Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือตัวอย่างความสำเร็จการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คู่มือตัวอย่างความสำเร็จการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Published by Library13001, 2020-05-19 01:37:41

Description: เศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ ศึกษาเรียนรูความสําเร็จ สํานักงาน กปร. เพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก จึงพิจารณาเห็นสมควรให กลุมศูนยเครือขาย พระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) รวมกับมูลนิธิ ปราชญชาวบานเกษตรยั่งยืนตําบลศรีเมืองชุม ชยั พฒั นา สาํ นกั งบประมาณ กระทรวงมหาดไทย เปน ศนู ยเ รยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยในเบอ้ื งตน กองทัพไทย และมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนา สาํ นกั งาน กปร. ไดจ ดั พมิ พหนงั สอื คูมือตวั อยา ง ประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดจัด ความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใ ชป รชั ญาของเศรษฐกจิ ใหมีการประกวดผลงานตามปรัชญาของ พอเพยี ง ประเภทกลมุ เกษตรทฤษฎใี หม เพอ่ื เปน เศรษฐกจิ พอเพยี ง คร้ังที่ 2 โดยมวี ตั ถุประสงค คูมือใหกับชุมชนและผูท่ีสนใจไดเขาใจและมอง เพื่อเผยแพรตัวอยางความสําเร็จของบุคคล เห็นภาพการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ ชุมชน และองคก รภาครัฐและธุรกจิ ท่ไี ดน อมนาํ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชใ นการสรา งชมุ ชนเขม็ แขง็ เอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ช เกดิ ความสามคั คี เปน อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั เหมอื น ในการดําเนินชีวิต การพัฒนาชุมชน และ กลมุ ศนู ยเ ครอื ขา ยปราชญช าวบา นเกษตรยงั่ ยนื การบรหิ ารจดั การองคก ร จนประสบความสาํ เรจ็ ตําบลศรีเมืองชมุ และเปน แบบอยางทีด่ ีแกส ังคม สดุ ทา ยนี้ สาํ นักงาน กปร. ขอขอบคณุ จากการประกวดผลงานฯ ท่ีผานมา กลมุ ศนู ยเ ครอื ขา ยปราชญช าวบา นเกษตรยงั่ ยนื กลมุ ศนู ยเ ครอื ขา ยปราชญช าวบา นเกษตรยงั่ ยนื ตาํ บลศรเี มอื งชมุ เปน อยา งยง่ิ ทใี่ หค วามอนเุ คราะห ตําบลศรีเมืองชุม ไดรับรางวัลรองชนะเลิศ ขอมูลและรูปภาพในการจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โดยหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือคูมือตัวอยาง สยามบรมราชกุมารี ประเภทกลุมเกษตร ความสําเร็จฯ เลมนี้ จะเปนแนวทางในการ ทฤษฎีใหม ซ่ึงเหมาะสมที่จะเปนตัวอยางใหแก ดาํ เนนิ ชวี ติ และดาํ รงตนใหเ ปน ประโยชนต อ การ ชุมชนอื่นๆ รวมทั้งบุคคลท่ัวไปที่สนใจเขามา พัฒนาชุมชนใหเ ข็มแข็งตอไป สํานักงาน กปร. ประเภท กลุม เกษตรทฤษฎีใหม : กลุม ศูนยเครอื ขายปราชญช าวบา นเกษตรยัง่ ยนื ตําบลศรีเมอื งชุม 1

กลุมศนู ยเ ครือขา ยปราชญช าวบานเกษตรย่งั ยืน ตาํ บลศรีเมืองชมุ เลขท่ี 59 หมูท่ี 7 ตําบลศรเี มืองชมุ อําเภอแมส าย จังหวัดเชียงราย ประเภทกลุมเกษตรกรทฤษฎีใหม จุดเรมิ่ ตนของความสาํ เร็จ ศูนยปราชญชาวบานเกษตรย่ังยืน เกษตรกรตอ งประสบปญ หาความยากจนตลอดจน ตาํ บลศรเี มอื งชมุ ไดก อ ตงั้ เมอ่ื 21 ธ.ค. 2545 โดย ความเส่ือมโทรมของสภาพชีวิต และสภาพ แวดลอม โดยมีสาเหตุมาจากการปลูกพืชเคมี มนี างพรรณพิมล ปน คาํ เปน ประธานกลมุ ซงึ่ มี เชงิ เดยี วอยา งเขม ขน เกษตรกรจงึ ตกอยใู นภาวะ ตอ งพึ่งพาปจจัยภายนอกมากกวา การพึ่งตนเอง เปาหมายสําคัญในการสรางความเขาใจและ แกไ ขปญ หาของตวั เองและสมาชกิ เพราะทผี่ า นมา 2 คมู ือตวั อยางความสําเร็จ การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ไมวาจะเปนปจจัยการผลิต การตลาด โดยที่ เพื่อกิน เหลือกินแลวขาย และแปรรูป ซึ่งเนน เกษตรกรเปนเพียงผูผลิต ไมไดกําหนดราคา การทําเกษตรแบบสมัยกอนท่ีไมพึ่งพาสารเคมี ปจจัยและราคาขายผลผลิต จนนําไปสูการเปน และใชก ระบอื เปนแรงงานในการไถนา และเปน หนสี้ นิ พอกพนู และทรพั ยากรธรรมชาตติ ลอดจน แรงขบั เคล่อื นเพือ่ ความหลากหลายในไรน า ลด ระบบนิเวศนถกู ทําลาย กลุมเกษตรย่ังยนื ตาํ บล การพึง่ พาปจจยั ภายนอก นาํ วตั ถดุ ิบในพื้นทม่ี า ศรเี มอื งชมุ จงึ ไดม กี ารระดมปญ หาและวเิ คราะห ใชใ หเ กดิ ประโยชน และพง่ึ พาตนเองใหม ากทสี่ ดุ ปญ หารว มกนั เพอ่ื ใหร แู นวทางแกไ ขปญ หาและ หลังจากที่เร่ิมพัฒนากลุมของตนใหเห็นเปน หาหนทางออกของตวั เองโดยการจดั ทาํ แผนรองรบั รูปธรรมจึงเกิดแนวคิดใหเกิดการเรียนรูแบบ การแกไ ขปญ หาของตวั เองในอนาคตของสมาชกิ ปฏิบัติจริงในแปลงนาเพ่ือกอใหเกิดความย่ังยืน โดยยดึ แนวพระราชดาํ รหิ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ โดยเรมิ่ ตงั้ แตก ารเตรยี มดนิ การปรบั ปรงุ บาํ รงุ ดนิ พอเพยี ง ซง่ึ ไดม กี ารผลติ ตามรปู แบบเกษตรกรรม การศกึ ษาระบบนเิ วศน การกาํ จดั แมลงอยา งสมดลุ ย่ังยืน แบบครบจงจร ท้ังการผลิต การแปรรูป การลดตนทุนดวยการฝกปฏิบัติทําปุยหมักจาก และการตลาด ลดเลกิ การใชส ารเคมที กุ ขัน้ ตอน จุลินทรีย ปุยน้ําหมักฮอรโมน ปุยหมักแหง ทําการเกษตรท่ีคํานึงถึงระบบนิเวศน และ ชีวภาพเพื่อทดแทนปุยเคมี อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ทําการเกษตร ประเภท กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม : กลมุ ศนู ยเ ครือขา ยปราชญช าวบา นเกษตรยง่ั ยนื ตาํ บลศรีเมอื งชมุ 3

สมาชิกศูนยปราชญชาวบานเกษตร ยั่งยืนตําบลศรีเมืองชุมเดิมมีสมาชิกกลุม 20 ครอบครวั ปจ จบุ ันมีสมาชิกเพมิ่ มากขน้ึ เปน 32 ครอบครัว มีเครือขายท้ังหมดประมาณ 200 กวา คน ซง่ึ เครอื ขา ยแตล ะกลมุ จะบรหิ ารจดั การ เงินเอง 4 คมู ือตวั อยางความสาํ เร็จ การประยกุ ตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมของศนู ยป ราชญชาวบา น เกษตรย่ังยนื ตําบลศรเี มืองชุม กิจกรรมจะเนนหลักการคิด และ และพฒั นาตนเองสวู ถิ ชี วี ติ พอเพยี ง สงั คมเปน สขุ แนวทางการถายทอดความรู เพ่ือใหเกิด ย่ังยืน เนนการทําเกษตรแบบไรต นทุน กระบวนการเรียนรูการพ่ึงตนเองของเกษตรกร การจัดการเรียนรูทางกลุมจะเนนการ รวมคิด รวมทํา เรียนรูและเขาใจปญหาของ แลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหเขาใจถึงสถานการณ ตนเองและสามารถกําหนดอนาคตของตนเอง ตา งๆ วา มีปญหาอะไร ผเู ขา รับการอบรมทกุ คน ประเภท กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม : กลมุ ศูนยเครอื ขายปราชญช าวบานเกษตรยัง่ ยืนตําบลศรเี มืองชุม 5

จะเขามาชวยกันคนหาวิธีการแกไขปญหา การ ปลกู ขา ว การลดตน ทนุ การพฒั นาพนั ธขุ า ว การ ปรับปรงุ บาํ รุงดนิ รวมถงึ การฟน ฟปู ระเพณีและ วฒั นธรรมดง้ั เดมิ รวมทง้ั การดแู ลสงิ่ แวดลอ มใน แปลง ชว ยใหผ เู ขา รบั การอบรมมสี ขุ ภาพดไี มเ จบ็ ปว ยตอการทําการเกษตร หลกั สตู รการอบรมใชเวลาท้ังหมด 20 วัน หลกั สตู รอบรม 1. การเปลี่ยนวิธคี ิด วิเคราะหส ภาพปญ หา 2. การปรบั ปรงุ บาํ รุงดนิ การคํานวณสูตรปุย ตอ ชนิดพชื 3. การลดตน ทุนโดยการผลิต แชมพู สบู ยาสฟี น 4. การปลกู ขา วอินทรยี  5. การเรียนรูเรอื่ งการระเบิดดิน การสลายตอ ซัง 6. การปองกันและกําจัดวัชพืช โรค แมลง 7. การผลติ ฮอรโมนสูตรบํารงุ พืช 8. การทาํ ปยุ อินทรยี ช วี ภาพ 9. การทาํ ปุยหมกั ดิน 10. การทาํ ปยุ เพาะกลา ไม 11. การแปรรูปผลผลติ เปน ผลติ ภัณฑ 6 คมู อื ตัวอยางความสําเร็จ การประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

โรงเรยี นชาวนา โรงเรียนชาวนาเปนหน่ึงในกิจกรรม สมุนไพรไลแมลงเพื่อทดแทนสารเคมี ปองกัน หลกั ของศนู ยป ราชญช าวบา นเกษตรยงั่ ยนื ตาํ บล และกําจัดศัตรูพืชเปนการลดละเลิกปุยเคมีและ ศรีเมืองชุม ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีสอดคลองกับ สารเคมกี าํ จดั ศตั รพู ชื และเกดิ การเรยี นรรู ว มกนั ปญหาและความตองการของชุมชนและยังชวย ระหวา งเกษตรกรและเปด โอกาสใหเ กษตรกรนาํ เพ่ิมพูนทักษะการสรางและพัฒนาความรูแก ความรขู องตนมารว มแลกเปลย่ี นความรทู างการ เกษตรกร รวมทง้ั เปน การตดิ อาวธุ ทางปญ ญาให เกษตรในดา นตางๆ สิ่งสําคัญคือการเรยี นรแู ละ แกเ กษตรกรดว ยวธิ กี ารเรยี นรแู บบปฏบิ ตั จิ รงิ ใน การจัดการความรูรวมกันของเกษตรกรในชั้น แปลงนาทุกสัปดาหตลอดฤดูการทํานาต้ังแต เรียนจะอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง การเตรยี มดิน การปรับปรงุ บาํ รุงดิน การศกึ ษา กันเพ่ือพัฒนาความรูรวมกัน นอกจากนั้นยัง ระบบนิเวศน การกําจัดกันเองของแมลงอยาง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมพ้ืนวิถีชีวิตและ สมดุล การลดตนทุนดวยการฝกปฏิบัติทํา ภูมิปญญากลับมาสรางวิธีคิดใหมไมใชสารเคมีก็ จุลินทรีย, ปุยน้ําหมัก,ฮอรโมน,ปุยหมักแหง อยูได ชีวภาพเพื่อทดแทนปุยเคมีและฝกปฏิบัติทํา ประเภท กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม : กลุมศนู ยเ ครือขา ยปราชญช าวบานเกษตรยัง่ ยืนตําบลศรีเมืองชุม 7

นางพรรณพมิ ล และสมาชกิ ไดเ ปด ศนู ย การเรียนรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียน ชาวนา แหงท่ี 2 ท่ี เทศบาลตําบลหวยขาวก่ํา อ.จุน จ.พะเยา เม่อื วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2551 โรงเรยี นชาวนาแหง ที่ 3 ทเ่ี ทศบาลตาํ บลเวยี งลอ อ.จุน จ.พะเยา เม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม 2551 วตั ถุประสงค และโรงเรียนชาวนาแหงที่ 4 ที่ตําบลหวยซอ 1. เพอื่ ฟน ภมู ปิ ญ ญาและพฒั นายกระดบั อ. เชียงของ จ.เชยี งราย เมือ่ วันท่ี 18 มกราคม เปนองคความรูท อ งถนิ่ 2552 เพื่อรองรับการเขาฝกอบรมเกษตรกร 2. เพือ่ ปรับปรุงบํารุงดิน และหมนุ เวยี น ท่ีเปนลูกคาของธนาคารเพื่อการเกษตรและ วัสดุเหลอื ใชใ นไรนา สหกรณการเกษตร 3. เพอื่ ใชก ระบวนการผลติ ทางธรรมชาติ โรงเรียนชาวนาจะมีการต้ังโจทยให และทาํ การเกษตรและแบบพงึ่ ตนเองสเู ศรษฐกจิ ชาวนาไดแ ลกเปลยี่ นเรยี นรซู งึ่ กนั และกนั เพอ่ื ให พอเพียง เขาใจถึงสภาพการณตางๆ เปนอยางไร และมี 4. เพื่อเสริมสรางความหลากหลายทาง ปญหาอะไร การทํานาเคมีเปล่ียนแปลงอยางไร ชีวภาพในการเก้อื กลู สมดลุ ในระบบนิเวศน เมอื่ เขา ใจทกุ คนกม็ าชว ยกนั คน หาวธิ แี กไ ขปญ หา 5. เพื่อเนนการลดตนทุนการผลิต ซ่ึงท่ผี า นมาสิ่งทีน่ ักเรียนชาวนาหวงั คือ ตองการ การเกษตรโดยใชว ัสดใุ นทองถิน่ เปนอนั ดบั แรก ลดหนไี้ ดป รบั วธิ ปี ลกู ขา วใหต น ทนุ นอ ยลง พฒั นา 6. เพ่ือผลิตอาหารปลอดสารพิษ พันธุข า วและการปรบั ปรุงบํารงุ ผวิ ดนิ การฟน ฟู เพอ่ื บริโภคใหเพียงพอ และเหลือกข็ าย ประเพณีและวัฒนธรรมด้ังเดิมรวมท้ังดูแล 7. เพอื่ เนน อนรุ กั ษแ ละพฒั นาพนั ธกุ รรม สิ่งแวดลอมและชาวนาตองสุขภาพดีไมเจ็บปวย พืชและสตั วพ้นื บา น และไมใ ชส ารเคมรี วมทง้ั สรา งครอบครวั ใหอ บอนุ 8. เพอื่ ใชแ ละพฒั นาเทคโนโลยที เี่ หมาะสม ลดละเลิกอบายมุขและรวมสรางชุมชนให 9. เพอื่ แปรรปู และทาํ การตลาดทางเลอื ก แขง็ แรง โดยใหไ ดมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย 8 คูม อื ตวั อยา งความสําเรจ็ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปจจุบันมีเครือขายโรงเรียนชาวนาท้ังในจังหวัด เชียงรายและตางจังหวัดเพิ่มข้ึนอีกท้ังหมดรวม 33 แหง ดงั นี้ - โรงเรยี นชาวนาใน จ.อา งทอง จาํ นวน 16 ศนู ย - โรงเรียนชาวนาใน จ.เชยี งราย จาํ นวน 10 ศนู ย แนวทางการดําเนินงาน - โรงเรียนชาวนาตําบลแมอาย อ.แมอาย 1. สรางและขยายฐานความรู จ.เชียงใหม สูชุมชนใหมีความเขมแข็งอยางตอ - โรงเรยี นชาวนาตาํ บลศรสี ะเกษ อ.นานอ ย จ.นา น เนือ่ งและยง่ั ยืน - โรงเรยี นชาวนาตําบลชอ แฮ อ.เมอื ง จ.แพร 2. เนน การมสี วนรว มและการ - โรงเรียนชาวนาตําบลคูสลอด อ.ราชบัวหลวง สงเสริมใหสมาชิกมีการแลกเปล่ียน จ.พระนครศรีอยุธยา เรยี นรแู นวคิดและประสบการณ - โรงเรียนชาวนาตําบลทับน้ํา อ.บางปะหัน 3. ประสานความรวมมือกับ จ.พระนครศรอี ยุธยา ภาคีทองถิ่นรวมท้ังกลุม และองคกร - โรงเรียนชาวนาในคา ยทหาร พนั 31 รอ.รักษา ตา งๆ ทง้ั ภาครัฐและเอกชน พระองค จ.ลพบรุ ี 4. สนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ - โรงเรียนชาวนา อ.เสาไห และ อ.หนองแซง ของสมาชิกในกลุม จ.สระบุรี ประเภท กลุมเกษตรทฤษฎีใหม : กลุม ศูนยเครอื ขา ยปราชญช าวบา นเกษตรยง่ั ยนื ตาํ บลศรเี มอื งชุม 9

นักวิจยั อาสา นักวจิ ัยอาสา คอื เกษตรกรรุนใหมที่ ปุย โดยการนําสมนุ ไพรมาทาํ เปน ปยุ ซึง่ ปุยที่จะ สนใจจะทาํ การเกษตรตอ จากพอ แม หรอื ลกู ศษิ ย นํามาใชไดคือปุยที่ไดสงผานกระทรวง หลังเขารับการอบรม โดยเปนตัวแทนจากพื้นที่ วทิ ยาศาสตรแ ลว สารอนิ ทรยี  ผลติ ภณั ฑแ ปรรปู อาทิ เชยี งใหม เชียงราย พะเยา นักวิจยั อาสาจะ ฮอรโ มนสาํ หรบั พชื นกั วจิ ยั อาสาจะมกี ารนดั พบ มีการแลกเปลี่ยนขอมูลหรือความรูทางดาน กนั เดอื นละ 4 ครั้ง และมีแผนขยายเครือขายให การเกษตร/ภูมิปญญาชาวบานและมุงแสวงหา ครอบคลุมทุกอาํ เภอท่ัวประเทศ องคค วามรใู หมท างดา นการเกษตร เชน การวจิ ยั 10 คมู ือตัวอยางความสําเร็จ การประยกุ ตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวทางการพฒั นาตอยอด พัฒนาตอยอดจัดทําเปนศูนยการ ซงึ่ ไมม กี ารเกบ็ คา ใชจ า ยในการทอ งเทย่ี วหรอื เขา ทอ งเทย่ี วเชงิ การเกษตร โดยเรมิ่ มที วั รเ กษตรกร รบั การอบรม ตดิ ตอ เขามาทอ งเที่ยวที่ศนู ยฯ จํานวนหนงึ่ แลว ประเภท กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม : กลมุ ศนู ยเ ครือขายปราชญชาวบา นเกษตรยง่ั ยนื ตําบลศรีเมืองชุม 11

ประโยชนทไี่ ดรับจากการนําเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยกุ ตใช รายได รายไดข องแตล ะกลมุ จะถกู แยก ศรีเมืองชุมมีรายไดจากการขายผัก ผลไมและ ออกจากกันไมมีการมารวมเงินไวที่สวนใดสวน สนิ คา แปรรปู เชน การขายชาผกั เชยี งดาทส่ี ง ขาย หน่ึง แตละกลุมมีการบริหารจัดการรายรับราย ตา งประเทศ ขายปยุ อินทรยี ใ หแกผูท ีส่ นใจ จา ยกนั เองไดอ ยา งอสิ ระ กลมุ เกษตรยง่ั ยนื ตาํ บล 12 คูมอื ตวั อยางความสําเรจ็ การประยุกตใชป รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ชุมชน / สังคม นางพรรณพมิ ลและ ไมเผยแพรสูตรตางๆ ลงทางอินเตอรเน็ต หรือ สมาชิก เดินทางไปบรรยายที่โรงเรียนชาวนา ส่ิงพิมพ เนื่องจากปองกันการถูกคัดลอกไป และในสถานท่ีอื่นๆ โดยไมคิดคาใชจาย ตางประเทศ และนําไปใชใ นการแสวงหากาํ ไร รวมไปถงึ การเดนิ ทางไปชว ยแกไ ขวกิ ฤตทางการ ดานครอบครวั ครอบครัวมีความ เกษตรในพ้ืนท่ีตางๆ เชน ชวยจัดการเพล้ีย อบอุนรักใครสามัคคี ลูกทุกคนชวยดูแล กระโดดที่จังหวัดอางทอง เผยแพรองคความรู การเกษตรที่ศูนยเรียนรู และคิดคนผลิตภัณฑ เร่ืองการเกษตร การทําปุย ฮอรโมน ใหแก แปรรูปใหมๆ สมาชกิ โรงเรยี นชาวนาและผทู ม่ี าอบรมฟรี ซง่ึ จะ ประเภท กลุมเกษตรทฤษฎีใหม : กลุมศูนยเ ครือขา ยปราชญชาวบานเกษตรย่ังยนื ตําบลศรเี มืองชมุ 13

ผลิตภัณฑข องกลุม การแปรรูปผลผลิตใหเปนผลิตภัณฑ ทง้ั เครอื่ งใชอ ปุ โภคบรโิ ภค และสบนู า้ํ ผง้ึ ฮอรโ มน ใสพืชผล ฮอรโมนไข ยากําจดั แมลงแบบอนิ ทรีย ชาผักเชยี งดา 14 คมู ือตัวอยางความสําเร็จ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลผลติ ผลผลิตทางการเกษตร ไดแก ขาว แตงโม สตรอวเ บอรร ี่ หนอ ไม เหด็ และพชื ผกั สวนครวั เปน รายไดหลกั ของครอบครวั และศนู ยเรียนรฯู ประเภท กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม : กลุมศนู ยเ ครือขายปราชญช าวบานเกษตรยัง่ ยนื ตาํ บลศรีเมอื งชุม 15

การดาํ รงตนอยา งพอเพยี ง - ความพอประมาณ ทาํ การเกษตร - การมีภูมิคุมกันท่ีดี จัดทําบัญชี ทฤษฎีใหมโดยยึดหลักการสรางอาหารให รายรบั -รายจา ย การมใี หส มาชกิ มเี งนิ ออม ตดิ ตาม เพียงพอตอการบริโภคภายในครอบครัวกอน ความเคล่ือนไหวทางการเกษตรอยูตลอดเวลา แลว แปรรปู จาํ หนา ยในชมุ ชน เนน การพงึ่ ตนเอง และปลกู ทกุ อยา งทต่ี นเองและครอบครวั บรโิ ภค ใชแรงงานในครอบครัวเปน หลัก ทาํ ใหม คี วามมนั่ คงทางดา นอาหารเปน ฐานสรา ง - ความมเี หตผุ ล ใชป ยุ อนิ ทรยี ผ สม รายไดใหแกตนเองและชุมชน กอใหเกิดการ ปุมเคมบี า ง ไมใ หม ากเกินความจาํ เปน ใชเ พียง พฒั นาการเกษตรทย่ี ่ังยนื 5-10% เพอ่ื ลดตน ทนุ การผลติ และปลกู ขา วรวม - ความรู มกี ารทดลองทาํ ผลติ ภณั ฑ ท้ังพืชผักในพันธุที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ รวมทั้งมี ใหมๆ เชน นาํ ใบเตยมาทาํ เปน ฮอรโ มนฉดี พน ขา ว การวางแผนการทํางานเสมอ และมีการรวมตัวของสมาชิกเพ่ือนําองคความรู 16 คูม อื ตวั อยา งความสําเรจ็ การประยกุ ตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ที่ไดจากการทําการทดลองมาแลกเปลี่ยนซ่ึงกัน และปฏิบัติอยางเต็มกําลังเขาชวยเหลือชาวนา และกัน โดยมีการประชุมกลุมทุกเดือน ในการชวยแกไขปญหากําจัดเพล้ียกระโดด นอกจากนยี้ งั มกี ารพฒั นาความรทู างดา นการวจิ ยั สีน้ําตาล ดวยการรวมสงเสริมคิดคนวิจัยการใช อยางสม่ําเสมอ ซึ่งนําเอาความรูทางดาน สารธรรมชาติปองกัน จนไดสารสะเดา และ วิทยาศาสตรและปราชญชาวบานมารวมกัน นํ้าคั้นสับปะรดรวมไปถึงเปนวิทยากรใหความรู เพ่ือเกิดองคค วามรูใ หม กับโรงเรยี นชาวนาและเครอื ขายในพน้ื ท่ีตา งๆ - คุณธรรม ไมใชสารเคมีท่ีเปน อันตรายในการปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช แตใ ชส มนุ ไพรแทนและสมาชกิ จะคอยชว ยเหลอื ซ่ึงกันและกัน มีความซ่ือสัตยตอหนาท่ีของตน ประเภท กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม : กลุมศูนยเ ครอื ขา ยปราชญชาวบา นเกษตรยั่งยืนตาํ บลศรเี มืองชุม 17

ผลงานและความสําเร็จ - กลมุ ไดร บั การคดั เลอื กใหเ ปน ศนู ยเ ครอื ขา ยปราชญช าวบา นเกษตรยง่ั ยนื ตาํ บลศรเี มอื ง ชุมจากกระทรวงเกษตรและสหกรณใ นป 2551 - รับมอบหมายจาก ธ.ก.ส. ใหจ ัดอบรมเกษตรกรลกู คาธนาคารในโครงการฟนฟแู ละพกั หนี้เกษตรกรรายยอยและยากจน - เปดศูนยการเรียนรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนชาวนาแหงท่ี 2 ที่จังหวัดพะเยา และแหงท่ี 3 ท่จี งั หวดั เชียงใหม - สามารถชว ยเหลือสมาชิกใหหน้ีสนิ ลดนอยลงไดจริง 18 คมู อื ตัวอยา งความสาํ เรจ็ การประยกุ ตใชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ลําดบั ศนู ยเรยี นรูเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศพั ท สาํ นักงาน กปร. 08 7903 0912 ภาคกลาง 09 4861 9205 08 9076 4325 1. นายประมาณ ประสงคส ันติ ประชาชนทว่ั ไป กาญจนบุรี 08 7357 6444 08 1929 9159 2. นายวินัย สุวรรณไตร ประชาชนท่ัวไป ฉะเชงิ เทรา 08 9886 0983 08 0076 8989 3. นายสาํ รอง แตงพลับ เกษตรกรทฤษฎีใหม เพชรบุรี 08 1316 0805 4. นายณรงค บวั สี เกษตรกรทฤษฎีใหม กรุงเทพฯ 02 5211 190 08 9486 1509 5. นายยวง เขยี วนลิ เกษตรกรทฤษฎใี หม นนทบรุ ี 02 2800 180 ตอ 2331-2 6. นายปรีชา เหมกรณ เกษตรกรทฤษฎีใหม กรงุ เทพฯ 08 3954 7824 08 1489 9323 7. กลุมสง เสรมิ และผลติ พนั ธุขาว กลมุ เกษตรทฤษฎีใหม นนทบุรี 08 7988 7801 ชมุ ชนบา นไทรใหญ 02 6837 322 - 3 8. ชุมชนบางรกั นอย ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพียง นนทบรุ ี 08 9541 4442 9. ชุมชนเพชราวุธพัน 2 ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง กรงุ เทพฯ 02 3354 658 10. เรือนจาํ ชั่วคราวเขากล้งิ หนวยงานภาครัฐในสว นภูมิภาค เพชรบุรี 02 7398 000 11. ธนาคารเพอ่ื การเกษตร หนว ยงานภาครฐั ในสวนกลาง กรุงเทพฯ 02 2028 000 และสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.) 08 6167 8524 08 0059 3243 12. กรมราชทัณฑ หนวยงานภาครัฐในสวนกลาง นนทบุรี 13. บรษิ ทั ซองเดอรไ ทยออรแ กนคิ ฟูด ธรุ กิจขนาดยอม สุพรรณบุรี จาํ กดั 14. กลมุ สตรีผลติ ภัณฑของใช ธรุ กจิ ขนาดยอ ม เพชรบุรี ในครัวเรือน 15. บริษทั บาธรูม ดีไซน จาํ กัด ธุรกิจขนาดกลาง ปทุมธานี 16. หางหนุ สว น สมศักดิ์แกลงเซอรวิส ธรุ กิจขนาดกลาง ระยอง จํากดั 17. บรษิ ทั บางจากปโ ตรเลยี ม จํากัด ธุรกิจขนาดใหญ กรงุ เทพฯ (มหาชน) 18. บริษทั ซีเอด็ ยเู คชั่น จาํ กัด ธรุ กิจขนาดใหญ กรุงเทพฯ (มหาชน) 19. บริษทั โทเทล่ิ แอ็คเซส็ ธุรกจิ ขนาดใหญ กรุงเทพฯ คอมมนู ิเคชัน่ จาํ กดั (มหาชน) ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 20. นายแสนหมัน้ อินทรไชยา ประชาชนทั่วไป อุดรธานี 21. นายทวี ประหา ประชาชนทัว่ ไป มุกดาหาร ประเภท กลุมเกษตรทฤษฎีใหม : กลุมศนู ยเ ครอื ขายปราชญชาวบา นเกษตรยง่ั ยนื ตําบลศรเี มอื งชุม 19

ลาํ ดับ ศนู ยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศัพท สํานกั งาน กปร. 22. นายสนุ นั เผาหอม ประชาชนทัว่ ไป ขอนแกน 08 0186 8617 23. นายจันทรท ี ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม นครราชสีมา 08 9948 4737 24. นางพิมพ โถตนั คาํ เกษตรกรทฤษฎใี หม สกลนคร 08 0748 3133 25. นายบุญแทน เหลาสุพะ เกษตรกรทฤษฎใี หม เลย 08 3346 0287 26. กลุม ขา วคณุ คา ชาวนาคณุ ธรรม กลุม เกษตรทฤษฎใี หม ยโสธร 08 8073 4277 27. กลมุ เกษตรย่งั ยนื อําเภอกันทรวิชัย กลุมเกษตรทฤษฎใี หม มหาสารคาม 08 9618 4075 28. ชมุ ชนบา นทาเรอื ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นครพนม 08 8335 5819 29. โรงเรยี นศึกษาสงเคราะหนางรอง หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค บุรรี ัมย 04 4631 883 30. บรษิ ัท โสมภาส เอ็นจเิ นยี ร่ิง ธรุ กิจขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270 (2005) จํากดั ภาคเหนอื 31. นายสพุ จน โคมณี ประชาชนท่วั ไป นครสวรรค 08 1041 0911 32. นายผล มศี รี ประชาชนท่วั ไป พะเยา 08 1174 9928 33. นายสมมาตร บญุ ฤทธ์ิ ประชาชนทัว่ ไป กําแพงเพชร 08 6207 1285 34. นางเปรยี วจันทร ตะ ตน ยาง เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 1706 9687 35. นายประพันธ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม แพร 08 5252 2835 36. นายบญุ เปง จันตะ ภา เกษตรกรทฤษฎใี หม เชยี งราย 08 9559 2171 37. กลมุ เกษตรทาํ สวนบา นถํา้ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม พะเยา 08 1023 8350 38. กลมุ เกษตรศูนยเครอื ขา ยปราชญ กลุมเกษตรทฤษฎใี หม เชียงราย 08 1025 5598 ชาวบา นเกษตรย่ังยนื ตาํ บลศรีเมืองชมุ 39. ชมุ ชนบา นดอกบวั ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง พะเยา 08 9430 4286 40. โรงพยาบาลหนองมวงไข หนวยงานภาครฐั ในสว นภมู ภิ าค แพร 05 4647 458 - 60 ภาคใต 41. นายสมพงษ พรผล ประชาชนท่ัวไป พงั งา 08 9123 1589 42. นายสมชาย นิลอนนั ต เกษตรกรทฤษฎีใหม สรุ าษฎรธ านี 08 9592 1764 43. นายพินยั แกวจนั ทร เกษตรกรทฤษฎใี หม ยะลา 08 1388 5161 44. ชมุ ชนบานบางโรง ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง ภเู ก็ต 08 1892 9204 45. เทศบาลตาํ บลปลายพระยา หนวยงานภาครฐั ในสวนภูมภิ าค กระบ่ี 07 5687 141 46. บริษัท พรทิพย ภูเกต็ จํากดั ธรุ กิจขนาดยอม ภเู ก็ต 07 6261 555 47. บรษิ ทั แปลนครเี อชัน่ ส จํากัด ธรุ กจิ ขนาดกลาง ตรงั 02 2379 070 20 คมู อื ตัวอยา งความสาํ เร็จ การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง