Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง 2

เศรษฐกิจพอเพียง 2

Published by Library13001, 2020-05-19 01:27:05

Description: ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ตามแนวพระราชดำริ สำนักงาน กปร.

Search

Read the Text Version

คำ�นำ� “เศรษฐกจิ พอเพียง” ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.) ได้จัดทำ� หนังสือชุด “เผยแพร่องคค์ วามร้ตู ามแนวพระราชดำ� ริ” ในปี ๒๕๕๘ เพ่อื เฉลมิ พระเกียรติเนื่องในโอกาสที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๖๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยรวบรวมหนังสือที่ส�ำนักงาน กปร. จัดพิมพ์แล้วมาด�ำเนินการปรับปรุงเพ่ิมเติมสาระส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตัวอย่างของความส�ำเร็จที่เกิดข้ึนจากการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และการ ทรงงานสานต่อพระราชด�ำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี รวมถึงเรื่องราวการสนอง พระราชด�ำริของส�ำนักงาน กปร. ท่ีก่อเกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริมากมายกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ ทั่วประเทศ และการน้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิใช้ในรูปแบบตา่ ง ๆ พรอ้ มตวั อย่างการประยุกต์ ใช้ที่ถูกต้อง ตามค�ำแนะน�ำและข้อเสนอแนะของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ซึ่งได้ให้ข้อคิดเห็นช้ีแนะ การจัดท�ำเน้ือหาท่ีมาจากแนวพระราชด�ำริ เพื่อการแสดงตัวอย่างของการน�ำแนว พระราชด�ำริไปปฏิบัติจนประสบผลส�ำเร็จเพื่อเป็นต้นแบบและตัวอย่างให้สาธารณชนได้น�ำไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เหมาะสมและชดั เจนย่ิงขึน้ ดังน้ัน ส�ำนักงาน กปร. จึงได้จัดท�ำหนังสือชุด เผยแพร่องค์ความรู้ตามแนวพระราชด�ำริ จ�ำนวน ๔ เล่ม ประกอบด้วย ๑) หลกั การทรงงานในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ๒) เศรษฐกิจพอเพียง ๓) ทรงงานสานตอ่ สร้างสุขปวงประชา ๔) ๓ ทศวรรษ กปร. 2z

สำ� หรบั หนงั สอื ชดุ “เผยแพรอ่ งคค์ วามรตู้ ามแนวพระราชดำ� ร”ิ เลม่ ท่ี ๒ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เลม่ น้ี นำ� เสนอ ตัวอย่างของการน�ำแนวพระราชดำ� ริปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ไปเป็นแนวทาง การปฏิบัติบนพื้นฐานของความมีเหตุผล ความพอประมาณ และการมีภูมิคุ้มกันท่ีดี ภายใต้เง่ือนไขความรู้และ คุณธรรม ส่งผลสำ� เร็จเปน็ รปู ธรรมทง้ั ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม องค์กรภาครฐั ภาคเอกชน และประเทศ สร้างความม่ันคงและเข้มแข็งให้แก่สังคมไทย และเป็นต้นแบบของการประยุกต์ใช้หลักแห่งความพอเพียงให้แก่ นานาประเทศอกี ดว้ ย สำ� นกั งาน กปร. เมษายน ๒๕๕๙ z3

สารบญั ๗ ๘ เศรษฐกจิ พอเพียง ๑๘ พระราชด�ำรเิ ศรษฐกจิ พอเพียง การน้อมนำ� แนวพระราชด�ำรเิ ศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนนิ ชีวติ

ตัวอยา่ งความส�ำเรจ็ ของเศรษฐกิจพอเพียง ๒๖ การขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพยี งของส�ำนกั งาน กปร. ๖๕ เศรษฐกจิ พอเพยี งสรา้ งความม่ันคง ม่งั ค่ัง และย่ังยนื ๗๔

6z

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริ ชี้แนะแนวทางเพื่อการด�ำเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรไทย เศรษฐกิจพอเพียงได้พระราชทาน พระราชด�ำริมานานกว่า ๓๐ ปี โดยเฉพาะเม่ือครั้งเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจเม่ือปี ๒๕๔๐ ทรงเนน้ ยำ�้ แนวทางแหง่ ความพอเพยี ง เพอื่ ใหพ้ สกนกิ รสามารถทจี่ ะแกไ้ ขปญั หา และสามารถ ด�ำรงชวี ิตไดอ้ ย่างมนั่ คงย่งั ยนื ภายใต้ความเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดข้นึ อยา่ งรวดเร็ว หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ทางสายกลาง กล่าวคือ เปน็ เศรษฐกจิ แบบพอประมาณ ไม่ใช่อดอยากขาดแคลน ใช้จ่ายอย่างมีเหตุมีผล มีน้อยใช้น้อยไม่ฟุ่มเฟือย มีมากต้องรู้จัก เก็บออมเอาไวใ้ ช้ในยามจ�ำเปน็ และตอ้ งรูจ้ กั ช่วยเหลอื เกอื้ กลู และแบง่ ปันกัน ส่วนในระดับ ของการพัฒนาประเทศ ควรพัฒนาอย่างเป็นข้ันเป็นตอนและมีคุณธรรม ซึ่งจะท�ำให้เกิด การพัฒนาที่มั่นคงยั่งยืน หากท�ำได้เช่นนี้ก็จะสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีให้กับตนเองและประเทศ ชาตติ ลอดไป ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ เป็นบทพสิ ูจนท์ แ่ี สดงให้เหน็ ว่า เศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถประยกุ ตใ์ ช้ได้ในทุกคน ทกุ บรบิ ท ทุกสาขาอาชีพ และยังจะเปน็ พลงั ในการพฒั นา ประเทศให้ก้าวหน้าต่อไปได้ โดยผู้ที่น้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติใช้ จนประสบผลส�ำเร็จในการด�ำเนินชีวิต ดังน้ันส�ำนักงาน กปร. จึงได้น�ำตัวอย่างและ ต้นแบบผู้ท่ีสามารถน้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้อย่างได้ผล เป็นรูปธรรมน�ำมาถ่ายทอดองค์ความรู้จากประสบการณ์ที่เกิดข้ึนจริงเพื่อให้ เกดิ ประโยชน์ในการขยายผลสู่สาธารณชนได้อยา่ งกวา้ งขวางยิ่งขึน้ z7

ระราชดำ�ริ เศรษฐกิจพอเพยี ง 8z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” คนอนื่ จะวา่ อยา่ งไรก็ช่างเขา จะวา่ เมืองไทยล้าสมัยว่าเมอื งไทยเชย วา่ เมอื งไทยไม่มสี ่ิงทีส่ มัยใหม่ แตเ่ ราอยู่พอมี พอกนิ และขอใหท้ กุ คน มีความปรารถนาท่จี ะใหเ้ มอื งไทยพออยู่ พอกนิ มีความสงบและทำ�งาน ตัง้ จติ อธษิ ฐาน ต้ังปณิธานในทางนี้ ทจ่ี ะให้เมอื งไทยอยแู่ บบพออยู่ พอกิน ไม่ใชว่ ่า จะรุง่ เรืองอย่างยอด แตว่ ่ามีความพออยู่พอกิน มคี วามสงบ เปรียบเทยี บ กับประเทศอืน่ ๆ ถา้ เรารกั ษาความพออยูพ่ อกินนไ้ี ด้ เรากจ็ ะยอดยิง่ ยวดได้ พระราชดำ�รัสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว เน่อื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต เม่ือวนั พุธท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗ z9

ชุดเผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ในการพฒั นาประเทศน้ันจำ�เปน็ ตองทําตามลําดบั ขนั้ เริม่ ดว ยการสรางพน้ื ฐาน คอื ความมกี ินมีใชข้ องประชาชนกอนดวยวิธกี ารที่ประหยัดระมัดระวงั แตถูกตอง ตามหลกั วิชาเม่อื พ้ืนฐานเกดิ ขึน้ ม่ันคงพอควรแลว จงึ คอ ยสรางเสรมิ ความเจริญข้ันสงู ขึ้น ตามลําดับต่อไป การถือหลกั ที่จะส่งเสริมความเจริญ ใหคอยเปน ไปตามลําดับดวยความ รอบคอบระมดั ระวงั และประหยัดนั้นก็เพอ่ื ป้องกนั ความผิดพลาดล้มเหลว และเพ่อื ให้บรรลุผลสําเร็จไดแ นน่ อนบรบิ ูรณ์ พระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว ในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เม่ือวันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗ 10 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” ภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมในหลายประเทศเปลยี่ นแปลงไป กลา่ วคอื การทุม่ เทสร้างเครื่องจกั รกลอนั กา้ วหน้า และมปี ระสทิ ธิภาพสูงขึน้ ใช้ในการผลติ ทำ�ใหผ้ ลผลติ ทางอุตสาหกรรมเพมิ่ ข้นึ รวดเร็วและมากมาย จนอาจถึงข้นั ฟมุ่ เฟอื ย พร้อมกันนั้น ก็ทำ�ใหค้ นว่างงานลงเพราะถกู เคร่ืองจักรกลแย่งไปทำ� เป็นเหตุให้เกดิ ความยุ่งยากตกต่ำ� ทาง เศรษฐกิจขน้ึ เพราะคนทวี่ ่างงานยากจนลงและผผู้ ลิตก็ขาดทุนเพราะสนิ คา้ ขายไมอ่ อก จึงน่าจะต้องดดั แปลงแนวคดิ แนวปฏิบัติในการสง่ เสรมิ ความเจรญิ ดา้ นอตุ สาหกรรมไปบ้าง ให้สมดุลกับดา้ นอน่ื ๆ เพอ่ื ความอยู่รอด พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแกผ่ ู้สำ�เร็จการศึกษา จากสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า เม่อื วันท่ี ๑๘ ตลุ าคม ๒๕๑๘ z 11

ชุดเผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ อนั น้เี คยบอกวา ความพอเพียงน้ไี มไดหมายความวา ทกุ ครอบครวั จะตอ งผลติ อาหารของตวั จะตอ้ งทอผา้ ใสเ่ อง อยา งน้นั มันเกนิ ไป แตวา ในหมูบ าน หรอื ในอําเภอจะตอ งมีความพอเพียงพอสมควร บางส่ิงบางอยาง ทีผ่ ลติ ไดมากกวา ความตองการ ก็ขายได้แตข่ ายในท่ี ่ไมหางไกลเทาไหร ไมตองเสยี คาขนสงมากนัก พระราชดํารสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว เน่อื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา เมอ่ื วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ 12 z

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เศรษฐกจิ พอเพยี ง... จะทำ�ความเจรญิ ให้แก่ประเทศได้ แตต่ อ้ งมีความเพยี ร แล้วตอ้ งอดทน ตอ้ งไมใ่ จร้อน ต้องไมพ่ ูดมาก ต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าทำ�โดยเข้าใจกัน เชอ่ื วา่ ทุกคนจะมคี วามพอใจได้ พระราชดํารสั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว เมอ่ื วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ z 13

ชดุ เผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความม่ันคงของแผ่นดิน เปรียบเสมอื นเสาเขม็ ท่ถี ูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไวน้ ั่นเอง ส่งิ ก่อสรา้ งจะม่ันคงไดก้ ็อยู่ทีเ่ สาเขม็ แต่คนสว่ นมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเขม็ เสียดว้ ยซำ�้ ไป พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว 14 z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” ถา ไมม เี ศรษฐกจิ พอเพยี ง เวลาไฟดับจะพงั หมด จะทำ�อยา่ งไร ทที่ ี่ต้องใช้ไฟฟ้ากต็ ้องแย่ไ ป หากมเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง แบบไมเ ตม็ ที่ถา เรามีเคร่อื งปน ไฟ กใ็ หป นไฟหรอื ถา ข้ันโบราณกวา มดื ก็จุดเทียนคอื มีทางทจี่ ะแกปญ หาเสมอ ฉะนน้ั เศรษฐกิจพอเพียงนก้ี ็มเี ปน ขั้นๆ แตจ ะบอกวา เศรษฐกิจพอเพียงน้ี ใหพ อเพียงเฉพาะตัวเองรอยเปอรเซน็ ตนี่เปนส่ิงที่ทําไมไ ดจ ะตอ งมกี ารแลกเปล่ียน ตอ งมีการชว ยกนั พอเพียงในทฤษฎหี ลวงน้ีคือใหสามารถท่จี ะดำ�เนนิ งานได้ พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั เมอ่ื วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ z 15

ชดุ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ขอใหทุกคนมคี วามปรารถนาทจ่ี ะใหเมืองไทยพออยพู อกนิ มีความสงบและทํางาน ตง้ั อธษิ ฐาน ต้งั ปณิธานในทางนีท้ ่ีจะใหเ มอื งไทยอยูแบบพอกนิ ไมใ ชวา จะรุง เรืองอยา งยอด แตมีความพออยูพอกิน มคี วามสงบเปรียบเทียบกบั ประเทศอนื่ ๆ ถาเรารกั ษาความ พออยพู อกนิ นีไ้ ด้เราก็จะยอดย่ิงยวดได้ ฉะนนั้ ถ้าทุกท่านซ่ึงถือวา่ เปน็ ผู้มคี วามคดิ และมีอทิ ธิพล มีพลังที่จะทำ�ให้ผู้อืน่ ซง่ึ มคี วามคิดเหมือนกนั ชว ยกนั รกั ษาสว นรวมใหอยดู กี ินดีพอสมควร ขอแคพ่ อควรพออยพู อกิน มีความสงบ ไมใ่ ห้คนอืน่ มาแยง่ คุณสมบตั ิน้ีจากเราไปได้ ก็จะเป็นของขวญั วันเกดิ ทถ่ี าวรทจ่ี ะมีคณุ ค่าอยู่ตลอดกาล พระราชดํารัสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา เมอ่ื วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗ 16 z

“เศรษฐกิจพอเพียง” เศรษฐกิจพอเพยี งน้ี เราคิดแบบชาวบา้ น ไม่มอี ะไรท่ีฝร่ังเขาเรียกวา่ Sophisticate มนั ธรรมดา ทำ�อะไรแบบธรรมดา กด็ ูไมม่ ปี ระโยชน์ใหญ่โตมโหฬาร แปลว่าถา้ ทำ�แบบ ไม่ Sophisticate ชาวบ้านกท็ ำ�เองได้ ชาวบา้ นค้นพบการทำ�เศรษฐกจิ พอเพยี งดว้ ยตนเองกด็ ีใจ ทเ่ี ปน็ อยา่ งน้นั ผเู้ ชยี่ วชาญผทู้ ม่ี คี วามรู้นา่ จะไปดวู า่ ชาวบ้านเขาคน้ พบอะไรในเศรษฐกจิ พอเพียง เม่อื ไดค้ ้นหาวา่ เขาได้จรงิ ๆ หรือไม่จริง ถ้าไดจ้ รงิ ๆ กจ็ ะได้ติดตอ่ ในผลงานทชี่ าวบา้ นได้ ซึ่งจะทำ�ใหส้ ามารถทำ�ใหเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งมีประโยชนม์ ากขึน้ จนกระทั่งชว่ ยชีวิตชาวบ้านใหม้ คี วามก้าวหน้าจรงิ ๆ จงั ๆ พระราชดำ� รสั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั พระราชทานแก่คณะผู้บรหิ ารสถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรน้�ำและการเกษตร องค์การมหาชน กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เมอื่ วนั ที่ ๕ กันยายน ๒๕๕๔ z 17

ารนอ้ มนำ�แนวพระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพยี ง มาประยุกต์ใชใ้ นการดำ�เนนิ ชวี ิต 18 z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” เศรษฐกจิ พอเพียง แปลวา่ Sufficiency Economy ...คำ�วา่ Sufficiency Economy นไ้ี มม่ ใี นตำ�ราเศรษฐกจิ จะมไี ดอ้ ยา่ งไร เพราะวา่ เป็นทฤษฎใี หม่ ...Sufficiency Economy นั้น ไม่มใี นตำ�ราเพราะหมายความวา่ เรามคี วามคิดใหม่ และโดยทที่ า่ นผูเ้ ชี่ยวชาญสนใจ กห็ มายความว่าเราก็สามารถท่จี ะไปปรับปรุง หรือไปใชห้ ลกั การเพ่ือทจ่ี ะใหเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศและของโลกพัฒนาดขี นึ้ พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา วนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชถ้ี งึ แนวการด�ำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ชุมชน จนถึงรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศใหด้ �ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพ่ือให้กา้ วทันต่อโลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ z 19

ชดุ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งมรี ะบบภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ พี อสมควรตอ่ การมผี ลกระทบ ใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ัง ภายนอกและภายใน ทงั้ น้ี จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างย่ิง ในการน�ำวิชาการ ต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการ ด�ำเนินการทุกข้ันตอน ขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของ คนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั นักทฤษฎี และนักธุรกิจให้มีส�ำนึกใน คณุ ธรรมความซอ่ื สตั ย์สุจริต และใหม้ ี ความรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดำ� เนนิ ชวี ิตด้วยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่อื ให้สมดลุ และ พรอ้ มตอ่ การรองรบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวางทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี 20 z

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญา “เศรษฐกจิ พอเพียง” ที่ยึดหลักทางสายกลาง ท่ีช้ีแนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติ ของประชาชนในทุกระดับให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง z 21 มคี วามพอเพียง และมีความพร้อมทจ่ี ะจัดการตอ่ ผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลง โดยค�ำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจน การใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบ การวางแผน การตัดสินใจและการกระท�ำต่างๆ ความ พอประมาณ หมายถึง ความพอดี ท่ีไม่มากและไม่น้อย จนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคท่ีพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเร่ืองต่างๆ โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน อย่างรอบคอบ การมภี ูมคิ มุ้ กนั ทดี่ ี หมายถงึ การเตรยี มตวั ให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลง รอบตัว ปัจจัยเหล่าน้ีจะเกิดขึ้นได้น้ัน จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรมเป็นเง่ือนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เง่ือนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ในการด�ำเนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไข คณุ ธรรม คอื การยึดถือคณุ ธรรมตา่ งๆ อาทิ ความซื่อสตั ย์ สจุ ริต ความอดทน ความเพียร การมงุ่ ตอ่ ประโยชนส์ ว่ นรวม เป็นท่ตี ง้ั

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ 22 z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่การหยุดอยู่กับที่ แต่เศรษฐกิจพอเพียงใช้ได้กับทุกกลุ่มบุคคล ชุมชน มีความเป็น พลวัตสามารถพัฒนาได้ตามเหตุผลให้เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป กล่าวสรุปคือ เศรษฐกิจพอเพียง มี ๓ ระดบั คอื ระดับท่ีหน่ึง เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งบนพื้นฐานท่เี น้นความพอเพยี งในระดับบุคคลและครอบครวั ระดบั ท่ีสอง เป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบกา้ วหนา้ คอื ยกระดบั ความพอเพียงเปน็ ระดับกลุ่ม มีการรวมตัว ทงั้ ความคิด ความร่วมมือ ความชว่ ยเหลอื ส่วนรวม รักษาผลประโยชน์ภายในชุมชน มกี ารเรียนรู้แลกเปล่ียนสร้าง ความเขม้ แขง็ ในชุมชน ระดับท่ีสาม เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวไกล ระดับสร้างเครือข่าย เน้นความร่วมมือระหว่างชุมชน กลุ่ม องคก์ ร เอกชน หรือธุรกิจภายนอก โดยประสานงานให้ได้รับประโยชน์รว่ มกันทุกฝ่าย z 23

ชุดเผยแพรอ่ งค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ เศรษฐกจิ พอเพยี ง : เปน็ เคร่อื งมอื รบั การเปล่ยี นแปลง เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นหลักคิด หลักปฏิบัติ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งในตัวบุคคลและชุมชน แบง่ เป็น ๔ ดา้ น คือ ๑. ดา้ นเศรษฐกิจ ๒. ดา้ นสงั คม ๓. ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ๔. ดา้ นวัฒนธรรม ๑. ด้านเศรษฐกจิ ฐานะการเงนิ / เศรษฐกิจของชมุ ชน / ใชข้ องอย่างคุ้มค่า / ประหยัด การศึกษา / สุขภาพ / ศาสนาหรือศีลธรรม ๒. ดา้ นสังคม การท�ำความสะอาด / รักษาสขุ อนามยั / กำ� จัดขยะ / ทรพั ยากรธรรมชาติ การใชภ้ าษาไทย / มารยาทไทย / ขนบธรรมเนียมประเพณี / ศลิ ปกรรม ๓. ดา้ นส่ิงแวดล้อม ๔. ดา้ นวฒั นธรรม 24 z

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั การด�ำเนินชีวติ เพ่ือให้บงั เกิดความม่ันคงยั่งยืนท้งั ต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ โดยมีแนวทางดงั น้ี ๑. ดา้ นจิตใจ มีจิตใจเขม้ แขง็ พึง่ ตนเองได้ / มจี ิตสำ� นกึ ท่ดี ี / เอือ้ อาทรประนีประนอม / นึกถงึ ผลประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ หลัก ๒. ด้านสงั คม ชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู กัน / รรู้ กั สามคั คี / สร้างความเข้มแขง็ ใหค้ รอบครัวและชมุ ชน ๓. ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ รู้จักใช้และจดั การอย่างฉลาดและรอบคอบ / เลือกใชท้ รัพยากรทมี่ ีอย่ใู หเ้ กดิ และสงิ่ แวดลอ้ ม ความยง่ั ยืนสงู สดุ ๔. ดา้ นเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม (ภูมิสังคม) / พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านเองก่อน / ก่อให้เกิด ประโยชนก์ บั คนหมมู่ าก z 25

วอย่างความสำ�เร็จ ของเศรษฐกิจพอเพียง 26 z

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ๑. การประยุกต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคการเกษตร เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ กรอบแนวคิดท่ีชี้บอกหลักการและแนวทางปฏบิ ัตขิ องทฤษฎีใหม่ หรอื เกษตรทฤษฎี ใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติของเกษตรกรรายย่อย เพ่ือให้สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และมีภูมิค้มุ กันในตวั เอง ทำ� ใหม้ ีความ่ันคงในการดำ� รงชวี ติ ทฤษฎใี หม่ นจี่ ะขยายขน้ึ ไปไดอ้ าจจะทวั่ ประเทศ แตต่ อ้ งช้าๆ เพราะว่าจะต้องสนิ้ เปลือง สิน้ เปลืองคา่ ใชจ้ า่ ยไม่ใชน่ อ้ ยๆ แตว่ ่าคอ่ ยๆ ทำ� และเมอ่ื ทำ�แลว้ กน็ กึ ว่าเป็นวิธีการอย่างหนึง่ ทจ่ี ะทำ�ใหป้ ระชาชนมีกินแบบอัตภาพ คืออาจไมร่ วยมากแตพ่ อกินไม่อดอยาก ฉะนน้ั ก็นึกว่าทฤษฎีใหม่นี้ คงมปี ระโยชนไ์ ด้ แตต่ ้องทำ�ดว้ ยความระมดั ระวัง พระราชดำ�รสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา พระราชวงั ดุสติ วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๗ z 27

ทฤษฎีใหม่ เป็นเคร่ืองมือการปฏิบัติตามแนวพระราชด�ำริปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงที่เป็นรูปธรรมท่ีเข้าใจง่ายที่สุด เป็นการบริหารจัดการที่ดิน และน�้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อเป้าหมายในการพึ่งพาตนเอง ให้มีความ พออยู่พอกินในครัวเรือน และพัฒนาไปสู่ชุมชน พร้อมกับการขยายเครือข่าย ไปในระดบั เศรษฐกจิ ของประเทศต่อไป 28 z

ระดบั บุคคลและครอบครัว เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบพน้ื ฐาน “เศรษฐกจิ พอเพียง” ระดบั ชุมชน/องค์กร เศรษฐกิจพอเพียงแบบกา้ วหนา้ ระดบั ประเทศ ทฤษฎีใหม่ขั้นท่ี ๑ ทฤษฎีใหม่ขน้ั ที่ ๒ ทฤษฎใี หมข่ น้ั ท่ี ๓ การพฒั นาเกษตรทฤษฎใี หม่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มี ๓ ขน้ั คือ ขั้นท่ี ๑ ทฤษฎีใหมข่ น้ั ตน้ พ่ึงตนเอง เปน็ เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืน้ ฐานทเ่ี นน้ ความพอเพยี งในระดับบุคคลและครอบครัว โดยเรม่ิ ตน้ จากการมุง่ แก้ปัญหาของเกษตรกรท่ีมีน�้ำไม่เพียงพอส�ำหรับการเกษตร ให้ความส�ำคัญในการจัดสรรท่ีดินการเกษตรและที่อยู่ อาศัย โดยแบง่ พ้ืนทอี่ อกเปน็ ๔ ส่วน ตามอตั ราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ คือ พ้ืนท่สี ่วนที่หนึ่งประมาณ ๓๐% ใหข้ ดุ สระ เกบ็ กกั นำ�้ เพอ่ื ใชเ้ กบ็ กกั นำ�้ ฝนในฤดฝู นและใชเ้ สรมิ การปลกู พชื ในฤดแู ลง้ ตลอดจนการเลย้ี งสตั วน์ ำ้� และพชื นำ�้ ตา่ งๆ พ้ืนที่ส่วนที่สองประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพ่ือใช้เป็นอาหารประจ�ำวันในครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี เพอ่ื ตดั ค่าใชจ้ า่ ยและสามารถพ่งึ ตนเองได้ พ้นื ที่ส่วนทสี่ ามประมาณ ๓๐% ให้ปลกู ไม้ผล ไม้ยืนตน้ พชื ผัก พชื ไร่ พืช สมนุ ไพร ฯลฯ เพอื่ ใชเ้ ปน็ อาหารประจำ� วนั หากเหลอื บรโิ ภคกน็ ำ� ไปจำ� หนา่ ย และพน้ื ทสี่ ว่ นทสี่ ปี่ ระมาณ ๑๐% ใชเ้ ปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั เลยี้ งสัตว์ และโรงเรอื นอ่นื ๆ การเกษตรทฤษฎีใหมใ่ นขัน้ น้ี จึงเปน็ การสรา้ งภูมิคมุ้ กันในระดับครอบครวั แต่เกษตรกรส่วนใหญ่อาจไม่สามารถเร่ิมต้นในข้ันตอนแรกนี้ได้ และอาจจ�ำเป็นที่หน่วยงานต่างๆ จะต้องจัดความ ช่วยเหลือเพ่ือสนับสนุนเกษตรกรในเบื้องต้นให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความพร้อมในการปฏิบัติตามแนว พระราชด�ำริเกษตรทฤษฎีใหมต่ อ่ ไป z 29

ชดุ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ 30 z ข้นั ท่ี ๒ ทฤษฎีใหมข่ ั้นกลาง พ่งึ พงิ กัน เม่ือเกษตรกรได้เร่ิมต้นปฏิบัติตามเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นต้นแล้ว มีความพอเพียง และความ มั่นคงในข้ันพื้นฐานระดับหน่ึงแล้ว ในข้ันตอนต่อมาจึงเป็นเร่ืองของการรวมกลุ่ม ช่วยเหลือเก้ือกูล กนั ระหวา่ งเพ่ือนบ้าน ชุมชน ร่วมมือในการผลติ การตลาด การขายผลผลิต การร่วมกนั ดแู ลชุมชน สวสั ดกิ าร จดั ตง้ั กองทนุ รวมไปถงึ การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาสงั คม วฒั นธรรม การสง่ เสรมิ จรยิ ธรรม และคุณธรรมอันดี เกิดความรู้รักสามัคคีขึ้นในชุมชน และร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชนให้มีความ เข้มแข็งและมัน่ คงตอ่ ไป

“เศรษฐกจิ พอเพียง” ขนั้ ที่ ๓ ทฤษฎใี หม่ข้นั ก้าวหน้า พึง่ พาอาศยั กล่มุ เกษตรกรทไี่ ด้ด�ำเนินการตามทฤษฎีใหมใ่ นขั้นกลาง จนประสบความส�ำเร็จ เบื้องต้น อาจก้าวเข้าสู่ข้ันก้าวหน้า โดยการประสานความร่วมมือกับองค์กรอ่ืนๆ ใน ระดบั ประเทศ เพอ่ื ยกระดบั การทำ� ธรุ กจิ และการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของเกษตรกร เชน่ การท�ำความร่วมมือกับธนาคาร เพื่อน�ำเงินมาลงทุนในธุรกิจ หรือการท�ำข้อตกลงกับ บรษิ ทั เพอ่ื ขายผลผลติ ใหไ้ ดใ้ นราคาสงู เพราะมกี ารรวมผลผลติ สามารถตอ่ รองราคาได้ ขณะเดยี วกนั เอกชนกไ็ ดผ้ ลผลติ ทมี่ คี ณุ ภาพในราคาทเี่ หมาะสม และสามารถจดั จำ� หนา่ ย และพัฒนาการท�ำธุรกิจไปสู่ระดับประเทศและระดับโลกต่อไป ภายใต้ภูมิคุ้มกันที่ เหมาะสมอนั จะสร้างความมั่นคงและม่งั คั่งได้ต่อไป z 31

ชุดเผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ตวั อยา่ งความสำ� เรจ็ ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ จากการน้อมน�ำแนวทางพระราชด�ำริปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้กับเกษตรกรในการท�ำการเกษตรตาม แนวพระราชด�ำริทฤษฎีใหม่ท�ำให้เกษตรกรท่ัวประเทศประสบผลส�ำเร็จ โอกาสน้ี ส�ำนักงาน กปร. จึงได้ร่วมกับหน่วยงาน ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งจดั การประกวด เพอ่ื คน้ หาตัวอย่างความสำ� เรจ็ จากการนอ้ มนำ� แนวพระราชด�ำริทฤษฎีใหมต่ ามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซงึ่ สามารถถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ นการดำ� เนนิ ชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคการเกษตรทฤษฎใี หม่ ใหแ้ ก่สาธารณชนไดน้ ำ� ไปศึกษาและเรียนร้แู นวทางท่ชี ดั เจนโดยมตี วั อยา่ ง ดังนี้ ชือ่ ทีอ่ ยู่ โทรศพั ท์ การด�ำเนินงาน ภาคเหนอื ๑) นายบญุ เปง็ จันต๊ะภา ๔๕ หมู่ ๑๑ ๐๘๙-๕๕๙-๒๑๗๑ เดิมท�ำนาอย่างเดียวมีหนี้สิน ย่ิงท�ำก็ ยิ่งจน ยิ่งมีหนี้เพ่ิมข้ึน จึงเร่ิมท�ำเกษตร บ้านห้วยกา้ งปูล้าน ผสมผสาน โดยเลี้ยงปลานิล ปลาดุก ต�ำบลไมย้ า ในนาขา้ ว เลย้ี งไก่ หมู กระบอื ปลกู พชื ผกั อำ� เภอพญาเมง็ ราย สวนครัวและไมผ้ ล จงั หวัดเชียงราย ๒) นางเปรียวจนั ทร์ ต๊ะตน้ ยาง บอ๑ตำ��ำ้า๑เบน๙ภลสอเันหเชททมยี ิงู่รง๙าเคยย่ี น ๐๘๑-๗๐๖-๙๖๘๗ ตสเสคุ�ขรำยะเภรทหา็จำ� นพเกักแเหษถยลึงต่ลพือรงเิษเเชนงภินงิ่ือเัยนงดขจ้ย่ีออาวยงกแมสกตาาาไ่กรมรเใปค่ เชมปร้สะีเ็นาลสหรยบเนหคค้ีแันมวลมาีจมะาึง จงั หวดั เชยี งราย ท�ำเกษตรแบบผสมผสานแล้วเลิกใช้ ๕๗๒๓๐ สารเคมี แม้ผลตอบแทนระยะแรกจะ น้อยแต่สบายใจเห็นได้ชัดว่าระบบนิเวศ ๓ ) นายประพันธ์ ศรีสุวรรณ ๑บตำ�า้๒บน/ลน๕บาหสา้ นมารู่ป๑นิ ในสวนดีข้ึนมา สามารถด�ำรงชีวิตได้ อ�ำเภอลอง อย่างมีความสุข จังหวัดแพร่ ๐๘๕-๒๕๒-๒๘๓๕ ใคทช�วำ้งรปาทรน�ำะสแแบลละกะราจู้วระ่าณไอม์ะใ่ทนไร�ำกคอาวะรรไเทรร�ำเียกนิอนระคู้ไทวรี่จาไมมะ่ 32 z สามารถของตนเอง มีความพร้อมที่ จะเผชิญปัญหาและเหตุการณ์หรือ ผลกระทบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ชอ่ื ทีอ่ ยู่ โทรศพั ท์ การดำ� เนนิ งาน ภาคใต้ ๑) นายสมชาย นิลอนันต์ ๑๐๑ หมู่ ๑ ๐๘๙-๕๙๒-๑๗๖๔ ใจรักงานด้านการเกษตรมาต้ังแต่อดีต ต�ำบลข้างขวา ท�ำรายได้เลี้ยงครอบครัว ไม่ต้องรับจ้าง ๒) นายพิชยั แก้วจันทร์ อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ ขายแรงงานนอกพืน้ ท่ี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๘๔๑๖๐ ๗๒/๓ หมูท่ ี่ ๑ ๐๘๑-๓๘๘-๕๑๖๑ ท�ำเกษตรทฤษฎีใหม่อย่างครบถ้วน บา้ นยโุ ป อำ� เภอเมอื ง และยึดม่ันในวิถีพอเพียง ความขยัน จงั หวดั ยะลา หม่ันเพียร พึ่งพาตนเอง มีน�้ำใจต่อ ๙๕๐๐๐ สาธารณะ ชมุ ชน และผูอ้ ื่น ภาคกลางและภาคตะวันออก ๑) นายณรงค์ บัวสี ๘ หมู่ ๑๔ ๐๘๗-๓๕๗-๖๔๔๔ การท�ำเกษตรอย่างเดียวท�ำให้ตนเอง แขวงสะพานสงู และครอบครัวประสบปัญหาขาดทุน เขตสะพานสูง เน่ืองจากบางปีผลผลิตออกมากท�ำให้ กรงุ เทพมหานคร ราคาตกต�่ำไม่คุ้มค่ากับการลงทุน จึงได้ ปรบั ปรงุ พน้ื ทใี่ นแปลงเกษตรของตนเอง ใหม้ กี ารท�ำการเกษตรหลากหลาย ๒) นายยวง เขียวนิล ๙๑/๑ หมู่ ๗ ๐๘๑-๙๒๙-๙๑๕๙ ได้ศึกษาดูงานที่วัดมงคลชัยพัฒนา บ้านราษฎรน์ ิยม และที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย คลองลากคอ้ น เดินตามแนวพระราชด�ำริโดยยึดหลัก z 33

ชดุ เผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ชอ่ื ทีอ่ ยู่ โทรศพั ท์ การดำ� เนนิ งาน ตำ� บลราษฎร์นยิ ม มัชฌิมาปฏิปทา คือการเดินทาง อำ� เภอไทรน้อย สายกลาง และหลักความไม่ประมาท จงั หวัดนนทบรุ ี พร้อมใช้หลักธรรมแห่งความส�ำเร็จ คือ ๑๑๑๕๐ อทิ ธิบาท ๔ ๓) นายปรชี า เหมกรณ์ ๕๕ หมู่ท่ี ๙ ๐๗๙-๘๘๖-๐๙๘๓ มีนาข้าว ใช้น�้ำจากระบบชลประทาน บา้ นคลองสบิ สาม และสระเก็บน้�ำ ปลูกมะพร้าวน�้ำหอม แขวงคลองสบิ สอง ปลูกพชื ผกั ๔ ชัน้ มะนาว มะยงชิด พืช เขตหนองจอก ผักสวนครัว เลี้ยงเป็ดไข่ ปลา ผลิตปุ๋ย กรุงเทพฯ ๑๐๕๓๐ ใชเ้ อง เก็บเมล็ดพนั ธไ์ุ ว้ใชเ้ องทง้ั หมด ๔) นายส�ำรอง แตงพลับ ๖๙/๑ หมู่ ๔ ๐๘๙-๐๗๖-๔๓๒๕ มีพ้ืนท่ีในการท�ำนาข้าว ปลูกข้าวโพด บา้ นหนองเขอ่ื น ปลูกมะม่วง พืชผักสวนครัว เน้นการ ตำ� บลไร่ใหมพ่ ฒั นา บริโภคในครัวเรือนก่อนน�ำขาย ท�ำปุ๋ย อ�ำเภอชะอ�ำ หมักไว้ใช้เอง ผลิตน้�ำส้มควันไม้ก�ำจัด จงั หวัดเพชรบุรี ศตั รพู ืช พอใจในสง่ิ ทต่ี นมี ใช้จ่ายต้องมี ๗๖๑๒๐ เหตุผล ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ประหยัดรู้จัก กนิ รจู้ ักใช้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๑) นางพิมพ์ โถตันคำ� ๙๓ หมู่ ๑๙ บา้ นนาขาม ๐๘๐-๗๔๘-๓๑๓๓ ครอบครวั เกดิ ภาระหนส้ี นิ และขาดความ ต�ำบลนามอ่ ง อบอุ่น พึ่งพาตนเองไม่ได้จึงตัดสินใจ อำ� เภอกุดบาก จงั หวดั ท�ำการเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อครอบครัว สกลนคร ๔๗๑๘๐ พออยู่พอกนิ 34 z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” ชอ่ื ทีอ่ ยู่ โทรศัพท์ การด�ำเนนิ งาน ๒) นายบญุ แทน เหลาสุพะ ๑๐๔ หมูท่ ี่ ๑๓ ๐๘๓-๓๔๖-๐๒๘๗ ใช้ธรรม ๔ ขอ้ คือ ท�ำงานไมเ่ กยี จคร้าน บ้านหว้ ยม่วง ประหยัดอดทน ใช้จ่ายแต่พอดี และ อดออมในรายได้ ทุกคนในครอบครัว ต�ำบลนาดินด�ำ อยู่กันอย่างปรองดอง มุ่งเน้นให้ทุกคน อ�ำเภอเมือง ประพฤตติ นเปน็ คนดี ไมเ่ บยี ดเบยี นผอู้ นื่ จงั หวดั เลย ๔๒๐๐๐ ๓) นายจันทรท์ ี ประทมุ ภา ๑๓๘ หมู่ ๖ ๐๘๙-๙๔๘-๔๗๓๗ เรมิ่ ทำ� ทฤษฎใี หม่ เมอ่ื ปี ๒๕๔๑ ในพน้ื ที่ บ้านโนนวงั ๒๒ ไร่ โดยแบง่ ทำ� แปลงปลกู ขา้ ว ๑๐ ไร่ ต�ำบลตลาดไทร ขดุ สระนำ้� ๓ บอ่ ทพี่ กั อาศยั เนอื้ ที่ ๒ ไร่ อ�ำเภอชุมพวง นอกนน้ั ปลกู พชื ผสมผสาน พง่ึ พงิ องิ ดว้ ย จงั หวดั นครราชสีมา “ระบบวนเกษตร” โดยน�ำเศรษฐกิจ ๓๐๒๗๐ พอเพียงมาใช้ในการด�ำเนินชีวิต จาก การท่ีเคยประสบภาวะหน้ีสนิ จนต้องนำ� ทรัพย์สินออกขาย และต้องไปรับจ้างที่ มาเลเซีย แต่ด้วยความอดทน และวิริย อตุ สาหะ จงึ ใชห้ นไี้ ดห้ มดและไถท่ นี่ าคนื มาได้ จากนน้ั กไ็ ดเ้ รม่ิ ทำ� การเกษตรดว้ ย กำ� ลงั ของตนเอง ดำ� รงตนอยา่ งสมถะ ไม่ โลภมาก โดยใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีอย่าง หลากหลาย มกี ารวางแผนการปลกู พชื ให้ มกี นิ ตลอดปี รวมทง้ั ปลกู ผกั “ทกุ อยา่ งที่ เขาซื้อกิน” และน�ำออกขาย ท�ำให้ มรี ายไดท้ กุ วนั z 35

ชุดเผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ตวั อยา่ งความส�ำเร็จด้านกล่มุ เกษตรทฤษฎใี หม่ นอกจากเกษตรกรที่ด�ำเนินชีวิตตามแนวพระราชด�ำริทฤษฎีใหม่ในระดับบุคคล เรียกว่า ทฤษฎีใหม่ขั้นท่ี ๑ หรือ ขั้นแรก แล้วได้รวมกลุม่ กนั ดำ� เนนิ ตามพระราชดำ� รทิ ฤษฎใี หม่ข้นั ท่ี ๒ หรือข้นั กลาง ซึง่ มีตัวอยา่ งความสำ� เร็จทจ่ี ะน�ำมาเปน็ ตัวอยา่ ง ดงั น้ี ชอื่ ทีอ่ ยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนนิ งาน ภาคเหนือ ๑) กลมุ่ เกษตรทำ� สวนบา้ นถำ�้ ๒๖๒ หมทู่ ี่ ๕ ประธานกลมุ่ รวมกลุ่มเพ่ือผลิตปุ๋ยอินทรีย์/ข้าวกล้อง นายอนิ ทวน เครอื บญุ อินทรีย์ ปล่อยสินเชื่อให้สมาชิกกู้ยืม ตำ� บลบา้ นถำ้� ๐๘๑-๐๒๓-๘๓๕๐ ช่วยเหลือสมาชิกให้มีความเป็นอยู่ที่ดี อำ� เภอดอกคำ� ใต้ จงั หวดั พะเยา ขนึ้ พงึ่ ตนเองได้ ๕๖๑๒๐ ประธานกลมุ่ มีการจัดต้ังโรงเรียนชาวนา เพ่ือช่วย ๒) กลมุ่ ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยปราชญ์ ๕๙ หมทู่ ี่ ๗ นางพรรณพมิ ลปนั คำ� เพม่ิ พนู ทกั ษะการสรา้ งและพฒั นาความ ชาวบ้านเกษตรย่ังยืน ตำ� บลศรเี มอื งชมุ ๐๘๑-๐๒๕-๕๕๙๘ รแู้ กเ่ กษตรกร มกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทำ� นา อำ� เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ไร้สารพิษ การท�ำจุลินทรีย์เพื่อป้องกัน ๕๗๑๓๐ และก�ำจัดเช้ือราในดิน การท�ำสารสกัด สมนุ ไพร ภาคกลางและภาคตะวันออก ๑) กลุ่มผลิตภัณฑ์ข้าวฯ ๑๙/๔ หมทู่ ี่ ๕ ประธานกลมุ่ ท�ำนาข้าว สวนผลไม้ ผักสวนครัว ใช้ บ้านไทรใหญ่ ถนนเลยี บคลองขนุ ศรี นายสมชาย นกรอด จากระบบชลประทาน โดยใช้ระบบ ตำ� บลไทรใหญ่ ๐๘๖-๓๑๙-๗๕๘๔ หมุนเวียนจากบ่อปลาสู่ท้องนาและ 36 z อำ� เภอไทรนอ้ ย ร่องสวน ท�ำปุ๋ยน้�ำชีวภาพโดยใช้เศษ จงั หวดั นนทบรุ ี เหลือจากผลไม้ ผัก ในสวนเพื่อฉีดพ่น ๑๑๑๕๐

“เศรษฐกิจพอเพียง” ชือ่ ท่อี ยู่ โทรศพั ท์ การดำ� เนนิ งาน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ๑) กลุ่มเกษตรกรรมยง่ั ยืน ๔๓ หมทู่ ี่ ๒ ประธานกลมุ่ มีการรวมกันขายผลผลิตต่อสมาชิก จัด บา้ นดอนแดง นายคำ� พนั ธ์ุ เหลา่ วงษี ตลาดนดั จำ� หนา่ ยผลผลติ ของกลมุ่ มกี าร ตำ� บลศรสี ขุ ๐๘๙-๖๑๘-๔๐๗๕ ระดมหุ้นสัจจะสมาชิกเงินออม การท�ำ อำ� เภอกนั ทรวชิ ยั แปลงเกษตรทฤษฎใี หมข่ องสมาชกิ กลมุ่ จังหวัดมหาสารคาม จะปฏิบัติตามรูปแบบที่กลุ่มก�ำหนด ๔๔๑๕๐ จัดพ้ืนที่แปลงเกษตรให้เหมาะสมกับ พ้ืนที่ มีความหลากหลายทางชวี ภาพ ๒) กลุม่ ขา้ วคุณคา่ ๘๐ หมทู่ ี่ ๘ ประธานกลมุ่ มกี ารบรหิ ารกลุ่มทช่ี ัดเจน สมาชิกท่ีเขา้ ชาวนาคุณธรรม ตำ� บลกระจาย นายวจิ ติ ร บญุ สงู ร่วมโครงการต้องยึดหลักการพ่ึงตนเอง อำ� เภอปา่ ตวิ้ ๐๔๕-๗๙๕-๐๔๘ มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วม จงั หวดั ยโสธร ๓๕๑๕๐ กนั ต้องยึดม่นั ในหลกั ของศลี ๕ ตอ้ งมี ความรู้กระบวนการจัดการหลังการ เก็บเก่ียวเพื่อรักษาคุณภาพข้าวให้ได้ ตามมาตรฐาน z 37

ชดุ เผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ๒. การประยกุ ตใ์ ช้เศรษฐกจิ พอเพยี งในภาคประชาชนทัวไป คำ�วา่ พอเพยี งมคี วามหมายอีกอยา่ งหน่งึ มคี วามหมายกวา้ งออกไปอีก ไมไ่ ด้หมายถงึ การมพี อสำ�หรบั ใช้เองเทา่ นั้น แตม่ คี วามหมายว่าพอมีพอกนิ พอมีพอกินนีถ้ ้าใครไดม้ าอยูท่ ี่นี่ ในศาลาน้ี เมือ่ เทา่ ไหร่ ๒๐ - ๒๔ ปี เมือ่ ปี ๒๕๑๗ ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑ นี้ ก็ ๒๔ ปี ใชไ่ หม วนั นั้นไดพ้ ดู วา่ เราควรจะปฏิบัติให้พอมพี อกิน พอมพี อกินนี้กแ็ ปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงน่ันเอง ถา้ แตล่ ะคนพอมพี อกินก็ใชไ้ ด้ ย่งิ ถ้าท้งั ประเทศพอมีพอกินก็ยิง่ ด.ี ..ใหพ้ อเพียงน้ีกห็ มายความว่า มีกินมีอยู่ ไมฟ่ มุ่ เฟือย ไม่หรหู รากไ็ ด้ แต่วา่ พอ แมบ้ างอย่างอาจดฟู มุ่ เฟอื ยแตถ่ า้ ทำ�ใหม้ คี วามสขุ ถ้าทำ�ไดก้ ็สมควรที่จะทำ� สมควรท่จี ะปฏิบตั ิ อนั น้ีก็ความหมายอกี อยา่ ง ของเศรษฐกจิ หรือระบบพอเพียง... พระราชดำ�รสั เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจิตรลดา พระราชวังดสุ ิต เมอื่ วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ 38 z

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับประชาชน คือ บุคคลที่มีความประพฤติดี มีคุณธรรม และด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยใชห้ ลักการพง่ึ ตนเอง ๕ ประการ ดงั นี้ ๑. ดา้ นจติ ใจ ทำ� ตนเองใหเ้ ปน็ ทพี่ ง่ึ ของตนเองมจี ติ ใจทเ่ี ขม้ แขง็ มจี ติ สำ� นกึ ทดี่ ี มจี ติ ใจเออ้ื อาทร ประนปี ระนอม ซ่อื สัตยส์ ุจริต เปน็ ประโยชน์สว่ นรวมเปน็ ท่ีตัง้ ๒. ด้านสงั คม ต้องชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู กนั เชื่อมโยงกนั เป็นเครอื่ ขา่ ยชมุ ชนทีแ่ ข็งแรง เปน็ อสิ ระ ๓. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาดพร้อมท้ังการเพ่ิมมูลค่า โดยให้ ยึดหลักการของความยง่ั ยืนและเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ๔. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีท่ีเข้ามาใหม่มีท้ังดีและไม่ดี ต้องแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้าน เลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับความต้องการของสภาพแวดล้อม ภมู ปิ ระเทศ สังคมไทย และควรพฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ิปัญญาของเราเอง ๕. ดา้ นเศรษฐกจิ แตเ่ ดมิ นกั พฒั นามกั มงุ่ ทกี่ ารเพม่ิ รายได้ และไมม่ กี ารมงุ่ ทกี่ ารลดรายจา่ ย ในเวลาเชน่ นจี้ ะ ตอ้ งปรบั ทศิ ทางใหม่ คอื จะตอ้ งมงุ่ ลดรายจา่ ยกอ่ นเปน็ สำ� คญั และยดึ หลกั พออยพู่ อกนิ พอใช้ และสามารถอยไู่ ดด้ ว้ ย ตนเองในระดับเบอื้ งตน้ z 39

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ตัวอย่างความสำ� เร็จดา้ นประชาชนทัว่ ไป การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับประชาชน มีประชาชนจากทั่วประเทศสามารถประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติจนกระทั่งท�ำให้ตนเองมีชีวิตที่ม่ันคง มีครอบครัวอบอุ่น ซ่ึงมีตัวอย่าง ประชาชนทด่ี �ำเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ชอ่ื ที่อยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนินงาน ภาคเหนือ ๑ ) นายสมมาตร บญุ ฤทธ์ิ ๗๖ หมู่ ๘ บา้ นศรวี ไิ ล ๐๘๖-๒๐๗-๑๒๘๕ กทกเกมคปศรรวีรรั้งาระอะาะภรษทมบบจาดฐพบำ�บแยก�ใำใอหใภจจิดเนป่งูมแพๆนคแรลิคอินอวละะุ้มเานมัพะกชกมเาภยีาีันกวรณรงาิดิู้คทตปยคจู่กี่ดตฏนคอืาาี บิวากอรใสากตัมนเกงิ่ปมาิกทปม็นรซาช่ี เรีเผร่ึปงนห้ีัชู้มปตลำ�ตีค้ญ้ออยห่ีุผุณงนงลลากอแกัธขันาปรขกศอผรอลามัลยรงงง ถนนก�ำแพงเพชร- พจิ ติ ร ตำ� บลมหาชัย อำ� เภอไทรงาม จังหวัดกำ� แพงเพชร ๒) นายสพุ จน์ โคมณี ๓๓ หม่ทู ี่ ๕ ๐๘๑-๐๔๑-๐๙๑๑ เดิมท�ำการเกษตรเชิงเดี่ยวและท�ำ บา้ นหนองข่อย ปริมาณมาก ท�ำให้มีปัญหาท้ังการผลิต ต�ำบลหนองกระเจา การตลาด และภัยธรรมชาติ เป็นผล 40 z อ�ำเภอชมุ แสง ให้เกิดหนี้สินจึงได้เร่ิมหันมาด�ำเนิน จังหวัดนครสวรรค์ ชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ ๖๐๑๒๐ พอเพยี ง จากการทไ่ี ดเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม “โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่” และได้ เปล่ียนความคิดท�ำเกษตรเพื่อขายมา เป็นเพ่อื พออยพู่ อกิน หากเหลือค่อยน�ำ ไปขาย ไมค่ ดิ แขง่ กบั ใคร ทำ� ไปตามกำ� ลงั ของตนเองบนความพอใจ และใหต้ นเอง มคี วามสขุ

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” ชื่อ ที่อยู่ โทรศพั ท์ การดำ� เนินงาน ๓) นายผล มศี รี ๑๓๐ หมทู่ ่ี ๖ ตำ� บลภซู าง ๐๕๔-๔๖๕-๓๙๑ ด�ำเนินงานเกษตรผสมผสาน มีแนวคิด อำ� เภอภซู าง ๐๘๑-๑๗๔-๙๙๒๘ ว่าถ้าท�ำมากก็ลงทุนมาก ผลผลิตแม้จะ ภาคใต้ จงั หวดั พะเยา ๑) นายสมพงษ์ พรผล ๕๖๐๐๐ ได้มากแต่เงินทุนก็จะสูง ดังน้ัน มุ่งขาย ตลาดท้องถิ่นในหมู่บ้าน ท�ำให้ไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งและการผลิต วางแผนการผลิตตามความต้องการของ ตลาดในท้องถิน่ ๕๕/๑ ๐๘๙-๕๙๓-๘๑๙๓ มีครอบครัวท่ีอบอุ่น สร้างฐานะจาก หมทู่ ่ี ๒ บา้ นทา่ อยู่ ๐๘๙-๑๒๓-๑๕๘๙ ความยากจน ประพฤติปฏิบัติตามแนว อำ� เภอตะกว่ั ทงุ่ จงั หวดั พงั งา ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยน�ำ ๘๒๑๓๐ หลกั ธรรมของมชั ฌมิ าปฏปิ ทา (ทางสาย กลาง) มาปรับใช้ในการดำ� เนนิ ชวี ิตและ ครอบครวั ไดอ้ ยา่ งลกึ ซงึ้ เสยี สละใหพ้ น้ื ที่ ทำ� กนิ จดั ตงั้ โรงงานผลติ ยางแผน่ คณุ ภาพ ดี ชั้น ๑ พร้อมกับเป็นสถานที่ประมูล ราคายางแผ่นของชุมชน และเป็นศูนย์ เรยี นรขู้ องชมุ ชนในพนื้ ทีข่ องตนเอง z 41

ชุดเผยแพร่องคค์ วามรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ชอ่ื ที่อยู่ โทรศัพท์ การด�ำเนนิ งาน ภาคกลางและภาคตะวันออก ๑) นายวิชัย สวุ รรณไตร ๕๗ หมู่ ๘ ๐๙๔-๘๖๑-๙๒๐๕ กินทุกอย่างท่ีปลูก ปลูกทุกอย่างท่ีกิน บา้ นหลมุ มะขาม ท�ำเท่าท่ีท�ำได้ น�ำหลักการ ๕ รู้ คือ ต�ำบลหนองไมแ้ กน่ รตู้ นเอง รปู้ ญั หา รทู้ รพั ยากร รกู้ ารจดั การ อำ� เภอแปลงยาว รู้การวางแผนชีวิต มาวิเคราะห์อดีต จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ของตนเอง ได้เห็นสภาพการประกอบ อาชีพของตนเอง ดังน้ัน จึงเลิกท�ำไร่ ๒) นายประมาณ ประสงคส์ นั ติ ๖๑/๑๐ หมทู่ ่ี ๖ มนั สำ� ปะหลงั อยา่ งเดด็ ขาด หนั มาปลกู ปา่ ต�ำบลชะแล น�ำผลผลิตในป่ามาเป็นอาหาร และ ยารกั ษาโรคเมอ่ื เหลอื จงึ นำ� ออกขายนำ� มา อ�ำเภอทองผาภูมิ จัดต้ังธนาคารชุมชน หันมาใช้ชีวิตแบบ จังหวดั กาญจนบุรี พ่ึงตนเอง ๗๑๑๘๐ ๐๘๗-๙๐๓-๐๙๑๒ เร่ิมท�ำการเกษตรเพื่อท่ีจะได้ผลผลิต มากๆ จึงใช้สารเคมีเต็มท่ีเพ่ือวัดผลผลิต ท�ำให้ประสบกับปัญหาย่ิงท�ำยิ่งเป็นหนี้ จึงได้เลิกและหันมายึดแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง ท�ำให้ตนเองมีความภาคภูมิใจ ในการประกอบอาชีพมากขึ้น เน้นการ เพาะปลกู อยา่ งพอเพยี ง มรี ายไดเ้ พยี งพอ กบั ครอบครวั ก็พอแลว้ 42 z

“เศรษฐกจิ พอเพียง” ช่อื ทีอ่ ยู่ โทรศัพท์ การด�ำเนินงาน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๑) นายแสนหมนั้ อินทรไชย ๒๗ หมู่ ๑ ๐๘๖-๑๖๗-๘๕๒๔ การด�ำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ บ้านถ่อนนาลบั พอเพียง คือการใช้ชีวิตแบบพอมีพอกิน ไมส่ ร้างความเดอื ดร้อนให้คนอน่ื มคี วาม ต�ำบลถ่อนนาลับ สุขกับชวี ิตท่ีเปน็ อยู่ มนี ้อยใช้น้อย มมี าก อำ� เภอบา้ นดงุ ใช้น้อย รู้จักแบ่งปันให้คนอ่ืน ใช้ชีวิต จังหวัดอุดรธานี ไม่ประมาท รอบคอบ รู้จักเก็บออม มี คณุ ธรรมในการใชช้ ีวิต มเี หตุผลมีปญั ญา ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เมื่อเรา พอเพียงแล้ว สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ ท�ำวันน้ีให้ดีที่สุด ต้ังม่ันในการงานท่ี ก�ำลังทำ� ไม่วา่ จะเกิดอะไรขึ้น ๒) นายสุนัน เผา้ หอม ๑๒๒ หมู่ ๕ บ้านหม้อ ๐๘๐-๑๘๖-๘๖๑๗ ท�ำนาและท�ำสวนผักปลอดภัยจากสาร ตำ� บลคูคำ� พษิ ดำ� รงชพี อยา่ งไมป่ ระมาท รจู้ กั พฒั นา อำ� เภอซำ� สงู ตนเอง จากการสังเกต เรียนรู้ พัฒนา จังหวัดขอนแก่น ความรไู้ ปเรอ่ื ยๆ พฒั นาอาชพี เดมิ ตอ่ ยอด ๔๐๑๗๐ สู่อาชพี ใหม่ ๓) นายทวี ประหา ๑๑๕ หมู่ท่ี ๑๖ ๐๘๐-๐๕๙-๓๒๔๓ เร่ิมบุกเบิกพ้ืนท่ีในพื้นที่โครงการพัฒนา บ้านสขุ สวัสดิ์ พื้นที่ลุ่มน�้ำห้วยบางทรายตอนบน ท�ำ ตำ� บลกกตูม เกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเน้น “ให้คนปลูก อำ� เภอดงหลวง ทุกอย่างท่ีกินได้ และรักลูกให้ปลูกผัก” จงั หวดั มกุ ดาหาร เป็นผู้รู้และเข้าใจตนเอง ไม่ผลิตอะไรใน ๔๙๑๔๐ ปริมาณท่ีมากเกินไป ใช้จ่ายเท่าที่จ�ำเป็น ใช้สง่ิ รอบตวั ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ z 43

ชดุ เผยแพรอ่ งค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ๓. การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งในระดับชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพยี งนั้น เขาตคี วามวา่ เปน็ เศรษฐกจิ ชุมชน หมายความว่าให้พอเพยี งในหมู่บ้านหรอื ในท้องถิ่น ให้สามารถทจ่ี ะมีพอกนิ เริ่มดว้ ยพอมพี อกนิ พอมีพอกินนไี้ ดพ้ ดู มาหลายปี สิบกว่าปีมาแลว้ ให้พอมีพอกิน แตว่ า่ พอมพี อกนิ น้เี ปน็ เพยี งเริ่มต้นของเศรษฐกจิ เมื่อปที ี่แลว้ บอกว่า ถ้าพอมีพอกิน คือพอมพี อกินของตวั เองน้ัน ไม่ใชเ่ ศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกจิ สมัยหิน สมยั หนิ น้นั เป็นเศรษฐกจิ พอเพียงเหมอื นกนั แต่วา่ ค่อยๆ พฒั นาขนึ้ มา 44 z พระราชดำ�รัสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั ที่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี งในชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง สรปุ ได้ดังน้ี ความพอประมาณ - การวิเคราะหถ์ ึงศกั ยภาพของชมุ ชน ปฏบิ ตั ิตามหลักการพึง่ ตนเอง - ใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยู่ภายในชมุ ชนมาใช้ในการพัฒนาชุมชน ความมีเหตผุ ล มีภมู ิคมุ้ กนั - รว่ มกนั ศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพเศรษฐกจิ และ - มกี ารจดั เตรียมความพร้อมรับผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลงต่างๆ สงั คมดว้ ยความรู้ความเข้าใจ - มกี ารรวมกลุ่มจดั ตั้งองค์กรชว่ ยเหลอื คน - มกี ารวางแผน รจู้ กั แยกแยะปญั หา อปุ สรรค ในชมุ ชนยามเดอื ดรอ้ น และค�ำนงึ ถงึ ผลทีจ่ ะเกดิ ข้ึนจากการกระท�ำ ความรู้ คุณธรรม - นำ� หลกั วิชาการตา่ งๆ มาใชใ้ นการดำ� เนนิ - มกี ารใหค้ วามรว่ มมอื และชว่ ยเหลอื กนั ใน กิจกรรมของชมุ ชน ชมุ ชน - มผี นู้ ำ� ชมุ ชนท่เี ข้มแข็ง มกี ารพัฒนาความรู้ - ทุกคนในชุมชนยดึ หลกั ปฏิบัตทิ ่ีกำ� หนด ตา่ งๆ และน�ำมาถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน รว่ มกนั อย่างเครง่ ครัด ไดเ้ รียนรรู้ ว่ มกัน z 45

ชุดเผยแพร่องค์ความรู้ ตามแนวพระราชดำ�ริ ตวั อย่างความสำ� เร็จระดบั ชุมชน ในกลมุ่ ของประชาชนหรอื ชมุ ชนทมี่ กี ารประกอบอาชพี ทห่ี ลากหลายและสามารถนอ้ มนำ� แนวพระราชดำ� รไิ ป ประยกุ ต์ใชต้ ามหลกั ๓ ห่วง ๒ เง่อื นไข จนท�ำใหช้ ุมชนมีความเขม้ แข้ง ช่วยเหลอื เก้ือกูลกัน รู้รักสามคั คี เป็นตัวอยา่ ง ทสี่ ามารถเข้ามาเรียนรู้และน�ำไปปรับใช้ได้ ซ่งึ มีอยทู่ ั่วประเทศ ดงั นี้ ชือ่ ทอ่ี ยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนินงาน ภาคเหนอื ๔ บ้านดอกบัว ตำ� บลบา้ นตุ่น นายบาล บุญก�ำ้ ในอดีตชาวบ้านเน้นการท�ำการเกษตรพืช ๑) ชมุ ชนบา้ นดอกบวั อำ� เภอเมือง ผู้น�ำชมุ ชน เชิงเด่ียวและล่ืนไหลไปตามกระแสบริโภค จังหวดั พะเยา ๕๖๐๐๐ ๐๕๔-๔๒๓๐๔๐ นิยม ท�ำให้ประสบกับความยากจน เจ็บ ๐๘๙-๕๖๐-๐๔๒๕ โง่ คือไม่รจู้ กั ตนเอง ต่อมาชมุ ชนไดเ้ ริ่มแก้ ปัญหาด้วยการต้ังกลุ่มจักสานเข่งและสุ่ม ไก่ จากวัสดทุ ม่ี ีมากในทอ้ งถิ่นคือ ไม้ไผร่ วก ซ่ึงแต่เดิมขายเป็นล�ำต่างคนต่างขาย จน กระทง่ั ไดม้ กี ารรวมกลมุ่ มกี ารวางระบบการ ผลิตและการขายข้ึนใหม่ มีการหลอมรวม ความคิดชาวบ้านให้ขายเข่งและสุ่มไก่ผ่าน กลุ่ม โดยจัดการระบบแบ่งผลประโยชน์ และกฎระเบียบท่ีเหมาะสม และติดต่อ ผูค้ า้ มาซ้อื ทบี่ า้ นดอกบัวโดยตรง 46 z

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” ชือ่ ที่อยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนินงาน ภาคใต้ บา้ นบางโรง หมทู่ ี่ ๓ ๑) ชมุ ชนบ้านบางโรง ตำ� บลปา่ คลอก นายจรี ศกั ดิ์ ทอ่ ทพิ ย์ พัฒนาชุมชนโดยน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจ อำ� เภอถลาง ผนู้ ำ� ชมุ ชน พอเพียงมาเป็นแนวทางในการด�ำเนินการ จงั หวดั ภเู กต็ ๘๓๑๑๐ ๐๗๖-๒๖๐-๐๙๐ ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตท่ีเกิดจาก ๐๘๑-๘๙๒-๙๒๐๔ มสั ยดิ และรว่ มกนั จดั ตง้ั กองทนุ ปลดเปลอ้ื ง หนสี้ นิ จนสามารถปลดเปลอื้ งหนสี้ นิ และ ซื้อที่ดินจากนายทุนกลับคืนให้สมาชิก ในชุมชนได้มีความเปน็ อยู่ทดี่ ขี นึ้ ภาคกลางและภาคตะวนั ออก ๑) ชุมชนบางรักน้อย หมทู่ ่ี ๓ นายสุชาติ ชุมชนมีการผสมผสานทางวัฒนธรรม บา้ นบางรกั นอ้ ย แก้วประดษิ ฐ์ ระหว่างชุมชนใหม่และชุมชนด้ังเดิม ทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี มกี ารรวมกลมุ่ ตำ� บลบางรกั นอ้ ย ผู้นำ� ชมุ ชน กนั อยา่ งสมำ�่ เสมอและตอ่ เนอื่ ง สง่ ผลให้ อำ� เภอเมอื งนนทบรุ ี ๐๒-๙๒๑-๗๖๘๑ ชุมชนเกิดกิจกรรมที่เด่น กลุ่มวิสาหกิจ จงั หวดั นนทบรุ ี ๐๘๑-๓๑๖-๐๘๐๕ ชุมชนแปรรูปกล้วยน้�ำว้าส่งจ�ำหน่าย ๑๑๐๐๐ ทั้งในและต่างประเทศ ท�ำให้ชุมชนมี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีพอเพียง เก้ือกูล และสามคั คีอย่างยง่ั ยืน z 47

ชุดเผยแพรอ่ งค์ความรู้ ตามแนวพระราชด�ำ ริ ช่ือ ทอ่ี ยู่ โทรศัพท์ การดำ� เนนิ งาน ๒) ชุมชนเพชราวุธพัน ๒ กองพันทหารราบ รอ้ ยโท ทนงศกั ด์ิ เป็นชุมชนในเขตเมือง ท่ีอยู่ภายใต้ ที่ ๒ ใจดี การด�ำเนินการของทหาร แต่หลังจาก กรมทหารราบท่ี ๑๑ ผปู้ ระสานงาน น้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ รกั ษาพระองค์ ๐๒-๕๒๑-๑๑๙๐ พอเพยี งมาใชก้ บั ชมุ ชน ไดม้ กี ารรวมกลมุ่ ๒/๖๖๑ ๐๘๔-๕๓๐๐๘๔๑ กันอย่างหลากหลาย เช่น ขายต้นไม้ ถนนพหลโยธนิ อาชีพเสริม กลุ่มออมทรัพย์ สมาชิกใน แขวงอนสุ าวรยี ์ ชมุ ชนมคี วามสามคั คี รักใครก่ ลมเกลยี ว เขตบางเขน กัน ท�ำให้คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน กรงุ เทพฯ ๑๐๒๒๐ มีความเป็นอยูท่ ่ดี ีขึน้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๑) ชุมชนบ้านทา่ เรอื ๒๒๔ หมทู่ ่ี ๒ นายประหยดั ชุมชนสามารถผสมผสานความเป็นอยู่ บา้ นทา่ เรอื ชยั บนิ ด้ังเดิมได้ พร้อมกับรับการพัฒนาที่ทัน ตำ� บลทา่ เรอื สมยั มกี ารวางแผนการจดั การทรพั ยากร อำ� เภอนาหวา้ ผนู้ ำ� ชมุ ชน ในท้องถิ่น สภาพป่าชุมชนมีความอุดม จงั หวดั นครพนม ๐๘๑-๙๗๕-๓๓๗๘ สมบูรณ์ สืบสานภูมิปัญญาท้องถ่ิน คือ ๔๘๑๘๐ เครื่องดนตรีพื้นเมือง พิณ แคน โหวด และโปงลาง การทอผ้าไหมชั้นดีเย่ียม ซึ่งเป็นความงดงามทางวัฒนธรรมสู่การ พัฒนาเปน็ อาชีพเสริมทีย่ ัง่ ยนื 48 z

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” ๔. การประยกุ ตใ์ ช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาครัฐ ในเมืองไทยนถ้ี า้ ทำ�กจิ การ หมายความวา่ ปกครองหรือดำ�เนินกิจการ ท้งั ในดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ ทงั้ ในดา้ นธรุ กิจ ในด้านอาชพี มที ุจริตเมืองไทยพัง ของเราเมืองไทยทีย่ งั ไม่พังแท้ ก็เพราะวา่ เมืองไทยนี้นบั ว่าแขง็ มาก แต่ว่าเดี๋ยวน้ถี ้าหากวา่ ทำ�ไม่ระวงั เขน็ ใหพ้ ัง มันก็เหมอื นบา้ นที่กำ�ลังคลอน อะไรสน่ั นดิ เดียวกถ็ ลม่ เมอ่ื ถล่มแล้วกจ็ ะแย่... เม่ือทำ�อย่างนนั้ คือโครงการมันไมด่ ี เห็นมา มากแลว้ วา่ ระหว่างหนว่ ยราชการ เช่น กรมทาง กรมชลประทาน กรมปา่ ไม้ เป็นต้น ไม่ไดส้ อดคลอ้ งกัน โครงการไม่ทำ�ให้สอดคลอ้ งกเ็ กิดเรื่องแก้ไข กแ็ กไ้ ขได้ ไม่สู้ยากนกั แตจ่ ะต้องไม่มีทฐิ ิจะต้องร่วมกนั แตถ่ ้ามีทจุ รติ มาเพมิ่ ในกิจการเหลา่ น้ีแลว้ มันก็ทำ�ใหร้ ้ายแรงขึน้ เป็น ๒ - ๓ เท่า พระราชดำ�รัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา พระราชวังดสุ ิต เมอ่ื วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ z 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook