Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่8

บทที่8

Published by budsarinburin, 2020-10-06 05:22:13

Description: หลักและวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

ใบความรูท้ ี่ 8 หลกั และวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน้

ใบความรู้ท่ี 8 เร่ือง หลักและวธิ กี ารปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น 1. จุดมงุ่ หมายของการปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล หมายถงึ การใหค้ วามช่วยเหลอื ดูแลผปู้ ่วย หรอื ผู้บาดเจ็บ ตรงท่ีเกดิ เหตโุ ดยใช้ อปุ กรณ์ท่จี ะหาได้ในขณะนน้ั กอ่ นที่จะสง่ ผูป้ ว่ ยหรอื ผบู้ าดเจ็บไปโรงพยาบาลการปฐมพยาบาล โดยการปฐมพยาบาลมีจุดม่งุ หมาย คือ 1. เพื่อช่วยชีวติ ผู้ท่ีประสบเหตุในเบื้องต้น 2. เพื่อเป็นการลดความรนุ แรงของอาการบาดเจบ็ หรือการเจบ็ ป่วยในขณะนัน้ 3. เพอ่ื ชว่ ยบรรเทาความเจ็บปวดทรมานที่เกิดขนึ้ และเพื่อชว่ ยใหค้ นเจบ็ กลบั สสู่ ภาพเดิมโดยรวดเรว็ 4. เพอื่ ป้องกนั ความพิการท่จี ะเกดิ ขนึ้ จากการบาดเจบ็ นนั้ ๆ 2. ความรเู้ บื้องตน้ ในการตรวจสอบ ในการปฐมพยาบาลสง่ิ ทีจ่ ำเป็น คือ การตรวจสอบสัญญาณชีพ เพอ่ื จะได้แก้ไขได้ทัน หากเกิดการ ผดิ ปกติขนึ้ ซึง่ การตรวจสอบสญั ญาณชพี ควรดำเนินการ ดงั น้ี 1. อุณหภูมิ โดยปกตอิ ุณหภมู ิของคนจะอยู่ท่ี 37 องศาเซลเซียส หรอื อยู่ท่ี 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ ซ่ึง การจะวดั อุณหภมู ขิ องรา่ งกายตอ้ งใช้เทอรโ์ มมเิ ตอรว์ ดั 2. ชีพจร ต้องจบั ชีพจร เพ่ือนับอัตราการเต้นของหัวใจและลักษณะการเตน้ ของชีพจรซึ่งโดยปกตกิ าร เต้นของชีพจรจะเตน้ ประมาณ 60-80 ครัง้ /นาที และมีการเตน้ อย่างสมา่ํ เสมอ การจับชพี จร

3. การหายใจ ซึ่งการนับการหายใจ เพื่อดวู า่ ระยะเวลา และลกั ษณะความแรงความสมาํ่ เสมอของการ หายใจในคนปกตทิ ีเ่ ป็นผใู้ หญ่จะหายใจประมาณ 18-20 คร้ัง/นาที 4. ความดันโลหติ เกิดจากการบบี ของหวั ใจ ทำใหเ้ ลือดจากหวั ใจไหลไปกระทบผนงั หลอดเลือด ใน การวัดความดนั โลหติ สามารถอา่ นค่าได้ คือ ถ้าความดนั ปกตจิ ะมีค่า 110/70 mmHg–120/80 mmHg 3. การเสียเลือดหรอื การตกเลอื ด การเสียเลอื ดหรือการตกเลือด คอื การที่มีอาการเลอื ดไหลออกมานอกเสน้ เลือด เพราะเสน้ เลือดน้นั ถกู ตดั ขาดหรือถกู ทำลายเสียหาย ทำใหม้ ีเลอื ดออกมาจากเส้นเลอื ดนน้ั สิง่ สำคัญอนั ดบั แรกที่จะต้องช่วยเหลอื เม่ือมีอาการตกเลือด คือ การห้ามเลอื ดไมใ่ ห้ไหล ไดแ้ ก่ 1. การเสยี เลือดหรือการตกเลือดจากภายนอก คือ การท่ีมีเลือดไหลออกมาจากภายนอกทสี่ ามารถ เห็นได้ ทีอ่ อกมาจากการมบี าดแผลทางผิวหนงั เช่น การถูกมีดหรอื ของมีคมบาด 2. การเสยี เลอื ดหรอื การตกเลอื ดจากภายใน คอื การท่มี เี ลือดออกจากอวยั วะภายในร่างกาย 4. ชนดิ ของบาดแผล บาดแผลมีหลายชนดิ ดงั นี้ 1. บาดแผลปิดหรอื บาดแผลชา้ํ คือ บาดแผลที่ไม่มีรอยแยกของผิวหนัง ทำใหผ้ ิวหนังเกิดอาการฟกชํ้า ซ่งึ อาจเกดิ จากการกระแทกหรอื ถูกตี ท่จี ะมีเลือดค่งั อยูภ่ ายใต้ผวิ หนัง 2. บาดแผลเปดิ คือ บาดแผลท่เี กิดจากการฉีกขาดของผิวหนัง 3. บาดแผลติดเชือ้ คอื การเป็นแผลท่หี ายชา้ เพราะไดร้ บั สิ่งสกปรกเข้าสบู่ าดแผล หรอื ร่างกาย ออ่ นแอ ไมม่ ภี มู ติ า้ นทานเชือ้ โรค 4. บาดแผลทถี่ ูกนาํ้ ร้อนลวก หรอื บาดแผลท่ถี ูกไฟไหม้ 5. บาดแผลที่ถกู แมลงสัตว์กัดต่อย ถูกสุนัขกัด หรือถูกงูกดั

5. การเขา้ เฝอื กชั่วคราว การเข้าเฝือกชว่ั คราว คือ การนำเอาวัสดุที่หาได้ในบริเวณท่ีเกดิ อุบตั ิเหตกุ ระดกู หักทแ่ี ขง็ แรงพอท่จี ะ พยุงหรือรับนา้ํ หนักอวยั วะทห่ี ักหรอื ได้รบั บาดเจบ็ นำมาดดั แปลงผกู บรเิ วณท่ีกระดูกหกั ชั่วคราวกอ่ นนำผู้ปว่ ย สง่ โรงพยาบาลเพื่อทำการรักษาตอ่ ไป ประโยชนข์ องการเข้าเฝือกชวั่ คราว คือ 1. ชว่ ยทำให้กระดกู ท่หี ักอยู่กับท่ี 2. ชว่ ยลดความเจบ็ ปวด 3. ชว่ ยป้องกันอาการภาวะแทรกซ้อนท่อี าจจะเกิดขึ้น เชน่ การถกู ทำลายของเสน้ เลอื ดจากกระดกู ที่ หัก เปน็ ตน้ 4. ช่วยใหก้ ารเคลือ่ นยา้ ยผปู้ ว่ ยสะดวกมากขน้ึ 6. การเคลือ่ นย้ายผู้ปว่ ย การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ต้องดำเนนิ การ ดงั นี้ 1. วธิ ลี ากดึง 1.1 จับบา่ ลากดงึ โดยผชู้ ว่ ยเหลือยืนดา้ นศีรษะของผู้ป่วย ใช้มือสองขา้ งสอดเขา้ ใตร้ ักแรข้ องผู้ปว่ ย แล้วลากดงึ ผปู้ ่วยออกไป 1.2 จบั ข้อเท้าลากดงึ โดยผชู้ ่วยเหลอื ยนื ด้านปลายเทา้ ของผู้ปว่ ย ใชม้ ือท้ังสองข้างรวบเท้าทงั้ 2 ข้าง แลว้ ลากดงึ ผู้ป่วยออกไป 2. วธิ ีอุ้ม 2.1 อุม้ ช้อนใตล้ ำตัว ถา้ หากผปู้ ่วยยังมสี ติดอี าจใชแ้ ขนข้างหนึ่งโอบคอผู้ช่วยไปด้วยก็ได้

2.2 อุ้มพยุงเดนิ ผู้ชว่ ยใชแ้ ขนทีป่ ระชดิ ตวั ผปู้ ว่ ย โดยการโอบเอวของผปู้ ่วย และมือผปู้ ่วยโอบพาด บา่ ผชู้ ่วยแลว้ เดินไปด้วยกัน 3. วิธียก 3.1 ยกหว้ิ วธิ นี ี้ตอ้ งใชค้ วามรวดเรว็ ตอ้ งมผี ู้ช่วย 2 คน เหมาะกับการเคลื่อนยา้ ยในช่องทางแคบ ๆ 3.2 ยกอุ้มนงั่ ผู้ช่วย 2 คนหนั หน้าเข้าหากัน จับมือกันประสานแทนเก้าอ้ี และให้ผปู้ ว่ ยนัง่ ขา้ งบน โดยมือของผู้ปว่ ยกอดคอผชู้ ว่ ยไว้ 4. หามด้วยเปล 4.1 หามดว้ ยเปลผา้ ขาวม้า โดยใช้ผ้าขาวมา้ ท่เี หนียวพอ ใช้หลายผืน พันรอบไม้ 2 ท่อน โดยวาง เปน็ ระยะห่างพอสมควร และพนั ทบใหแ้ นน่ จนแน่ใจว่าสามารถรองรบั น้ําหนักของผู้ป่วยไดใ้ ห้ผ้ปู ว่ ยนอนและ ช่วยกนั หามไป 4.2 หามด้วยเปลผา้ หม่ หรือเปลเสือ้ ผา้ โดยการสอดปลายไม้ 2 ท่อนเขา้ กับขากางเกงและแขนเสื้อ ท้ัง 2 ข้าง โดยแน่ใจว่าจะรบั นํา้ หนกั ผ้ปู ว่ ยได้ 7. การช่วยเหลือผู้ได้รบั สารพิษ ในงานทำงานดา้ นเกษตร ผปู้ ฏิบัติงานอาจได้รบั สารเคมหี รือสารพษิ เข้าสรู่ า่ งกายได้ ผูท้ จ่ี ะได้รบั สารพษิ เข้าสรู่ ่างกาย มไี ด้ดังน้ี 1. ทางปาก คือ กินอาหารท่ปี นเป้อื นสารพิษ หรอื จากภาชนะท่ีใส่อาหาร หรือมือทเ่ี ป้ือนสารพษิ 2. ทางการหายใจ คือ การทำงานทมี่ ีละอองสารพิษ และสูดดมสารพิษ 3. ทางผวิ หนัง คอื การท่สี ารพษิ ซึมเข้าทางผวิ หนัง 4. ทางการฉีดเขา้ ใตผ้ ิวหนังหรือฉดี เข้าเส้นเลอื ด วธิ ปี ฐมพยาบาลผูป้ ่วยทีไ่ ด้รบั สารพิษจากการรบั ประทาน 1. ต้องพจิ ารณาวา่ ผปู้ ว่ ยรับประทานสารพิษประเภทไหน เปน็ กรดหรือด่าง 2. ผปู้ ่วยยงั มีสตอิ ยู่ และให้การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ แล้ว รีบนำสง่ โรงพยาบาลทันที วธิ ปี ฐมพยาบาลผ้ปู ่วยทไี่ ด้รบั สารพษิ จากการหายใจ 1. ควรนำผปู้ ว่ ยออกจากบรเิ วณที่มีกลนิ่ สารพษิ ควนั เพื่อใหผ้ ู้ป่วยได้รบั อากาศบริสทุ ธิ์ 2. ควรชว่ ยให้ผปู้ ่วยหายใจ โดยวธิ เี ปา่ ลมเขา้ ทางปากเพื่อให้เข้าสปู่ อด 3. ควรระวงั ผปู้ ่วยเกิดอาการชอ็ ก 4. ควรรบี นำผู้ปว่ ยสง่ โรงพยาบาลทันที วิธีปฐมพยาบาลผปู้ ่วยท่ีได้รบั สารพิษท่ีซึมเขา้ ทางผิวหนัง 1. ควรรบี ถอดเครื่องแต่งกายทเ่ี ปอ้ื นสารพษิ ออกจากรา่ งกายผู้ป่วย 2. ควรลา้ งร่างกายหรืออวยั วะที่เป้ือนสารพิษดว้ ยน้ําและสบู่ 3. ถ้าผูป้ ว่ ยมอี าการหายใจลำบากให้รีบช่วยผปู้ ่วยใหห้ ายใจได้สะดวกขึน้ 4. ควรรบี นำผปู้ ว่ ยส่งโรงพยาบาลทันที 8. หลักการใช้ยาอย่างถูกต้อง

ยาเป็นสิ่งจำเปน็ ต่อมนษุ ย์ และยาแตล่ ะชนดิ ก็มวี ธิ ีการใช้ที่แตกต่างกัน เช่น ยาทา ยาฉีดยา รับประทาน เป็นตน้ หากใชย้ าผดิ ประเภทอาจทำใหเ้ กดิ อันตรายได้ ดังนั้น เพื่อใหเ้ กิดความปลอดภัยในการใช้ ยา จงึ ต้องร้วู ธิ ีการใช้ยาท่ีถกู ต้อง รู้จกั วิธีการเกบ็ รักษายาไม่ใหเ้ สอ่ื มสภาพเร็ว และต้องสงั เกตวา่ ยาน้นั เสอ่ื มสภาพแลว้ หรือยงั ดังนี้ 1. การใช้ยาให้ถูกกับโรคทเี่ ป็น 2. การใชย้ าให้ถกู กบั คน 3. การใชย้ าให้ถูกเวลา 4. ใชย้ าให้ถกู ขนาด 5. การใชย้ าใหถ้ ูกประเภท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook