Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 98-225-1-PB

98-225-1-PB

Published by romyi.m, 2020-11-25 15:24:08

Description: 98-225-1-PB

Search

Read the Text Version

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวทิ ยาลยั ฟาฏอนี ปที่ 4 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 63 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... บทความวจิ ัย การศกึ ษาปญ หา อปุ สรรคและแนวทางแกไ ขการเรียนการสอนภาษาอาหรบั ในสถาบนั อุดมศึกษาในสามจังหวดั ชายแดนใต มะตอเฮ มะลี* * ศศม. อาจารยป ระจาํ สาขาภาษาอาหรับ สถาบันอิสลามและอาหรับศกึ ษา มหาวิทยาลยั นราธวิ าสราชนครินทร บทคดั ยอ การศึกษาวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค 1) เพ่ือศึกษาปญหา อุปสรรคการเรียนการสอนภาษาอาหรับใน สถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนใต 2) ศึกษา แนวทางแกไขปญหาการเรียนการสอนภาษาอาหรับใน สถาบันอุดมศึกษา โดยกําหนดกลมุ ตัวอยา ง คือ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอาหรับ สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร สาขาวิชาภาษาอาหรับ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาฟาฏอนี และภาควิชา ตะวันออก/ แผนกวิชาภาษาอาหรับ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต ปต ตานี จาํ นวน 111 คน ผูวิจยั ไดจดั ทาํ เครือ่ งมือการวิจัยท่ใี ชในการจดั เก็บรวบรวมขอมลู เปน แบบสอบถามโดยผาน การตรวจ และพิจารณาจากผูทรงคณุ วุฒิ สถติ ิท่ีใชใ นการวเิ คราะหขอมูลไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบ่ียงเบน มาตรฐาน จากผลการวจิ ัย พบวา ปญหา อุปสรรคการเรียนการสอนภาษาอาหรับในสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัด ชายแดนใตอยใู นระดบั ปานกลาง โดยพบมากที่สุดมีสองดาน คือ ดานกระบวนการเรียนการสอนในประเด็นการใช ภาษาอาหรับเปนภาษาท่ีใชใ นการเรียนการสอน และ ดา นการบรหิ ารจัดการในประเดน็ การอดุ หนุนดา นบริหารจดั การ เพอ่ื พฒั นาภาษาอาหรับมากท่สี ดุ สว นปญหานอยทสี่ ดุ คือ ดานตัวนักศกึ ษา ในประเด็น ความรูพื้นฐานภาษาอาหรับ ของนักศกึ ษา สวนแนวทางการแกไขการเรียนการสอนภาษาอาหรับในสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนใต และ ขอ เสนอแนะ พบมากทีส่ ุด คอื ดานกระบวนการเรยี นการสอนในหวั ขอ อยากมีการเรยี นเนน การปฏิบัตจิ ริง ดาน การบริหารจดั การ คอื พัฒนาหลกั สูตรอยางเปนขน้ั ตอน ตอ เน่ือง เหมาะสม สอดคลอ งกบั ความตองการของนักศึกษา และขอ เสนอแนะที่พบนอ ยทีสดุ คอื ดา นกระบวนการเรียนการสอนในหวั ขอ อาจารยควรสอนเสริมในเวลาวาง และ อยากใหมีการติวการเรียนการสอนกอ นสอบ คาํ สาํ คัญ: อปุ สรรค, ภาษาอาหรบั , สถาบนั อดุ มศึกษา, ชายแดนใต

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี ปที่ 4 ฉบับท่ี 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 64 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... Research Study the problems, difficulties and the trends solving of learning and teaching Arabic in higher education institutions in the three southern border provinces Matorhe Malee* * M.A (Arabic language) Academy of Islamic and Arabic Studies Princess of Naradhiwas University Abstract This research aimed to 1) study problems and difficulties of learning and teaching Arabic language in higher education institutions in the three southern border provinces.2) The way to resolve the problem of teaching and learning Arabic language in high educational institutions. The samples of the study were 111 students from Arabic language program, Princess of Naradhiwas University, Arabic language program, faculty of Arts program, Fatoni University and Arabic language, Faculty of Humanities and Social Sciences , Prince of Sonkhla University , Pattani campus. Data were collected using questionnaires and were analyzed using percentage average and standard deviation The study found that the most important problems, difficulties in learning and teaching Arabic language were in moderate level. They were mostly found on two factors. The use of Arabic language as media of instruction and managerial support of Arabic language development. The fewer problems found that students have low basic Arabic language Suggestion. It is suggested and mostly found that practical is a must to every individual student. In term of management matter curriculum must be properly developed and fit to the students’ need and the less problem were found on learning process that was related to additional class conducting during free hours and class review pre-exam is required Keywords: Problems, Arabic language, Higher Education Institutions, Border provinces

วารสาร อัล-ฮกิ มะฮฺ มหาวทิ ยาลัยฟาฏอนี ปที่ 4 ฉบับท่ี 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 65 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... บทนาํ ระบบ ISO 639-3 ความแตกตางของการใชภาษาพบได การเรียนการสอนเปน ปจจัยสาํ คญั ในการพฒั นา ท่วั โลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรบั มาตรฐานซึ่งใชในหมูผู และเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ความคิดของมนุษย เพื่อ เพิ่มพูนทักษะทางปญญาและความรู ทําใหการดําเนิน นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมยั ใหมม าจากภาษา ชีวติ สูค วามสําเรจ็ และเกดิ ความสุขตลอดไป พจนานุกรม ของเวบสเตอร (Webster 's Third New International อาหรับคลาสสกิ ซงึ่ เปนภาษาเดียวทเ่ี หลอื อยใู นภาษากลมุ Dictionary 1961) ไดระบุคํานิยามของ \"การเรียนรู คือ กระบวนการเพ่ิมพูนและปรุงแตงระบบความรู ทักษะ อาหรับเหนือโบราณ เร่ิมพบในพุทธศตวรรษท่ี 11 และ นสิ ัย หรือการแสดงออกตางๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุน อินทรียโดยผานประสบการณ การปฏิบัติ หรือการ กลายเปน ภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแตพุทธ ฝกฝน\" ประเทศไทยไดเล็งความสําคัญการพัฒนาการ เรียนการสอนตามความตองการโลกปจจุบันโดยไดเปด ศตวรรษที่ 12 เปนภาษาของคัมภรี อัลกุรอาน และภาษา โอกาสใหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ และในเวลาเดียวกันไดเปดหลักสูตรการเรียนการสอนมี ของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาว ความลากหลายมากข้ึน (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักด์ิ: 2554) “ปจ จบุ ันการเปล่ยี นแปลงของสถาบนั อุดมศึกษา มสุ ลิมจะเรมิ่ ศกึ ษาภาษาอาหรบั ตง้ั แตยงั เด็ก เพือ่ อานอัล ท่วั โลกรวมถงึ ประเทศไทย มีความพยายามในการพัฒนา และปรับตวั เพื่อรองรับกับสภาพการแขงขันท่ีรุนแรงขึ้น กุรอานและทาํ การนมาซ ภาษาอาหรบั เปน แหลงกาํ เนดิ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยหลายแหงไดเพ่ิม ศักยภาพการแขงขัน” โดยเฉพาะกลุมภาษาการสื่อสาร ของคํายืมจํานวนมากในภาษาที่ใชโดยมุสลิมและภาษา ของมนุษยชนเพ่ือเพมิ่ ความเขาใจ ท้ังเรอ่ื งชวี ิตประจําวัน วิชาการ เศรษฐกจิ และอื่นๆ สว นภาษาอาหรับเปนภาษา สวนใหญในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคําจาก หน่ึงของชาวตะวันออกกลางไดยกระดับเปนภาษาของ สหประชาชาติและเปน ภาษาของชาวมุสลิมตองคํากลาว ภาษาเปอรเซียและภาษาสันสกฤตดวย ในชวงยุคกลาง ในการปฏิบัตศิ าสนากจิ ๕ เวลาทุกๆ วัน แลวย่ิงกวานั้น อีกเปนภาษาแหงบทบญั ญัติของมสุ ลิม (พระมหากมั ภีอัล ภาษาอาหรบั เปน ภาษาหลักในการขับเคล่ือนวัฒนธรรม กุรอาน) ใน (วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี: ภาษาอาหรับ) สรุปวา ภาษาอาหรับ, อะรอบียะหฺ; อังกฤษ: Arabic โดยเฉพาะทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร และปรชั ญา จึง Language) เปน ภาษากลุมเซมติ กิ ที่มผี ูพ ูดมากท่สี ดุ ซ่ึงมี ค ว า ม สั ม พั น ธ ท่ี ใ ก ล ชิ ด พ อ ค ว ร กั บ ภ า ษ า ฮี บ รู แ ล ะ ทาํ ใหภ าษาในยโุ รปจาํ นวนมากยมื คาํ ไปจากภาษาอาหรบั ภาษาอราเมอิก โดยพฒั นามาจากภาษาเดยี วกันคอื ภาษา เซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหมถือวาเปนภาษา โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะ ขนาดใหญ แบงเปนสําเนียงยอยไดถึง 27 สําเนียง ใน อารยธรรมอาหรบั เคยแผข ยายไปถึงคาบสมทุ รไอบีเรีย” การจัดการเรีย นการสอนภาษ าอาหรับ จําเปนตองมีการพัฒนาและปรับปรุงหลายประการ โดยเฉพาะภาษาอาหรับเปนภาษาที่สองของนักศึกษา และเปนภาษาใชไวยากรณคอนขางมากเนื่องจากวา ผูเรียนไมสามารถใชภาษาอาหรับยังคลองแคลวไดหาก หลักภาษาอาหรับข้ันพื้นฐานยังไมดีเทาที่ควร จากการ ปญหาดังกลาวจึ่งมีความจําเปนตองสํารวจและศึกษา ขอเท็จจริงเกี่ยวกับปญหา อุปสรรคการเรียนการสอน เพอ่ื หาแนวทางแกไข นํามาปรับปรุงใชประโยชนในการ เรียนการสอนตอ ไป ดง้ั นนั้ ผูวิจัยจงึ สนใจศกึ ษาปญหา อปุ สรรค และ แ น ว ท า ง แ ก ไ ข ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ภ า ษ า อ า ห รั บ ใ น สถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนใต เพื่อหา แนวทางท่ีจะนําไปสูแนวปฏิบัติที่จะสงผลทําใหการ จัดการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษามีคุณภาพที่ดี ข้นึ ตอไป

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวทิ ยาลยั ฟาฏอนี ปที่ 4 ฉบับท่ี 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 66 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... วธิ ดี ําเนินการวิจัย ปานกลางหมายถงึ เปนปญหาอยูในระดับปาน 1.ประชากรและกลมุ ตัวอยาง กลาง 1.1 นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอาหรับช้ันปท่ี 3 นอ ย หมายถงึ เปนปญหาอยใู นระดบั นอ ย สถาบนั อสิ ลามและอาหรับศึกษามหาวิทยาลัยนราธิวาส ราชนครนิ ทร ประจําปก ารศึกษา 2556 จํานวน 51 คน นอ ยทส่ี ดุ หมายถงึ เปน ปญ หาอยูใ นระดับนอ ย 1.2 นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอาหรับช้ันปท่ี 3 ทสี่ ดุ คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยฟาฎอนี ประจําป ผู วิ จั ย กํ า ห น ด ค า นํ้ า ห นั ก ค ะ แ น น ข อ ง การศึกษา 2556 จาํ นวน 30 คน แบบสอบถามปญ หาและอปุ สรรคในการเรียนวิชาอาหรบั 1.3 นักศึกษาภาควิชาตะวันออก/แผนกวิขา มากทีส่ ุด ให 5 คะแนน ภาษ าอาหรับชั้นปท่ี 3 คณะมนุษ ยศาสต รและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต มาก ให 4 คะแนน ปตตานี ประจําปการศึกษา 2556 จํานวน 30 คน รวม ปานกลาง ให 3 คะแนน จํานวนทงั้ หมด 111 คน นอ ย ให 2 คะแนน 2. เคร่อื งมอื ที่ใชใ นการวิจัย นอยทส่ี ดุ ให 1 คะแนน เ ค ร่ื อ ง มื อ ที่ ใ ช ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง น้ี เ ป น แบบสอบถามเกี่ยวกับปญหา อุปสรรค และแนวทาง ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ียวกับแนวทางแกไข การเรียนการสอนภาษาอาหรับในสถาบันอุดมศึกษาใน แกไขการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา โดยแบง สามจังหวัดชายแดนใต มีทั้งทางดานตัวนักศึกษา กระบวนการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และ ออกเปน 3 ตอน ดังนี้ ขอเสนอแนะอน่ื ๆ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผกู รอกแบบสอบถาม การสรางเครือ่ งมือที่ใชในการวิจยั ประกอบดว ย สถาบนั อุดมศึกษา สถานท่ีต้ัง คณะ/ สาขา เครื่องมอื ทใี่ ชในการวจิ ยั ครง้ั นีค้ อื แบบสอบถาม ท่เี ปดสอน เพศ และอายุ มลี กั ษณะเปนมาตราสวนประมาณคา ดังมีรายละเอียด ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปญหา ตอ ไปน้ี อุ ป ส ร ร ค ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ภ า ษ า อ า ห รั บ ใ น 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ สถาบันอดุ มศึกษาในสามจังหวัดชายแดนใต จํานวน 24 ป ญ ห า แ ล ะ อุ ป ส ร ร ค ก า ร เ รี ย น อ า ห รั บ แ ล ะ ขอ มีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating ภาษาตา งประเทศ Scale) 5 ระดับ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย และ 2. ศึกษาวิธีการสรางแบบสอบถามจากตํารา นอยท่ีสุด โดยขอคําถามจะคลอบคลุมเกี่ยวกับการ และงานวจิ ยั ตา งๆ ศกึ ษาวิจยั ทัง้ หมด 24 ขอ แบง ออกเปน 3 ดา น ดังนี้ 3. สรางแบบสอบถามเกี่ยวกับปญหาและ 1. ดานตัวนกั ศึกษา ไดแ ก ขอ 1 ถึงขอ 4 อปุ สรรคของการเรยี นการสอนภาษาอาหรบั 2. ดา นกระบวนการเรียนการสอน ไดแก ขอ 5 4. นําแบบสอบถามท่สี รางข้ึนไปใหผูเช่ียวชาญ ถงึ ขอ 18 ตรวจสอบความถูกตอง โดยการพิจารณาความ 3. ดานบริหารจดั การ ไดแก ขอ 19 ถงึ ขอ 24 ครอบคลุม และความเหมาะสมของขอ คาํ ถามแตละขอ ซ่งึ เปนลักษณะมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 3. วิธกี ารดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอมูล ของไลเคิรท (Likert:1932) คือ มากที่สดุ หมายถึง เปนปญหาอยูในระดับมาก การศกึ ษาคร้ังนี้ ผวู จิ ัยดาํ เนนิ การเกบ็ ขอมูลดว ย ตนเองโดยดําเนินการตามข้ันตอน ดงั ตอ ไปนี้ ท่สี ุด มาก หมายถึงเปน ปญ หาอยูในระดบั มาก

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวทิ ยาลยั ฟาฏอนี ปที่ 4 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 67 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... 1. ผูวิจัยขออนุญาตอาจารยผูสอนแจก นําผลที่ไดม าแปลความหมายของคะแนนเฉล่ีย โดยผูวิจัยกําหนดเกณฑในการแปลความหมายของขอ แบบสอบถาม คําถามในแบบสอบถามดงั น้ี 2. ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมแบบสอบถาม คาเฉลี่ยระหวาง 4.50 – 5.00 หมายถึง เปน ดวยตวั เอง ปญหามากทีส่ ดุ 3. นําแบบสอบถามท่ีสมบูรณมาทําการ คาเฉล่ียระหวาง 3.50 – 4.49 หมายถึง เปน วเิ คราะหดว ยวธิ ที างสถติ ิ ปญ หามาก 4. การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการ คาเฉลี่ยระหวาง 2.50 – 3.49 หมายถึง เปน วเิ คราะหขอ มูล ปญหาปานกลาง ผูวจิ ยั ไดนําขอมลู ท่เี กบ็ รวบรวมไดมาดาํ เนนิ การ คาเฉล่ียระหวาง 1.50 – 2.49 หมายถึง เปน ปญ หานอย วิเคราะหขอมูลตามความมุงหมายของการวิจัย โดยใช โปรแกรมสถติ ิสําเร็จรปู คอมพิวเตอร ซึง่ ดาํ เนนิ การดังน้ี คาเฉลี่ยระหวาง 1.00 – 1.49 หมายถึง เปน ปญหานอยที่สุด ทําการวิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ เฉลี่ย () และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวจิ ยั ตอนที่ 1 ขอมูลทัว่ ไปของผูตอบแบบสอบถาม สําหรับเกณฑท่ีใชใ นการแปลความหมายเก่ียวกับปญหา ตาราง 1 จาํ นวนผตู อบแบบสอบถามแบง ตามเพศ และอปุ สรรคของการเรียนการสอนภาษาอาหรับน้ัน จะ ยดึ เกณฑต ามท่ี เบส (Best .1970 :175 ) ไดเ สนอแนะไว ดงั น้ี เพศ ผูตอบแบบสอบถาม รอ ยละ ชาย 16 14.4 หญิง 95 85.5 รวม 111 100 จากตาราง 1 จาํ นวนผูต อบแบบสอบถามท่ี ละ 85.5 และเพศชาย จาํ นวน 16 คน คดิ เปนรอยละ เปนกลมุ ตวั อยา งแยกตามเพศเรยี งลําดบั จากมากไป 14.4 ตามลาํ ดบั หานอ ยไดแ ก เพศหญงิ จํานวน 95 คน คดิ เปนรอ ย ตาราง 2 รอ ยละของผูตอบแบบสอบถามในสวนของ อายุ อายุ ผตู อบแบบสอบถาม รอ ยละ 18-20 ป 24 21.6 21-24 ป 85 76.5 25-30 ป - 30 ปข ้ึนไป 2 - 1.8 รวม 111 100

วารสาร อัล-ฮกิ มะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปท่ี 4 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 68 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกบั ปญหา ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบคาเฉล่ียของปญหาและ อุปสรรคการเรยี นการสอนภาษาอาหรบั ใน อุปสรรคในการเรียนการสอนภาษาอาหรบั สถาบันอดุ มศกึ ษาในสามจงั หวดั ชายแดนใต ดา นตวั นักศกึ ษา ดา นตัวนักศึกษา S.D ระดับปญหา เจตคติของนักศกึ ษาตอ วชิ าภาษาอาหรบั 3.5 0.9 ปานกลาง เจตคติของนกั ศกึ ษาตอ อาจารยผ สู อน 3.3 0.9 ปานกลาง ความรพู ืน้ ฐานภาษาอาหรบั ของนักศึกษา 3.1 0.8 ปานกลาง 3.2 0.8 ปานกลาง เฉลี่ยรวม จากตาราง 1 แสดงถึงปญหา อุปสรรคใน เทากับ 3.3 และดานความรูพื้นฐานภาษาอาหรับ การเรยี นการสอนภาษาอาหรบั ของนักศึกษา ดานตัว ของนกั ศึกษามีคา เฉล่ียเทากบั 3.1 ตามลาํ ดบั นักศึกษา พบวา มีปญหาโดยรวมอยูในระดับปาน กลาง มีคาเฉล่ียรวมเทากับ 3.2 ซึ่งดานเจตคติของ ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของปญหา นักศึกษาตอวิชาภาษาอาหรับมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.5 และอุปสรรคในการเรียนการสอนภาษาอาหรับดาน ดา นเจตคติของนักศกึ ษาตอ อาจารยผูสอน มีคาเฉลี่ย กระบวนการเรียนการสอน ดาน กระบวนการเรยี นการสอน S.D แปลความ การใชภ าษาอาหรับเปนสื่อการสอน 3.5 0.8 ปานกลาง เนน นักศกึ ษาเปนศูนยก ลาง 3.4 0.9 ปานกลาง การจัดการสอนเสรมิ แกนักศึกษาทเ่ี รียนออน 3.2 1.1 ปานกลาง เฉลยี่ รวม 3.3 0.8 ปานกลาง จากตาราง 2 แสดงถึงปญหาและอุปสรรคในการเรียน ดานการจัดการสอนเสริมแกนักศึกษาที่เรียนออนมี การสอนภาษาอาหรับของนกั ศึกษา ดานกระบวนการ คา เฉลี่ยเทากับ 3.3 เรยี นการสอน พบวา ปญหาโดยรวมอยูในระดับปาน กลาง มีคาเฉล่ียรวมเทากับ 3.3 ซึ่งดานการใชภาษา ตารางที่ 3 เปรยี บเทียบคาเฉลีย่ ของปญหา อาหรบั เปน สื่อการสอนมีคาเฉลย่ี เทากับ 3.5 ดา นเนน และอุปสรรคในการเรยี นการสอนภาษาอาหรับของ นักศึกษาเปน ศูนยกลาง มคี า เฉล่ียเทากบั 3.4 และ นักศึกษาดา นการบริหารจัดการ ดา นการบริหารจดั การ S.D แปลความ การอดุ หนุนดา นบรหิ ารจัดเพอ่ื พัฒนาภาษาอาหรับ ความเปนบรรยากาศและสภาพแวดลอ มของภาษาอาหรับ 3.4 0.8 ปานกลาง หองปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาอาหรับ 3.3 1.0 ปานกลาง เฉลย่ี รวม 3.1 0.9 ปานกลาง 3.3 0.8 ปานกลาง

วารสาร อัล-ฮกิ มะฮฺ มหาวทิ ยาลัยฟาฏอนี ปท่ี 4 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 69 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... จากตารางท่ี 3 แสดงถึงปญหาและอปุ สรรค มคี า เฉลี่ยเทา กบั 3.3 และหอ งปฏบิ ัตกิ ารทางภาษา ในการเรยี นการสอนภาษาอาหรับของนักศึกษา ดาน อาหรับมคี าเฉลีย่ เทา กบั 3.1 ตามลําดบั การบริหารจัดการโดยรวม พบวา อยูในระดับปาน กลาง มีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 3.3 ซึงดานการอุดหนุน ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะและขอคิดเห็น ดานบริหารจัดเพื่อพัฒนาภาษาอาหรับ ดานความ เก่ยี วกับแนวทางแกไขการเรยี นการสอนภาษาอาหรบั เปน บรรยากาศและสภาพแวดลอมของภาษาอาหรับ ในสถาบันอุดมศกึ ษาในสามจงั หวดั ชายแดนใต ตารางท่ี 1 แนวทางแกไขดานกระบวนการ เรยี นการสอน ดานกระบวนการเรียนการสอน ผูตอบแบบสอบถาม รอยละ เนอ้ื หาท่ีใชการเรียนการสอนควรเขา ใจงา ย 15 13.5 มกี ารปรบั พน้ื ฐานกอ นเขา สูก ระบวนการเรียน 11 9.9 อาจารยค วรสอนเสริมในเวลาวา ง 1 0.9 จากตารางที่ 1 รอยละของผูต อบแบบสอบถามใน จํานวน 11 คน และอาจารยควรสอนเสรมิ ในเวลาวา ง ดา นกระบวนการเรียนการสอน โดยจดั ลาํ ดบั จากมาก จาํ นวน 1 คน คิดเปน รอ ยละ 0.9 ตามลาํ ดับ ไปนอยสามลําดับคือ เนอื้ หาทใ่ี ชการเรยี นการสอน ควรเขา ใจงาย จาํ นวน 15 คน คิดเปน รอ ยละ 13.5 ตารางท่ี 2 แนวทางแกไขดานการบริหาร มีการปรบั พืน้ ฐานกอนเขา สูกระบวนการเรียน จัดการ ดานการบริหารจดั การ ผูตอบแบบสอบถาม รอยละ พัฒนาหลกั สูตรอยางเปนขั้นตอน ตอ เนอ่ื ง เหมาะสม 23 20.7 สอดคลองกบั ความตองการของนักศกึ ษา 17 15.3 จดั หลกั สูตรทสี่ ามารถใชในชีวติ ประจําวนั ได 1 0.9 เพ่มิ วิชาทีเ่ ปนภาษาอาหรบั เชน ฟกฮ. เตาฮดี และอื่นๆ จากตารางท่ี 3 รอยละของผูตอบแบบสอบถามใน คน คิดเปนรอยละ 15.3 และเพ่ิมวิชาที่เปนภาษา ดา นการบรหิ ารจัดการ โดยจัดลําดับจากมากไปนอย อาหรับ เชน ฟก ฮ เตาฮีดและอื่นๆ ได จํานวน 1 คน สามลําดับ ไดแก พัฒนาหลักสูตรอยางเปนข้ันตอน คดิ เปน รอยละ 0.9 ตามลาํ ดบั ตอเนื่อง เหมาะสม สอดคลองกับความตองการของ นักศึกษา จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 20.7 จัด ตารางท่ี 4 ขอ เสนอแนะจากนกั ศกึ ษา หลักสตู รที่สามารถใชใ นชวี ิตประจําวันได จํานวน 17 ขอเสนอแนะ ผตู อบแบบสอบถาม รอยละ อยากมกี ารเรียนเนน การปฏบิ ัติ 17 15.3 ควรเลอื กบคุ ลากรทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และมคี วามสามารถ 13 11.7 ในการใชภ าษาอาหรบั 1 0.9 อยากใหมกี ารตวิ การเรยี นการสอนกอนสอบ

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี ปท่ี 4 ฉบับท่ี 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 70 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... จากตารางที่ 2 รอยละของผูตอบ 2. นักศึกษามปี ญ หาในการเรียนภาษาาหรบั แบบสอบถามในดานขอเสนอแนะ โดยจัดลําดับจาก ทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ดา นตางๆในระดับปานกลางทกุ ๆดาน มากไปนอยสามลําดับ ไดแก อยากมีการเรียนเชิง ปฏิบัติ จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 15.3 ควร 3. ปญหา อุปสรรคการเรียนการสอนภาษา เลือกบุคลากรที่มปี ระสิทธิภาพ และอยากใหม ีการติว อาหรบั ในสถาบันอุดมศกึ ษาในสามจงั หวัดชายแดนใต การเรียนการสอนกอนสอบ จํานวน 1 คน คิดเปน พบมากที่สุดคือ เจตคติของนักศึกษาตอวิชาภาษา รอยละ 0.9 ตามลําดับ อาหรบั เน่อื งจากรายวชิ าดั้งกลาวมีไวยากรณและการ สรปุ และอภปิ รายผลการวิจยั ผนั คาํ คอนขางยากแกผเู รียนภาษาท่ีสองหรือภาษาที่ สาม ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ (Maj Al- ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไขการเรียน bakir:1987) พบวา “ปญ หาสําคญั ท่พี บเจอกบั ผเู รียน การสอนภาษาอาหรบั ในสถาบนั อุดมศึกษาในสาม ภาษาอาหรับท่ีเปนภาษาท่ีสอง คือ อธิพลของภาษา จังหวดั ชายแดนใต จากแบบสอบถามสรปุ ไดด งั น้ี แม( ภาษาเดิม)สงผลกระทบตอการเรยี นภาษาอาหรับ ซึ่งเกิดปญหากับการใชระดับและระบบเสียงของ 1. การเรยี นภาษาอาหรบั ในดานตัวนกั ศึกษา ภาษาอาหรบั ท่ถี ูกตอ ง” และสอดคลองกับผลการวจิ ยั ท่ีมคี าเฉลยี่ มากทสี่ ดุ คอื เจตคติของนักศกึ ษาตอ ของ(Mohammad Ibrahim:2003)พบวา “ ความ วชิ าภาษาอาหรับ ยากลําบากในการเรียนภาษาน้ัน อาจจะเกิดขึ้นจาก ความแตกตางดา นธรรมชาติของภาษาเองและปญหา 2. การเรียนภาษาอาหรบั ในดาน ทเ่ี กดิ ข้นึ จากการใชระดับเสยี งของภาษา, อาทิ ความ กระบวนการเรยี นการสอนทม่ี ีคาเฉลยี่ มากท่ีสดุ คือ แตกตางและความเหมือนระหวางภาษาทีมีอยูใน การใชภาษาอาหรบั เปนภาษาทใ่ี ชในการเรยี นการ ระบบเสียงหรืออยูในตัวอักษรภาษาเดิมของผูเรียน สอน “ และสอดคลองกับผลการวิจัยของ(อาอีชะห แวมา มะ :2005) กลา ววา” ในจาํ นวนประโยคของภาษา 3. การเรียนภาษาอาหรบั ในดานการบรหิ าร ประกอบดวยคํา แตละคํายอมมีแหลงกําเนิด ใน จดั การท่ีมีคาเฉล่ียมากทส่ี ดุ คือ การอดุ หนุนดา น ภาษาอาหรับเรียกวา ‫ ( ﻣﺼﺪﺭ‬มัซดัร) ซ่ึงเปน บรหิ ารจัดเพอ่ื พฒั นาภาษาอาหรบั แหลงกําเนิดของคําเพ่ือกระจายคําออกเปนหลายๆ รูปแบบ ดวยเหตุนี้ มัซดัร มีอธิพลตอประโยคของ 4. แนวทางการการแกไ ขการเรยี นการสอน ภาษาอาหรบั มากที่สุด“ ภาษาอาหรบั ดา นกระบวนการเรียนการสอนคดิ เปน รอ ยละมากทสี่ ุด คือ เน้อื หาทใี่ ชก ารเรยี นการสอน 4 .ก า ร เ รี ย น ภ า ษ า อ า ห รั บ ใ น ด า น ควรเขา ใจงาย กระบวนการเรียนการสอนท่ีมีคาเฉลี่ยมากที่สุด คือ การใชภาษาอาหรบั เปนทใี่ ชสอ่ื ในการสอน เนืองดวย 5.แนวทางการการแกไ ขการเรียนการสอน สื่อทใ่ี ชใ นการเรียนการสอนเปนภาษาแมของผูเรียน ภาษาอาหรับดา นการบริหารจดั การ พัฒนาหลกั สตู ร แ ล ะ ผู ส อ น ห รื อ ภ า ษ า ที่ ส ะ ด ว ก ใ ช ไ ม ใ ช ภ า ษ า ใ น อยา งเปนขัน้ ตอน ตอเนอื่ ง เหมาะสม สอดคลอ งกบั กลมุ เปาหมายคือภาษาอาหรับเปนหลัก ดวยเหตุดั้ง ความตองการของนกั ศกึ ษา กลา ว Bygate (1991:3)กลาววา “ผสู อนผทู ่ีมบี ทบาท สําคัญในการท่จี ะทําใหผูเรยี นไดรับประสบการณ ใน 6.ขอ เสนอแนะคิดเปนรอ ยละมากทีส่ ุด คอื การฝกฟงและฝกพูดภาษาอังกฤษจากหองเรียน อยากมีการเรยี นเนนการฝก ภาษาอาหรบั จรงิ ในการ ความสามารถทางดา นการพูดภาษาอังกฤษของผสู อน เรยี นการสอน จึ่งเปน ปจ จัยสาํ คญั ในการเรยี นภาษาอังกฤษ และเปน อภิปรายผล แบบอยางท่ีมีความสามารถในการใชภาษา” และ 1.นักศึกษาที่ทําการศึกษาสวนใหญเปน นักศกึ ษาหญงิ มอี ายุระหวาง 21- 24 ป กําลังศกึ ษาป ที่3ประจําปการศกึ ษา 2556

วารสาร อัล-ฮกิ มะฮฺ มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี ปท่ี 4 ฉบับท่ี 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 71 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... สอดคลองกับบทความของ(AL-alwae :2014) “การ จัดทําแผนการสอนที่ยึดแนวทางการจัดการเรียนรู สอนแบบตรง (Direct Method )จะเนนการใช แบบทย่ี ึดผเู รียนเปนสาํ คัญ ภาษาเปาหมายเปนสื่อในการสอนในหองเรียน โดย เริ่มตนจากการสอนใหผูเรียนฝกฟงความหมายใน (4) เปดโอกาสใหนักเรียน ผูปกครองมีสวน ประโยค เชน ประโยคคําถาม ประโยคคําตอบ ผูสอน รวมในการกาํ หนดแผนพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาและ จะพยายามใหผูเรียนเขาใจความหมายในประโยค ดําเนินกจิ กรรมตางๆรว มกับสถานศึกษา ดวยการเชื่อมโยงคาํ กับของจริง ผูเรียนจะเปนผูสรุป กฎเกณฑของภาษาดวยตนเองหลังจากไดรับการฝก (5) จดั บรรยากาศส่ิงแวดลอมในสถานศึกษา โครงสรางของภาษาจากการฝกพูด จากน้ันอาจให ใหเ อ้ือตอ การเรยี นรดู วย ผูเรียนทาํ แบบฝก หัดกฎไวยากรณ” ตนเองของผูเรียน รวมทั้งการประสานความรวมมือ กับแหลงเรียนรูในชุมชนและภูมิปญญาทองถ่ิน ให 5. การเรียนภาษาอาหรับในดานการบริหาร สามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนกับกระบวนการ จัดการท่ีมีคาเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ การอุดหนุนดาน เรยี นรแู บบท่เี นน ผูเรยี นสําคัญท่ีสุดใน สถานศึกษา บรหิ ารจดั เพอ่ื พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอาหรับ เนืองดวยการบริหารจัดการปราศจากบรรยากาศและ (6). กาํ หนดมาตรฐานการทํางานของครูและ สภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการจัดการเรียน ซึงสอด การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ที่ยึดหลักการประเมิน คลองกับทัศนะของทิศนา แขมมณี (2545 : 14 - จากสภาพจรงิ 15) กลาววา ในการจดั การเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียน เปนสําคัญนั้น ผูบริหารสถานศึกษาจะตองใหการ (7) ระดมทรพั ยากรในหองถ่ินมาใชเพ่ือการ สนับสนุนในดานส่ือ วัสดุอุปกรณและ แหลงการ เรียนรูท่ียึดผูเรยี นเปนสาํ คญั ทงั้ ทรพั ยากรบุคคล ภูมิ เรยี นรูอ ยา งเพียงพอ จัดบรรยากาศภายในโรงเรยี นให ปญ ญาทอ งถ่ิน และทรพั ยากรอ่นื ๆ เอือ้ ตอการเรยี นการสอน สงเสริม สนับสนุนครูใหได พัฒนาการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญทุก (8) สงเสริมกิจกรรมของคณะกรรมการ รูปแบบ และตองสงเสริมให ครูจัดกิจกรรมท่ี นักเรียนและกิจกรรมเสรมิ หลักสตู รท่ีเนนการพัฒนา สอดคลองกับความแตกตางระหวางบุคคล ใหผูเรียน วิชาการและพัฒนาศักยภาพผูเรียนตามความถนัด ไดพ ัฒนาเตม็ ตามความ สามารถท้ังดา นความรู จิตใจ และความสนใจ อารมณและทกั ษะตา งๆ สงเสริมใหผเู รียนกับผสู อนมี บทบาทในฐานะ ผูกระตุน ผูเตรียมการ ผูอํานวย (9) ประชาสัมพันธและรายงานใหผูมีสวน ความสะดวก ผูจัดสิ่งเรา ใหคาปรึกษาและวางแนว เกี่ยวของไดรับทราบถึงผลการ ดําเนินงานของ กิจกรรมใหกบั ผู เรียน” และสอดคลอ งกับทัศนะของ สถานศึกษา เพื่อสรางความศรัทธาและความรวมมือ จรูญ ชูลาภ (2545 : 31 - 33) กลาววา ผูบริหาร ในทุกๆดาน สถานศึกษาสามารถดําเนินการเพื่อใหสอดคลองกับ กลยทุ ธผูเรียนเปน สําคญั ดงั น้ี (10) จัดใหรางวัลหรือความชอบสําหรับ บคุ ลากรทป่ี ฏบิ ตั ิงานไดผ ล โดยเนน ความโปรงใสเปน (1) ประกาศนโยบายสงเสริมการเรียนรูแบบ ธรรมและสรา งความสามคั คใี นองคก ร” ทย่ี ึดผเู รียนเปน สาํ คญั 6. แนวทางการการแกไขการเรียนการสอน (2) จดั ทําแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาท่ีทุก ภาษาอาหรับดา นกระบวนการเรียนการสอน คิดเปน ฝา ยมีสว นรว ม รอยละมากที่สุด คือ เน้ือหาท่ีใชการเรียนการสอน ควรเขา ใจงาย เนืองดว ยเน้ือหาที่จัดการสอนยังอยูใน (3) จัดอบรมสัมมนาเพ่ือพัฒนาครูใหเขาใจ รูปแบบเดิมๆ สอดคลองกับแนวคิดของ (Robert และมีทักษะในการจัดการเรียน การสอนและ Gange:1916 )” ข้ันท่ี 4 นาเสนอส่ิงเราหรือเนื้อหา สาระใหมใหเห็นลักษณะท่ีสําคัญอยางชัดเจน หลัก สํ า คั ญ ใ น ก า ร น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า ขอ ง บ ท เ รี ย น คอมพิวเตอรก็คือ ควรนาเสนอภาพที่เกี่ยวของกับ เนื้อหา ประกอบกับคาอธบิ ายส้นั ๆงา ย แตไดใจความ

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี ปที่ 4 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 72 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... การใชภ าพประกอบ จะทาํ ใหผ เู รียนเขาใจเน้ือหางาย การอุดหนุนงบประมาณ ดานบริหารจัดการเพื่อ ขึ้น และมีความคงทนในการจําไดดีกวาการใช พฒั นาภาษาอาหรับมากที่สดุ สวนปญ หานอยท่ีสดุ คือ คาํ อธิบายเพียงอยางเดียว” ดานตัวนักศึกษา ในประเด็น ความรูพื้นฐานภาษา อาหรบั ของนกั ศกึ ษา สวนแนวทางการการแกไขการ 7.แนวทางการการแกไขการเรียนการสอน เรียนการสอนภาษาอาหรับในสถาบันอุดมศึกษาใน ภาษาอาหรับดานการบรหิ ารจัดการ พัฒนาหลักสูตร สามจังหวัดชายแดนใต และ ขอเสนอแนะ พบมาก อยา งเปนข้ันตอน ตอเนื่อง เหมาะสม สอดคลองกับ ท่ีสุด คือ ดานกระบวนการเรียนการสอนในหัวขอ ความตองการของนักศกึ ษา ซึงสอดคลองกบั แนวคดิ อยากมีการเรียนเนน การฝก /ปฏิบัติ และขอ เสนอแนะ ของ ( Sowell : 2000) ระบุวา “ การศึกษาน้ันมิใช นอยทีสุด คือ ดานกระบวนการเรียนการสอนใน มีกรอบจํากัดเพียงแคคําวา “โรงเรียน” เทานั้น แต หัวขอ อาจารยควรสอนเสริมในเวลาวาง และอยาก คานิยมและความเชื่อท่ีวาโรงเรียนคือสถานท่ีท่ี ใหม ีการติวกอ นสอบ สรางสรรคการเรียนรู และเพ่ือให “โรงเรียน” เปน สถานท่ที ่ใี หก ารศึกษาและเปน แหลง การเรยี นรูกบั คน ขอเสนอแนะในการนาํ ผลการวจิ ัยไปใช ใหมากที่สุด ครอบคลุมสิ่งซ่ึงเปลี่ยนแปลงอยู 1. สถาบนั อดุ มศกึ ษาในสามจังหวัดชายแดน ตลอดเวลา หลักสูตรเปนเสมือนเข็มทิศในการ เปลี่ยนแปลงชีวิตผูคน และเปนส่ิงท่ีกําหนดและ ใตควรพฒั นาและสง เสรมิ การบรหิ ารจดั การเรียนการ สะทอ นกลบั แนวความคดิ การเรียนรู รวมถึงกิจกรรม สอนภาษาอาหรับโดยคํานึงถึงไดประยุกตใชใน ทางการศกึ ษาใหกับผูเรียน” ชวี ติ ประจําวัน 8. ขอ เสนอแนะคิดเปนรอยละมากที่สุด คือ 2. สถาบนั อุดมศกึ ษาในสามจังหวัดชายแดน ใตควรเปดโอกาสใหอาจารยเจาของภาษาอาหรับ อยากมีการเรียนเนนการปฏิบัติจริง เนืองดวยสวน มากกวาน้ี ใ ห ญ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ น น ท ฤ ษ ฎี ขอเสนอแนะสาํ หรบั การวจิ ยั ตอ ไป 1. ควรศกึ ษารูปแบบการเรยี นการสอนภาษา สอดคลองกับแนวคิดของ (John Dewey: 1859) อาหรับทบ่ี ูรณาการกับกิจกรรมตางๆ “รูปแบบการสอนแบบปฏิบัติการมาประยุกตเขา 2. ควรศึกษารปู แบบการเรยี นการสอนภาษา ดวยกันเปนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนน อาหรบั หลากหลาย การปฏิบัติจริง เน่ืองจากท้ังสองรูปแบบน้ีมีลักษณะ จุดมงุ หมาย กระบวนการ และผลท่ีเกิดข้ึนกับผูเรียน มีลกั ษณะทสี่ อดคลองกัน” สรุปและเสนอแนะ เอกสารอางอิง จากผลการวิจยั พบวา ปญหา อุปสรรคการ กรุณา ผนึกดี. 2552. รายงานวิจัยชั้นเรียน“การ เรียนการสอนภาษาอาหรับในสถาบันอุดมศึกษาใน พัฒนาทักษะการจําคําศัพทโดยใชเกม สามจังหวัดชายแดนใตอยูในระดบั ปานกลาง พบมาก Crossword” เ ข า ถึ ง เ ม่ื อ วั น ท่ี 1 4 ทส่ี ุดสองดาน คอื ดานกระบวนการเรียนการสอนใน พฤศจิกายน 2556 จาก ประเด็นการใชภาษาอาหรับเปนภาษาท่ีใชในการ http://www.gotoknow.org/posts/3365 เรยี นการสอน และ ดานการบรหิ ารจดั การในประเดน็ 10

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวทิ ยาลยั ฟาฏอนี ปท่ี 4 ฉบับท่ี 8 กรกฎาคม-ธันวาคม 2 5 5 7 มะตอเฮ มะลี 73 การศึกษาปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข... ทิศนา แขมมณ.ี 2545. รูปแบบการเรยี นการสอน http://www.moe.go.th /cgi- ทางเลือกทห่ี ลากหลาย. กรงุ เทพ: ดานสุท script/csArticles/articles/0000001/0 ธาการพมิ พ 00149.htm(26 กรกฎาคม 2550). เขา ถึง อาอชี ะห แวมามะ. 2555. สํารวจความสามารถการ เม่ือวนั ท่ี 16 พฤศจิกายน 2556 ใชแ หลงกําเนดิ ของคาํ (มซั ดัร) ในประโยค บทความ เร่ือง“ ความหมายของการเรียนรู”เขาถึง ภาษาอาหรับ รายวิชา อัขระวิธี 2 ของ นักศึกษาปท่ี2 สาขาภาษาอาหรับ ภาค เมื่อวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2556 จาก เรยี นท่ี2 ปการศึกษา2554. สถาบนั อสิ ลาม www.photoartcmu.com/sites/default/ และอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาส files/179_3.pdf ราชนครนิ ทร บทความ เร่ือง“ ภาษาอาหรับ”เขาถึงเมื่อวันที่ 14 อาอีชะห แวมามะ. 2556. รายงานผลการปฏิบัติ พฤศจกิ ายน 2556 จาก โครงการ “อบรมภาษาอาหรับหลกั สูตร http://th.wikipedia.org/wik ระยะสน้ั ครงั้ ท่ี 4”. สถาบนั อิสลามและ อาหรบั ศึกษา มหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราช นครนิ ทร มะตอเฮ มะลี. 2555. การแกปญหานกั ศึกษาที่ขาด คาํ ศัพทพ ื้นฐานภาษาอาหรับ ของนักศึกษา ปท่ี 1 สาขาวิชาภาษาอาหรับ/กฎหมาย อิสลาม. สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร มะตอเฮ มะลี. 2556. รายงานผลการปฏิบัติ โครงการ “ปรับพ้ืนฐานนักศึกษาใหม ประจําปการศึกษา 2556”. สถาบันอิสลาม และอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาส ราชนครนิ ทร Sowell, E. 2000. Curriculum: An integrative introduction (2nd ed.). Upper Saddle River, NJ:Merrill Prentice Hall. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักด์ิ. บทความ “ทิศทางการ อุด มศึ ก ษา ไทย ” เ ข าถึ ง เมื่ อวั น ท่ี 14 พฤศจิกายน 2556 จาก http://blog.eduzones.com/drkrieng/7 614 จรูญ ชูลาภ. 2545. ผบู รหิ ารกบั กลยุทธ. Child Centered [ระบบออนไลน] . แหลงท่มี า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook