Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาเรื่องนิราศภูเขาทอง

เนื้อหาเรื่องนิราศภูเขาทอง

Published by fonprem16, 2019-06-23 23:08:51

Description: ิราศภูเขาทอง เป็นนิราศเรื่องที่สั้นที่สุดของสุนทรภู่ โดยมีความยาวเพียง ๑๗๖ ค�ากลอน
แต่มีความดีเด่นทั้งในด้านเนื้อหาและวรรณศิลป์ จนได้รับการยกย่องว่าเป็นนิราศที่มีความไพเราะ
มากที่สุดในจ�านวนนิราศทั้ง ๙ เรื่องของสุนทรภู่ ดังจะเห็นได้จากคุณค่าในด้านต่างๆ ด

Keywords: นิราศภูเขาทอง ภาษาไทย วรรณคดี

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ม.๑ วรรณคดีและวรรณกรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผูเรียบเรยี ง นางฟองจนั ทร สุขยง่ิ นางกลั ยา สหชาตโิ กสีย นางสาวศรวี รรณ ชอยหิรัญ นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อนิ ทรประพันธ ผตู รวจ นางประนอม พงษเ ผอื ก นางจินตนา วรี เกียรติสนุ ทร นางวรวรรณ คงมานุสรณ บรรณาธิการ นายเอกรินทร สี่มหาศาล รหัสสนิ คา ๒๑๑๑๐๐๘

หนงั สือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน คํานํา ภาษาไทย ม.๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ า� หนด ใหภ้ าษาไทยเปน็ กลมุ่ สาระการเรยี นรหู้ ลกั โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพของ วรรณคดีและวรรณกรรม ผเู้ รยี นใหส้ ามารถใชภ้ าษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเหมาะสมกบั วฒั นธรรม ไทย สามารถนา� ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั เกณฑก์ ารใชภ้ าษาไปใชต้ ดิ ตอ่ สอ่ื สาร ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ ๑ และเปน็ เคร่อื งมือศกึ ษาหาความรู้ตลอดชวี ติ ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิด กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย ความเป็นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย ใช้ใน การติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจเพ่ือความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ท�าให้สามารถ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกอบธรุ กิจ การงาน และด�ารงชวี ติ ร่วมกันในสงั คมประชาธิปไตยได้อยา่ งสนั ติสขุ ใช้ส�าหรับการแสวงหาความรู้และประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ คําเ ืตอน หนังสือเลมนไี้ ดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธิ์ หามมิใหผูใด ทําซํา้ คัดลอก เลยี นแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรอื แปลงเปนรูปแบบอ่นื เพอ่ื พฒั นาความรกู้ ระบวนการคดิ วเิ คราะห์ การวิจารณ ์ การสรา้ งสรรคใ์ ห้ทนั ตอ่ การ ในวธิ ตี างๆ ทกุ วิธี ไมวาทัง้ หมดหรือบางสวน โดยมไิ ดรับอนญุ าตจากเจาของลขิ สิทธ์ถิ อื เปนการละเมดิ ผูกระทาํ จะตองรบั ผดิ ท้งั ทางแพงและทางอาญา เปลย่ี นแปลงทางสงั คม ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี ตลอดจนนา� ไป ใชใ้ นการดา� เนนิ ชวี ติ ประจา� วนั ใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ นอกจากนยี้ งั เปน็ สอ่ื แสดงภมู ปิ ญั ญา พมิ พครงั้ ท่ี ๑ ของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้�าค่าควรแก่การ เรียนรูอ้ นุรกั ษ์และสบื สานให้คงอยู่คู่ชาตไิ ทยตลอดไป สงวนลขิ สิทธต์ิ ามพระราชบัญญัติ ทั้งน้ีหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ นี้ ISBN : 978-616-203-544-9 ทางคณะผูเ้ รยี บเรียงแบง่ เนื้อหาออกเปน็ ๒ เลม่ คือ หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ครอบคลมุ ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระท่ ี ๑ การอา น สาระที่ ๒ การเขียน สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด และ สาระท ่ี ๔ หลกั การใชภาษา วรรณคดแี ละวรรณกรรม ครอบคลุมตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม คณะผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและ วรรณกรรม เล่มน้ี จะเป็นส่ือการเรียนการสอนที่ช่วยพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ให้มีคุณภาพบรรลุตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ก�าหนดไว้ ทกุ ประการ คณะผเู้ รยี บเรยี ง

สารบัญ (๑) บทนÓ ๒ ตอนที่ ๕ ๒๔ การเรียนวรรณคดีไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีความมุ่งหมายประการส�าคัญ คือ ๔๓ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาและภูมิใจในวรรณคดีไทยอันเป็นมรดกท่ีล�้าค่าของชาติ พัฒนาทักษะการอ่าน วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๕๗ และสามารถพินิจคุณค่าของวรรณคดีแล้วน�าความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๘๒ ตลอดจนเป็นการศึกษาวฒั นธรรมทางภาษาไทยไปพรอ้ มกนั ด้วย บทนํา ๑๑๐ หนวยการเรียนรูท่ี ๑ นิราศภูเขาทอง ๑๒๔ ๑ ความหมายของวรรณคดี หนว ยการเรียนรูท่ี ๒ โคลงโลกนิติ ๑๔๕ หนวยการเรยี นรูท่ี ๓ สุภาษติ พระรว ง ๑๔๘ “วรรณคดี” มาจากคา� วา่ “วรรณ” (ภาษาบาลีใช้ว่า วณณฺ , สนั สกฤต ใชว้ า่ วรฺณ) ซงึ่ แปลวา่ หนว ยการเรยี นรูท่ี ๔ กาพยเ ร่อื งพระไชยสุริยา หนังสือ กับค�าว่า “คดี” ซ่ึงมาจากค�าว่า “คติ” แปลว่า แบบอย่าง วิธี หรือแนวทาง รวมความว่า หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๕ ราชาธริ าช ตอน สมงิ พระรามอาสา วรรณคด ี แปลตามรปู ศพั ท์ หมายถงึ แบบอยา่ งหรือแนวทางแหง่ หนงั สอื หนวยการเรยี นรูที่ ๖ กาพยเหชมเคร่อื งคาวหวาน พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ ไดใ้ หค้ วามหมายของค�าว่าวรรณคดี หนวยการเรียนรทู ่ี ๗ นิทานพน้ื บาน ไว้ว่า หนงั สือท่ไี ด้รบั การยกยอ่ งว่าแต่งดี บทอาขยาน บรรณานกุ รม ๒ แนวการพนิ จิ วรรณคดี การอา่ นเพอื่ การพินิจหรือการพิจารณาวรรณคดนี นั้ อาจใชค้ �าเรียกหลากหลายว่าการวจิ ักษณ์ (วิจักษ์) การวิจารณ์ หรือการวิเคราะห์ แต่มีความหมายไปในแนวทางเดียวกัน คือ การอ่านอย่าง ใคร่ครวญ ศึกษาให้ถ่องแท้ พิจารณาว่าหนังสือนั้นๆ แต่งดีอย่างไร ใช้ถ้อยค�าไพเราะลึกซ้ึงเพียงใด และให้คุณค่า ข้อคิด หรือคติสอนใจอย่างไร เพ่ือให้เข้าใจและตระหนักในคุณค่าของวรรณคดี สา� หรบั แนวทางในการพิจารณาวรรณคดี มีดังน้ี ๒.๑ พจิ ารณาเนอื้ หาวรรณคดี เน้ือหาของวรรณคดีมีหลายประเภท เมื่อจ�าแนกตามจุดประสงค์ในการประพันธ์ ดังน้ัน ผู้เรียนจึงควรเข้าใจเน้ือหาของเรื่องท่ีอ่านโดยสรุป เพ่ือน�าไปสู่การพิจารณาในข้ันตอนต่อไป ประเภทของวรรณคดี มดี ังนี้ ๑) วรรณคดีศาสนา มีเน้ือหามุ่งแสดงหลักค�าสอนทางศาสนา ผลแห่งการกระท�า ความดีและความช่ัว เชน่ ไตรภมู พิ ระร่วง มหาชาตคิ า� หลวง ปฐมสมโพธกิ ถา เป็นต้น ๒) วรรณคดีค�าสอน มีเนื้อหาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนในสังคม เช่น สุภาษติ พระรว่ ง กฤษณาสอนน้องคา� ฉันท์ โคลงโลกนิติ อศิ รญาณภาษิต เป็นต้น (๑)

๓) วรรณคดปี ระเพณแี ละพธิ กี รรม เปน็ วรรณคดที ใ่ี หร้ ายละเอยี ดเกยี่ วกบั ประเพณี ๑.๑) ควรพิจารณาว่าผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายอย่างไร เน้ือเร่ืองมีแนวคิด ให้ค�าสอน และใชใ้ นการประกอบพธิ ีกรรมตา่ งๆ เชน่ ลิลิตโองการแช่งนา้� ลลิ ิตพยุหยาตราเพชรพวง พระราชพธิ ี- คติธรรม ขอ้ เตือนใจ หรอื ให้แนวทางในการด�าเนนิ ชวี ิตอย่างไร ๑.๒) พิจารณาภาพสะท้อนของสังคม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม สิบสองเดอื น ฉนั ท์ดุษฎีสงั เวยกลอ่ มช้าง กาพยเ์ ห่เรอื สา� นวนตา่ งๆ เป็นต้น ขนบธรรมเนยี ม ประเพณ ี ความเชือ่ และค่านิยมตา่ งๆ ในสมัยของผ้แู ต่ง ๔) วรรณคดีประวัตศิ าสตร์ เปน็ วรรณคดีท่ีบนั ทกึ หรอื มเี นือ้ หาเกีย่ วกบั เหตกุ ารณ์ ๑.๓) พจิ ารณาคณุ คา่ ในดา้ นความรู้ทีจ่ ะชว่ ยเสรมิ สร้างสติปัญญาแก่ผ้อู า่ น ส�าคัญในประวัติศาสตร์ การสดุดีวีรชนผู้กล้าหาญ เช่น โคลงยวนพ่าย ราชาธิราช ลิลิตตะเลงพ่าย ๒) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เป็นการพิจารณาการใช้ถ้อยค�า ส�านวนโวหารท่ีแสดง ความสามารถของผู้แต่งว่าใช้ศิลปะทางภาษาในการเรียบเรียง คัดสรรถ้อยค�า ส�านวนโวหาร เพื่อส่ือ โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอกั ษรนติ ิ เป็นต้น ให้ผู้อ่านไดร้ ับความเพลิดเพลนิ และเกดิ สนุ ทรียะทางอารมณอ์ ยา่ งไร ๕) วรรณคดีบันทึกการเดินทาง มีเนือ้ หาเปน็ บันทกึ ความรูแ้ ละการเดินทางของกวี วรรณศิลป์เป็นภาษาเฉพาะท่ีผู้แต่งคัดสรรค�ามาใช้ในงานประพันธ์ได้อย่าง ไพเราะงดงาม มีการใช้โวหารภาพพจน์เพ่ือให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพและความรู้สึกคล้อยตามเหตุการณ์ จัดเป็นวรรณคดีประเภทนิราศ มีเน้ือความพรรณนาถึงความอาลัยรักต่อสตรี หรือบรรยายสภาพ ในตอนตา่ งๆ ของเนอ้ื เรื่อง บ้านเมือง ผู้คน สังคม และวัฒนธรรมต่างๆ ตลอดการเดินทาง เช่น นิราศนรินทร์ นิราศพระบาท ๓ วรรณศลิ ปใ์ นวรรณคดไี ทย นริ าศหรภิ ญุ ชัย นริ าศนครวดั ลิลติ พายัพ เปน็ ตน้ วรรณศิลป์ในวรรณคดีไทยเป็นเคร่ืองสะท้อนให้เห็นว่างานประพันธ์แต่ละเร่ืองจะต้อง ๖) วรรณคดีเพื่อความบันเทิง วรรณคดีประเภทนี้แต่งข้ึนเพื่อแสดงมหรสพ เลือกสรรค�าประพันธ์ให้เหมาะสมกับผลงาน เพื่อสื่อความหมายและถ้อยค�าท่ีไพเราะสละสลวย อันเป็นลักษณะเฉพาะของภาษากวีและท�าให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์ กลวิธีในการพิจารณา ประเภทต่างๆ เช่น เร่ืองรามเกียรติ์ส�าหรับใช้แสดงโขน เร่ืองพระอภัยมณีส�าหรับใช้แสดงหุ่นกระบอก วรรณศลิ ปใ์ นวรรณคดีไทย มีดังนี้ มัทนะพาธาสา� หรับใชแ้ สดงละครพดู ๓.๑ รสวรรณคดี ๒.๒ พจิ ารณารปู แบบการแตง่ รสวรรณคดีเป็นส่ิงท่ีสัมผัสได้ด้วยตาและหู เป็นรสท่ีบ่งบอกถึงสภาวะของอารมณ์ ถ้าวรรณคดีเรื่องใดสามารถโน้มน้าวใจผู้อ่านให้เกิดความเพลิดเพลินและเกิดอารมณ์ฝ่ายสูง วรรณคดี รูปแบบ หมายถึง ลักษณะของงานประพันธ์ที่ผู้แต่งหรือกวีเลือกใช้ในการน�าเสนอ เรอ่ื งนน้ั กม็ คี ณุ คา่ ทางวรรณศลิ ปแ์ ละรสวรรณคดยี อ่ มถา่ ยทอดผา่ นภาษาจากผแู้ ตง่ สผู่ อู้ า่ น ดงั นน้ั ภาษา กับวรรณคดจี งึ แยกกนั ไมไ่ ด้ ผลงาน แบง่ เป็น ๒ ประเภท คือ รสวรรณคดีไทย แบ่งออกได้เปน็ ๔ รส ดงั นี้ ๑) วรรณคดีร้อยกรอง หมายถึง วรรณคดีท่ีแต่งข้ึนตามรูปแบบฉันทลักษณ์ ๑) เสาวรจน ี เปน็ บททชี่ มความงาม ไมว่ า่ จะเปน็ ความงามของตวั ละครหรอื ความงาม มีกฎเกณฑ์ข้อบังคับที่ค่อนข้างแน่นอน เช่น สัมผัสระหว่างวรรค จ�านวนค�า ระดับเสียงสูงต่�า และ ของสถานท ่ี เช่น ความงามของนางศกุนตลา ความหนักเบาของคา� เช่น โคลง ฉนั ท ์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต กาพย์ห่อโคลง เปน็ ตน้ ดูผิวสินวลละอองอ่อน มะลซิ ้อนดดู ำ� ไปหมดส้นิ ๒) วรรณคดีร้อยแก้ว หมายถึง วรรณคดีที่แต่งเป็นความเรียงด้วยถ้อยค�า สองเนตรงำมกว่ำมฤคิน นำงนี้เป็นปนิ่ โลกำ งำมโอษฐ์ดงั ใบไม้ออ่ น งำมกรดงั ลำยเลขำ และถ้อยความที่สละสลวย ไพเราะเหมาะสมด้วยเสียงและความหมาย ไม่มีกฎเกณฑ์ข้อบังคับ งำมรูปเลอสรรขวัญฟ้ำ งำมย่งิ บปุ ผำเบง่ บำน ในการแตง่ เหมือนวรรณคดีรอ้ ยกรอง (ศกุนตลา : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ) ๒.๓ พจิ ารณาคณุ คา่ ของวรรณคดี (๓) การพจิ ารณาคณุ คา่ ของวรรณคด ี แบง่ เปน็ ๒ ประเภท คอื คณุ คา่ ดา้ นเนอ้ื หาและคณุ คา่ ด้านวรรณศิลป์ ๑) คณุ คา่ ดา้ นเนื้อหา คอื การพจิ ารณาเน้ือหาที่ให้คณุ ประโยชน ์ ซ่ึงผ้อู า่ นควรอ่าน อย่างมีวิจารณญาณ หาคุณค่าของวรรณคดีอย่างมีหลักเกณฑ์ ส�าหรับแนวทางในการพิจารณาคุณค่า ดา้ นเนือ้ หา มีหลายประการ ดงั น้ี (๒)

๒) นารีปราโมทย์ เป็นบทที่แสดงความรกั ใคร่หรือพดู จาโอโ้ ลมใหอ้ กี ฝา่ ยเกดิ ความ- ๓.๒ การใชภ้ าพพจน์ ปฏพิ ทั ธ ์ เช่น บทแสดงความรักทที่ ้าวชยั เสนมีต่อนางมัทนา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายของ ผิลิ้นพ่จี ะมีหลำย “ภาพพจน์” ว่า ถ้อยค�าท่ีเป็นส�านวนโวหารท�าให้นึกเป็นภาพ ถ้อยค�าที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิง เป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ ก็ทุกลนิ้ จะรุมกลำ่ ว แสดงรกั ณ โฉมฉำย, ได้อย่างกวา้ งขวางลึกซ้ึงมากกว่าการบอกอยา่ งตรงไปตรงมา กลวธิ ใี นการนา� เสนอภาพพจนท์ ่ผี แู้ ต่งนยิ มใชใ้ นการประพันธ์ มดี งั นี้ และทุกลิน้ จะเปรยปรำย ประกำศถอ้ ยปะฏญิ ญำ ๑) การใชค้ วามเปรยี บวา่ สง่ิ หนงึ่ เหมอื นกบั สง่ิ หนงึ่ เรยี กวา่ อปุ มา โดยมคี า� เปรยี บ พะจีวำ่ จะรักยืด บจำงจืดสเิ นหำ, ปรากฏอยู่ในข้อความ ค�าเปรียบเหล่านี้ เช่น เสมือน ดุจ เฉก ดัง ด่ัง ปูน เพียง เหมือน เป็นต้น ดงั ตัวอย่าง สบถให้ละตอ่ หนำ้ พระจันทรแ์ จม่ ณ เวหน. (มทั นะพาธา : พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั ) ...อันสตรีรูปงาม ไม่ดีเท่าสตรีที่น้�าใจงาม อันสตรีรูปงามอุปมาดังดอกสายหยุด ๓) พิโรธวาทัง เป็นบทแสดงความโกรธ ตัดพ้อ เหน็บแนม เสียดสี หรือแสดงถึง ทรงคันธรสประท่ินอยู่แต่เวลาเช้า คร้ันสายแสงสุริย์ส่องกล้าแล้ว ก็ส้ินกลิ่นหอม อันสตรี ความเคียดแคน้ เชน่ นา�้ ใจงามนา้� ใจดซี อื่ สตั ยต์ อ่ สามนี น้ั อปุ มาดงั ดอกซอ่ นกลน่ิ ดอกพกิ ลุ ยอ่ มหอมชนื่ อยชู่ า้ นาน... (ราชาธิราช : เจา้ พระยาพระคลัง (หน)) ตวั นำงเปน็ ไทแตใ่ จทำส ไมร่ กั ชำติรสหวำนมำพำนขม อ่อนหวานมานมติ รล้น เหลือหลาย ด่งั สกุ รฟอนฝ่ำแต่อำจม ห่อนนิยมรักรสสคุ นธำร หยาบบ่มเี กลอกราย เกลือ่ นใกล้ น้ำ� ใจนำงเหมือนอย่ำงชลำลยั ไม่เลือกไหลหว้ ยหนองคลองละหำน ดุจดวงศศฉิ าย ดาวดาษ ประดับนา เสียดำยทรงแสนวไิ ลแตใ่ จพำล ประมำณเหมอื นหนึ่งผลอทุ ุมพร สุริยส่องดาราไร ้ เพอื่ ร้อนแรงแสง (โคลงโลกนิติ : สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดศิ ร) สุกแดงดงั่ แสงปทั มรำช ข้ำงในล้วนกิมชิ ำติเบยี นบ่อน ๒) การเปรียบวา่ ส่ิงหนึ่งเปน็ อกี สิ่งหนึง่ เรยี กวา่ อุปลกั ษณ์ เปน็ ภาพพจนท์ ่นี า� สง่ิ ทแี่ ตกต่างกนั แต่มีลักษณะร่วมกนั มาเปรยี บเทียบกนั โดยใช้คา� เช่ือมว่า เปน็ คอื หรอื ไม่ปรากฏค�าเชือ่ ม (กากีกลอนสุภาพ : เจ้าพระยาพระคลัง (หน)) กไ็ ด้ ๔) สลั ลาปงั คพสิ ัย เป็นบทที่แสดงการคร่า� ครวญ โศกเศร้า เช่น ชายขา้ วเปลือกหญิงขา้ วสารโบราณว่า น�้าพึ่งเรอื เสือพง่ึ ป่าอัชฌาสัย เรากจ็ ติ คดิ ดูเล่าเขาก็ใจ รกั กันไว้ดีกว่าชังระวงั การ แลว้ ว่ำอนิจจำควำมรัก พึง่ ประจักษ์ดงั่ สำยนำ้� ไหล (อศิ รญาณภาษติ : หมอ่ มเจา้ อศิ รญาณ) ต้ังแต่จะเชย่ี วเปน็ เกลยี วไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมำ สารสยามภาคพร้อม กลกานท์ นีฤ้ ๅ คอื คมู่ าลาสวรรค์ ชอ่ ชอ้ ย สตรีใดในพิภพจบแดน ไมม่ ีใครได้แค้นเหมือนอกขำ้ เบญญาพศิ าลแสดง เดมิ เกยี รติ พระฤๅ คือคู่ไหมแสร้งร้อย กึง่ กลาง ดว้ ยใฝ่รกั ใหเ้ กนิ พักตรำ จะมแี ต่เวทนำเป็นเนืองนติ ย์ (ลิลติ ยวนพ่าย : ไมป่ รากฏนามผูแ้ ต่ง) (อิเหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย) (๕) (๔)

๓) การสมมติให้ส่ิงต่างๆ มีกิริยาอาการหรือความรู้สึกเหมือนมนุษย์ เรียกว่า ๑.๑) การเลน่ เสยี งสระ เปน็ การใชค้ า� ทมี่ เี สยี งสระตรงกนั ถา้ มตี วั สะกดกต็ อ้ งเปน็ บุคคลวัต เป็นการสมมติให้สิ่งไม่มีชีวิต พืช สัตว์ มีความคิดและการแสดงออกเหมือนมนุษย์ เช่น ตวั สะกดในมาตราเดียวกนั สว่ นวรรณยุกต์จะต่างรูปหรือตา่ งเสยี งกนั กไ็ ด้ เช่น การทกี่ วกี ลา่ ววา่ สตั วท์ ง้ั หลายในมหาสมทุ รกพ็ ลอยแสดงความโศกเศรา้ เสยี ใจไปดว้ ย เมอื่ ถงึ วนั ทก่ี วตี อ้ ง จากนางอนั เป็นที่รกั ดูหนูสู่รูงู งูสุดส้หู นสู งู้ ู หนูงสู ้ดู ูอยู่ รปู งทู ู่หนมู ูทู แสนสัตวน์ าเนกถว้ น แสนสินธ์ุ ดูงูขู่ฝูดฝ ู้ พรพู รู ทกุ ขบ์ นั ดาลไฟฟอน ชว่ ยเศรา้ วนั เจยี รสดุ าพินท์ พักเตรศ หนูสรู่ ูงูงู สดุ สู้ แสนสเุ มรมุ ว้ นเขา้ ดั่งลาญ งสู ู้หนหู นูส ู้ งอู ยู่ (โคลงทวาทศมาส : พระเยาวราช) หนูรู้งงู รู ู ้ รูปถมู้ ูทู (กาพย์หอ่ โคลงประพาสธารทองแดง : เจ้าฟา้ ธรรมธิเบศร) สตั ภัณฑบ์ รรพตทั้งหลาย อ่อนเอยี งเพียงปลาย ๑.๒) การเล่นเสียงพยัญชนะ เป็นการใช้ค�าที่มีพยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน อาจ เป็นตัวอักษรท่ีเป็นพยัญชนะรูปเดียวกัน หรือพยัญชนะท่ีมีเสียงสูงต�่าเข้าคู่กัน หรือพยัญชนะควบ ประนอมประนมชัย ชุดเดียวกันก็ได ้ เช่น (บทพากย์เอราวัณ : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั ) กวีเปรียบเทียบว่า ภูเขาทั้งหลายต่างค้อมศีรษะลงเพ่ือแสดงความเคารพ เมื่อเห็น ฝูงลิงไตก่ ่ิงลำงลงิ ไขว ่ ลำงลงิ แล่นไล่กนั วนุ่ ว่ิง ขบวนเสดจ็ ขององค์อมรนิ ทร์ ลำงลงิ ชงิ คำ่ งขึ้นลำงลงิ กำหลงลงก่งิ กำหลงลง ๔) การใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติ เรียกว่า สัทพจน์ คือ การใช้ถ้อยค�าเพ่ือ เลียนเสียงของธรรมชาต ิ เช่น เสียงสตั วร์ ้อง เสียงคนรอ้ ง เสียงดนตรี เช่น เพกำกำเกำะทกุ กำ้ นก่ิง กรรณิกำร์กำชงิ กันชมหลง มัดกำกำกวนล้วนกำดง กำฝำกกำลงทำ� รงั กำ ระวงั ตวั กลวั ครหู นเู อ๋ย ไมเ้ รียวเจียวเหวย (เสภาเรือ่ งขนุ ชา้ งขุนแผน : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) กเู คยเขด็ หลาบขวาบเขวยี ว (กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า : สุนทรภ่)ู ๑.๓) การเล่นเสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์เป็นข้อก�าหนดท่ีบังคับใช้ใน การแต่งค�าประพันธ์บางประเภท เช่น ฉันท์หรือกลบท การเล่นเสียงวรรณยุกต์เป็นการไล่ระดับเสียง คา� วา่ “ขวาบเขวยี ว” เปน็ คา� เลยี นเสยี งของไมเ้ รยี วยามทแ่ี หวกอากาศมากระทบผวิ หนงั เป็นชุด ซ่งึ ทา� ใหเ้ กิดเสยี งทไ่ี พเราะชวนฟงั เปน็ อย่างยิง่ เชน่ ๓.๓ การสรรคา� เสนำสสู ่สู ู้ ศรแผลง ยงิ คำ่ ยทลำยเมืองแยง แย่งแยง้ การสรรค�า คือ การเลือกใช้ค�าให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ รุกรน้ ร่นรนแรง ฤทธ์ริ ีบ ไดอ้ ย่างงดงาม โดยคา� นึงถึงความงามดา้ นเสยี งของถ้อยคา� เปน็ ส�าคัญ ลวงล่วงลว้ งวงั แวง้ รวบเรำ้ เอำมำ กลวธิ ใี นการเลือกสรรคา� มดี ังน้ี (โคลงอกั ษรสามหมู่ : พระศรีมโหสถ) ๑) การเล่นเสียง เป็นการสรรค�าที่ท�าให้เกิดท่วงท�านองท่ีไพเราะ ไม่ว่าจะเป็น การเลน่ เสยี งสระ การเล่นเสยี งพยัญชนะ และการเลน่ เสยี งวรรณยกุ ต์ (๗) (๖)

๒) การเล่นค�า เป็นความไพเราะของบทประพันธ์ที่เกิดจากการเลือกใช้ถ้อยค�า õตอนที่ วรรณคดีและวรรณกรรม เป็นพิเศษ การเล่นค�าแบ่งออกเป็นการซ้า� ค�าและการหลากคา� ๒.๑) การซ้�าค�า เป็นการกล่าวซ�้าๆ ในค�าเดิมเพื่อเพิ่มน�้าหนักของค�าและย�้าให้ ความหมายชัดเจนขน้ึ เชน่ เหลือบเห็นสตรีวไิ ลลักษณ ์ พศิ พกั ตรผ์ อ่ งเพยี งแขไข งามโอษฐ์งามแก้มงามจุไร งามนยั นง์ ามเนตรงามกร งามถนั งามกรรณงามขนง งามองค์ยง่ิ เทพอปั สร งามจริตกริ ยิ ำงามงอน งามเอวงามอ่อนทง้ั กำยำ (รามเกียรติ์ : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) ๒.๒) การหลากค�า เป็นการใช้ค�าที่มีความหมายเหมือนกันหรือค�าไวพจน์ ในบทประพันธเ์ ดียวกัน เชน่ ❀ ช่อื พระอศิ วร ใช้ สยมภู ศุลี ศวิ ะ ตรีโลจนะ จันทรเศขร รทุ ร ทิคัมพร ภเู ตศวร ปศิ าจบดี ศังกร เปน็ ตน้ ❀ ดวงอาทิตย์ ใช้ ตะวนั พนั แสง สหสั รังสี ภาณุ จาตรุ นต์ ไถง ทิพากร ภาสกร สรุ ิยา เปน็ ต้น การเข้าใจความหมายและแนวทางของการวิจักษ์วรรณคดี ตลอดจนศิลปะในการแต่ง และการใชถ้ อ้ ยคา� สา� นวนอนั เปน็ หวั ใจของวรรณคด ี ดงั กลา่ วไปขา้ งตน้ ผเู้ รยี นสามารถนา� ความรเู้ หลา่ นี้ มาใช้เป็นพื้นฐานในการวิจารณ์และประเมินค่าวรรณคดี เพ่ือให้สามารถอ่านวรรณคดีที่น�ามาศึกษาได้ อย่างเขา้ ใจและไดอ้ รรถรสมากย่งิ ขึน้ (๘)

๑ ความเปน็ มา สุนทรภู่แต่งนิราศภูเขาทองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อราวปลาย พ.ศ. ๒๓๗๓ โดยเล่าถึงการเดินทางเพื่อไปนมัสการเจดีย์ภูเขาทองท่ีเมืองกรุงเก่าหรือจังหวัด พระนครศรีอยุธยาในปัจจุบนั หลังจากจ�าพรรษาอยทู่ ่วี ัดราชบูรณะหรือวดั เลยี บ นริ าศ นิราศเป็นงานประพันธ์ประเภทหน่ึงของไทย มีมาต้ังแต่สมัยโบราณ เท่าท่ีปรากฏหลักฐาน ในปัจจบุ นั นิราศเรอ่ื งแรกของไทยนั้น ไดแ้ ก่ โคลงนริ าศหริภุญชยั ซึง่ แต่งขน้ึ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เน้ือหาของนิราศส่วนใหญ่มักเป็นการคร่�าครวญของกวี (ชาย) ต่อสตรีอันเป็นท่ีรัก เนื่องจาก ต้องพลัดพรากจากนางมาไกล อย่างไรก็ตาม นางในนิราศท่ีกวีพรรณนาวา่ จากมาน้นั อาจมตี ัวตนจรงิ หรือไม่ก็ได้ แต่กวีส่วนใหญ่ถือว่านางผู้เป็นที่รักเป็นปัจจัยส�าคัญท่ีจะเอื้อให้กวีแต่งนิราศได้ไพเราะ แม้ในสมัยหลังกวีอาจไม่ได้ให้ความส�าคัญเรื่องการคร่�าครวญถึงนาง แต่เน้นท่ีการบันทึกระยะทาง เหตุการณ์ และอารมณ์ แต่ก็ยังคงมีบทครวญถึงนางแทรกอยู่ ดังเช่นท่ีสุนทรภู่แต่งนิราศภูเขาทอง ท้ังๆ ที่ก�าลังบวชอยู่ สุนทรภู่ก็ยังเห็นว่าการครวญถึงสตรีเป็นส่ิงจ�าเป็นในการแต่งนิราศ จึงกล่าวไว้ ในกลอนตอนทา้ ยนิราศเรอื่ งนี้วา่ ๑หน่วยที่ ใชจ่ ะมีทีร่ กั สมัครมาด แรมนริ าศรา้ งมิตรพิสมยั นิราศภเู ขาทอง ซึ่งคร่า� ครวญท�าทีพริ พ้ี ไิ ร ตามนสิ ัยกาพยก์ ลอนแตก่ อ่ นมา เหมอื นแมค่ รัวคว่ั แกงพะแนงผัด สารพดั เพยี ญชนังเครอ่ื งมังสา อันพริกไทยใบผักชเี หมอื นสีกา ต้องโรยหนา้ เสยี สกั หน่อยอรอ่ ยใจ จงทราบความตามจรงิ ทุกสง่ิ ส้ิน อย่านึกนนิ ทาแกลง้ แหนงไฉน นกั เลงกลอนนอนเปล่ากเ็ ศรา้ ใจ จงึ ร่�าไรเร่ืองร้างเลน่ บา้ งเอย ตวั ชว้ี ัด นิราศภเู ขาทองเปน็ นริ าศเรอ่ื งเอกของสนุ ทรภู่ บอกเลา่ เก้าสิบ ■■ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี า่ น (ท ๕.๑ ม.๑/๑) ท่ีเล่าถึงการเดินทางรอนแรมจากวัดราชบูรณะไป วัดราชบรู ณราชวรวหิ าร ■■ วิเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่านพรอ้ มยกเหตุผลประกอบ นมสั การเจดยี ภ์ เู ขาทองทเี่ มอื งกรงุ เกา่ เมอื่ สมยั รชั กาล (ท ๕.๑ ม.๑/๒) ท่ี ๓ นิราศเร่ืองนี้นับว่ามีความดีเด่นท้ังด้านถ้อยค�า วัดราชบูรณราชวรวิหารหรือวัดเลียบ เป็นวัดเก่าแก่สร้างข้ึนตั้งแต่สมัย และส�านวนโวหาร สามารถถือเป็นแบบอย่างของการ อยธุ ยาโดยพอ่ ค้าชาวจนี วัดนีน้ บั เป็นหน่งึ ใน ๓ วัดสา� คญั ประจา� ราชธานี คือ ■■ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น (ท ๕.๑ ม.๑/๓) วัดมหาธาตุ วัดราชประดิษฐ์ และวัดราชบูรณะ แต่เน่ืองจากวัดราชบูรณะ ■■ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพ่ือประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง แตง่ นริ าศค�ากลอนได้เป็นอย่างดี ตัง้ อยใู่ กลส้ ถานทสี่ า� คัญทางยุทธศาสตร์ คือ สะพานพระพุทธยอดฟา้ ฯ และ การศกึ ษานิราศเร่ืองตา่ งๆ ของสุนทรภ่นู ับว่ามีประโยชน์ โรงไฟฟ้า เป็นเหตุให้ส่ิงก่อสร้างส�าคัญภายในวัดโดยเฉพาะพระอุโบสถซ่ึงมี (ท ๕.๑ ม.๑/๔) ภาพจิตรกรรมฝาผนังฝีมือขรัวอินโข่งถูกระเบิดท�าลายในระหว่างสงครามโลก ■■ ทอ่ งจา� บทอาขยานตามที่ก�าหนดและบทร้อยกรองที่มีคณุ คา่ ครงั้ ท่ี ๒ คงเหลือแตพ่ ระปรางคซ์ ่ึงสร้างในสมยั รัชกาลท่ี ๓ ตามความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๑/๕) สาระการเรียนรู้แกนกลาง อย่างมาก เนื่องจากสุนทรภู่มิได้บรรยายเฉพาะเร่ืองราวการ เดนิ ทางหรอื พรรณนาเรอ่ื งความรกั เพยี งอยา่ งเดยี ว แตส่ นุ ทรภู่ ■■ การวิเคราะห์คณุ ค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ยังได้สอดแทรกข้อคิดซึ่งสามารถน�าไปใช้ในการด�าเนินชีวิต เรอ่ื ง นิราศภูเขาทอง รวมท้ังเกร็ดความรู้และสภาพความเป็นอยู่ของผู้คนในช่วงต้น ■■ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคุณคา่ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ ตลอดจนชวี ประวัติของสุนทรภูเ่ องอกี ด้วย 3

ò ประวตั ิ¼แู้ ต่ง ส�าหรับผลงานของสุนทรภู่ เทา่ ท่มี หี ลักฐานปรากฏในปัจจุบัน มีอยดู่ ้วยกัน ๒๓ เรอื่ ง ดงั น้ี สุนทรภู่ มนี ามเดิมว่า ภ ู เกดิ ในรัชกาลพระบาท- ประเภท เร่ือง สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เม่ือวันที่ ๒๖ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๓๒๙ ในวยั เดก็ สนุ ทรภไู่ ดอ้ าศยั ๑. นิราศ มี ๙ เรอ่ื ง นิราศเมืองแกลง นริ าศพระบาท นิราศภูเขาทอง อยกู่ บั มารดาซง่ึ ถวายตวั เปน็ พระนมในพระองคเ์ จา้ - นริ าศวัดเจ้าฟ้า นริ าศอเิ หนา โคลงนิราศสพุ รรณ หญงิ จงกล พระธดิ าในกรมพระราชวงั บวรสถานพมิ ขุ รา� พนั พลิ าป นริ าศพระประธม และนิราศเมืองเพชร และได้รับการศึกษาขั้นต้นท่ีวัดชีปะขาวซึ่งปัจจุบัน คือวดั ศรีสดุ าราม ๒. นทิ าน มี ๕ เรอ่ื ง นิทานค�ากลอนเร่ืองโคบตุ ร พระอภัยมณี ลักษณวงศ์ ๓. บทเห่กล่อม มี ๔ เรอ่ื ง สงิ หไกรภพ และกาพยเ์ รือ่ งพระไชยสุริยา ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ- เลิศหล้านภาลัย สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการและได้แสดง บทเหเ่ รือ่ งจับระบา� กากี พระอภยั มณี และโคบตุ ร ความสามารถดา้ นการประพนั ธ์ จนเปน็ ทพี่ อพระราชหฤทยั จึงได้รบั พระราชทานบรรดาศกั ด์ิเปน็ ขนุ สุนทรโวหาร แต่เมอื่ ส้ิน ๔. บทเสภา มี ๒ เร่ือง บทเสภาเรอ่ื งขนุ ช้างขนุ แผน ตอนกา� เนดิ พลายงาม รัชกาล สนุ ทรภไู่ ด้ออกบวชเป็นเวลาร่วม ๒๐ ปี ในระหวา่ งนส้ี นุ ทรภู่ได้มีโอกาสเดินทางไปยงั หวั เมอื ง และเสภาพระราชพงศาวดาร ตา่ งๆ และแต่งนิราศขน้ึ หลายเร่ืองซ่งึ รวมถึงนิราศภเู ขาทอง ๕. วรรณกรรมค�าสอน มี ๒ เรอ่ื ง สวสั ดริ กั ษาและเพลงยาวถวายโอวาท เมื่อลาสิกขาบทแล้ว สุนทรภู่ได้กลับเข้ารับราชการอีกคร้ังในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ- พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หวั โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟ้าจธุ ามณี กรมขุนอิศเรศ- ๖. บทละคร มี ๑ เรื่อง อภยั นรุ าช รงั สรรค์ บอกเลา่ เกา้ สิบ ในรัชกาลที่ ๔ สุนทรภู่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นต�าแหน่งราชการสุดท้ายก่อนถึงแก่กรรมใน พ.ศ. ๒๓๙๘ ภาพยนตร เรอื่ ง สดุ สาคร รวมอายไุ ด้ ๗๐ ปี นิทานค�ากลอนเร่ือง พระอภัยมณี ได้มีการน�าไปดัดแปลงเป็น สุนทรภู่ได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีท่ีมีความสามารถในการแต่งกลอน เนื่องจากกลอนท่ี ภาพยนตรก์ ารต์ นู แนวผจญภยั ในชอ่ื เรอื่ ง สดุ สาคร ฝมี อื การกา� กบั ของ สนุ ทรภแู่ ตง่ มลี กั ษณะเฉพาะเปน็ ของตนเอง จงึ ไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งกวา้ งขวาง และถอื เปน็ แบบอยา่ ง ปยตุ เงากระจา่ ง นบั เปน็ ภาพยนตรก์ ารต์ นู ขนาดยาวเรอื่ งแรกของไทย ที่มีผู้แต่งตามตลอดมา นอกจากนี้ผลงานของสุนทรภู่อีกหลายเรื่องยังมีการน�าไปแปลและดัดแปลง ออกฉายครง้ั แรกเมอ่ื วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๒ มคี วามยาว ๘๒ เป็นการต์ ูน ภาพยนตร์ เพลง และละคร นาที ภาพยนตร์เรื่องนี้ด�าเนินเรื่องตั้งแต่ตอนก�าเนิดสุดสาครจนถึง การเดินทางตามหาพระอภัยมณี ภายหลังกรมวิชาการกระทรวง ใน พ.ศ. ๒๕๒๙ ในโอกาสครบรอบ ๒๐๐ ปีชาตกาล สุนทรภู่ได้รับการยกย่องจากองค์การ ศึกษาธิการได้น�าภาพในภาพยนตร์ไปจัดพิมพ์เป็นหนังสือส�าหรับให้ การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific เยาวชนอา่ นในโรงเรยี น and Cultural Organization) หรือยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็นบุคคลที่มีผลงานดีเด่นของโลก ด้านวรรณกรรม (ใบปด ภาพยนตรการตูนเรื่อง สุดสาคร ผลงานของปยตุ เงากระจา ง) ๔ ๕

๓ ลกั ษณะคÓประพนั ธ์ ๕ เนอ้ื เรอื่ ง นิราศภูเขาทองแต่งด้วยค�าประพันธ์ประเภทกลอนนิราศซ่ึงมีลักษณะคล้ายกลอนสุภาพ นิราศภูเขาทอง เดอื นสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวสา แต่มีความแตกต่างกันตรงท่ีกลอนนิราศจะแต่งขึ้นต้นเรื่องด้วยกลอนวรรครับและจะแต่งต่อไปอีก โดยไมจ่ า� กัดจา� นวนบท แต่ต้องใหค้ า� สดุ ท้ายซ่งึ อย่ใู นวรรคสง่ จบลงด้วยคา� วา่ “เอย” รบั กฐนิ ภญิ โญโมทนา ชุลลี าลงเรอื เหลืออาลัย แผนผังและตัวอยา่ ง กลอนนิราศ ออกจากวดั ทศั นาดูอาวาส เมอื่ ตรุษสารทพระพรรษาไดอ้ าศัย         สามฤดอู ยู่ดีไมม่ ภี ยั มาจ�าไกลอารามเมอ่ื ยามเยน็                                         โอ้อาวาสราชบรุ ณะพระวิหาร แต่นี้นานนับทิวาจะมาเห็น                     เหลอื รา� ลึกนึกน่าน�า้ ตากระเด็น เพราะขกุ เข็ญคนพาลมารานทาง จะยกหยบิ ธบิ ดเี ปน็ ที่ตั้ง ก็ใช้ถงั แทนสัดเหน็ ขัดขวาง จ่ึงจ�าลาอาวาสนริ าศร้าง มาอ้างวา้ งวิญญาณใ์ นสาคร ฯ ถงึ หนา้ วังดังหนึง่ ใจจะขาด คิดถึงบาทบพิตรอดศิ ร โอ้ผ่านเกล้าเจา้ ประคณุ ของสนุ ทร แต่ปางกอ่ นเคยเฝา้ ทกุ เช้าเยน็ พระนิพพานปานประหนึง่ ศีรษะขาด ด้วยไร้ญาติยากแค้นถึงแสนเขญ็ ทงั้ โรคซ�้ากรรมซัดวิบตั ิเปน็ ไม่เลง็ เหน็ ท่ีซ่งึ จะพ่ึงพา เดือนสบิ เอด็ เสรจ็ ธุระพระวสา จึงสรา้ งพรตอตสา่ ห์ส่งส่วนบญุ ถวาย ประพฤติฝา่ ยสมถะทง้ั วสา รับกฐนิ ภิญโญโมทนา ชุลลี าลงเรือเหลืออาลยั เปน็ สิง่ ของฉลองคุณมุลกิ า ขอเป็นขา้ เคียงบาททุกชาติไป ฯ .............................. ................................ ถงึ หน้าแพแลเห็นเรือท่นี งั่ คดิ ถงึ ครั้งกอ่ นมาน้�าตาไหล จงทราบความตามจรงิ ทุกส่ิงสนิ้ อยา่ นึกนินทาแถลงแหนงไฉน เคยหมอบรบั กับพระจม่ืนไวย แลว้ ลงในเรือที่นัง่ บัลลังกท์ อง นักเลงกลอนนอนเปล่ากเ็ ศร้าใจ จึงร่�าไรเรื่องร้างเลน่ บ้างเอย เคยทรงแต่งแปลงบทพจนารถ เคยรับราชโองการอ่านฉลอง จนกฐินสิ้นแมน่ ้า� ในลา� คลอง มไิ ด้ข้องเคืองขัดหัทยา เคยหมอบใกลไ้ ดก้ ลิ่นสคุ นธ์ตรลบ ละอองอบรสร่ืนช่ืนนาสา ๔ เร่ืองยอ่ สิ้นแผ่นดนิ สนิ้ รสสุคนธา วาสนาเรากส็ นิ้ เหมือนกลิ่นสุคนธ ์ ฯ สุนทรภู่เริ่มเรื่องด้วยการปรารภถึงสาเหตุที่ต้องออกจากวัดราชบูรณะและการเดินทาง ดูในวังยงั เหน็ หอพระอัฐ ิ ต้ังสติเตมิ ถวายฝา่ ยกุศล โดยเรือพร้อมหนูพัดซ่ึงเป็นบุตรชาย ล่องไปตามล�าน้�าเจ้าพระยาผ่านพระบรมมหาราชวัง จนมาถึง วดั ประโคนปกั ผา่ นโรงเหลา้ บางจาก บางพลู บางพลดั บางโพ บา้ นญวน วดั เขมา ตลาดแกว้ ตลาดขวญั ทั้งปิ่นเกลา้ เจ้าพิภพจบสากล ให้ผ่องพน้ ภัยส�าราญผา่ นบุรนิ ทร์ ฯ บางธรณี เกาะเกร็ด บางพดู บางเดื่อ บางหลวง เชงิ ราก สามโคก บา้ นง้วิ เกาะใหญ่ราชคราม จนถงึ กรุงเก่าเมื่อเวลาเย็น โดยจอดเรือพักท่ีท่าน�้าวัดพระเมรุ คร้ันรุ่งเช้าจึงไปนมัสการเจดีย์ภูเขาทอง ถึงอารามนามวัดประโคนปกั ไมเ่ หน็ หลกั ลอื เลา่ วา่ เสาหนิ ส่วนขากลับ สุนทรภู่กล่าวแต่เพียงว่า เม่ือถึงกรุงเทพฯ ได้จอดเทียบเรือท่ีท่าน้�าหน้าวัดอรุณราช- วราราม ราชวรมหาวหิ าร เปน็ สา� คัญปนั แดนในแผ่นดนิ มริ สู้ น้ิ สุดชอ่ื ที่ลอื ชา 6 ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แมน้ มอดมว้ ยกลับชาตวิ าสนา อายุยนื หมน่ื เทา่ เสาศลิ า อยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง ไปพน้ วดั ทัศนารมิ ทา่ นา�้ แพประจ�าจอดรายเขาขายของ มแี พรผ้าสารพัดสีมว่ งตอง ทง้ั สง่ิ ของขาวเหลอื งเคร่อื งสา� เภา ฯ 7

ถงึ โรงเหลา้ เตากลน่ั ควันโขมง มีคนั โพงผูกสายไวป้ ลายเสา มาถึงบางธรณีทวีโศก ยามวโิ ยคยากใจให้สะอ้นื โอ้บาปกรรมน�้านรกเจยี วอกเรา ใหม้ ัวเมาเหมอื นหนึง่ บ้าเปน็ น่าอาย โอ้สุธาหนาแน่นเปน็ แผน่ พ้ืน ถึงสหี่ ม่ืนสองแสนท้ังแดนไตร ท�าบุญบวชกรวดนา�้ ขอสา� เร็จ พระสรรเพชญโพธญิ าณประมาณหมาย เม่อื เคราะหร์ า้ ยกายเรากเ็ ทา่ นี้ ไมม่ ที พ่ี สุธาจะอาศัย ถงึ สุราพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกล้กรายแกลง้ เมินกเ็ กินไป ลว้ นหนามเหนบ็ เจ็บแสบคบั แคบใจ เหมือนนกไรร้ ังเร่อยเู่ อกา ฯ ไมเ่ มาเหลา้ แล้วแต่เรายังเมารัก สุดจะหักห้ามจิตคิดไฉน ถงึ เกร็ดย่านบา้ นมอญแต่กอ่ นเก่า ผูห้ ญิงเกล้ามวยงามตามภาษา ถึงเมาเหล้าเชา้ สายกห็ ายไป แตเ่ มาใจนี้ประจ�าทุกค�่าคนื ฯ เดยี๋ วนีม้ อญถอนไรจกุ เหมือนตุ๊กตา ทัง้ ผดั หนา้ จับเขม่าเหมือนชาวไทย ถงึ บางจากจากวัดพลดั พ่ีน้อง มามวั หมองม้วนหน้าไม่ฝ่าฝนื โอส้ ามญั ผันแปรไม่แทเ้ ท่ยี ง เหมอื นอยา่ งเย่ยี งชายหญงิ ทง้ิ วสิ ยั เพราะรกั ใครใ่ จจดื ไม่ยืดยนื จงึ ต้องขนื ใจพรากมาจากเมือง นีห่ รือจิตคดิ หมายมีหลายใจ ท่จี ติ ใครจะเป็นหนึ่งอยา่ พงึ คดิ ฯ ถงึ บางพลูคดิ ถึงคเู่ มอ่ื อยู่ครอง เคยใสซ่ องสง่ ใหล้ ว้ นใบเหลือง ถงึ บางพูดพูดดเี ปน็ ศรีศักด ์ิ มคี นรกั รสถอ้ ยอรอ่ ยจติ ถงึ บางพลัดเหมอื นพ่ีพลัดมาขัดเคือง ทงั้ พลัดเมืองพลัดสมรมาร้อนรน แมน้ พดู ชั่วตัวตายท�าลายมิตร จะชอบผิดในมนุษยเ์ พราะพดู จา ฯ ถงึ บางโพโอพ้ ระศรีมหาโพธิ ร่มนิโรธรกุ ขมลู ให้พนู ผล ถึงบ้านใหม่ใจจติ กค็ ิดอ่าน จะหาบ้านใหม่มาดเหมือนปรารถนา ขอเดชะอานุภาพพระทศพล ให้ผ่องพ้นภยั พาลส�าราญกาย ฯ ขอให้สมคะเนเถดิ เทวา จะไดผ้ าสุกสวัสดิ์กา� จดั ภยั ถงึ บ้านญวนล้วนแตโ่ รงแลสะพรงั่ มขี อ้ งขังก้งุ ปลาไวค้ ้าขาย ถึงบางเดือ่ โอม้ ะเดือ่ เหลือประหลาด บงั เกิดชาตแิ มลงหว่มี ใี นไส้ ตรงหน้าโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญงิ ชายพรอ้ มเพรยี งมาเมยี งมอง เหมือนคนพาลหวานนอกยอ่ มขมใน อปุ ไมยเหมือนมะเดือ่ เหลือระอา จะเหลยี วกลบั ลับเขตประเทศสถาน ทรมานหม่นไหมฤ้ ทยั หมอง ถึงบางหลวงเชงิ รากเหมือนจากรกั สเู้ สยี ศักดสิ์ งั วาสพระศาสนา ถงึ เขมาอารามอรา่ มทอง พึ่งฉลองเลกิ งานเม่ือวานซนื ฯ เป็นลว่ งพ้นรนราคราคา ถงึ นางฟ้าจะมาให้ไม่ไยด ี ฯ โอ้ปางหลังครงั้ สมเด็จบรมโกศ มาผกู โบสถ์กไ็ ดม้ าบชู าชนื่ ถึงสามโคกโศกถวลิ ถึงปิน่ เกลา้ พระพุทธเจ้าหลวงบา� รงุ ซึ่งกรงุ ศรี ชมพระพิมพ์รมิ ผนงั ยงั ยัง่ ยนื ทั้งแปดหม่นื สพ่ี ันไดว้ ันทา ประทานนามสามโคกเป็นเมอื งตรี ช่อื ปทมุ ธานีเพราะมีบวั โอค้ ร้งั นีม้ ไิ ดเ้ ห็นเล่นฉลอง เพราะตวั ตอ้ งตกประดาษวาสนา โอพ้ ระคณุ สูญลบั ไม่กลับหลัง แต่ชื่อตัง้ ก็ยงั อยเู่ ขารทู้ วั่ เปน็ บุญน้อยพลอยนึกโมทนา พอนาวาติดชลเขา้ วนเวยี น แต่เรานีท้ ี่สุนทรประทานตวั ไม่รอดชัว่ เช่นสามโคกย่ิงโศกใจ ดนู ้า� วิง่ กลงิ้ เช่ยี วเป็นเกลยี วกลอก กลับกระฉอกฉาดฉดั ฉวัดเฉวียน ส้นิ แผน่ ดนิ ส้ินนามตามเสด็จ ต้องเทย่ี วเตร็ดเตร่หาทอ่ี าศัย บา้ งพลงุ่ พลงุ่ ว้งุ วงเหมือนกงเกวียน ดเู วยี นเวียนควา้ งควา้ งเป็นหวา่ งวน แมน้ ก�าเนดิ เกดิ ชาติใดใด ขอใหไ้ ดเ้ ปน็ ขา้ ฝา่ ธุลี ท้ังหวั ท้ายกรายแจวกระชากจว้ ง ครรไลลว่ งเลยทางมากลางหน สิ้นแผน่ ดินขอให้สิ้นชีวติ บ้าง อยา่ ร้รู ้างบงกชบทศรี โอ้เรือพ้นวนมาในสาชล ใจยงั วนหวงั สวาทไมค่ ลาดคลา ฯ เหลืออาลัยใจตรมระทมทว ี ทกุ วนั นีก้ ็ซังตายทรงกายมา ฯ ตลาดแกว้ แล้วไม่เห็นตลาดตั้ง สองฟากฝัง่ กแ็ ตล่ ว้ นสวนพฤกษา ถงึ บ้านงิ้วเห็นแต่งว้ิ ละล่วิ สงู ไมม่ ฝี ูงสตั ว์สงิ กิ่งพฤกษา โอ้รินรินกลิ่นดอกไม้ใกลค้ งคา เหมือนกลิ่นผา้ แพรดา� ร�่ามะเกลอื ดว้ ยหนามดกรกดาษระดะตา นึกก็นา่ กลวั หนามขามขามใจ เห็นโศกใหญ่ใกล้น้า� ระกา� แฝง ทง้ั รักแซงแซมสวาทประหลาดเหลือ ง้ิวนรกสิบหกองคุลแี หลม ดังขวากแซมเสีย้ มแทรกแตกไสว เหมอื นโศกพที่ ่ีชา�้ ระก�าเจอื เพราะรักเรอ้ื แรมสวาทมาคลาดคลาย ใครท�าชู้ค่ทู า่ นครน้ั บรรลยั ก็ต้องไปปีนตน้ นา่ ขนพอง ถึงแขวงนนท์ชลมารคตลาดขวญั มีพว่ งแพแพรพรรณเขาค้าขาย เราเกดิ มาอายุเพยี งนี้แลว้ ยงั คลาดแคลว้ ครองตวั ไม่มัวหมอง ทง้ั ของสวนล้วนเรอื อย่เู รียงราย พวกหญิงชายประชุมกันทุกวันคนื ฯ ทกุ วันนี้วิปรติ ผิดทา� นอง เจียนจะต้องปีนบ้างหรืออย่างไร ฯ 8 9

โอค้ ดิ มาสารพดั จะตัดขาด ตัดสวาทตัดรักมิยกั ไหว นีจ่ นใจไม่มีเท่าข้ีเล็บ ข้ีเกยี จเก็บเลยทางมากลางหน ถวลิ หวังนง่ั นึกอนาถใจ ถงึ เกาะใหญ่ราชครามพอยามเยน็ พอรอนรอนอ่อนแสงพระสรุ ยิ น ถงึ ต�าบลกรุงเกา่ ยิ่งเศรา้ ใจ ฯ ดหู า่ งย่านบา้ นช่องทงั้ สองฝ่ัง ระวงั ท้ังสัตว์นา้� จะทา� เข็ญ คดิ ถงึ ครง้ั กอ่ นมาน�้าตาไหล เปน็ ทอ่ี ยู่ผู้ร้ายไม่วายเวน้ เที่ยวซ่อนเรน้ ตเี รอื เหลือระอา ฯ มาทางทา่ หนา้ จวนจอมผรู้ งั้ ก็จะไดร้ ับนมิ นต์ข้ึนบนจวน พระสุริยงลงลับพยบั ฝน ดมู วั มนมดื มิดทกุ ทิศา จะแวะหาถ้าทา่ นเหมอื นเมอ่ื เป็นไวย อกมิแตกเสยี หรือเราเขาจะสรวล ถงึ ทางลดั ตดั ทางมากลางนา ทง้ั แฝกคาแขมกกข้นึ รกเรย้ี ว แต่ยามยากหากว่าถ้าทา่ นแปลก จะต้องมว้ นหน้ากลบั อัประมาณ ฯ เป็นเงาง้า� นา�้ เจง่ิ ดูเว้ิงวา้ ง ทงั้ กว้างขวางขวญั หายไมว่ ายเหลยี ว เหมอื นเข็ญใจใฝส่ ูงไม่สมควร ริมอารามเรือเรียงเคียงขนาน เห็นดมุ่ ดมุ่ หนุ่มสาวเสียงกราวเกรยี ว ลว้ นเรอื เพรียวพร้อมหนา้ พวกปลาเลย มาจอดทา่ หน้าวดั พระเมรขุ ้าม ท้งั เพลงการเกี้ยวแกก้ นั แซเ่ ซ็ง เขาถอ่ คลอ่ งวอ่ งไวไปเปน็ ยืด เรือเราฝดื เฝอื มานจิ จาเอย๋ บ้างขนึ้ ล่องรอ้ งรา� เล่นส�าราญ ระนาดรบั รัวคลา้ ยกับนายเส็ง ตอ้ งถอ่ คา�้ ร�า่ ไปล้วนไมเ่ คย ประเด๋ียวเสยสวบตรงเขา้ พงรก บ้างฉลองผา้ ปา่ เสภาขับ เมอื่ คราวเคร่งก็มใิ คร่จะได้ดู กลับถอยหลังร้ังรอเฝ้าถอ่ ถอน เรือขย้อนโยกโยนกระโถนหก มีโคมรายแลอร่ามเหมือนสามเพ็ง ช่างยาวลากเลื้อยเจ้อื ยจนเหนื่อยหู เงียบสงัดสัตว์ปา่ คณานก น�า้ คา้ งตกพรา่ งพรายพระพายพดั ไอล้ า� หนึง่ ครึ่งทอ่ นกลอนมนั มาก จนลูกคูข่ อทุเลาว่าหาวนอน ฯ ไมเ่ หน็ คลองต้องคา้ งอยู่กลางทุ่ง พอหยุดยุงฉชู่ มุ มารุมกัด ไมจ่ บบทลดเลย้ี วเหมอื นเงี้ยวง ู ดกึ สงดั เงยี บหลบั ลงกบั หมอน เปน็ กลุม่ กลุ่มกลุม้ กายเหมอื นทรายซดั ต้องน่งั ปัดแปะไปมไิ ด้นอน ฯ ได้ฟงั เลน่ ตา่ งตา่ งทขี่ า้ งวัด อ้ายโจรจรจู่จ้วงเข้าล้วงเรือ แสนวติ กอกเอ๋ยมาอา้ งว้าง ในทงุ่ กวา้ งเหน็ แตแ่ ขมแซมสลอน ประมาณสามยามคล�้าในอมั พร มนั ด�าลอ่ งน้า� ไปช่างไวเหลอื จนดึกดาวพราวพรา่ งกลางอัมพร กระเรียนรอ่ นร้องก้องเม่ือสองยาม นาวาเอยี งเสยี งกุกลกุ ขึ้นรอ้ ง เหมอื นเนื้อเบอ้ื บ้าเลอะดูเซอะซะ ทั้งกบเขียดเกรียดกรดี จงั หรีดเรอื่ ย พระพายเฉอื่ ยฉวิ ฉวิ วะหววิ หวาม ไม่เหน็ หนา้ สานุศษิ ย์ท่ชี ดิ เชอ้ื ไมเ่ สยี ของขาวเหลอื งเครื่องอฏั ฐะ วังเวงจิตคดิ คะนึงรา� พงึ ความ ถึงเมอ่ื ยามยงั อุดมโสมนัส แต่หนูพดั จดั แจงจุดเทยี นสอ่ ง ชยั ชนะมารไดด้ งั ใจปอง ฯ สา� รวลกับเพ่ือนรกั สะพรักพร้อม อยู่แวดล้อมหลายคนปรนนบิ ตั ิ ดว้ ยเดชะตบะบุญกับคุณพระ เจรญิ รสธรรมาบชู าฉลอง โอ้ยามเข็ญเห็นอยู่แต่หนพู ดั ชว่ ยนง่ั ปัดยงุ ให้ไม่ไกลกาย คร้ันรุง่ เชา้ เขา้ เปน็ วนั อโุ บสถ ดสู ูงลอ่ งลอยฟ้านภาลัย จนเดือนเดน่ เหน็ เหล่ากระจับจอก ระดะดอกบัวเผอ่ื นเม่ือเดอื นหงาย ไปเจดยี ์ทชี่ ื่อภูเขาทอง เปน็ ที่เลน่ นาวาคงคาใส เห็นร่องน�้าล�าคลองท้ังสองฝ่าย ขา้ งหนา้ ท้ายถ่อมาในสาคร อยกู่ ลางทงุ่ รุง่ โรจนส์ นั โดษเด่น คงคาไหลล้อมรอบเปน็ ขอบคนั จนแจม่ แจง้ แสงตะวนั เหน็ พันธผุ์ กั ดนู า่ รักบรรจงส่งเกสร ที่พนื้ ลานฐานบัทม์ถัดบันได ในจงั หวดั วงแขวงก�าแพงกั้น เหล่าบัวเผือ่ นแลสล้างรมิ ทางจร ก้ามกุ้งซ้อนเสยี ดสาหร่ายใตค้ งคา มีเจดีย์วหิ ารเป็นลานวัด เป็นสามช้นั เชิงชานตระหง่านงาม สายติ่งแกมแซมสลบั ต้นตับเต่า เป็นเหล่าเหลา่ แลรายท้งั ซ้ายขวา ท่ีองคก์ ่อย่อเหล่ยี มสลับกนั ต่างชมชืน่ ชวนกันขึน้ ชั้นสาม กระจบั จอกดอกบวั บานผกา ดาษดาดขู าวดงั ดาวพราย บันไดมสี ีด่ ้านส�าราญรื่น ไดเ้ สรจ็ สามรอบคา� นับอภวิ นั ท์ โอเ้ ชน่ นี้สีกาไดม้ าเหน็ จะลงเล่นกลางทงุ่ เหมอื นมงุ่ หมาย ประทกั ษิณจนิ ตนาพยายาม ดว้ ยพระพายพัดเวยี นดเู หียนหัน ที่มเี รือนอ้ ยน้อยจะลอยพาย เทีย่ วถอนสายบวั ผนั สนั ตะวา มหี ้องถ้า� ส�าหรบั จุดเทยี นถวาย แต่ทกุ วันนี้ชราหนักหนานกั ถงึ ตวั เราเล่าถา้ ยังมโี ยมหญิง ไหนจะนง่ิ ดดู ายอายบปุ ผา เป็นลมทักษิณาวรรตนา่ อศั จรรย์ เผยอแยกยอดทรดุ กห็ ลุดหัก คงจะใช้ให้ศิษยท์ ่ีตดิ มา อตุ สา่ ห์หาเอาไปฝากตามยากจน ทั้งองคฐ์ านรานรา้ วถึงเกา้ แฉก เสียดายนักนึกน่านา�้ ตากระเดน็ โอเ้ จดยี ท์ ี่สรา้ งยังร้างรัก 10 11

กระนี้หรือชือ่ เสยี งเกียรตยิ ศ จะมหิ มดล่วงหน้าทันตาเห็น ö คÓศพั ท์ เป็นผดู้ มี ีมากแล้วยากเยน็ คดิ กเ็ ป็นอนจิ จังเสียทง้ั นัน้ ฯ คา� ศัพท ความหมาย กา้ มกุง้ ขอเดชะพระเจดยี ์คริ ีมาศ บรรจุธาตุที่ตั้งนรังสรรค์ ขวาก ขา้ อุตสา่ หม์ าเคารพอภวิ ันท ์ เปน็ อนันต์อานสิ งสด์ �ารงกาย ข้อง ชอื่ พนั ธุไ์ ม้พ่มุ ชนดิ หนงึ่ มลี า� ตน้ ตรง กงิ่ มีสีเ่ หล่ยี มและมีหนามแหลมเล็ก ออกดอก คันโพง เปน็ กระจกุ สีชมพหู รือแดงอมเหลอื ง ปลกู เป็นไมป้ ระดับ จะเกดิ ชาตใิ ดใดในมนุษย์ ใหบ้ ริสทุ ธิส์ มจิตท่คี ิดหมาย ครึ่งท่อน คิรมี าศ ท้งั ทกุ ขโ์ ศกโรคภยั อยา่ ใกลก้ ราย แสนสบายบริบูรณป์ ระยูรวงศ์ ไม้หรือเหลก็ มปี ลายแหลม ส�าหรับปักหรอื โปรยเพือ่ ดักหรือใหต้ า� ผู้ผา่ นเข้าไป เครอ่ื งอฏั ฐะ ทั้งโลโภโทโสและโมหะ ใหช้ นะใจได้อยา่ ใหลหลง เครื่องจักสานส�าหรับใสป่ ลา ปู จวน ขอฟงุ้ เฟ่อื งเรอื งวชิ าปญั ญายง ทัง้ ใหท้ รงศลี ขนั ธใ์ นสันดาน จบั เขมา่ อีกสองสิง่ หญิงร้ายและชายชว่ั อยา่ เมามัวหมายรักสมัครสมาน ทักษิณาวรรต เครือ่ งวิดน้�า มีคันถือยาว ฐานบัทม ขอสมหวังตงั้ ประโยชนโ์ พธญิ าณ ตราบนพิ พานชาติหน้าใหถ้ าวร ฯ ชอ่ื เพลงพ้นื บ้านชนดิ หนึ่ง พอกราบพระปะดอกปทุมชาต ิ พบพระธาตุสถติ ในเกสร ภเู ขาทอง (คริ ี หมายถงึ ภเู ขา, มาศ หมายถงึ ทอง) สมถวลิ ยนิ ดชี ลุ ีกร ประคองช้อนเชิญองค์ลงนาวา ขอ้ ง กบั หนูพดั มัสการส�าเรจ็ แลว้ ใสข่ วดแกว้ วางไว้ใกล้เกศา หมายถึง เคร่ืองอัฐบริขาร เป็นเครื่องใช้สอยส�าหรับภิกษุมี ๘ อย่าง คือ สบง จีวร สังฆาฏิ ประคดเอว บาตร มีดโกนหรือมีดตัดเล็บ เข็ม และกระบอกหรือ มานอนกรงุ รงุ่ ขน้ึ จะบูชา ไมป่ ะตาตนั อกย่งิ ตกใจ หม้อกรองน�้า แสนเสยี ดายหมายจะชมบรมธาตุ ใจจะขาดคดิ มาน้า� ตาไหล โอ้บุญน้อยลอยลบั ครรไลไกล เสยี นา้� ใจเจียนจะด้นิ ส้นิ ชวี ัน ทอ่ี ยอู่ าศยั ของเจา้ เมอื ง หรอื บา้ นทที่ างราชการจดั ใหเ้ ปน็ ทอ่ี ยขู่ องผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เรยี กวา่ จวนผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สดุ จะอยดู่ อู ื่นไม่ฝืนโศก ก�าเรบิ โรครอ้ นฤทยั เฝา้ ใฝฝ่ นั พอตรู่ตรสู่ ุรยิ ฉ์ ายขึ้นพรายพรรณ ใหล้ ่องวนั หนึง่ มาถงึ ธานี ฯ ประทบั ท่าหน้าอรณุ อารามหลวง ค่อยสร่างทรวงทรงศลี พระชินสหี ์ วิธีแต่งผมของผหู้ ญิงสมยั โบราณ โดยการนา� เขมา่ ผสมนา้� มนั ตานที าไรผมให้ด�า นิราศเรอื่ งเมอื งเก่าของเรานี้ ไวเ้ ป็นทโี่ สมนสั ทัศนา การเวยี นขวา (เวียนไปทางขวาตามเข็มนาฬก า) ดว้ ยไดไ้ ปเคารพพระพทุ ธรูป ทัง้ สถูปบรมธาตุพระศาสนา หรือ ฐานปัทม เป็นองค์ประกอบส�าคัญทาง โครงสร้างของเจดีย์ท�าหน้าท่ีรับน้�าหนักหรือ เปน็ นิสยั ไวเ้ หมือนเตือนศรทั ธา ตามภาษาไมส่ บายพอคลายใจ ใช้เสริมองค์เจดีย์ให้ดูสูงขึ้น เหตุท่ีเรียกว่า ฐานปัทม์ เนื่องจากฐานชนิดนี้มักก่อเป็น ใชจ่ ะมที ีร่ กั สมัครมาด แรมนริ าศรา้ งมิตรพิสมัย รูปบัวหงาย (๑) และบัวคว่�า (๒) (ปัทม์ แปลวา่ ดอกบวั ) ซึ่งครวญคร�า่ ท�าทพี ริ ้พี ไิ ร ตามวิสยั กาพย์กลอนแตก่ อ่ นมา เหมือนแม่ครวั ควั่ แกงพะแนงผดั สารพดั เพยี ญชนงั เคร่ืองมังสา อันพริกไทยใบผกั ชีเหมอื นสีกา ต้องโรยหนา้ เสยี สักหน่อยอร่อยใจ ฯ ฐานบัทม จงทราบความตามจริงทุกสิ่งสิน้ อยา่ นึกนินทาแถลงแหนงไฉน นกั เลงกลอนนอนเปลา่ ก็เศร้าใจ จึงร�า่ ไรเรื่องร้างเลน่ บ้างเอย ฯ 12 13

ค�าศัพท ความหมาย คา� ศัพท ความหมาย พระวสา ตกประดาษ ส้ินวาสนา ตกตา่� โพงพาง วันออกพรรษา ตรงกบั วนั ขึ้น ๑๕ คา่� เดอื น ๑๑ ตรุษ ค�าว่า ตรุษ เป็นภาษาทมิฬ แปลว่า การส้ินปี ซึ่งตรุษไทยก�าหนดตามจันทรคติ เพยี ญชนงั เครอื่ งมอื ดกั ปลาชนดิ หนงึ่ เปน็ ถงุ ตาขา่ ยรปู ยาวรี ใชผ้ กู กบั เสาใหญ่ ๒ ต้น ผรู้ ง้ั ทีป่ ักขวางล�าน้�า ส�าหรบั จบั ปลา กงุ้ ทกุ ชนดิ ตรงกับวนั แรม ๑๕ ค่�า เดือน ๔ มุลกิ า มะเกลือ ประทักษิณ การเดินเวียนตามเข็มนาฬกา โดยให้ส่ิงที่เรานับถือหรือผู้ท่ีเรานับถืออยู่ทางขวา มาจากค�าวา่ พยัญชนะ หมายถงึ กับข้าวประเภทนึ่ง ตม้ เป็นต้น ของผู้เวียน วสา หมายถึง ตา� แหน่งผู้รักษาการหัวเมอื งตา่ งๆ ในสมัยโบราณ ผูกโบสถ ไวย ผกู พทั ธสีมา คือ การก�าหนดเขตโบสถ์ โดยมีหลกั หนิ หรือใบเสมาเป็นเครื่องหมาย มหาดเลก็ หรือผู้อยู่ใต้บงั คับบัญชา เรือเพรยี ว ผา้ แพรดา� ร�่ามะเกลอื ผา้ แพรทย่ี ้อมด้วยผลของมะเกลอื ซึง่ เป็นต้นไมข้ นาดใหญ่ ผลดบิ ใชย้ ้อมผา้ ให้ ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ แกน่ ดา� ผลดิบ สถปู ใชย้ อ้ มผ้าใหเ้ ป็นสีดา� และใชท้ �ายาได้ เป็นสดี า� แลว้ นา� ไปอบร�่าใหม้ ีกล่ินหอม สดั แฝกคาแขมกก เปน็ ชือ่ พชื นา้� ๔ ชนิด คือ มาจากคา� วา่ วัสสะ แปลว่า ฤดฝู น แฝก - หญ้าชนิดหนงึ่ ข้ึนเปน็ กอ ใบใชม้ ุงหลงั คา รากใชท้ า� ยา สารท เสรจ็ ธุระพระวสา สนุ ทรภ่หู มายถึง คา - หญา้ ชนิดหนึ่ง ใบใชม้ งุ หลังคา เหงา้ ใช้ทา� ยา สันตะวา ออกพรรษา ผลมะเกลอื แขม - ไมล้ ม้ ลกุ มกั ขน้ึ ตามชายนา�้ ชายปา่ และชายเขาทมี่ สี ภาพชมุ่ ชนื้ กก - ไมล้ ม้ ลกุ เกิดในทีช่ มุ่ แฉะ มีหลายชนดิ ชนดิ ท่มี ลี �าตน้ กลมใชส้ านเส่อื เหียนหนั ในข้อความ“จะแวะหาถ้าทานเหมือนเม่ือเปนไวย” หมายถึง พระจมื่นไวย วรนาถ (เผือก) ซ่งึ เปน็ เพือ่ นของสุนทรภู่ ตอ่ มาได้รับพระราชทานบรรดาศกั ดิ์ เป็นพระยาไชยวชิ ติ เจ้าเมอื งกรงุ เกา่ แฝก แขม เรอื ขดุ รปู คลา้ ยเรอื แขง่ แตข่ นาดเลก็ กวา่ หวั ยาวทา้ ยสน้ั เปน็ เรอื ทข่ี นุ นางหรอื ผู้มีฐานะดนี ิยมใชก้ ันในสมัยโบราณ คา กก สง่ิ กอ่ สรา้ งสา� หรบั บรรจขุ องควรบชู ามกี ระดกู ของพระพทุ ธเจา้ และพระอรหนั ต์ 1๔ เปน็ ตน้ บางทใี ชเ้ ขา้ คกู่ บั คา� วา่ เจดยี ์ เปน็ สถปู เจดยี ์ ชอ่ื มาตราตวงโบราณ รปู ทรงกระบอก ใช้ตวงข้าว เทศกาลท�าบญุ ในวนั ส้ินเดอื น ๑๐ ชื่อไม้น�า้ ชนดิ หน่ึง ใบออ่ น และยอดอ่อน สันตะวา กนิ ได้ เปลี่ยนท่าทาง พลกิ แพลง 1๕

บอกเล่าเก้าสิบ ๗ บทวิเคราะห์ เจดียภ เู ขาทอง นิราศภูเขาทอง เป็นนิราศเรื่องที่สั้นที่สุดของสุนทรภู่ โดยมีความยาวเพียง ๑๗๖ ค�ากลอน เจดีย์ภูเขาทองเป็นโบราณสถานเก่าแก่ ตั้งอยู่กลางทุ่ง- แต่มีความดีเด่นทั้งในด้านเน้ือหาและวรรณศิลป์ จนได้รับการยกย่องว่าเป็นนิราศท่ีมีความไพเราะ ภูเขาทอง นอกเกาะเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยาออกไปทาง มากที่สุดในจา� นวนนริ าศท้งั ๙ เร่อื งของสุนทรภู่ ดังจะเหน็ ได้จากคณุ คา่ ในด้านตา่ งๆ ดังนี้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๒ กิโลเมตร เป็นเจดีย์ย่อมุม ไม้สิบสองบนฐานสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ ๔ ชั้น กว้าง ๘๐ เมตร ๗.๑ คณุ คา่ ดา้ นเนอื้ หา ความสงู จากพ้นื ถงึ ยอด ๖๔ เมตร สันนิษฐานว่าเจดีย์ภูเขาทองสร้างขึ้นในสมัยกรุง- เนื้อหาดังท่ีปรากฏในนิราศภูเขาทอง แสดงให้เห็นถึงความรอบรู้และความช่างสังเกต ศรอี ยธุ ยา ในรชั กาลสมเดจ็ พระราเมศวร เมอื่ ประมาณ พ.ศ. ๑๙๓๐ ของสุนทรภู่ได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากสุนทรภู่ได้บันทึกเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีตนได้พบเห็น ตลอดเส้นทาง ต้ังแตอ่ อกจากวดั ราชบรู ณะจนถึงจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ทา� ให้นิราศเร่ืองน้ีมคี ุณคา่ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีช่ือเดิมอย่างไร ต่อมาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ ในด้านเนอื้ หา ควรค่าแก่การศกึ ษา ดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี ซ่ึงตรงกับรัชกาลสมเด็จพระมหินทราธิราช พระเจ้าบุเรงนอง แห่งกรุงหงสาวดี ยกกองทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาได้ส�าเร็จ ๑) สะท้อนวิถีชีวิตและวัฒนธรรม นิราศภูเขาทองมีเน้ือหาที่แสดงให้เห็นถึง จึงโปรดให้สร้างเจดีย์องค์ใหญ่ในแบบมอญข้ึนไว้เป็นอนุสรณ์ สภาพบ้านเมือง สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของผู้คนโดยเฉพาะริมฝั่งแม่น้�าเจ้าพระยาในช่วงสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้นไดเ้ ป็นอยา่ งดี อาทิ แหง่ ชัยชนะ แลว้ ให้เรยี กช่อื วา่ เจดีย์ภเู ขาทอง ครน้ั ถงึ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศใน พ.ศ. ๑.๑) การติดต่อคา้ ขาย สนุ ทรภู่มักถ่ายทอดสภาพสงั คมสองฝัง่ แม่น�า้ เจา้ พระยา ไว้ในบทประพันธ์เร่ืองต่างๆ ท่ีตนเองแต่งอยู่เสมอ เช่นเดียวกับในนิราศภูเขาทองท่ีสุนทรภู่ได้บรรยาย ๒๒๘๗ เจดยี ภ์ เู ขาทองพังทลายลง พระองค์จงึ โปรดเกลา้ ฯ สภาพบ้านเมืองและวิถีชีวิตของผู้คน ตลอดจนบรรยากาศของสถานที่ อาทิ ภาพการค้าขายที่ ให้ปฏิสังขรณ์และเปล่ียนรูปแบบองค์เจดีย์ใหม่ให้เป็น ด�าเนินไปอย่างคึกคัก มีการน�าสินค้าหลากหลายประเภทท่ีบรรทุกมากับเรือส�าเภามาวางขายในแพ ทรงย่อมุมไม้สิบสอง ส่วนฐานเจดีย์ยังคงเป็นรูปทรง ที่จอดเรียงรายอย่ตู ามรมิ น�้า แบบมอญ หลังจากนั้นยังไม่พบหลักฐาน ไปพน้ วัดทศั นารมิ ท่าน้�า แพประจา� จอดรายเขาขายของ ว่ามีพระมหากษัตริย์พระองค์ใดใน มแี พรผา้ สารพดั สีม่วงตอง ทัง้ สิง่ ของขาวเหลืองเครอ่ื งส�าเภา ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ไ ด ้ โ ป ร ด ใ ห ้ ปฏิสังขรณ์เจดีย์แห่งน้ี จนเม่ือ นอกจากนี้ สุนทรภู่ยังกล่าวถึง “ตลาดขวัญ” โดยบรรยายไว้ว่าเม่ือเดินทางผ่าน ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ใน พ.ศ. ตลาดขวัญก็เห็นภาพการค้าขาย หรือการจับจ่ายสินค้าหลากหลายชนิด ท้ังเส้ือผ้า และพืชผลต่างๆ ๒๓๗๓ สุนทรภู่ได้เดินทาง อยู่บนเรือมากมายหลายล�า และตลาดแห่งน้ียังเป็นสถานท่ีท่ีใช้ส�าหรับพบปะพูดคุยกันของ มานมัสการ พร้อมท้ัง ชาวบ้านอีกด้วย แต่งนิราศภูเขาทองไว้ใน ครงั้ น้ัน ถงึ แขวงนนทช์ ลมารคตลาดขวัญ มพี ่วงแพแพรพรรณเขาคา้ ขาย ท้ังของสวนลว้ นเรอื อยู่เรยี งราย พวกหญิงชายประชุมกนั ทุกวนั คนื 16 17

๑.๒) ชุมชนชาวต่างชาติ การตั้งบ้านเรือนของชาวต่างชาติมีมานานแล้ว จน บอกเล่าเกา้ สิบ ชาวต่างชาติส่วนใหญ่ได้กลายเป็นส่วนหน่ึงของสังคมไทยและได้ซึมซับขนบธรรมเนียม ประเพณีและ คติความเช่ือต่างๆ เข้าไปผสมผสานกับวัฒนธรรมและวิถีการด�าเนินชีวิตท่ีติดตัวมาแต่เดิม ดังตอนท่ี วัดประโคนปัก สุนทรภู่กล่าวถึงหญิงสาวชาวมอญ ซึ่งอาศัยอยู่ในย่านปากเกร็ด (เขตจังหวัดนนทบุรี) ในสมัยนั้น นยิ มแตง่ หนา้ และแตง่ ผมตามอยา่ งหญงิ สาวชาวไทย เชน่ การผดั หนา้ ถอนไรจกุ คอื ถอนผมรอบๆ ผมจกุ วัดประโคนปักหรือวัดเสาประโคน เป็นวัดท่ีมีมาแต่เมื่อครั้ง ให้เป็นแนวเล็กๆ จนเป็นวงกลมรอบผมจุกและจับเขม่า ซึ่งเป็นวิธีการแต่งผมเพ่ือให้ผมมีสีด�าเป็นมัน อยุธยา ตั้งอยู่ริมแม่น�้าเจ้าพระยาใกล้ปากคลองบางกอกน้อย โดยใช้เขมา่ ผสมกับน้�ามันหอม สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงศรสี นุ ทรเทพ พระเจา้ ลกู เธอ ในรชั กาลท ่ี ๑ ไดท้ รงปฏสิ งั ขรณ์ใหมท่ ง้ั วดั ตอ่ มากรมพระราชวงั - ถึงเกร็ดยา่ นบา้ นมอญแต่ก่อนเกา่ ผู้หญิงเกล้ามวยงามตามภาษา บวรมหาเสนานรุ กั ษท์ รงปฏสิ งั ขรณ ์ และพระราชทานนามใหมว่ ่า วัดดุสิดาราม โดยโปรดให้รวมวัดภุมรินราชปักษี ซ่ึงเป็นวัดร้าง เด๋ยี วนี้มอญถอนไรจกุ เหมอื นตุ๊กตา ทั้งผัดหนา้ จับเขมา่ เหมอื นชาวไทย ขนาดเล็กที่อยู่ติดกันเข้าไว้ด้วย สิ่งก่อสร้างที่น่าสนใจภายในวัด ไดแ้ ก่ พระอโุ บสถ ซงึ่ มภี าพจติ รกรรมฝาผนงั ฝมี อื ชา่ งสมยั รชั กาล นอกจากน้ีสุนทรภู่ยังได้กล่าวถึงการประกอบอาชีพของชาวต่างชาติในช่วงท่ีสุนทรภู่ ท ี่ ๑ โดยเฉพาะภาพนรกภมู ทิ ว่ี าดอยบู่ นผนงั ดา้ นหลงั พระประธาน เดนิ ทางผา่ น บ้านญวน ซ่งึ แสดงให้เห็นว่าชาวญวนในสมัยนั้นเลยี้ งชพี ด้วยการทา� ประมง ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เขยี นไดง้ ามราวกบั มชี วี ติ ถงึ บ้านญวนล้วนแตโ่ รงแลสะพรง่ั มขี ้องขงั กุ้งปลาไวค้ า้ ขาย ถึงอารามนามวดั ประโคนปัก ไมเ่ ห็นหลกั ลอื เลา่ ว่าเสาหนิ ตรงหน้าโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญงิ ชายพร้อมเพรียงมาเมยี งมอง เปน็ สา� คญั ปันแดนในแผน่ ดิน มิร้สู น้ิ สุดช่อื ท่ลี ือชา ๑.๓) การละเลน่ และงานมหรสพ สนุ ทรภไู่ ดก้ ลา่ วถงึ การละเลน่ และงานมหรสพ นอกจากนี้ สุนทรภู่ยังไดก้ ล่าวถึงสถานทอี่ กี แหง่ หนึ่ง ซง่ึ เดมิ มชี ่อื วา่ สามโคก แตต่ อ่ มา พ้ืนบ้าน ซ่ึงเป็นที่นิยมกันในสมัยนั้นและจัดขึ้นในช่วงเทศกาลส�าคัญประจ�าปี อาทิ งานฉลองผ้าป่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชทานเปล่ียนชื่อให้ใหม่เป็น ปทุมธานี เพราะมี ท่ีวัดพระเมรุ มีการประดับประดาโคมไฟ แลดูสว่างไสวไปทั่วบริเวณงาน และยังมีการขับเสภา พระราชด�าริว่าเมืองน้ีเป็นเมืองท่ีมีดอกบัวข้ึนอยู่มาก (ปทุม หมายถึง ดอกบัว และ ธานี หมายถึง และร้องเพลงเรอื เกีย้ วกนั ระหวา่ งหน่มุ สาวชาวบ้าน เมือง) มาจอดทา่ หนา้ วัดพระเมรุขา้ ม รมิ อารามเรอื เรยี งเคยี งขนาน ถงึ สามโคกโศกถวลิ ถงึ ป่ินเกล้า พระพทุ ธเจา้ หลวงบ�ารุงซึง่ กรุงศรี บ้างขึ้นลอ่ งร้องร�าเล่นส�าราญ ท้ังเพลงการเกย้ี วแกก้ นั แซ่เซ็ง ประทานนามสามโคกเปน็ เมอื งตรี ชอื่ ปทุมธานีเพราะมบี วั บา้ งฉลองผ้าปา่ เสภาขบั ระนาดรบั รัวคลา้ ยกับนายเสง็ ๓) ความเชอื่ ของคนไทย สนุ ทรภไู่ ดส้ อดแทรกคตคิ วามเชอ่ื ของคนไทย ซง่ึ สว่ นใหญ่ มักเก่ียวเนื่องในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะเร่ืองนรก-สวรรค์ อาทิ ความเชื่อที่ว่าหากใครคบชู้ คือ มีโคมรายแลอรา่ มเหมือนสามเพง็ เม่ือคราวเครง่ ก็มิใคร่จะไดด้ ู ประพฤติตนผิดศีลข้อ ๓ ตามหลักศีล ๕ เมื่อตายไป ผู้นั้นจะตกนรกและต้องปีนต้นงิ้วซึ่งมีหนามยาว และแหลมคม ๒) ต�านานสถานท่ี เน่ืองจากเนื้อหาของนิราศส่วนใหญ่ ได้แก่ การพรรณนา การเดินทาง ดังน้ัน เม่ือกวีล่องเรือผ่านสถานที่ใด ก็มักจะกล่าวถึงสถานท่ีน้ัน เช่นเดียวกับสุนทรภู่ งวิ้ นรกสิบหกองคลุ ีแหลม ดงั ขวากแซมเสีย้ มแทรกแตกไสว ใครท�าชู้ค่ทู า่ นครั้นบรรลยั ก็ตอ้ งไปปีนตน้ น่าขนพอง เม่ือเดินทางผ่านสถานท่ี อาทิ วัดประโคนปัก สุนทรภู่ได้บอกเล่าเร่ืองราวอันเป็นที่มาของชื่อวัดแห่งนี้ ไว้ว่าเหตุที่วัดมีชื่อว่าประโคนปัก เนื่องจากมีการเล่าสืบต่อกันมาว่าบริเวณน้ีเป็นท่ีปักเสาประโคน 19 เพ่อื ปนั เขตแดน 18

๔) แง่คิดเก่ียวกับความจริงของชีวิต บทประพันธ์ของสุนทรภู่มักได้รับการ นอกจากน้ี สุนทรภู่ยังได้แทรกค�าสอน ซึ่งสามารถน�ามาปรับใช้ในชีวิตได้เป็นอย่าง ยกย่องอยู่เสมอมาว่ามีเน้ือหาท่ีสอดแทรกข้อคิด คติการด�าเนินชีวิต และช่วยยกระดับจิตใจของผู้อ่าน ดี อาทิ ค�าสอนเร่ืองการพูด โดยสอนให้รู้จักพูด เพื่อป้องกันไม่ให้ค�าพูดก่อให้เกิดโทษแก่ตนเอง ให้ปฏิบัติตนไปตามแนวทางที่เหมาะสม ดังปรากฏในบทกลอนตอนหนึ่งซึ่งมีเน้ือหากล่าวเกี่ยวเนื่อง เนื่องจากการพูดดีจะเป็นมงคลแก่ตัวและมีแต่คนรักใคร่เอ็นดู แต่ถ้าพูดไม่ดี ย่อมมีผลกระทบ ถึงเร่ือง โลกธรรม ๘ ตามหลักค�าสอนทางพระพุทธศาสนา โดยสุนทรภู่กล่าวว่า แม้เจดีย์ภูเขาทอง ในดา้ นลบแก่ตนเอง ท่ีคร้ังหนึ่งเคยงดงามก็ยังมีวันทรุดโทรม ช่ือเสียงเกียรติยศก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีรุ่งเรืองก็มีเส่ือมได้ เปน็ ธรรมดาจึงควรมองโลกอยา่ งเข้าใจว่าทกุ ส่ิงทกุ อย่างล้วนเป็นอนจิ จัง ถงึ บางพดู พดู ดเี ปน็ ศรศี ักดิ ์ มคี นรักรสถ้อยอรอ่ ยจติ แม้นพดู ช่ัวตวั ตายท�าลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพดู จา ท้ังองค์ฐานรานรา้ วถงึ เกา้ แฉก เผยอแยกยอดทรดุ กห็ ลุดหกั โอเ้ จดยี ท์ สี่ รา้ งยังร้างรกั เสียดายนกั นึกนา่ นา้� ตากระเด็น ๗.๒ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ กระนี้หรือช่อื เสยี งเกยี รติยศ จะมิหมดล่วงหนา้ ทันตาเหน็ นิราศภูเขาทอง นอกจากจะมีคุณค่าด้านเนื้อหาแล้ว ในด้านวรรณศิลป์ก็ได้รับการ ยอมรับว่ามีความงดงามและมีความไพเราะ แม้สุนทรภู่จะใช้ถ้อยค�าธรรมดาสามัญในการประพันธ์ เปน็ ผู้ดมี ีมากแล้วยากเย็น คิดก็เปน็ อนจิ จังเสียทั้งน้นั แต่ทว่ามีความหมายลึกซ้ึง สะเทือนอารมณ์ และสร้างจินตภาพได้อย่างชัดเจน นิราศภูเขาทองจึงมี คุณคา่ และความดีเด่นในดา้ นวรรณศิลป์ ดังตอ่ ไปน้ี สุนทรภู่ยังให้แง่คิดเรื่องการเลือกคบคนว่า ไม่ควรประมาทและไม่ควรวางใจผู้ใดง่ายๆ เน่ืองจากบางคนอาจพูดหรือท�าให้เราเห็นว่าเขาเป็นคนดี แต่แท้ที่จริงเขาอาจเป็นคนท่ีมีจิตใจไม่ดี ๑) การเล่นเสียง บทประพันธ์ของสุนทรภู่ ถือได้ว่ามีความดีเด่นเรื่องการเล่นเสียง เปรียบไดก้ บั ผลมะเด่อื ทีภ่ ายนอกมีสีสนั สวยงาม แตก่ ลับเต็มไปด้วยหนอนแมลงหวีช่ อนไชอย่ภู ายใน โดยเฉพาะการเล่นเสียงสัมผัสภายในวรรค ท้ังสัมผัสสระและสัมผัสอักษร ท�าให้กลอนนิราศภูเขาทอง มีความไพเราะเป็นอยา่ งมาก เชน่ ถึงบางเด่อื โอม้ ะเด่ือเหลอื ประหลาด บงั เกิดชาติแมลงหวีม่ ใี นไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกยอ่ มขมใน อปุ ไมยเหมอื นมะเด่อื เหลอื ระอา ดนู ้า� วิง่ กลิง้ เชยี่ วเปน็ เกลยี วกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวดั เฉวียน บ้างพลุ่งพลุ่งวุ้งวงเหมือนกงเกวยี น ดูเวยี นเวยี นควา้ งควา้ งเปน็ หวา่ งวน บอกเลา่ เกา้ สิบ สมั ผสั ในวรรค เชน่ วงิ่ – กลง้ิ เชย่ี ว – เกลียว ฉอก – ฉาด – ฉัด ฉวดั – เฉวียน มะเดอื่ เป็นตน้ มะเด่ือเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ออกดอกเป็นช่อ ๒) ความเปรียบลึกซึ้งกินใจ สุนทรภู่เลือกใช้ถ้อยค�าเปรียบเปรยท่ีสร้างอารมณ์ ผลมีรูปกลมแป้นหรือรปู ไขแ่ ละมขี น ออกผลเป็นกระจกุ สะเทอื นใจให้แกผ่ อู้ ่าน เชน่ ตามกิ่งและล�าต้น เม่ือฉีกผลออกจะพบเกสรเล็กๆ อยู่ ภายใน เมอ่ื ผลสกุ มสี แี ดง สา� หรบั สาเหตทุ พี่ บหนอนแมลง เมอื่ เคราะหร์ ้ายกายเรากเ็ ทา่ นี้ ไมม่ ที ่พี สุธาจะอาศัย อยภู่ ายในผลมะเดื่อเสมอ จนทา� ใหค้ นไทยมีทัศนคตไิ มด่ ี ชอ่ื สามัญ : Fig ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมอื นนกไร้รงั เร่อยเู่ อกา ต่อมะเดื่ออาจเป็นเพราะส่ิงมีชีวิตท้ัง ๒ ชนิด ต่างต้อง ช่ือวิทยาศาสตร ์ : Ficus racemosa Lin พ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน โดยมะเด่ืออาศัยแมลงผสม วงศ ์ : MORACEAE เกสรให้ตดิ เมล็ด ส่วนแมลงอาศยั มะเด่อื เปน็ อาหารและ ช่ืออ่ืน : หมากเดื่อ (อสี าน) บทกลอนตอนน้ีมีเนื้อความแสดงถึงการคร่�าครวญโศกเศร้า ซ่ึงตรงกับรสวรรณคดี ฟกั ไข่ให้เป็นตัวจนบินได้ อทุ มุ พร มะเด่อื อทุ ุมพร ที่เรียกว่า สัลลาปังคพิสัย โดยท�าให้เห็นภาพพจน์ท่ีว่า คนเรามีร่างกายเล็กมากหากเทียบกับ มะเดื่อเกลีย้ ง เดื่อน�้า (ใต)้ พื้นแผน่ ดินซ่งึ กวา้ งใหญ่ แตเ่ มอื่ ถึงคราวตกอับ กลับไมม่ พี นื้ ทจี่ ะอาศัย 20 21

สุนทรภู่ยังใช้ความเปรียบแบบ อุปมาโวหาร คือ ค�าว่า เหมือน โดยเปรียบตนเอง ค�าถาม ประจา� หน่วยการเรียนรู้ เหมือนกบั นก ที่ตอ้ ง (บิน) รอ่ นเร่เรือ่ ยไปตามล�าพงั ไม่มที ่ีอยู่อาศัย (รัง) เป็นหลกั แหลง่ ๑. วรรณคดนี ิราศ มลี ักษณะเฉพาะในการประพนั ธ์อยา่ งไร ยกตวั อย่างจากเรือ่ งประกอบค�าอธิบาย นอกจากน้ียังมี วรรคทอง ที่ได้รับการจดจ�าและมีการอ้างอิงอยู่เสมอ เมื่อกล่าวถึง ๒. นริ าศภเู ขาทองสะทอ้ นภาพวิถีชวี ติ ของผคู้ นรมิ ฝ่งั แมน่ �้าในสมยั น้นั อย่างไรบ้าง ชีวประวัติของสุนทรภู่ ก็คือ บทที่สุนทรภู่ร�าพันถึงความหลัง เมื่อคร้ังที่เคยเข้าเฝ้าฯ รับใช้ใกล้ชิด ๓. นริ าศภเู ขาทองมคี วามดเี ดน่ ดา้ นสมั ผสั ใน นกั เรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม ่ เพราะเหตใุ ด อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง เบ้อื งพระยคุ ลบาทพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย แต่เมอ่ื ส้นิ รัชสมยั ของพระองค์ สุนทรภ่กู ็ ถึงคราวตกยาก จงึ รา� พันไวใ้ นนิราศภเู ขาทองได้อยา่ งสะเทือนอารมณ์วา่ ประกอบ ถึงหนา้ วังดังหนึ่งใจจะขาด คิดถงึ บาทบพติ รอดิศร โอ้ผ่านเกลา้ เจา้ ประคณุ ของสนุ ทร แต่ปางก่อนเคยเฝา้ ทกุ เชา้ เย็น พระนิพพานปานประหนึ่งศีรษะขาด ดว้ ยไร้ญาตยิ ากแค้นถงึ แสนเข็ญ ทงั้ โรคซ�้ากรรมซดั วิบตั ิเปน็ ไม่เลง็ เห็นทีซ่ งึ่ จะพึง่ พา ๓) การใช้ค�าเพื่อสร้างจินตภาพ เป็นการพรรณนาความด้วยถ้อยค�าท่ีเรียบง่าย แต่เห็นภาพชดั เจน ดงั เช่น จนแจ่มแจ้งแสงตะวนั เห็นพนั ธผุ์ ัก ดนู ่ารกั บรรจงสง่ เกสร กจิ กรรม สรา้ งสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ เหล่าบวั เผอ่ื นแลสล้างริมทางจร ก้ามกงุ้ ซอ้ นเสยี ดสาหร่ายใต้คงคา บทกลอนตอนน้ีสุนทรภู่ได้พรรณนาภาพบรรยากาศธรรมชาติระหว่างการเดินทาง กจิ กรรมท่ี ๑ ใหน้ กั เรยี นแตง่ นริ าศบนั ทกึ การเดนิ ทางไปยงั สถานทตี่ า่ งๆ ทต่ี นเองประทบั ใจ คนละ ท�าให้ผู้อ่านจินตนาการเห็นถึงภาพท้องน้�ายามรุ่งเช้าท่ีละลานตาไปด้วยพืชน้�านานาชนิดที่ชูช่อประชัน กิจกรรมที่ ๒ ๑-๓ บท น�าเสนอหน้าชน้ั เรยี นเปน็ รายบคุ คล กนั และยงั ท�าใหเ้ หน็ ว่าสายน�้าน้นั มีความใสสะอาดจนสามารถมองเห็นพชื ที่ข้นึ อยูใ่ ต้นา�้ ได้ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันตามความเหมาะสม เขียนแผนท่ีการเดินทางและสถานท่ีที่ กิจกรรมที่ ๓ สุนทรภู่เดินทางผ่านเพ่ือไปนมัสการเจดีย์ภูเขาทอง ตกแต่งให้สวยงาม แล้วน�าไป นริ าศภูเขาทอง มีลกั ษณะการแต่งแบบกลอนนริ าศ จงึ ได้ปรุงเรอ่ื งขึ้นตามขนบ ติดทป่ี ้ายนิเทศ นิราศ คือ กล่าวถึงการเดินทางและรÓพึงถึงนางอันเป็นที่รัก แต่มิได้มีการจากหญิง จ ัดกิจกรรมอ่านท�านองเสนาะจากนิราศภูเขาทอง โดยเลือกค�าประพันธ์ที่นักเรียน คนรกั จรงิ เพยี งแตส่ มมตขิ น้ึ ตามนสิ ยั กาพยก์ ลอนแตก่ อ่ นมา นอกจากนนี้ ริ าศภเู ขาทอง ชื่นชอบ ทอ่ งจ�าไว้ ๓-๕ บท น�าเสนอเปน็ รายบุคคลหรอื กล่มุ ยงั เปีย่ มดว้ ยคุณคา่ ทง้ั ด้านเนือ้ หาและวรรณศลิ ปจ์ ึงควรค่าแกก่ ารอา่ นเป็นอย่างยงิ่ 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook