดา้ นร่างกายและจติ ใจ ดังน้ี เกณฑ์การประเมิน จานวน รอ้ ยละ ลงชิ่อ............................................ กล่มุ ดี 17 60.71 ( นางสาวสริ ิธรณ์ ดวงสริ ิ ) ครูผู้สอน 11 39.29 กล่มุ ปานกลาง 0 0.00 กลุม่ ทีต่ ้องปรบั ปรุงแกไ้ ข

การสร้างเครื่องมือเพือ่ วเิ คราะหผ์ ้เู รยี น การสร้างเครื่องมือสาหรับนามาทดสอบหรือตรวจสอบผู้เรียน เพ่ือใช้เป็นข้อมูล สาหรับวิเคราะห์ผู้เรียน นบั ว่าเปน็ เรื่องท่ีจาเป็นและสาคญั มาก แนวทางของการปฏิบตั ิ มีดังนี้ ครผู ู้สอนสร้างเครื่องมือหรอื สรา้ งแบบทดสอบเอง โดยเนน้ การวดั และประเมินผล เฉพาะวิชาท่ีทาการสอน ซ่ึงเหมาะสมทจ่ี ะวดั ผ้เู รียนในแตล่ ะดา้ น เชน่ การวัดความรู้ ความสามารถ หรือความพร้อมทางด้านสติปัญญา จะ ใชแ้ บบทดสอบ สว่ นการวดั ความพร้อมทางด้านพฤตกิ รรม จะใชแ้ บบสงั เกตหรือแบบสอบถาม การสรา้ งเครอ่ื งมือ เพอื่ วเิ คราะห์ผ้เู รยี น ไดย้ ดึ หลักสาคญั คือ 1. ครอบคลมุ สาระหลักทจ่ี ะเรยี นรู้ ครอบคลุมพฤติกรรมดา้ นต่างๆของผเู้ รยี น 2. สอดคลอ้ งกับประเดน็ ทจ่ี ะวัดและประเมินผู้เรียนในแต่ละดา้ น 3. กาหนดเกณฑใ์ ห้ชดั เจน ดงั น้ี - ตอบถูกต้อง หรอื มี ตามหัวข้อประเมิน ร้อยละ 70 ขนึ้ ไป ได้ระดบั ดี - ตอบถกู ต้อง หรือ มี ตามหวั ขอ้ ประเมนิ รอ้ ยละ 40-60 ผา่ นเกณฑ์ - ตอบถูกต้อง หรือ มี ตามหัวข้อประเมนิ นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 40 ควรปรบั ปรงุ 4. การวัดหรือทดสอบผู้เรียนได้ดาเนินการก่อนการสอน เพื่อค้นหาผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องในด้านต่างๆ นาข้อมูลท่ีได้กรอกลงในแบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลจนครบทุกด้าน จากนั้นได้ประมวลผลจากแบบวิเคราะห์ ผู้เรยี นรายบคุ คลไปสรปุ และกรอกในแบบสรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อให้ผู้สอนมองเห็นภาพรวม และข้อควรที่ จะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ขอย่างชดั เจน 5. ขอ้ บกพร่องของผ้เู รียน ไดด้ าเนินการปรบั ปรงุ แก้ไขใหม้ คี วามพร้อมทด่ี ี จึงเริม่ จดั การเรยี นรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook