Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการนิเทศเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก_ภาษาอังกฤษ_ศุภวัลย์

คู่มือการนิเทศเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก_ภาษาอังกฤษ_ศุภวัลย์

Published by ศุภวัลย์ ชูมี, 2022-08-22 05:06:16

Description: คู่มือการนิเทศเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก_ภาษาอังกฤษ_ศุภวัลย์

Search

Read the Text Version

5. คำถามให้วเิ คราะห์ เปน็ คำถามท่ีให้คิดคน้ หาความจรงิ หรอื แยกแยะเรื่องราวเพอื่ หาสาเหตแุ ละผล ต่าง ๆ ของปัญหาทเ่ี กิดข้นึ หรอื ให้นกั เรยี นไดค้ ดิ ค้นหาความจรงิ ตา่ ง ๆ ท่ปี ระกอบขน้ึ มาเป็นเรื่องราวหรือ เหตกุ ารณ์ แมวมีประโยชนอ์ ย่างไร นักเรยี นมวี ิธีการประหยดั พลงั งานอยา่ งไรบา้ ง แมวให้โทษอย่างไร นักเรียนจะทำการสง่ ขอ้ ความผา่ นทางอีเมลลไ์ ด้อยา่ งไร ถ้าจะเลีย้ งแมว เด็ก ๆ จะตอ้ งเตรยี มอะไรบา้ ง เม่ือนักเรยี นเหน็ เพ่ือนในห้องขาแพลง นกั เรียนจะทำการ ปฐมพยาบาลอยา่ งไร ทำไมผ้าจึงแห้งได้ นักเรยี นนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ใน การดำเนินชีวิต ประจำวนั อย่างไรบ้าง จงชว่ ยกนั บอกชอ่ื สว่ นตา่ ง ๆ ของตน้ ไม้ นักเรียนจะเดินทางไปตา่ งประเทศได้อยา่ งไรบ้าง 6. คำถามให้สงั เคราะหส์ ังเคราะห์ หมายถงึ การผสมรวมส่งิ ต่าง ๆ ตัง้ แต่สองสิ่งข้ึนไปใหเ้ กิดเปน็ ของใหมข่ ้ึนมาเชน่ การปรงุ อาหาร การพูด การเขียนให้เปน็ ข้อความหรอื เรื่องราวทเี่ ป็นแนวคดิ ใหม่ หรือพฒั นาของ เก่าใหด้ ีขน้ึ ใชป้ ระโยชน์ไดม้ ากข้ึน คำถามให้สงั เคราะห์ เป็นคำถามทม่ี จี ุดมุ่งหมายให้เด็กใชก้ ระบวนการคดิ เพอื่ สรุปความสัมพันธร์ ะหวา่ งข้อมูลย่อยขน้ึ เปน็ หลกั การ อะไรเอย่ นกมหี ู หนูมีปกี บนิ หลบหลีกอยูก่ ลางคืน กระดาษหนังสือพิมพ์ทไ่ี ม่ใช้แลว้ สามารถนำไป ประดิษฐข์ องเลน่ อะไรไดบ้ ้าง ถา้ ไมอ่ ยากใหฟ้ นั ผุ เดก็ ๆ คิดวา่ ควรทำอย่างไร กลอ่ งหรอื ลังไม้เกา่ ๆ สามารถดัดแปลงกลับไปใช้ให้ เกดิ ประโยชน์ไดอ้ ย่างไร ถ้ามดงา่ มตัวโตเท่าชา้ งจะเป็นอยา่ งไร มีของ 10 อยา่ ง จะออกแบบอยา่ งไรให้ใช้เป็นทอ่ี ยู่ อาศัยตอนนำ้ ท่วมได้ ถ้าคนบนิ ไดอ้ ะไรจะเกดิ ขึน้ เสอื้ ผา้ ทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว นกั เรียนจะนำไปดดั แปลงเปน็ ส่งิ ใด เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์ ถ้าสัตวต์ า่ ง ๆในโลกนี้พดู ภาษาคนได้อะไรจะเกดิ ข้ึน นักเรยี นจะนำกระดาษทใ่ี ช้เพยี งหน้าเดยี วมาประดิษฐ์ (เปน็ คำถามที่มุ่งใหเ้ กิดความคิดสรา้ งสรรค์ คอื คิดใน เป็นสิ่งใดบ้าง แนวทางทแี่ ปลกและแตกตา่ งไปจากเดมิ เกดิ เป็น แนวคดิ ใหม)่ 7. คำถามใหป้ ระเมนิ ค่า เป็นคำถามที่มีจุดมุง่ หมายให้ไดพ้ ิจารณาคุณค่าของส่ิงของก่อนตัดสินใจอยา่ งมี เหตผุ ล รูจ้ กั ประเมินคา่ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยใชก้ ฎเกณฑท์ ี่เปน็ จรงิ และเปน็ ที่ยอมรับของสงั คมแล้ว มาสนบั สนนุ ความ คิดเหน็ ของตนก่อนตัดสนิ ใจ อาหารจานนีห้ นูควรรับประทานหรือไม่ เพราะเหตุใด การวา่ ยนำ้ กับการว่ิงเหยาะ อยา่ งไหนเปน็ การออก กำลังกายที่ดกี วา่ กัน เพราะเหตุใด 45

- เดก็ ๆ ควรเอาอย่างเดก็ ในภาพหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ดนิ รว่ น ดินทราย และดนิ เหนยี ว ดินชนิดใด (ครูให้ดูภาพเด็กกำลังยิงนก ครูตอ้ งการให้เด็กประเมิน เหมาะแก่การปลกู มะมว่ งมากกว่ากัน การกระทำของเดก็ คนน้นั ในภาพพรอ้ มทัง้ บอกเหตผุ ล) เพราะเหตุใด ลกั ษณะการใชค้ ำถามทด่ี ี นอกจากผู้สอนต้องรจู้ ักการใช้คำถามประเภทต่าง ๆ แลว้ ควรต้องรูจ้ กั ใช้ท้ังคำถามระดบั ตำ่ หรอื งา่ ยปนกบั คำถามระดบั สูง หรือคำถามยาก เพ่ือพัฒนาให้ผ้เู รียนคิดทงั้ ง่ายและยากขึน้ เป็นลำดับ เพือ่ พฒั นาสู่การเปน็ ผมู้ ี ความสามารถคิดอย่างมวี ิจารณญาณ (Critical Thinking) เพอื่ ท่ีจะสามารถตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมี หลักการและถูกทาง นอกจากการฝึกใชป้ ระเภทคำถามแล้ว ยงั ต้องฝึกการถามในลกั ษณะดี หลกี เล่ียงลกั ษณะไม่ดี ลักษณะการใช้คำถามทีด่ ี มีดังตอ่ ไปนี้ - เตรียมคำถามล่วงหน้า เพราะจะสามารถถามได้อยา่ งเรยี งลำดบั ตามความง่ายยาก ตามลำดับเนอื้ หา และช่วยให้มคี วามมัน่ ใจในการถาม ถามอย่างม่ันใจโดยใชภ้ าษาชัดเจน กะทัดรดั - ถามแลว้ ต้องมเี วลารอคอย ประมาณ 3 วนิ าที เพ่ือเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนทง้ั เกง่ และไม่เกง่ ได้คิดอย่างท่ัวถงึ จากน้นั จึงเรียกชือ่ ผู้เรียนให้ตอบคำถาม ไม่กำหนดผตู้ อบก่อนถามคำถาม - ถามทีละคน และตอบทลี ะคน แต่ตอ้ งเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนตอบหลาย ๆ คน ในคำถามเดยี วกัน - ถามแลว้ ไม่ทวนคำถาม และไมท่ วนคำตอบ - ควรใช้ท่าทาง เสียงประกอบการถามเพอ่ื กระตุ้นความสนใจ - ควรใช้คำถามปูพ้ืน เมือ่ ตอบคำถามแรกไมไ่ ด้ - ควรใช้คำถามง่ายและยากปนกันในการสอนครง้ั หนงึ่ ๆ - ควรเปดิ โอกาสให้นักเรยี นถามคำถามผูส้ อน ผสู้ อนที่มีทกั ษะการใช้คำถาม คือ ผู้ท่ีมีความรู้ และความเขา้ ใจประเภทของคำถาม ต่าง ๆ รวมทงั้ รู้ ลักษณะท่ดี ีของการถาม และร้วู ธิ หี ลกี เล่ยี งลักษณะทไ่ี มด่ ีของการถาม และต้องเปน็ ผู้สามารถนำความรู้ไปใช้ ปฏิบัตใิ นการถามคำถามผู้เรียนไดเ้ ป็นอย่างดี สรปุ การจัดการเรยี นรู้ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ คือ การจดั การเรียนรู้ที่เน้นใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นรว่ มอยา่ งมีความหมาย เชอื่ มโยงกิจกรรม เน้อื หาสาระ กบั ประสบการณ์เดิมทผี่ ูเ้ รยี นมี ใช้รูปแบบการสอนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เสริมด้วยกลวิธีการสอนท่ีส่งเสริมการฟงั พูด อ่าน เขียน การคดิ อย่างลุ่มลึก และการทำงานเป็นทีมที่จะช่วย สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้และนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเองได้ 46

กจิ กรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ 1. ความต่ืนตวั ดา้ นพฤติกรรม (Behavioral Activity) และความตนื่ ตวั ด้านการรูค้ ิด (Cognitively Activity) แตกตา่ งกันอย่างไร และมีความสำคัญอย่างไรต่อการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก (2 คะแนน) 2. หากทา่ นตอ้ งการพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้ของทา่ นใหน้ ักเรยี นมีความตน่ื ตวั ดา้ นการรู้คดิ สามารถ ปรับเปลย่ี นอยา่ งไรไดบ้ า้ ง (5 คะแนน) กจิ กรรม แนวทางการปรบั เปลย่ี น/เพม่ิ เตมิ (ตัวอย่าง) นักเรยี นดวู ีดโี อแลว้ ตอบคำถาม (ตัวอยา่ ง) นักเรยี นดวู ดี โี อและต้ังคำถามจากสารคดี และให้ 1) ครูอธบิ ายความหมายของคำศพั ท์ เพ่อื นในห้องชว่ ยกันตอบคำถาม 2) นักเรยี นคัดลอกเนอื้ หาลงในสมุด 3) ครบู อกหัวข้อที่จะเรียนใหน้ กั เรียนทราบ 4) ครเู ล่านทิ านใหน้ ักเรียนฟัง 5) นกั เรยี นคน้ หาความรูจ้ ากอินเทอร์เนต็ 6) นักเรียนฝกึ พดู บทสนทนาตามทึค่ รู กำหนดให้ 7) นกั เรียนเลือกหวั ข้อโครงงานจากทค่ี รู คัดเลือกมาใหต้ ามความสะดวก 8) ครูใหน้ กั เรยี นนำเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น นกั เรยี นคนอื่นเป็นผูฟ้ งั 9) นักเรยี นฝึกอ่านออกเสยี งตามครู 10) ครูให้นักเรยี นวาดภาพตามความสนใจ 3. จดั ทำแผนผงั ความคิด (mind map) สรปุ รปู แบบการจดั การเรียนรู้เชิงรุกตามท่ที ่านไดศ้ กึ ษาในคมู่ ือฯ (3 คะแนน) 47

หนว่ ยท่ี 3 วางกรอบ : การออกแบบการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ 48

ความหมายของการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ “การออกแบบ” และ “การจัดการเรียนรู้” เมือ่ นำมารวมกนั เป็น“การออกแบบการจัดการเรียนรู้” (Instructional Design) หมายถงึ กระบวนการท่เี ปน็ ระบบ ท่ีนำมาใช้ในการศึกษาความตอ้ งการ ของผ้เู รียนและ ปญั หา การเรยี นการสอน เพอ่ื แสวงหาแนวทางที่จะช่วยแกป้ ัญหาการจัดการเรยี นรู้ซงึ่ อาจเปน็ การปรับปรุงสิ่งท่มี ี อยู่ หรือ สร้างส่งิ ใหม่ โดยนำหลักการเรยี นรู้และหลกั การสอนมาใช้ เปา้ หมายของการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ คือ การพัฒนาการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน การออกแบบการเรียนรูเ้ ปน็ กระบวนการวางแผนการสอนอย่างมรี ะบบ โดยมีการวเิ คราะห์ องคป์ ระกอบ การเรยี นรู้ ทฤษฎีการเรยี นการสอน ส่ือ กจิ กรรมการเรียนรู้ รวมถงึ การประเมนิ ผล เพ่อื ใหผ้ ู้สอน สามารถถา่ ยทอด ความรสู้ ู่ผู้เรยี น และให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การออกแบบการจดั การ เรียนรทู้ ด่ี ี จะชว่ ย ผู้สอนวางแผนการสอนอยา่ งมีระบบบรรลุจดุ ม่งุ หมาย โดยมหี ลักการออกแบบการเรยี นรู้ ดงั น้ี 1. การออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้นน้ั เพื่อใคร ใครเปน็ ผู้เรยี นหรือใครเป็นกล่มุ เป้าหมาย ผู้ออกแบบ ควรมีความเข้าใจ และรจู้ กั กลมุ่ ผู้เรยี นทเ่ี ปน็ เปา้ หมาย 2. ต้องการใหผ้ ู้เรียนเรียนรอู้ ะไร มีความรคู้ วามเขา้ ใจมคี วามสามารถอะไร ผู้สอนตอ้ งกำหนด จดุ ม่งุ หมาย ของการเรียนรู้ให้ซดั เจน 3. ผู้เรยี นจะเรยี นรู้เน้อื หาในรายวิชานน้ั ๆ ได้ดีที่สุดอย่างไร ควรใช้วธิ กี ารและกจิ กรรมการเรยี นรู้ อะไรท่ี จะชว่ ยให้ผู้เรยี นเรียนรู้ได้อยา่ งเหมาะสม และมปี ัจจยั สิง่ ใดทต่ี ้องคำนงึ ถึงบา้ ง 4. เมอ่ื ผเู้ รียนเช้าส่กู ระบวนการเรยี นรู้ ผ้สู อนจะทราบไดอ้ ย่างไรวา่ ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ขึ้น และประสบ ผลสำเร็จในการเรียนรู้ และจะใชว้ ิธีการใดในการประเมนิ ผลการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น ดงั น้ัน สงิ่ ท่ีควรพจิ ารณา ในการออกแบบการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ตัวผู้เรียน จดุ มงุ่ หมาย วธิ กี ารสอนและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการประเมินผล วิธกี ารสอน คอื ข้ันตอนทผ่ี ู้สอนดำเนนิ การให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรตู้ าม วัตถปุ ระสงค์ ด้วยวธิ ีการ ตา่ ง ๆ ท่ีแตกตา่ งไปตามองค์ประกอบและขั้นตอนสำคัญ อันเปน็ ลกั ษณะเฉพาะหรือ ลกั ษณะเดน่ ท่ขี าดไม่ได้ ของวธิ ีนน้ั ๆ วิธีการสอน กกลลยยุททุ ธธ์กก์ าารรสสออนน เทคนคิ การสอน ภาพท่ี 6 ความเชอ่ื มโยงของวิธกี าร เทคนิคและกลยุทธ์การสอน 49

เทคนิคการสอน หมายถึง กลวธิ ตี า่ ง ๆ ทีใ่ ช้เสริมกระบวนการสอน ขน้ั ตอนการสอนหรอื การกระทำต่าง ๆ ในการสอนใหม้ ีคณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพเพม่ิ ข้ัน กลยทุ ธก์ ารสอน หมายถึง วธิ ีการสอนที่ใช้เทคนคิ วธิ ีการต่าง ๆ ในการสอน มาชว่ ยในการจดั การ เรียนรู้ให้ เกิดประสิทธภิ าพ วธิ กี ารสอน หมายถงึ ขนั้ ตอนการสอนทท่ี ำให้ ผเู้ รียนบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์เทคนิคการสอนเปน็ วิธกี ารเสริมที่ จะชว่ ยใหว้ ิธีการสอนเกิดประสทิ ธิภาพมากขนึ้ กลยุทธ์ การสอนเปน็ กลวิธกี ารสอนท่ีมปี ระสิทธภิ าพจะตอ้ งเป็นการ สอนทีม่ ีขน้ั ตอนและใชเ้ ทคนิคการสอนทห่ี ลากหลาย ส่งเสริมการสอนใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด หลักในการจดั การเรยี นรู้ หลกั สำคญั ท่ีตอ้ งคำนงึ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ 1.1 เปน็ กิจกรรมทพ่ี ฒั นานกั เรียนไปสูม่ าตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ดั ชัน้ ปีทีก่ ำหนดไว้ในหน่วยการเรยี นรู้ 1.2 นำไปสกู่ ารเกดิ หลักฐานการเรียนรู้ ชิ้นงานหรอื ภาระงานทแ่ี สดงถึงการบรรลุมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ ตัวชี้วดั ชั้นปขี องนักเรยี น 1.3 นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1.4 เป็นกจิ กรรมที่เนน้ นักเรยี นเปน็ สำคญั 1.5 มคี วามหลากหลายและเหมาะสมกบั นกั เรียนและเนือ้ หาสาระ 1.6 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ 1.7 ชว่ ยให้นกั เรียนเข้าสูแ่ หลง่ การเรยี นรูแ้ ละเครอื ขา่ ยการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย 1.8 เปดิ โอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏบิ ัตจิ ริง ขน้ั ตอนออกแบบการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ การออกแบบการเรียนรู้เซงิ รกุ (Active Learning Design) ตอ้ งพจิ ารณาว่ากิจกรรมทีอ่ อกแบบเป็น กจิ กรรม ลักษณะใดตอ้ งจดั การเรียนร้ตู ามมาตรฐานและตัวชี้วัดของแต่ละวชิ าหรือกล่มุ สาระการเรียนรู้โดย ผู้ออกแบบการสอนพิจารณาแนวคิดหลกั ในการสง่ เสริมให้ผู้เรยี นไดล้ งมือทำจรงิ ปฏิบัตกิ ารศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมี หลกั การและเป้าหมาย มกี ระบวนการหลกั 3 ขนั้ ตอน ดังนี้ 50

การกาหนดหวั ข้อเร่อื ง การออกแบบ การจัดทาแผน (theme) กิจกรรม (design) (lesson plan) ภาพที่ 6 ผังความคิดกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1. การกำหนดหวั ขอ้ เรอื่ ง (Theme) หัวขอ้ เร่ือง (Theme) เป็นข้อความท่เี ป็นประเด็นของเรอื่ งท่ีผเู้ รียนจะศึกษา โดยเป็นมโนทัศนก์ วา้ ง ๆ ที่ เอือ้ ต่อการใช้ความรู้ และมุมมองหลายวิชารวมกัน สอ่ื ความหมายเปน็ แนวคดิ หรือความคิดรวบยอด (Concept) แก่ผู้เรียน ควรเปน็ หัวข้อเรอื่ งทีท่ นั สมัย นา่ สนใจ และมคี วามหมายสำหรบั ผู้เรยี น ทำใหเ้ กดิ ความปรารถนาทจี่ ะ เรยี นรู้ และพร้อมที่จะสบื สวน (Inquiry) แสวงหาคำตอบดว้ ยตนเอง ซ่งึ การออกแบบกจิ กรรมควรพจิ ารณาใน ประเด็น ต่อไปน้ี - หัวข้อเรื่อง มีความยากงา่ ย เหมาะสมกบั ระดับความรู้ความสามารถของผู้เรียน ไมย่ ุง่ ยากหรอื ซบั ซอ้ น จนเกนิ ไป และท่สี ำคญั ต้องมคี วามเป็นไปได้ - หัวข้อเร่ือง ตรงกบั หลกั สูตรมีแหลง่ ความรู้ที่จะศึกษาค้นควา้ - หวั ขอ้ เรื่อง สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความพร้อมของผู้เรยี น 2. การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) การออกแบบกิจกรรมการเรียนร้เู ซงิ รกุ (Active Learning) เปน็ กระบวนการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รยี นได้ ลงมอื ปฏิบตั ิ และได้ใชก้ ระบวนการคิดเกยี่ วกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป โดยผู้เรียนจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้ (receive) ไปสู่การมีสว่ นร่วมในการสรา้ งความรู้ (Co-Creators) ความรู้ที่เกิดขน้ึ เป็นความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากประสบการณ์ ดังน้นั กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรยี นต้องมีโอกาส ลงมอื กระทำมากกว่าการฟังเพยี งอยา่ งเดยี ว โดยเนน้ กิจกรรมการสอนท่ีจัดใหผ้ ู้เรียนไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั เพ่อื สรา้ งความรู้ใหม่ กิจกรรมนส้ี ามารถออกแบบการ สอนช่วยสง่ เสริมการเรยี นร้เู ชิงรุกให้เกิดขึน้ ในหอ้ งเรียนปกติได้ดงั น้ี - มกี ารจัดกิจกรรมให้ผ้เู รียนไดเ้ รยี นร้ดู ้วยการอา่ น การเขียน การฟงั การถามเพอื่ ร่วมการอภิปรายกบั เพ่อื น การคิดวิเคราะห์ปัญหา และใช้กระบวนการคิดขนั้ สงู ได้แก่ การวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมนิ คา่ และการสรา้ งสรรค์ - มกี ระบวนการเรยี นรู้ทใ่ี ห้ผ้เู รยี นได้เรยี นร้อู ยา่ งมคี วามหมาย โดยการร่วมมอื ระหวา่ งผเู้ รยี นด้วยกนั มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ลองผดิ ลองถกู โดยมีครคู อยให้คำปรกึ ษาแนะนำ สรา้ งปฏสิ มั พันธท์ ่ีดกี ับครแู ละเพอ่ื นร่วม ขนั้ เรยี น - มีการสื่อสารนำเสนอแสดงผลงานการพฒั นาการเรยี นรู้ นำเสนอขอ้ มูล ความรู้ หรือประสบการณ์ท่ีได้ จากการศกึ ษาค้นคว้าร่วมคดิ ร่วมทำฟงั คดิ พูด ถาม เขยี น ทำให้ผู้เรยี นสามารถรักษาผลการเรยี นรใู้ ห้คงทนได้ 51

กระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ จะสอดคล้องกบั การทำงานของสมองและความจำ โดยผู้เรียนสามารถเก็บ ขอ้ มูล และจดจำสิง่ ทเ่ี รียนรู้โดยการลงมือทำ มีส่วนรว่ ม มีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับเพือ่ น ผู้สอน สิง่ แวดล้อม ผ่านการปฏิบตั ิ จรงิ สามารถเก็บความจำในระบบความจำระยะยาว (Long Term Memory) เปน็ ความรู้ท่ีคงทน 3. การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรใู้ นหนว่ ยการเรยี นรู้ ภาพที่ 7 แผนผงั แสดงความสัมพนั ธ์ของหนว่ ยการเรียนรสู้ ู่การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ หลังการออกแบบหน่วยการเรยี นรูเ้ สร็จสนิ้ เพือ่ ให้การจัดการเรยี นรสู้ อดคล้องกบั หนว่ ยการเรียนรู้ ครผู สู้ อนควรวางแผนจัดแบง่ เนื้อหาสาระ เวลา ให้ครอบคลมุ หนว่ ยการเรียนรู้จากน้ัน นำมาจดั ทำแผนการจดั การ เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั เวลา และการพัฒนาผเู้ รียน ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ครูผสู้ อนจะต้องกำหนด เป้าหมายสำหรบั ผูเ้ รียนในการจดั การเรียนรู้ โดยสามารถกำหนดเปน็ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูข้ องแผนการเรียนรู้นน้ั ซง่ึ จุดประสงคก์ ารเรียนรูใ้ นแตล่ ะแผนการจัดการเรียนรู้ ตอ้ งนำผู้เรียนไปส่มู าตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ัด สมรรถนะ สำคญั ของผู้เรยี น และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ่กี ำหนดไวใ้ นหน่วยการเรียนรู้ จากนั้นต้องกำหนดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นบรรลเุ ป้าหมาย ครูควรใช้เทคนคิ /วิธกี ารสอนที่ หลากหลาย โดยพิจารณาเลอื กกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีจะพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ ที่เนน้ การจดั การเรียนรูเ้ ชิง รุก (Active Learning) ซึง่ สามารถนากระบวนการเรียนร้ดู งั ตอ่ ไปนมี้ าใชใ้ นการจัดการเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสมกับ ธรรมชาตวิ ชิ า เช่น กระบวนการเรยี นร้แู บบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการทาง สังคม ฯลฯ รวมทง้ั ให้ศึกษาการนำเทคนิควธิ ีการสอนมาใช้ในการจดั การเรยี นรูด้ ้วย และในการจัดการเรียนรู้ ครผู ู้สอนตอ้ งรู้จักเลือกใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น มาใช้ในการจดั กิจกรรม เพื่อใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สอื่ ทีน่ ามาใช้ต้องกระตนุ้ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรูไ้ ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยไมย่ ดึ ส่อื ใดสอื่ หนง่ึ เปน็ หลกั ใน การจัดการเรียนรู้ 52

ทงั้ นี้ กจิ กรรมในแตล่ ะแผนการจัดการเรยี นรตู้ ้องส่งเสริมและพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมคี วามสามารถทจ่ี ะทำ ช้ินงาน/ภาระงาน เม่ือครบทกุ แผนการจดั การเรียนรขู้ องหนว่ ยการเรียนรู้นน้ั ๆ ผูเ้ รยี นต้องสรา้ งช้ินงาน/ภาระงาน ของหน่วยการเรียนรไู้ ด้ นอกจากน้ใี นการจดั การเรยี นรตู้ ้องกำหนดว่าจะใชเ้ ครื่องมอื ใดวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนให้ บรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี ำหนด ดงั น้นั ในการวัดและประเมนิ ผลครผู ้สู อนตอ้ งประเมินผเู้ รียนตลอดการจดั การเรียนรู้ โดยเลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื ท่ีเหมาะสมกับลักษณะกิจกรรมและสง่ิ ที่ต้องการวัดนอกเหนอื จากการประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน ในการจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้เป็นไปตามทีโ่ รงเรยี นกำหนด โดยควรมอี งคป์ ระกอบหลักทสี่ ำคัญ คือ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำคัญ สาระการ เรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน เจตคติ/คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ภาระงาน/ชนิ้ งาน กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล บนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ ความคิดเหน็ ของผบู้ ริหารโรงเรยี น และภาคผนวกแนบทา้ ยแผนการจัดการเรยี นรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรูเ้ พ่อื ให้ครผู สู้ อนทราบว่าจะตอ้ งสอนอะไร สอนอย่างไร สอนเม่อื ใด ใช้เวลา เท่าใด ใช้สิง่ ใดประกอบการสอนบา้ ง และจะวดั ประเมินได้อย่างไร ดังนน้ั ในการวางแผนการสอนเพอ่ื ใหไ้ ด้ทราบ ขอ้ มูลดังกล่าว จึงตอ้ งจดั ทำเปน็ 2 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ จดั ทำเปน็ กำหนดการสอน จัดทำเปน็ แผนการสอน ความสำคญั ของการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ การวางแผนการจัดการเรยี นรู้ เป็นภารกจิ หลักของครูผ้สู อน ซึ่งการสอนจะประสบความสำเร็จมากหรือ นอ้ ย ขึน้ อยกู่ บั การวางแผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนร้ทู ีด่ ี เท่ากับครูสามารถบรรลุจุดหมายปลายทาง ไปแล้วครึง่ นึง ดงั นน้ั การวางแผนการจดั การเรยี นรจู้ งึ มคี วามสำคญั ดังนี้ 1. ทำให้ผ้สู อนสอนด้วยความมั่นใจ เป็นตามข้ันตอนราบร่ืน ไม่ติดขดั เพราะได้เตรียมการทกุ อยา่ งไว้ พร้อมแลว้ การสอนกจ็ ะดำเนินไปสู่เป้าหมายไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ 2. ทำให้เปน็ การสอนท่มี ีคุณคา่ มีประสทิ ธิภาพ เพราะครสู อนอย่างมีแผน มเี ป้าหมายและมีทิศทางใน การสอน ผเู้ รียนก็จะได้รบั ความรู้ เกิดความคิด เกดิ ทักษะ เจตคตอิ ยา่ งเป็นระบบ 3. ทำให้การสอนเป็นไปตามหลกั สตู ร เพราะครูต้องศึกษามาตรฐานและตวั ช้วี ัด กำหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ การใช้วธิ กี าร กลวิธที ี่ตอบสนองตัวชี้วัด 4. หลงั จากการสอน และมกี ารบนั ทกึ หลงั สอน ทำใหค้ รูมรี อ่ งรอยการปฏบิ ัตงิ านที่นำมาพัฒนาเป็นแนว ทางการสอนตอ่ ไปได้ โดยพฒั นาบทเรียนร่วมกับกบั เพื่อนครดู ้วยกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี ได้ 5. ทำให้ผูเ้ รียนเกิดเจตคติทด่ี ตี อ่ ผู้สอนและต่อวชิ าที่เรียน เพราะครูสอนดว้ ยความพรอ้ ม เป็นความพร้อม ทั้งดา้ นจิตใจ และด้านวิธกี าร สือ่ อปุกรณ์ เอกสาร ทำให้การจัดการเรียนรู้มคี วามกระจ่าง ผเู้ รยี นพึงพอใจและเกิด ประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งเตม็ ท่ี 53

กระบวนการสอนเชงิ รกุ การออกแบบกระบวนการสอน ตอ้ งคำนึงถึงรปู แบบการสอน (instructional model) คอื รูปแบบหรือ แบบพิมพเ์ ขียวสำหรับการสอน ซ่งึ จะบอกถึงลำดับ ขัน้ ตอน การเตรยี มการ การจัดกิจกรรม และการประเมนิ ผล ของการจัดกิจกรรมหรือประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ ห้กบั ผ้เู รียน ตามเป้าหมายหรือผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้นึ ของรปู แบบ การสอนนั้นๆ คล้ายกบั แบบพิมพ์เขียวสำหรบั การสร้างบ้าน ซง่ึ จะบอกถึงแปลน การใช้วัสดุ สำหรับการสรา้ งตัว บา้ นใหไ้ ด้ตามแบบทไี่ ดว้ างไว้ ซ่งึ รูปแบบการสอนหน่ึงๆจะถกู ออกแบบเพือ่ มุง่ เน้นพัฒนาผู้เรยี นดา้ นใดดา้ นหนึง่ โดยเฉพาะ โดยทั่วไปรปู แบบการสอนพฒั นาจากการศึกษาวิจยั ซึ่งจะบอกถึง หลกั การและเป้าหมาย ทฤษฎหี รอื แนวคดิ สำคัญทีร่ องรบั รปู แบบ ลำดับข้นั ตอนของการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน การเตรยี มการ และการ ประเมนิ ผล เป็นตน้ ในท่นี ะ้ี ขอกลา่ วถงึ รปู แบบการสอนหรอื นวตั กรรมดา้ นการเรยี นการสอนตามกลุม่ ตา่ งๆ ท่ี สามารถนำไปเป็นกรอบในการออกแบบการจัดการเรยี นร้ใู นแผนการจัดการเรยี นร้ไู ด้ กระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลงั 5 ขน้ั ตอน กระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน Collaborative 5 STEPs เป็นแนวการสอนหนึ่งของการ เรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning ) เน้นให้รู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตัวเองรวมทั้งประยุกต์ความรู้ได้บนฐานวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ นกั เรียนมีการปฏิบัติกิจกรรมแบบทำงานกลุ่มรวมพลงั โดยทกุ คนรว่ มดว้ ยชว่ ยกันเดก็ เกง่ ช่วยเด็ก เรียนช้ากว่า เด็กถนัดกว่าช่วยเด็กถนัดน้อยเพื่อให้มีความสุขในการเรียน บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้เรียนรู้ (Learner)ส่วนบทบาทของครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) โดยมีลักษณะเด่น หรือลักษณะเฉพาะดังน้ี คอื 1) เปน็ แนวการสอนอยบู่ นฐานวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ เน้นให้ผเู้ รยี นสรา้ งความรดู้ ้วยตนเอง 2) หลงั การสร้างความรู้แลว้ ครูตอ้ งมีการจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนนำความรู้แลว้ ครูตอ้ งมีการจัดกิจกรรมให้ นักเรยี นนำความรูไ้ ป หรือประยกุ ตค์ วามรู้ได้ผลงาน/ภาระงานไปตอนแทนสังคม 3) เป็นการจัดการเรียนรู้เน้นการทำงานกลุ่มแบบรวมพลัง เด็กร่วมมือช่วยเหลือกันและกัน เพื่อให้เกิด ความเทา่ เทยี มกันความเสมอภาคกัน 4) วธิ ีสอนสำคัญทีใ่ ชใ้ น Collaborative 5 STEPs คอื (1) วธิ ีสอนแบบสืบสอบ (2) วธิ ีสอนแบบโครงงาน (3) วิธีสอนต่างๆที่ในการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมเป็นฐาน เช่น เกม กรณีตัวอย่าง บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง ใช้ประเดน็ ทางสงั คม 5) เทคนิคสำคัญทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรียนรู้แนวน้ี คือ (1)เทคนคิ พฒั นาการคดิ เชน่ การใช้คำถามการใชผ้ งั กราฟิก การใช้ใบกจิ กรรมการใชพ้ หุปญั ญาเป็นตน้ 54

(2) การใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Co-operative Learning ) โดยเฉพาะ Think-pair-share, Team-pair-solo, Pair-Discussion, Peer to Peer, Peer- tutoring, Peer assessment, round robin, Rally table เปน็ ตน้ แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบรวมพลังกล่มุ ท่ีมาร่วมตัวกนั อาจ 2 คน หรือ 4 คนต่อ 1 กลุ่ม ท่ีมีการคละ เพศ คละความสามารถ ความสนใจและคละความสามารถ (เก่ง กลาง ออ่ น) ทำงานร่วมมอื กันแบบคนเก่งช่วยสอน คนที่อ่อน หรือเรียนรู้ช้า คนที่มีความสามารถปานกลางก็ร่วมด้วยช่วยกันจนงานสำเรจ็ และทุกคนบรรลุเป้าหมาย เดียวกัน ถา้ เปน็ การเรยี นร้กู ็พบว่าเด็กอ่อนมีผลการเรียนรู้สงู ขึน้ เดก็ ปานกลางก็มกี ารพฒั นาสูงข้ึนเช่นกัน อันเป็น การแสดงความรว่ มใจร่วมพลงั ในการเรียนร้รู ่วมดันเพ่ือให้เด็กๆมีความเทา่ เทยี มกนั บรรลตุ ามมาตรฐานท่ีกำหนด จงใช้หลักให้เด็กช่วยเหลอื กนั และกัน “คนเกง่ อาสา เรียนช้าขอรอ้ ง” ในการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบรวมพลงั 5 ขนั้ ตอนมีรายละเอยี ดดงั น้ี 1. ขนั้ เสนอสงิ่ เรา้ และระบคุ ำถามอย่างมีสว่ นร่วม เป็นข้นั ตอนที่ทำใหผ้ ู้เรียนสงสยั (ask) จากสงิ่ เรา้ สมอง เกดิ ภาวะสมดุล (disequilibrium) มกี ารทบทวนประสบการณ์เดมิ ของผู้เรียน (elicit prior knowledge) คอื การ คาดคะเนคำตอบ หรือตั้งสมมติฐาน หรือจินตนาการคำตอบ คำตอบอาจไม่ถูกต้องหรือผิดหรือเป็นมโนทัศน์ คลาดเคลื่อนก็เป็นได้ซึ่งครูไม่มีการเฉลยคำตอบ โดยมีเทคนิคการคาดคะเนคำตอบ คือ 1) ให้ตอบคำถามเป็น รายบคุ คล 2) ใหต้ อบเป็นทีม 2. ขั้นแสวงหาสารสนเทศและวิเคราะห์อย่างรวมพลัง เป็นขั้นสำคัญเพื่อพิสูจน์สมมติฐานเพือ่ หาคำตอบ ของคำถามสำคัญโดยครูอาจออกแบบให้ หรือครูกับผู้เรียนร่วมกันวางแผน หรือผู้เรียนวางแผนเอง ครูออกแบบ การเก็บข้อมูลสารสนเทศให้เอง ด้วยการสร้างสื่อการเรียนรู้ เช่น ใบกิจกรรมใบงาน ใบทดลอง รวมทั้งใบความรู้ และอาจใช้ใบสรุปความรแู้ จกใหผ้ ู้เรยี น 3. ขั้นอภิปรายและสร้างความรู้ เป็นขั้นสื่อความหมายข้อมูลหลังจากการวิเคราะห์ข้อมูล โดยผู้เรียนมี โอกาสเสนอหน้าชัน้ เรียน ผู้เรียนมีแปลความหมายข้อมูล เพื่อการสรุปผล/สร้างความรู้ด้วยตวั นักเรียนเอง มีการ สะท้อนความคดิ กนั และแตล่ ะกลุ่มปรับแกไ้ ขความรู้ที่สร้างขน้ึ เอง ครเู ช่ือมโยงความรู้ท่ีผู้เรยี นสร้างไปยังความรู้ท่ี ถูกตอ้ ง และเป็นขั้นท่ีครูอาจใหท้ ำแบบฝกึ หดั เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจและทักษะต่างๆ 4. ข้ันสอ่ื สารและสะท้อนคดิ อย่างรวมพลงั เปน็ ชั้นผู้เรยี นนำเสนอความรู้และการเรียนรูท้ ไ่ี ด้จากการสร้าง ความรู้ด้วยความเข้าใจหน้าชั้น รวมทั้งผลงาน ตลอดจนกระบวนการสร้างความรู้ติดที่ผนัง หรือกระดานหน้าช้ัน เรยี นดว้ ยหลกั 3P วางแผนการพดู (Planning) ซ้อม/เตรยี ม (Preparation) นำเสนอหน้าชัน้ เรียน (Presentation) พร้อมฝึกการสร้างบุคลิกภาพภายในและบุคลิกภาพนอกขณะนำเสนออย่างมั่นใจและมีคุณภาพจากนั้นให้มีการ สะท้อนคดิ ขอ้ ดี ขอ้ เด่น และส่ิงอยากรู้ 5. ขั้นประยกุ ต์และตอบแทนสงั คม เปน็ ขัน้ ที่ผู้เรยี นร่วมด้วยชว่ ยกนั แบบรวม พลงั ประยกุ ต์ความรู้ หรือนำ ความรูไ้ ปใช้ในสถานการณใ์ หม่ เช่น ในชวี ิตการเรยี นในสาระอืน่ ๆ ในครอบครัวในชุมชนทำใหไ้ ด้ชน้ิ งานใหม่/ภาระ งานใหม่ การสรา้ งชิน้ งานเรยี งตามลำดับงา่ ยไปหายาก ดังนี้ 1) รายงาน การบอกเล่า การถ่ายทอดความรู้ (Extension) 2) ผลงานระดบั คิดริเริม่ หรือผลงานนำความรู้ประยกุ ตใ์ นสถานการณ์ใหม่ (Invention) 3) รายงานโครงงานประเภทตา่ งๆ (Innovation) 55

โดยสรุปการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน เป็นแนวการสอนที่ครูสามารถนำวิธีสอนต่างๆ เทคนิคการ สอนท่ีเสริมสรา้ งการคิด เทคนิคการสอนที่เสริมสร้างการทำงานรว่ มกนั การช่วยเหลอื กันอยา่ งมนี ำ้ ใจตอ่ กนั อีกท้ัง เทคนิคการคดิ เพ่ือให้เกิดความเสมอภาค ไดผ้ ลการเรียนรู้เปน็ ภาพมาตรฐานการเรียนรู้อย่างเท่าเทียมกัน ไม่ทิ้งเด็ก คนใดไว้ “นทิ านลกู มว่ งขา้ งเรนิ เพอ่ื น” กบั การสอนเชงิ รกุ 56

สรปุ ความเชอื่ มโยงรปู แบบการสอน 5 Steps กบั เหตกุ ารณใ์ น “นทิ านลกู มว่ งขา้ งเรนิ เพอ่ื น” การะเกด = ครู ฉนั = นกั เรยี น ‘การะเกด’กินมะมว่ งเม่ือนักเรยี นเห็นเลยขอกนิ ดว้ ย  เสนอสง่ิ เรา้ ตงั้ คำถาม ‘การะเกด’ ไม่ให้กนิ แต่บอกให้นกั เรยี นไปหาวธิ ีเกบ็  แสวงหาสารสนเทศ มะมว่ งเอง  อภิปรายสรา้ งความรู้ นกั เรียน ค้นหาวิธกี ารเกบ็ มะม่วงบนตน้ ทง้ั การพดู คุย  ส่อื สารสะทอ้ นคิด กันกบั เพอ่ื น ๆ ทง้ั การคน้ หาใน google  ตอบแทนสังคม เมอ่ื ทราบวธิ กี ารเกบ็ มะม่วงแลว้ กล็ องทำ แตเ่ จอ ปญั หามะม่วงรว่ งตกเตม็ พ้นื เลยไปแอบดู ‘การะเกด’ ดูอกี ทีวา่ เธอทำแบบไหน การะเกดก็กระซบิ ใหร้ ูแ้ นว ครา่ วๆวา่ ต้องทำแบบไหน ผสมกบั การหาข้อมูล เพิ่มเติม ลองทำดูอีกครง้ั เกบ็ มะม่วงเพิ่มขึน้ แล้วไปป่าวร้องเชญิ ชวนเพอ่ื น คนอ่ืนๆมากนิ ด้วยกัน แลกเปล่ียนเมนูแปลกๆด้วยกัน นอกจากจะกนิ มะมว่ งจ้ิมน้ำปลาหวานธรรมดาแล้ว ก็ ยังเอามะม่วงไปทำเมนอู ื่นๆ อีกหลายอย่างดว้ ย ไดข้ ้อสรปุ แล้ว กม็ าน่งั คยุ กันตอ่ ใต้ต้นมะมว่ ง การะเกดก็ชวนใหน้ กั เรียนไดล้ องใชไ้ มส้ อยเก็บมะม่วง 57

ไปใชก้ ับต้นอ่นื ต่อไป เชน่ ลูกหว้า ลกู ตะลิงปลงิ เปน็ ตน้ เร่อื งสนกุ ๆวนั น้ี นกั เรยี นประทบั ใจมากท่ีตนเองได้ กนิ มะมว่ ง เก็บเอง ปอกเอง เลยอพั สตอร่ลี งในเฟสบคุ ใหเ้ พอ่ื นๆมาแสดงความคดิ เหน็ พรอ้ มแนะวิธเี กบ็ มะม่วงตอ่ อีกด้วย ภาพประกอบที่ 8 ขน้ั ตอนการจดั การเรยี นรู้ 5-Steps 58

ขนั้ ตอนการนำกระบวนการสอนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ออกแบบวิธีการ สอนใคร รูจ้ ดุ มงุ่ หมาย ปฏิบตั ิ เตรียมสื่อ บรหิ าร เรือ่ งอะไร กิจกรรมเต็มท่ี จดั การชนั้ เรียน ได้อะไร ใชว้ ธิ ีไหน มสี ่วนรว่ ม ประเมนิ ประเมินผล รูไ้ ด้อย่างไร ตนเองได้ PLC : Model teacher & Co-teacher 5 Steps 5E (เนน้ วทิ ยาศาสตร)์ 2W3P (เน้นภาษาองั กฤษ : CLT) ตั้งคำถาม ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) กระตนุ้ ทบทวนและปูพื้นฐานความรู้ (Warm up) แสวงหาสารสนเทศ สำรวจและคน้ หา (Exploration) · นำเสนอเนอื้ หาสาระ (Presentation) สรา้ งองค์ความรู้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ฝึกฝนโดยยดึ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์ (Practice) เรียนรูเ้ พอ่ื สอ่ื สาร ขยายความรู้ (Elaboration) นำไปใชห้ รือการบูรณาการความรู้ (Production) ตอบแทนสังคม ประเมนิ ผล (Evaluation) ขนั้ สรุปความร้ทู ี่ได้รบั (Wrap up) 59

เคา้ โครงแผนการจดั การเรยี นรู้ : O-L-E วตั ถปุ ระสงค์ การเรยี นรู้ ประเมนิ ผล Objective Learning Evaluation มาตรฐานตัวชว้ี ดั ขน้ั ตอนการจดั การเรยี นรู้ เครื่องมือ/วธิ ีวดั ประเมินผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ KPA สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ -ประเมนิ เด่ียว - ประเมินกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาระงาน/ชน้ิ งาน -ประเมนิ ตนเอง เวลา + - ครปู ระเมิน บรหิ ารจัดการชนั้ เรียน (แรงเสรมิ /วินยั /เงอื่ นไข) ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้ 1) แผนการจัดการเรยี นหนา้ เดยี ว 60

ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ ตามแนว BOOT Camp 61

ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ ตามแนว BOOT Camp 62

แผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) ตามแนวทางการอบรมการจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ (BOOT Camp) จากสถาบนั British Council ที่สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดขึ้น มสี าระสำคัญ ในการจดั ทำแผนการจดั การเรนี รู้ 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1. Objectives การเขยี นจดุ ประสงค์ในการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ กำหนดทิศทางว่านักเรยี นจะไดเ้ รียนร้อู ะไร เกิดทกั ษะอะไร และจะมีทัศนคตอิ ยา่ งไร 2. Process Design ตารางแผนการสอน ซ่งึ ประกอบดว้ ย • Stage (ข้ันของการสอน) • Timing (ระยะเวลา) • Interaction (ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งครูกบั ผู้เรียน ผ้เู รยี นกบั ครู และผเู้ รยี นกบั ผ้เู รยี น) • Procedure (วธิ กี าร/กระบวนการจดั การเรียนร)ู้ ซ่งึ ในขั้นนี้ ขึ้นอยู่กบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ทค่ี รู เลอื กใช้ให้เหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องรายวิชา เช่น 2W3P / 5E / 5Steps ฯลฯ • Example --- Lesson plan: Topic Learners: Time: Materials: Learning outcomes: At the end of the lesson, students are able to ……………………(1)………………………. (2) Process Design Stage Timing Teacher activity Learner activity Interaction Stage aim ขนั้ การ เวลาที่ ครูทำอะไร นักเรียนทำอะไร ระบคุ ปู่ ฏสิ มั พนั ธ์ เปา้ หมายการเรยี นรู้ สอน ใชใ้ นแต่ (กระตุ้น) (ตอบสนอง) เช่น กจิ กรรมท่เี ปน็ ทจี่ ะเกดิ ขึ้นใน ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ ง ละ รายละเอียด รายละเอยี ดกิจกรรมที่ นักเรยี น – นักเรยี น (S- ขน้ั ตอนน้ี ข้นั ตอน กจิ กรรมท่ีทำ ทำ S หรอื L-L) (เปา้ หมายย่อย ครู – นักเรียน (T-L สัมพนั ธ์กบั กจิ กรรม หรอื T-S) ทีท่ ำ) นกั เรียน Student (S) - บอกเปน็ Learner (L) ครู Teacher (T) พฤตกิ รรมทสี่ ามารถ ทำได้ - เพิ่มเติมคุณภาพ ของระดบั พฤติกรรม 63

ในกรณที ค่ี รูไม่สามารถจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้เต็มรูปแบบได้ สามารถบันทกึ ย่อเพอื่ วางแผนการ จัดการเรียนรู้ได้ และควรมีบนั ทกึ หลังสอนเพอ่ื ทราบผลการจดั การเรยี นร้วู า่ ประสบผลสำเร็จหรอื ไม่ มีนักเรียนคน ใด กลุ่มใดที่ต้องพัฒนาเพ่ิมข้นึ 64

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้ (เตม็ รปู แบบ) 65

กิจกรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ 1. ข้นั ตอนการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยข้ันตอนใดบ้าง จงอธิบายและยกตวั อยา่ งประกอบ (1 คะแนน) 2. กระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ข้ันตอน (Collaborative 5 Steps) มวี ธิ ีสอนใดบา้ งที่สอดคล้องกับ กระบวนการเรยี นรู้ดงั กล่าว (1 คะแนน) 3. จงอธิบายลักษณะร่วมของวธิ ีสอนแบบ 5Steps, 5E (เนน้ วิทยาศาสตร)์ และ 2W3P (เน้นภาษาอังกฤษ) (2 คะแนน) 4. จงอธิบายหลกั การการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ O-L-E และยกตัวอยา่ งประกอบโดยสงั เขป (1 คะแนน) 5. ให้ทา่ นจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาภาษาองั กฤษ ตามระดบั ชน้ั ท่ที า่ นสอน โดยออกแบบกระบวนการตามที่ ได้ศึกษาในหน่วยที่ 3 และนำแผนที่ได้ไปแลกเปลี่ยนขอ้ เสนอแนะกบั เพอ่ื นครูในโรงเรยี น (5 คะแนน) สอนใคร เรื่องอะไร ได้อะไร ใช้วิธไี หน รู้ไดอ้ ย่างไร ใช้รูปแบบ/วธิ ีการสอน/ เทคนคิ การสอนแบบใด 66

หนว่ ยที่ 4 ตอบโจทย์ : เทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ วชิ าภาษาองั กฤษ 67

วธิ กี ารสอนภาษาองั กฤษ 1. วธิ กี ารสอนไวยากรณแ์ ละการแปล (Grammar Translation) เป็นวิธีการสอนทเ่ี น้นกฎไวยากรณ์และใชก้ ารแปลเป็นส่ือใหน้ กั เรยี นเข้าใจบทเรยี น มีลกั ษณะเดน่ คือ 1.1 ครจู ะบอกและอธบิ ายกฎเกณฑต์ ลอดจนข้อยกเว้นต่างๆ 1.2 ในด้านคำศพั ท์ ครูจะสอนครัง้ ละหลายคำ บอกคำแปลภาษาไทย บางครง้ั เขยี นคำอา่ นไวด้ ว้ ย 1.3 ครูเนน้ ทักษะการอ่าน และการเขียน 1.4 ครเู นน้ วดั ผลด้านความรู้ ความจำ คำศพั ท์ กฎเกณฑ์ ความสามารถในการแปล 1.5 ครูมีบทบาทสำคัญมากท่ีสดุ 1.6 นักเรยี นเป็นผู้รับฟงั และจดสิ่งที่ครบู อกลงในสมุด 1.7 นักเรยี นจะต้องทอ่ งจำกฎเกณฑ์ตลอดจนช่ือเฉพาะต่างๆ ทางไวยากรณ์ 1.8 นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดทสี่ อดคล้องกับเกณฑ์ไวยากรณน์ ั้นๆ 1.9 นกั เรียนไมไ่ ด้ฝึกนำคำศพั ท์มาใช้ในรูปประโยค 2. วธิ สี อนแบบตรง เปน็ วธิ ีการสอน ที่เนน้ ทักษะการฟงั และพูดใหเ้ กิดความเข้าใจก่อน แลว้ จึงฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขยี น โดยมีความเชือ่ วา่ เม่ือนกั เรียนสามารถฟงั และพดู ไดแ้ ล้ว กส็ ามารถอ่านและเขยี นไดง้ า่ ย และเร็วขึ้น ไมเ่ น้น ไวยากรณก์ ฎเกณฑ์มากนกั บทเรียนสว่ นใหญ่เป็นกิจกรรสนทนา นักเรียนไดใ้ ช้ภาษาเต็มที่ มลี ักษณะเด่น คอื 2.1 ครคู อยกระต้นุ ให้นกั เรยี นพูดโตต้ อบ 2.2 ครสู ร้างสภาพแวดล้อมหรอื ใช้สื่อท่เี อ้อื ตอ่ การการเรียนการสอน 2.3 อธิบายคำศัพท์เปน็ ภาษาองั กฤษ และใช้ตวั อยา่ งประกอบเป็นของจรงิ 2.4 การวัดผลเน้นทักษะการฟงั และพูด เช่นการเขยี นตามคำบอก การปฏิบตั ิตามคำสงั่ 3. วธิ สี อนแบบฟงั -พดู (Audio – Lingual Method) เป็นวิธีการสอนตามหลัก ภาษาศาสตร์ และวิธสี อนตามแนวโครงสร้าง เปน็ การสอนตามหลกั ธรรมชาติ คอื ฟัง พูด อ่าน และเขยี น สอนครบองค์ประกอบลำดบั จากงา่ ยไปหายาก มีลักษณะเดน่ คือ 3.1 ครูตอ้ งเปน็ แบบอย่างท่ดี ีในการใช้ภาษาที่เรยี นให้แกผ่ ้เู รยี นในการเลยี นแบบ 3.2 ครูจะจดั นำคำศัพท์และประโยคมาสรา้ งเปน็ รปู ประโยคให้นกั เรยี นพดู ตามซำ้ ๆ กนั ในรปู แบบต่างกัน 3.3 ครูมงุ่ เรื่องการฝึกรปู ประโยคทางภาษาในหอ้ งเรียนมากกวา่ ประโยชน์การใช้ภาษาในชีวติ ประจำวัน 3.4 นักเรียนจะต้องฝึกภาษาทเี่ รยี นซ้ำๆ 3.5 นกั เรยี นเปน็ ผู้ลอกเลยี นแบบ และปฏิบตั ิตามครจู ากสิ่งที่ง่ายไปหาสง่ิ ที่ยากจนเกดิ เป็นนิสัยสามารถพูด ได้อย่างอัตโนมัติ 68

4. วธิ กี ารสอนตามทฤษฎกี ารเรยี นแบบความรคู้ วามเขา้ ใจ (Cognitive Code Learning theory) วิธกี ารสอนแบบนี้ยดึ แนวคิดทีว่ ่าภาษา เป็นระบบท่ีเป็นไปตามกฎเกณฑ์ ความเข้าใจ และการแสดงออก ทางภาษาขน้ึ อยู่กับความเขา้ ใจ กฎเกณฑ์ เมอื่ ผู้เรียนมคี วามเขา้ ใจรูปแบบของภาษาและความหมายแล้ว กจ็ ะ สามารถใชภ้ าษาได้ มีลักษณะเดน่ คอื 4.1 ครมู ุ่งฝึกทักษะทุกดา้ นตัง้ แต่เริม่ สอน โดยไมจ่ ำเป็นต้องฝกึ ฟังและพดู ให้ดกี อ่ น แลว้ จึงอ่านและเขยี น ตามวิธสี อนแบบฟัง-พดู (Audio – Lingual Method) 4.2 ครสู อนเน้อื หาแตกต่างกัน ขึน้ อยู่กบั ความตอ้ งการท่แี ตกต่างของนกั เรยี น ทม่ี คี วามสามารถในทักษะ ฟังพูดอา่ นเขยี นท่แี ตกตา่ งกัน 4.3 สนับสนุนให้ผูเ้ รียนใชค้ วามคิด สติปัญญา และมคี วามรูส้ ึกทด่ี ตี ่อการเรียนภาษาอังกฤษ 4.4 ใช้ภาษาไทยในการช่วยอธิบาย แต่อธบิ ายในเรอ่ื งการฟงั และพดู 4.5 การวดั และประเมนิ ผลในด้านภาษาของนักเรยี นน้นั คือ ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาแต่ ละ ขน้ั ตอน 5. วธิ สี อนตามเอกตั ภาพ (Individualized Instruction) จากวิวัฒนาการสอน ภาษาองั กฤษ จะเหน็ ว่า ผู้เรียนเร่มิ มีบทบาทจากการเป็นผรู้ บั เพยี งฝ่ายเดียวมาเป็นผู้ ที่มีส่วนรว่ ม ในการเรียนการสอนมากขึ้นเป็นลำดับ มีลักษณะเด่น คอื 5.1 การสอนเปลย่ี นจากครเู ปน็ หลัก เปน็ ผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลาง 5.2ครพู ยายามใหน้ ักเรยี นมโี อกาสศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามความสามารถของแต่ละบุคคลใหไ้ ด้มากที่สุด 5.3 ครูเตรียมสอื่ การเรียนการสอนไวใ้ ห้ 5.4 ครจู ะเตรียม สอื่ เอกสาร บทเรียนโปรแกรม ชุดการเรียน คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนและแนวคำตอบไว้ให้ ให้นกั เรยี นเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 6. วธิ สี อนแบบการตอบสนองดว้ ยทา่ ทาง (Total Physical Response Method) แนวการสอนแบบน้ี ให้ความสำคัญต่อการฟงั เพื่อความเขา้ ใจ เม่ือผู้ฟังเข้าใจเร่อื งที่ฟังอยู่และสามารถ ปฏบิ ตั ิตามได้ก็จะช่วยใหจ้ ำได้ดี มีลักษณะเด่น คือ 6.1 ในระยะแรกของการเรียนการสอน ผู้เรยี นไมต่ อ้ งพูด แต่เป็นเพยี งผฟู้ ังและทำตามครู 6.2 ครูเป็นผู้กำกับพฤติกรรมของนักเรียนท้งั หมด ครจู ะเป็นผ้อู อกคำสัง่ เอง เม่อื ถึงระยะเวลาท่สี มควรพูด แล้วเรยี นอา่ นและเขียนตอ่ ไป 6.3 ภาษาท่นี ำมาใช้ในการสอนเน้นทภี่ าษาพดู เรียนเรอ่ื งโครงสร้างทางไวยากรณ์ และคำศพั ทม์ ากกวา่ ดา้ นอื่นๆ โดยอิงอยู่กบั ประโยคคำสง่ั 6.4 นกั เรยี นจะเขา้ ใจความหมายได้อยา่ งชดั เจนจากการแสดงทา่ ทางของครู 6.5 ครูทราบไดท้ นั ทีว่านักเรยี นเข้าใจหรอื ไม่ จากการสงั เกตการปฏิบัติตามคำสั่งของนักเรียนเมือ่ ครสู ัง่ 69

6.6 ครตู อ้ งทำพร้อมกับนักเรยี นในระยะแรก 6.7 ต้องสงั่ จากงา่ ยไปหายาก 7. วธิ กี ารสอนแบบอภปิ ราย (Discussion Method) เปน็ วิธีการสอนท่ีม่งุ ใหผ้ ู้เรียน รูจ้ กั การทำงานเป็นกลมุ่ รวมพลงั ความคดิ เพ่อื พจิ ารณาหาทางแก้ไขปัญหา หาข้อเท็จจรงิ มลี ักษณะเดน่ คือ 7.1 ฝึกให้นกั เรยี นกลา้ แสดงออก กลา้ แสดงความคดิ เหน็ กล้าพูด อย่างมีเหตุผล ฝกึ การเปน็ ผูฟ้ ังทีด่ ี ฝึกให้ เป็นคนมรี ะเบียบวินัย และอดทนท่ีจะรบั ฟังความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน 7.2 ครูสรา้ งสถานการณ์ใหนักเรียนทำงานวา่ สมมตุ นิ กั เรยี นจะเข้าค่ายพกั แรมเป็นเวลา 5 วนั นกั เรียน จะต้องเตรยี มเครอ่ื งใชอ้ ะไรไปบา้ งช่วยกนั อภิปราย และสรปุ ผลออกมาเป็นรายงานสง่ ครู เป็นต้น 8. วธิ กี ารสอนแบบโครงการ (Project Method) เป็นวิธที ่สี อนใหผ้ ูเ้ รยี นทำกิจกรรม ใดกิจกรรมหนง่ึ ทผ่ี เู้ รียนสนใจ หรอื ตามทคี่ รมู อบหมายให้ทำ มีลักษณะ เดน่ คอื 8.1 นักเรียนจะดำเนนิ การอย่างอิสระ 8.2 ครเู ป็นเพียงผชู้ แ้ี นะช่วยเหลอื และตดิ ตามผลงานของนักเรียนวา่ การดำเนนิ การ ความกา้ วหนา้ อปุ สรรคการประเมินผลงานใดบา้ ง 8.3 นกั เรียนจะมอี ิสระในการใช้ภาษาไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี 9. วธิ สี อนภาษาแบบกลมุ่ สมั พนั ธ์ (Community Language Learning) วธิ ีการ สอนแบบน้มี ีแนวคิดท่ีต่างไปจากแนวคิดอ่ืน มีลกั ษณะเด่น คอื 9.1 ยดึ ผเู้ รยี นเป็นหลัก 9.2 เน้นการพฒั นาความสัมพนั ธร์ ะหว่างครูกบั นักเรยี น และระหว่างนกั เรยี นด้วยกนั ทำใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความร้สู กึ วา่ เป็นส่วนหนึง่ ของกลมุ่ 9.3 นกั เรียนแต่ละคนรว่ มกจิ กรรม 9.4 ครูทำหนา้ ท่ีเป็นผู้ใหค้ ำปรกึ ษาดา้ นภาษาเทา่ นน้ั สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมคี วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ 9.5 เน้นการใช้ภาษาเพื่อการสอื่ สาร ส่ิงท่ีนำมาเรียนสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ การฝึกให้ผ้เู รียน ใชโ้ ครง สรา้ งประโยค คำศัพทแ์ ละเสียง ตามวิธีการสอนแบบกลุม่ สมั พนั ธ์ 9.6 การประเมนิ ผลการเรยี นนน้ั จะเปน็ การทดสอบแบบบูรณาการโดยให้นกั เรียนประเมนิ ตนเอง ดจู าก การเรียนรู้ของตนเอง และความก้าวหนา้ ของตน 9.7 ถา้ นักเรยี นมที ผ่ี ดิ ครจู ะพยายามแกไ้ ข โดยไม่ใชว้ ธิ ีคกุ คาม โดยให้ฝึกทำซ้ำๆ กัน 10. วธิ สี อนตามแนวการสอนภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร (Communicative Approach) จากข้อเท็จจรงิ พบวา่ ถึงแม้นกั เรยี น จะเรยี นรโู้ ครงสรา้ งของภาษามาแลว้ เป็นอยา่ งดี แตก่ ็ยงั ไม่สามารถ พูดไดห้ รือสือ่ สารไดด้ ีนัก ด้วยเหตุผลน้ีนกั ภาษาศาสตรแ์ ละผู้ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การเรียนภาษาตา่ งประเทศ ไดเ้ สนอ แนวการสอนแบบใหม่ คือ การสอนเพือ่ การสื่อสาร โดยมีความเชือ่ ว่าภาษาไมไ่ ดเ้ ป็นเพียงระบบไวยากรณท์ ี่ 70

ประกอบดว้ ยเสียง ศพั ท์ และโครงสร้างเทา่ นั้น แต่ภาษาคือ ระบบที่ใช้ในการส่อื สาร ดังนน้ั การสอน จงึ ควรให้ นักเรยี นสามารถนำภาษาไปใช้ในการสอ่ื สารได้ และจะตอ้ งใช้ภาษาให้เหมาะสมตามสภาพสงั คมด้วย การสอนภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร : CLT การสอนตามแนวส่ือสารได้ถกู พฒั นาขึ้นคร้ังแรก ในแถบอเมริกาเหนือและยุโรปในช่วงปี 1970 การสอน ตามแนวสอ่ื สารเกดิ ข้นึ ในยโุ รป เพราะในชว่ งเวลาดังกล่าวมผี ูอ้ พยพเข้าไปอาศัยในยุโรปเปน็ จำนวนมาก สมาพนั ธ์ ยโุ รป (Council of Europe) จึงมคี วามจำเป็นต้องพฒั นาหลักสตู รการสอนภาษาท่ีสองแบบเน้นหน้าท่แี ละสอ่ื ความหมาย (functional national syllabus design) เพ่ือช่วยให้ผ้อู พยพสามารถใช้ภาษาที่สองในการส่อื สาร ใน สว่ นของอเมรกิ าเหนอื ไฮมส์ (Hymes) ไดใ้ ชค้ ำวา่ ความสามารถในการใชภ้ าษาเพ่อื การสือ่ สาร (communicative competence) หมายถงึ ความสามารถในการปฏสิ ัมพันธ์ หรือปะทะสงั สรรคท์ างดา้ นสังคม (social interaction) ซึ่งความสามารถทางด้านภาษาที่สำคัญท่ีสุดคือ ความสามารถท่จี ะพูดหรอื เข้าใจคำพดู ท่อี าจไมถ่ กู หลกั ไวยากรณ์ แตม่ คี วามหมายเหมาะสมกบั สภาพการณ์ทค่ี ำพูดนัน้ ถูกนำมาใช้ การสอนภาษาแบบส่ือสาร (Communicative Language Teaching - CLT) คือแนวคิดซงึ่ เช่ือมโยง ระหว่างความรทู้ างภาษา (linguistic knowledge) ทกั ษะทางภาษา (language skill) และความสามารถในการ ส่อื สาร (communicative ability) เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นสามารถเรียนรูโ้ ครงสรา้ งภาษาเพอ่ื สือ่ สาร มีองค์ประกอบของ ความสามารถในการสอื่ สาร 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 1. ความสามารถทางด้านไวยากรณห์ รอื โครงสรา้ ง (grammatical competence) หมายถงึ ความรู้ ทางด้านภาษา ได้แก่ ความรู้เกย่ี วกับคำศัพท์ โครงสรา้ งของคำ ประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสยี ง 2. ความสามารถด้านสงั คม (sociolinguistic competence) หมายถึงการใช้คำ และโครงสร้างประโยค ได้เหมาะสมตามบริบทของสังคม เช่น การขอโทษ การขอบคุณ การถามทศิ ทางและข้อมูลต่าง ๆ และการใช้ ประโยคคำสง่ั เป็นตน้ 3. ความสามารถในการใชโ้ ครงสรา้ งภาษาเพอื่ สอื่ ความหมายด้านการพดู และเขยี น (discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมระหวา่ งโครงสรา้ งภาษา (grammatical form) กบั ความหมาย (meaning) ในการพูดและเขยี นตามรปู แบบ และสถานการณ์ที่แตกต่างกนั 4. ความสามารถในการใช้กลวิธีในการสื่อความหมาย (strategic competence) หมายถึงการใชเ้ ทคนิค เพื่อให้การตดิ ต่อส่ือสารประสบความสำเร็จโดยเฉพาะการส่ือสารดา้ นการพดู ถา้ ผ้พู ดู มีกลวิธีในการท่ีจะไมท่ ำให้ การสนทนาน้นั นน้ั หยุดลงกลางคนั เช่นการใช้ภาษาท่าทาง (body language) การขยายความโดยใช้คำศัพท์อนื่ แทนคำท่ีผู้พูดนึกไม่ออก เป็นต้น จะเห็นได้ว่า CLT ยงั คงให้ความสำคญั กบั โครงสรา้ งทางไวยากรณ์ แตใ่ นการสอนโครงสรา้ งทางไวยากรณ์ ตอ้ งเน้นให้ผูเ้ รียนคน้ หากฎเกณฑ์จากสถานการณ์ทางภาษา สอนแบบ Inductive และในการสอนต้องเน้นการนำ หลักไวยากรณ์เหล่าน้ไี ปใช้เพื่อการส่ือความหมายหรอื การสอ่ื สาร มหี ลกั การสำคญั คือ เนน้ การเรียนทตี่ อ้ งทำให้เกดิ การสอ่ื สารที่ใช้ไดจ้ ริง เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดถ้ าม ตอบ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ผ้สู อนต้องเข้าใจความผิดพลาดทาง 71

เก่ยี วกบั กฎเกณฑท์ างภาษาที่เกิดข้ึนและแก้ไขในเวลาอนั เหมาะสมเพือ่ ให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะในการส่ือสาร ทั้งนี้ การฝึกย้ำซ้ำทวนจะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกดิ ความคล่องแคลว่ ในการจดั การเรียนรภู้ าษาเพ่อื การส่อื สาร (CLT) ผู้สอน ผ้เู รียน กจิ กรรมและส่ือการเรียนรมู้ เี ปน็ ส่วน สำคัญท่ีสนับสนุนซ่ึงกนั และกนั มบี ทบาทและความสำคัญทีแ่ ตกตา่ งและเกอื้ หนนุ กนั ดงั น้ี บทบาทของผเู้ รยี น (learner roles) ผเู้ รียนคอื ผูป้ รกึ ษา (negotiator) การเรยี นรูเ้ กดิ จากการปรกึ ษาหารอื ในกลุม่ ผเู้ รียน โดยผู้สอนจัดกจิ กรรม ให้ผเู้ รยี นไดม้ โี อกาสทำงานร่วมกนั เปน็ กลุ่มเลก็ ๆ จดุ มงุ่ หมายหลักในการทำกิจกรรมกล่มุ คือม่งุ ให้ผเู้ รยี นชว่ ยเหลือ ซึง่ กันและกนั ร้จู ักการใหพ้ อ ๆ กับการรบั บทบาทของครู (teacher roles) ครูมีบทบาทที่สำคัญ 3 บทบาท คือผู้ดำเนินการ (organizer, facilitator) เตรียมและดำเนินการจัด กิจกรรม ผู้แนะนำหรือแนะแนว (guide) ขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ และเป็นผู้วิจัยและผู้เรียน (researcher, learner) เรียนรู้พฤตกิ รรมการเรียนของนักเรียนแต่ละคน นอกจากนนั้ ครอู าจมีบทบาทอน่ื ๆ เช่น ผู้ให้คำปรึกษา (counselor) ผ้จู ัดการกระบวนการกลุ่ม (group process manager) ครูตามแนวการสอนแบบ CLT เป็นครทู ี่เปน็ ศูนย์กลางน้อยทสี่ ดุ (less teacher centered) นัน่ คอื ครูมีหน้าทดี่ ำเนินการจัดกิจกรรมเพอ่ื การสอื่ สารและในช่วง ทน่ี กั เรียนทำกจิ กรรมครูจะกระตนุ้ ให้กำลังใจชว่ ยเหลอื ให้ผ้เู รยี นสามารถใชภ้ าษาเพอื่ การส่ือสารให้ได้ความหมาย และถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ อันเป็นการเช่ือมช่องว่างระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ (grammar competence) และความสามารถทางดา้ นส่อื สาร (communicative competence) ของผเู้ รียน บทบาทของสอื่ การเรยี นการสอน (the role of instructional materials) การสอนตามแนว CLT จำเปน็ ท่ีต้องใช้สอื่ ทห่ี ลากหลาย เพราะสอื่ มีความสำคัญต่อการเรยี นแบบเน้น ปฏิสัมพนั ธห์ รอื การเรยี นแบบรว่ มมือและการฝึกใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร สอ่ื ทส่ี ำคัญ 3 อย่าง ที่ใช้สำหรบั การสอน ตามแนว CLT ได้แก่ เน้อื หา (text-based) งาน/กจิ กรรม (task-based) ของจริง (realia)  เนื้อหา (text-based material) ในปจั จุบนั มีตำราเรียนจำนวนมากมายทีส่ อดคล้องกบั การเรยี น/ สอนตามแนว CLT ซง่ึ การออกแบบตำราเรยี นกจิ กรรมและเนอ้ื หาแตกตา่ งจากตำราทแ่ี ต่งข้นึ มาเพ่ือสอนไวยากรณ์ ยกตวั อยา่ ง แบบเรยี น CLT จะไมม่ แี บบฝึกหัด (drill) หรือโครงสร้างประโยคสว่ นมากแบบเรียนทีเ่ น้น CLT จะ ประกอบไปด้วยข้อมูลในรูปต่าง ๆ เช่น การจัดสถานการณ์ท่ีให้ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมตุ ิหรือกจิ กรรมคู่ หรืออาจ กำหนดเร่อื ง (theme) ที่จะเรยี นแลว้ มีกิจกรรมทอ่ี อกแบบขึ้นมาเพ่ือช่วยให้ผเู้ รยี นเข้าใจเรอ่ื งนน้ั งาน/กิจกรรม (task-based material) เกมส์ตา่ ง ๆ บทบาทสมมตุ ิ การเลียนแบบ และกิจกรรมอน่ื ๆ เชน่ กจิ กรรมการสอบถามแลกเปลี่ยนข้อมูล (gap conversation) กจิ กรรม Jigsaw ท่เี นน้ ให้ผูเ้ รยี นไดม้ ี ปฏสิ ัมพันธท์ ำงานเปน็ กลุ่มรว่ มมอื กัน  ส่อื ทเ่ี ปน็ ของจริง (realia) CLT เน้นการใชส้ ่ือท่เี ปน็ ของจริง (authentic material) เช่น ป้ายประกาศโฆษณา หนงั สอื พิมพ์รูปภาพ แผนที่ เปน็ ต้น 72

ภาพประกอบท่ี 9 สอ่ื ที่เป็นกจิ กรรม (task-based materials) ภาพประกอบท่ี 10 ส่ือท่ีเป็นของจรงิ (realia) กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนวคดิ CLT กจิ กรรมการสอน CLT คือกิจกรรมทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การใชภ้ าษา เพ่อื การส่อื สารในสถานการณ์จรงิ หรือการ ใช้ภาษาอย่างมีความหมาย กิจกรรมการสอนตาม แนว CLT เป็นกิจกรรมทเี่ กย่ี วกบั กระบวนการแลกเปล่ียนขอ้ มูล (information sharing) การปฏสิ ัมพนั ธ์ (interaction) CLT มกั จะถูกเรียกว่า เปน็ แนวคดิ (approach) มากกวา่ วธิ ีสอน (method) เพราะ CLT สว่ นมากแล้วจะกลา่ วถงึ แนวคิดทีก่ ว้างๆ ยืดหยุน่ ตามความต้องการของผู้เรยี นและ ส่งิ แวดล้อมของผู้เรียน ลกั ษณะพ้ืนฐานของ CLT มดี ังนี้ 1. เนน้ การเรยี นโดยวิธสี ่ือสารผ่านการปฏสิ มั พันธโ์ ดยใช้ภาษาเปา้ หมาย (target language) 2. เนน้ การใชส้ ่ือและเนือ้ หาที่เปน็ ของจรงิ (authentic material) 3. เน้นท้ังทักษะภาษา (language skill) และกระบวนการเรียนรู้ (learning process) 4. สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นไดร้ บั ประสบการณ์ ผู้เรยี นมสี ่วนสำคัญในกระบวนการเรียนรู้ในช้นั เรยี น 5. เช่ือมตอ่ ระหว่างการเรยี นภาษาในชนั้ เรียนกับการเรียนและการใช้ภาษานอกหอ้ งเรียน กระบวนการสอนภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร 1.ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น (Warm up/Lead in) มีจุดมงุ่ หมายเพอ่ื ใหน้ ักเรียนเกดิ ความพรอ้ มและอยากรู้ อยากเรียนในบทใหม่ เน้ือหาจะเชื่อมโยงไปสูส่ าระสำคัญของบทน้ันๆ เมื่อครผู ู้สอนเห็นวา่ นกั เรียนมคี วามพรอ้ ม 73

เกดิ ความสนุก และสนใจอยากเรียนแล้ว ก็เริ่มเรยี นเนอื้ หาตอ่ ไป กิจกรรมทกี่ ำหนดไวใ้ นขั้นน้ีมหี ลากหลาย เช่น เลน่ เกม ปรศิ นาคำทาย เพ่ือทบทวนความรทู้ ่ีเรียนมาแลว้ 2.ขั้นนำเสนอ (Presentation) ในขน้ั นีค้ รูจะให้ข้อมลู ทางภาษาแก่นกั เรียน มีการนำเสนอศัพท์ใหม่ เนื้อหา ใหม่ให้เขา้ ใจทงั้ รปู แบบและความหมาย กิจกรรมทก่ี าหนดไว้ประกอบด้วยการใหฟ้ ังเน้ือหาใหมใ่ ห้นกั เรยี น ฝกึ พูดตาม ในขนั้ นค้ี รูเปน็ ผู้ให้ความรู้ทางภาษาท่ีถูกตอ้ ง และเปน็ แบบอย่างที่ถูกต้องในการออกเสียง คอื Informant (ผใู้ ห้ความร)ู้ รูปแบบของภาษาจึงเนน้ ทคี่ วามถกู ตอ้ ง (Accuracy) เป็นหลกั 3.ข้ันฝึก (Practice) ในขน้ั นี้นกั เรียนจะไดฝ้ ึกใชภ้ าษาท่ีเรียนมาแล้วในขนั้ นำเสนอ โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ ห้ นกั เรียนใชภ้ าษาไดถ้ กู ต้อง ขณะเดยี วกันก็เนน้ เรื่องการใชภ้ าษาให้คลอ่ งแคลว่ (fluency) การฝกึ อาจจะฝกึ ท้งั ช้นั เป็นกลุ่ม เปน็ คู่ หรือรายบุคคล ขน้ั นีเ้ ป็นโอกาสที่ครูจะแก้ไขขอ้ ผิดพลาดของนกั เรยี นในการใช้ภาษา ซ่งึ การแกไ้ ข ข้อผิดพลาดนนั้ ควรทำหลังการฝกึ หากทำระหว่างท่นี ักเรยี นกำลงั ลองผิดลองถกู อยคู่ วามมั่นใจท่ีจะใชภ้ าษาให้ คลอ่ งแคลว่ อาจลดลงได้ กิจกรรมทีก่ ำหนดไวใ้ นคู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ มที ้ังในลักษณะท่ีกล่าวมานี้ และ ในลกั ษณะทเี่ ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนไดฝ้ ึกอย่างอสิ ระ Learning by Doing 4.ขั้นการใช้ภาษา (Production) มจี ุดมุ่งหมายเพอ่ื ให้นักเรยี นนำคำหรือประโยคทฝ่ี กึ มาแลว้ มาใช้ใน สถานการณ์ต่างๆ ในรปู แบบกจิ กรรมหลากหลาย เพอ่ื ใหเ้ กิดความคล่องแคลว่ (fluency) และเกิดความสนุกสนาน ในขัน้ นเ้ี ป็นขนั้ ทเ่ี นน้ นักเรยี นเปน็ ผู้ ทำกจิ กรรม ครคู อยใหค้ วามช่วยเหลือ ถา้ นักเรยี นผดิ พลาด อย่าขัดจังหวะ ให้ปล่อยไปกอ่ น เพอื่ ให้นักเรียนรูส้ ึกสบายใจกจิ กรรมทกี่ ำหนดไว้มหี ลากหลาย เช่น การเล่นเกม การทำชิ้นงาน การทำแบบฝกึ การนำเสนอผลงาน 5.ข้ันสรปุ (Wrap up) เป็นขนั้ สุดท้ายของการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในแตล่ ะชั่วโมง จดุ ประสงคค์ ือ เพ่อื สรปุ สิ่งท่ไี ด้เรียนแล้ว กิจกรรมท่เี สนอแนะไวอ้ าจจะเป็นการนำเสนอรายงานของกลุ่ม ทำแบบฝึกหัดเพื่อสรปุ ความรู้ หรือเลน่ เกมเพอ่ื ทดสอบสงิ่ ที่เรยี นมาแล้ว การสอนทกั ษะการฟงั ภาษาองั กฤษ การออกแบบกิจกรรมเพอ่ื สง่ เสริมทกั ษะการฟัง ครคู วรคำนึงถึงสถานการณ์หรือบริบทโดยเลือกเนื้อหา และออกแบบกิจกรรมทห่ี ลากหลาย น่าสนใจ มีข้อควรพจิ ารณา 2 ประการ คอื 1.1 สถานการณ์ในการฟัง สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดการฟังภาษาอังกฤษได้น้นั ควรเป็นสถานการณข์ อง การฟังที่เกดิ ขน้ึ ในชีวติ จริงสถานการณจ์ รงิ หรือสถานการณ์จำลองในห้องเรียน ซงึ่ อาจเป็นการฟงั คำส่ังครูการฟัง เพื่อนสนทนา การฟงั บทสนทนาจากบทเรียน การฟังรายการวทิ ยโุ ทรทศั น์วดี ทิ ศั น์ 1.2 กิจกรรมในการสอนฟัง แบง่ เป็น 3 กิจกรรม คอื 1.2.1 กิจกรรมก่อนการฟงั (Pre-listening) ผูฟ้ งั จะฟังข้อความไดอ้ ย่างเข้าใจ ควรมีข้อมูล บางสว่ นเกยี่ วกบั ขอ้ ความทีฟ่ งั โดยครูผู้สอนอาจใช้กจิ กรรมนำให้ผูเ้ รียนได้มีขอ้ มูลบางส่วนเพ่ือชว่ ยสรา้ งความ เข้าใจในบรบิ ท ก่อนการรับฟงั สารท่ีกำหนดให้เชน่ การใช้รูปภาพ อาจให้ผเู้ รยี นดูรูปภาพทเ่ี กีย่ วกับเรือ่ งทจ่ี ะฟงั สนทนาอภปิ ราย หรือหาคำตอบเกีย่ วกับภาพน้ันๆเพื่อเปน็ การเตรยี มตวั ลว่ งหนา้ เก่ยี วกบั ข้อมูลประกอบการฟงั 74

และคน้ หาคำตอบท่ีจะได้จากการฟังสารนนั้ ๆ 1.2.2 กจิ กรรมระหวา่ งการฟงั หรอื กิจกรรมขณะสอน (While-listening) เปน็ กิจกรรมที่ให้ ผูเ้ รยี นไดฝ้ กึ ปฏิบัติในขณะท่ฟี งั สารนั้นๆกิจกรรมนมี้ ใิ ช่การทดสอบการฟังแต่เป็นการฝกึ ทักษะการฟังเพือ่ ความ เข้าใจ 1.2.3 กจิ กรรมหลังการฟัง (Post-listening) เปน็ กิจกรรมทจี่ ะมุง่ ใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกการใชภ้ าษา ภายหลังจากท่ไี ด้ฝกึ ปฏิบตั กิ ิจกรรมระหวา่ งการฟงั แล้ว เชน่ อาจฝึกทกั ษะการเขยี น สำหรบั ผูเ้ รียนระดับตน้ โดยให้ เขยี นตามคำบอก (Dictation) ประโยคท่ีได้ฟงั มาแลว้ เปน็ การตรวจสอบความรู้ความถูกต้องของการเขยี นคำศัพท์ สำนวน โครงสร้างไวยากรณ์ของประโยคนนั้ ๆ หรอื ฝึกทกั ษะการพดู การสอนทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษ ในการจดั การเรียนการสอนการพดู ภาษาองั กฤษควรจัดให้เหมาะสม โดยออกแบบกิจกรรมเพือ่ เสริม ทกั ษะการพดู จากง่ายไปหายากเพอ่ื ลดความวิตกกังวลของนักเรียน กิจกรรมควรเป็นที่ยอมรบั ของเจา้ ของภาษา ดว้ ย นกั เรยี นควรได้รับการส่งเสรมิ พฒั นาการทางการพูดท่เี หมาะสมและได้ฝึกบ่อยๆเพื่อการสอ่ื สารถา่ ยทอด ความรู้สกึ นกึ คิดและความต้องการของตนเองใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจ การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษมขี ้ันตอนต่างๆกัน ดังต่อไปนี้ 1.1 ข้ันบอกจุดประสงคแ์ ละขน้ั เสนอเน้ือหา ครคู วรจะบอกให้นกั เรียนรถู้ งึ สง่ิ ที่จะเรียน โดยการต้งั คำถาม เล่าเรื่อง หรือใช้ส่อื ตา่ งๆช่วงหลงั จากนำเสนอเนอ้ื หาซ่งึ อยใู่ นรปู บริบท ครูจะต้องให้นกั เรียนสงั เกตลักษณะของ ภาษา ความหมายของข้อความทีจ่ ะพดู เชน่ ผพู้ ดู เปน็ ใคร พดู เก่ยี วกับอะไร สถานทพี่ ูดและจดุ ประสงคใ์ นการพูด 1.2 ขัน้ การฝึกการฝึกจะกระทำทันทีหลังจากเสนอเนื้อหาอาจจะฝกึ พูดพร้อมๆกันหรือเปน็ คู่ โดยการฝกึ เรมิ่ จากการฝึกโดยมีกรอบหรอื การควบคุม ตอ่ มากล็ ดการควบคมุ ลงจนนักเรียนสามารถใชภ้ าษาได้ 1.3 สถานการณ์ที่เปน็ จรงิ เชน่ การทำบทบาทสมมติการนำเสนอ การสาธิต เป็นตน้ การสอนทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษ แบ่งเปน็ 3 กจิ กรรม คอื 1.1 กิจกรรมนำเข้าสู่การอา่ น (Pre-Reading Activities) เป็นการสร้างความรสู้ นใจ และปูพื้นความรูใ้ น เรือ่ งที่จะอา่ น ครผู ู้สอนอาจใช้กิจกรรมนำให้นักเรียนได้มีข้อมลู บางสว่ น เพื่อช่วยสร้างความเข้าใจในบรบิ ทกอ่ น เรม่ิ ต้นอา่ นสารที่กำหนดให้โดยท่ัวไป มี 2 ขน้ั ตอน คอื - ขั้น Personalization เป็นข้นั สนทนา โตต้ อบ ระหว่างครกู บั นกั เรียน หรอื ระหว่างนกั เรียนกบั นักเรียน เพอ่ื ทบทวนความรู้เดิมและเตรยี มรับความรู้ใหมจ่ ากการอา่ น - ขั้น Predicting เป็นข้ันท่ีให้นักเรียนคาดเดาเก่ียวกบั เรอื่ งท่ีจะอา่ น โดยอาจใชร้ ปู ภาพแผนภมู ิ หวั เร่ือง ฯลฯ ที่เก่ียวขอ้ งกบั เรื่องที่จะไดอ้ า่ น แล้วนำมาสนทนา หรืออภิปราย หรอื หาคำตอบเกี่ยวกับภาพนั้นๆ หรืออาจฝกึ กจิ กรรมทเ่ี กี่ยวกบั คำศพั ท์เชน่ ขีดเสน้ ใต้หรอื วงกลมล้อมรอบคำศัพท์ในสารทอี่ ่าน 75

1.2 กจิ กรรมระหวา่ งการอ่าน หรอื ขณะทส่ี อนอา่ น (While-Reading Activities) เป็นการทำความเข้าใจ โครงสร้างและเน้ือความในเรื่องทอ่ี า่ น กิจกรรมนมี้ ใิ ช่การทดสอบการอ่าน แต่เปน็ การ “ฝึกทักษะการอา่ นเพือ่ ความ เข้าใจ”กจิ กรรมระหว่างการอ่านน้ีควรหลกี เลย่ี งการจดั กจิ กรรมทมี่ ุง่ เนน้ ใหน้ กั เรยี นไดป้ ฏบิ ตั ทิ กั ษะอ่ืนๆ เชน่ การ ฟัง หรือการเขยี น อาจจดั กจิ กรรมให้พดู โต้ตอบได้บ้างเลก็ น้อย 1.3 กจิ กรรมหลังการอ่าน (Post-Reading Activities) เป็นกิจกรรมทม่ี งุ่ ให้นกั เรยี นไดฝ้ ึกการใชภ้ าษาใน ลักษณะทกั ษะสัมพันธเ์ พ่ิมขึ้นจากการอ่าน ท้งั การฟัง การพดู และการเขียน หลงั จากทีไ่ ด้ฝกึ ปฏิบตั ิกจิ กรรม ระหว่างการอา่ นแล้ว โดยอาจฝึกการแขง่ ขันเกี่ยวกบั คำศพั ท์ สำนวน ไวยากรณจ์ ากเรอื่ งท่ีได้อ่านเป็นการ ตรวจสอบทบทวนความร้คู วามถกู ตอ้ งของคำศัพท์สำนวน โครงสร้างไวยากรณ์ หรือฝกึ ทกั ษะการฟงั การพดโู ดยให้ นกั เรยี นรว่ มกนั ตัง้ คำถามเก่ยี วกับเนอ้ื เรือ่ งและชว่ ยกันหาคำตอบ สำหรับนักเรยี นระดับสูงอาจใหพ้ ูดอภิปราย เกย่ี วกับอารมณห์ รือเจตคตขิ องผู้เขียนเรอ่ื งนนั้ หรอื ฝึกทักษะการเขียนแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับเรื่องทไ่ี ด้อา่ น ให้ แสดงบทบาทสมมติให้เขียนเรื่องหรือเขียนโต้ตอบ การสอนทกั ษะการเขยี นภาษาองั กฤษ การเขยี น คอื กระบวนการของการถ่ายทอดความรสู้ ึกนกึ คดิ ของผเู้ ขียนออกมา โดยใช้สญั ลักษณ์ ตวั อักษรซ่งึ ผเู้ ขยี นจะตอ้ งเรียบเรียงความคิดอย่างเป็นระบบ และถูกต้องตามโครงสร้างและไวยากรณข์ องการเขียน เพอ่ื สอ่ื ความหมายใหผ้ ู้อ่านเข้าใจ การสอนเขยี นภาษาองั กฤษของนกั เรียนไทย จดุ มุง่ หมายเพ่อื ให้นกั เรียนสามารถ เขยี นเลยี นแบบเจา้ ของภาษา เปน็ การฝึกทักษะการเขยี นอยา่ งเป็นระบบที่ถกู ต้อง ดังนัน้ ส่งิ ที่ครูต้องคำนงึ ถึงให้มาก ที่สดุ คือต้องให้นักเรียนมขี อ้ มูลเกยี่ วกับคำศพั ท์ (Vocabulary) ไวยากรณ์(Grammar) และเนือ้ หา (Content) อยา่ งเพยี งพอท่จี ะเป็นแนวทางใหน้ ักเรียนสามารถคิดและเขียนไดก้ ารสอนการเขยี นอาจแบง่ ได้เปน็ 4 ลักษณะ ดังน้ี 1.1 การเขียนแบบคัดลอก (Mechanical Copying) คอื การลอกคำ ข้อความ หรอื ประโยคโดยไมต่ ้อง สร้างภาษาของตนเอง มกั เป็นกจิ กรรมทีใ่ ชก้ บั นกั เรียนในระดบั ต้นๆ เช่น การคดั ลายมือ เขยี นตามรอยประ 1.2 การเขียนแบบควบคุม (Controlled Writing) เป็นกิจกรรมในการสอนทกั ษะการเขียนท่มี งุ่ เนน้ ใน เรื่องความถูกต้องของรปู แบบ โดยครใู ห้เน้อื หาและรปู แบบภาษาสำหรบั นกั เรยี นใชใ้ นการเขียน ครูจะเปน็ ผู้กำหนด สว่ นทีเ่ ปลีย่ นแปลงใหน้ กั เรียน นักเรียนจะถกู จำกัดในดา้ นความคิดอิสระสรา้ งสรรค์ เช่น การเปลี่ยนรูปทาง ไวยากรณ์คำศพั ทใ์ นประโยค รปู แบบประโยคท่ีตอ้ งใช้ 1.3 การเขียนแบบกึง่ ควบคุม (Less– Controlled Writing) เป็นแบบฝึกเขยี นทม่ี ีการควบคมุ น้อยลงและ นักเรียนมีอิสระในการเขียนมากขน้ึ การฝึกการเขียนในลักษณะนค้ี รูจะกำหนดเคา้ โครงหรือรปู แบบ แลว้ ให้ นักเรยี นเขยี นต่อเติมส่วนท่ขี าดหายไปใหส้ มบรู ณ์ 76

1.4 การเขยี นแบบอิสระ (Free Writing) เปน็ แบบฝกึ เขียนทไี่ ม่มีการควบคุมแตอ่ ยา่ งใดนักเรียนมอี ิสระ ในการเขยี น เปิดโอกาสให้นักเรียนไดแ้ สดงความคิดจินตนาการอย่างกวา้ งขวางการเขยี นในลักษณะนี้ครจู ะกำหนด เพียงหัวข้อแลว้ ให้นักเรยี นเขียนเร่ืองราวตามความคิดของตนเอง วธิ ีการน้ชี ่วยใหน้ ักเรียนพฒั นาทักษะ ความสามารถในการเขยี นได้เต็มท่ี การสอนไวยากรณเ์ พอ่ื การสอื่ สาร การสอนภาษาแบบสอื่ สาร (Communicative Language Teaching : CLT) คอื แนวคดิ ซ่งึ เชอื่ มระหวา่ ง ความรทู้ างภาษา (linguistic knowledge) ทกั ษะทางภาษา (language skills) และความสามารถในการส่อื สาร (communicative ability) เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรโู้ ครงสร้างภาษาเพ่อื สื่อสารการสอนโครงสรา้ งทาง ไวยากรณ์ตอ้ งเนน้ การนำหลกั ไวยากรณ์เหล่านไี้ ปใช้เพือ่ การสื่อความหมายหรอื การส่ือสารดังน้นั ความคล่องแคลว่ ในการใช้ภาษา (fluency)และความถูกตอ้ งในการใชภ้ าษา (accuracy) จงึ มคี วามสำคญั เท่ากนั กระบวนการสอน ไวยากรณ์เพอื่ การส่อื สารมขี ้ันตอนดงั นี้ 1.1 ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน (Warm up/Lead in) มีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ให้นกั เรียนเกิดความพรอ้ มและ อยากรอู้ ยากเรียนในบทใหม่ เมือ่ ครูผสู้ อนเหน็ ว่านักเรียนมีความพรอ้ ม เกิดความสนกุ และสนใจอยากเรยี นแลว้ จงึ เร่ิมเรียนเน้ือหาต่อไป กจิ กรรมที่กำหนดไว้ในข้ันนม้ี หี ลากหลาย เช่น เลน่ เกม ปริศนาคำทายเพ่ือทบทวนความรทู้ ่ี เรยี นมาแลว้ 1.2 ขั้นนำเสนอ (Presentation) ในขนั้ น้ีครูจะใหข้ ้อมูลทางภาษาแกน่ กั เรียน มีการนำเสนอศัพท์ใหม่ โครงสร้างทางไวยากรณ์ เน้ือหาใหม่ ให้เขา้ ใจทัง้ รูปแบบและความหมาย กิจกรรมท่ีกำหนดไว้ประกอบด้วยการให้ ฟังเน้ือหาใหม่ ให้นักเรียนฝกึ พดู ตาม ในขัน้ น้ีครูเปน็ ผู้ใหค้ วามร้ทู างภาษาที่ถกู ต้องและเปน็ แบบอยา่ งท่ีถกู ต้องใน การออกเสยี ง คอื Informant (ผู้ใหค้ วามรู้) รปู แบบของภาษาจึงเน้นทีค่ วามถกู ตอ้ ง (Accuracy) เป็นหลกั 1.3 ขน้ั ฝกึ (Practice) ในขน้ั น้ีนักเรียนจะได้ฝึกใช้ภาษาทเ่ี รยี นมาแลว้ ในขัน้ นำเสนอ โดยมี วตั ถุประสงค์ใหน้ กั เรียนใช้ภาษาได้ถูกตอ้ ง ขณะเดียวกันก็เนน้ เรือ่ งการใช้ภาษาให้คลอ่ งแคลว่ (fluency) การฝกึ อาจจะฝึกทง้ั ช้นั เป็นกลุ่ม เปน็ คู่ หรอื รายบคุ คลข้ันนีเ้ ปน็ โอกาสทค่ี รูจะแก้ไขขอ้ ผิดพลาดของนกั เรยี นในการใช้ ภาษาซึง่ การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดน้ันควรทำหลังการฝึก 1.4 ขั้นการใช้ภาษา (Production) มีจุดม่งุ หมายเพ่อื ให้นักเรียนนำคำหรอื ประโยคทฝ่ี กึ มาแลว้ มาใช้ ในสถานการณต์ ่างๆ ในรปู แบบกิจกรรมหลากหลาย เพ่ือให้เกดิ ความคลอ่ งแคลว่ (fluency) และเกิดความ สนกุ สนาน ครูคอยให้ความช่วยเหลอื ถ้านักเรยี นผิดพลาดอย่าขัดจงั หวะให้ปล่อยไปก่อน เพ่อื ให้นกั เรียนรสู้ กึ ผ่อน คลายในการใช้ภาษา 1.5 ข้ันสรปุ (Wrap up) เป็นขน้ั สุดทา้ ยของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตล่ ะช่ัวโมง จุดประสงคค์ อื เพือ่ สรปุ สง่ิ ท่ีไดเ้ รยี นแลว้ กิจกรรมท่ีเสนอแนะไวอ้ าจจะเป็นการนำเสนอรายงานของกลุ่มทำ แบบฝึกหดั เพื่อสรุปความรู้ 77

ตัวอยา่ งรปู แบบการจดั กจิ กรรมและการประยกุ ตใ์ ช้ กจิ กรรมขน้ั เริม่ ตน้ “รจู้ กั ชอื่ ตวั และพยญั ชนะ” กจิ กรรมตวั โนต๊ คำศพั ท์ สอ่ื : บตั รพยญั ชนะ 1. ครูเปิดวีดีโอเพลง ABC ใหน้ กั เรยี นฟังและร้องตาม 1-2 ครงั้ 2. ครใู ห้นักเรยี นดบู ตั รพยญั ชนะ A, B, C, D, E ครูอา่ นออกเสียงและใหน้ กั เรียนอา่ นตามทีละคำ 2-3 ครัง้ จากนั้นขอนักเรยี นอาสาสมัคร 5 คน ถือบตั รคำศัพท์ดงั กลา่ วไว้ (A-E) 3. ครูใหน้ กั เรยี นท่ถี ือบัตรพยัญชนะทำ “กิจกรรมตัวโนต๊ คำศพั ท์” ให้นั่งคุกเข่าจากน้ัน ครูจะอา่ นออกเสียง พยญั ชนะ A-E ทลี ะคำ นักเรยี นทีไ่ ดย้ นิ คำศพั ท์ของตนเอง จะต้องยกตวั ขนึ้ หรือยนื ข้ึน รอบถัดมาอาจ เรียงลำดบั หรอื สลบั ไปมา เพ่มิ ความเร็วข้ึนทำซำ้ ๆ 2-3 ครง้ั 4. ครเู ตรยี มบัตรพยัญชนะ เขยี นคำศพั ท์ตามหมายเลข A-E จำนวน 1 ชุด ใหน้ ักเรยี นหยิบคนละ 1 คำ จากนน้ั นกั เรียนหยบิ ไดบ้ ตั รคำศพั ท์ใดใหไ้ ปยนื ต่อแถวตอนนักเรยี นทีถ่ อื บตั รคำศพั ท์ยนื เรยี งแถวหน้า กระดานในตอนแรก ใหน้ ักเรยี นทงั้ แถวอ่านออกเสียงคำศพั ท์ของตน 1-2 ครง้ั 5. ใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรม “ตวั โน๊ตคำศัพท”์ พรอ้ มกนั อกี ครงั้ ด้วยวิธกี ารเดิน ครสู ังเกตความพรอ้ มเพรยี ง ความถูกตอ้ งในการทำกจิ กรรม * หมายเหตุ สามารถปรับจำนวนพยญั ชนะได้ตามความเหมาะสม กจิ กรรมขนั้ เริม่ ตน้ “รจู้ กั ชอื่ ตวั และพยญั ชนะ” กจิ กรรมโยนบอลหาคำ สอื่ : บตั รพยญั ชนะ,บตั รคำศพั ท์, กระดาษ A4 1. ครูนำบตั รพยญั ชนะแปะไว้บนกระดาน เตรียมกระดาษขยำเป็นทรงกลมเพื่อใชแ้ ทนลูกบอล และ แบง่ นกั เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม เพอื่ ให้นกั เรียนทบทวนคำศพั ท์ โดยครสู มุ่ อา่ นออกเสียงคำศัพท์และ ให้นกั เรียนท่ีเป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มขว้างลกู บอลไปยงั บัตรพยัญชนะต่างๆ เช่น A-E และอา่ นอกี ครั้ง โดยอา่ นเปน็ คำศพั ท์ทีม่ ีพยญั ชนะนั้นเป็นพยญั ชนะตน้ เชน่ Apple นกั เรยี นจะตอ้ งขวา้ งลูก บอลไปท่ีบัตรคำศัพท์ A 2. นักเรยี นอา่ นออกเสียงพยญั ชนะและคำศัพทป์ ระกอบในบตั รคำศพั ท์ เชน่ A-Apple, B-Bird พรอ้ ม กนั ทงั้ ช้ันเรียน 3-5 คร้งั โดยครูใชว้ ิธีการอ่านเสยี งดังสลับเสียงเบาในแต่ละบัตรคำศพั ท์ อาจใช้ สญั ลกั ษณท์ ่าทางประกอบ เชน่ ครูยกมือข้นึ ระดบั ศีรษะ นกั เรยี นอ่านออกเสียงดงั ครยู กมอื ขึน้ ระดบั อก นกั เรียนอา่ นออกเสยี งดังปานกลาง ครลู ดมือลงระดับขา นกั เรียนอา่ นออกเสยี งเบา เป็น ต้น 78

กจิ กรรมขนั้ เร่มิ ตน้ “รจู้ กั ชอ่ื ตวั และพยญั ชนะ” กจิ กรรมจบั ครู่ เู้ สยี ง สอ่ื : บตั รพยญั ชนะ 1. ทบทวนคำศัพท์ ครอู ่านออกเสยี งให้นักเรียนอา่ นตามทีละใบ 2. ให้นักเรยี นนงั่ เป็นวงกลม ครูใหน้ ักเรียนทำกจิ กรมวง่ิ หยบิ บัตรภาพทลี ะคน โดยครูวางบัตรพยญั ชนะ ควำ่ ไวบ้ นพน้ื จากนัน้ ครบู อกพยัญชนะทีละตวั ให้นักเรยี นวง่ิ ไปหยบิ บัตรภาพที่ตรงกบั ช่ือพยญั ชนะท่ีครู อา่ น เชน่ บี (B), เค (K) 3. เม่อื นักเรียนทำกจิ กรรมครบทกุ คน ครชู ูบัตรพยัญชนะให้นักเรยี นดู และออกเสยี งช้าๆ จากน้นั เพ่ิม ความเรว็ ในการสลับบัตรคำ ทำเช่นน้ี 2-3 ครัง้ จนเกิดความคลอ่ งแคลว่ กจิ กรรมขน้ั เร่ิมตน้ “รจู้ กั ชอื่ ตวั และพยญั ชนะ” กจิ กรรม Oh! Snap สอื่ : ไมไ้ อศกรมี ปากาเคมี กระปอ๋ งใสไ่ มไ้ อศกรมี 1. ครูทบทวนพยญั ชนะ A-Z ให้นกั เรียนอ่านออกเสียงบัตรพยัญชนะ 2. บอกกติกาเกม “Oh! Snap” จากนน้ั ให้นักเรียนยืนเปน็ วงกลม 3. ครูจบั เวลา 3 นาที ให้สญั ญาณเริม่ ทำกจิ กรรม 4. นกั เรยี นคนแรกหยิบไอศกรีมขึ้นมา อา่ นออกเสียงพยญั ชนะท่อี ยูบ่ นไมไ้ อศกรีมนนั้ ส่งตอ่ ให้เพื่อนที่ยนื ถัดไปทางขวามือหยิบตอ่ ถ้าหยิบไดไ้ มไ้ อศกรมี ที่เขยี นวา่ Oh! Snap (โอ สแนป) ให้อ่านออกเสียง Oh! Snap และนำไมไ้ อศกรมี ทั้งหมดใสค่ นื ลงในกระป๋อง และส่งต่อใหเ้ พือ่ นคนถัดไป ถา้ หยบิ ได้ไมไ้ อศกรีมท่ี เป็นรปู ลกู ศร ให้สง่ ไม้ไอศกรีมทั้งหมดทีม่ ใี หเ้ พื่อนที่อยู่ถดั ไปทางขวามือ 5. เมอื่ หมดเวลา นกั เรียนที่มจี ำนวนไมไ้ อศกรีมเหลอื อยู่มากทีส่ ดุ ถือเป็นผู้ชนะ หมายเหตุ : เตรียมอุปกรณ์ โดยเขียนพยัญชนะไวบ้ นปลายไม้ไอศกรีมดา้ นใดดา้ นหนึง่ / เขยี นรูปลูกศร / เขียน คำว่า Oh! Snap A B C D Oh! Snap → 79

กจิ กรรมขนั้ เร่มิ ตน้ “รจู้ กั ชอ่ื ตวั และพยญั ชนะ” กจิ กรรมพาเหรดตวั อกั ษร สอ่ื : แถบคาดหวั พยญั ชนะ 26 ชน้ิ 1. ใหน้ ักเรียนทำแถบคาดหวั (headband) และตดิ บัตรพยัญชนะคนละ 1 ชิ้น A ต่อ 1 ตวั อกั ษร จำนวน 26 ชิ้น 2. เม่ือนกั เรยี นทำเสรจ็ ให้นกั เรยี นใสแ่ ถบคาดหัว จากนัน้ ครเู ปิดวดี ีโอเพลงทีม่ เี น้อื เพลง A-Z ประกอบ ให้ นักเรยี นดู 1ครงั้ 3. เปิดวดี โี อเพลงอกี 2 ครงั้ โดยใหน้ ักเรยี นเข้าแถวเรยี งกนั เป็นวงกลม หัวแถวเปน็ นักเรยี นที่ใสแ่ ถบคาดหัว A เรียงไปจนถงึ นักเรยี นคนสดุ ท้ายเป็นแถบคาดหัว Z 4. เปดิ วีดโี อเพลงอีกครง้ั ให้นักเรยี นเดินเข้าจงั หวะประกอบเพลง 2 คร้ัง หมายเหตุ : กรณีทีน่ กั เรยี นมมี ากกวา่ 26 คนให้แบง่ เป็นกลุ่มย่อยๆ เช่น A-J, K-T เป็นต้น หรอื มนี ักเรียนน้อยกวา่ 26 คนให้เพม่ิ จำนวนตวั อกั ษรใหม้ ากขึน้ AB กจิ กรรมขน้ั เรม่ิ ตน้ “รจู้ กั ชอื่ ตวั และพยญั ชนะ” กจิ กรรมเดนิ เขยง่ สอื่ : บตั รพยญั ชนะ,สตกิ เกอรใ์ ส 1. ครูติดพยัญชนะบนพืน้ ใช้สติกเกอรใ์ สแปะทับอกี ช้ัน 2. ก่อนทำกิจกรรมใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเสยี งพรอ้ มๆกนั ทั้งชน้ั เรียน 3. ให้นกั เรียนทำกิจกรรม “เดินเขย่ง” แบ่งนกั เรียนเป็น 2 กลุ่ม ส่งตัวแทนรอบละ 1 คน ครูชปู ้าย พยญั ชนะ ให้นกั เรียนวง่ิ เขย่งไปยงั บตั รพยญั ชนะบนพนื้ นกั เรียนท่เี ขย่งไปถึงกอ่ น ให้ยนื อยูก่ บั ท่ีและ ตะโกนชอื่ พยญั ชนะนน้ั ๆ เลน่ วนไปจนครบทกุ คน 80

กจิ กรรมขนั้ เริ่มตน้ “รจู้ กั เสยี งพยญั ชนะ” กจิ กรรมจบั ครู่ ู้เสยี ง สอ่ื : บตั รพยญั ชนะ 1. ใหน้ กั เรียนนั่งเปน็ วงกลม ครใู ห้นกั เรียนทำกิจกรมว่ิงหยบิ บัตรภาพทลี ะคน โดยครูวางบตั รพยญั ชนะ คว่ำไวบ้ นพนื้ จากนั้น ครูออกเสียง /b/ - เบอะ ให้นกั เรียนว่ิงไปหยิบบัตรภาพท่ีตรงกบั เสยี งท่ีครู อา่ น 2. เมอื่ นักเรยี นทำกิจกรรมครบทุกคน ครชู บู ัตรพยญั ชนะใหน้ กั เรียนดู และออกเสียงชา้ ๆ จากนัน้ เพิ่ม ความเร็วในการสลบั บตั รคำ ทำเช่นน้ี 2-3 ครั้งจนเกินความคลอ่ งแคลว่ กจิ กรรมขนั้ เรม่ิ ตน้ “รจู้ กั เสยี งพยญั ชนะ” กจิ กรรมจบั ครู่ เู้ สยี ง สอื่ : บตั รคำศพั ท,์ กระดาษ A4 1. ครตู ดิ บัตรคำที่มภี าพประกอบตามพยญั ชนะต้นไวบ้ นกระดาน เช่น A-Apple, B-Banana, C-cat, D- dog, E-elephant กอ่ นทำกิจกรรมให้นำกระดาษสีทบึ ปิดคำศัพท์น้นั ๆไว้ เว้นไว้เฉพาะสว่ นภาพ 2. ครูพดู ช่ือพยัญชนะ และคำศัพทป์ ระกอบ เช่น A-Apple นักเรียนฟงั และเลอื กว่า A ตรงกบั ภาพ คำศัพท์ใด 3. ให้นักเรียนทีเ่ ปน็ ผเู้ ลน่ 2-3 คน ยืนตรงขา้ มกบั กระดานที่ครูตดิ บตั รคำ ครใู หส้ ัญญาณ one-two-go นักเรยี นไดย้ นิ สญั ญาณแล้วจงึ ขวา้ งลูกบอลพลาสติกให้ตรงกับบัตรคำที่ถูกต้อง 4. ครตู รวจสอบความถกู ต้องให้นักเรยี นเป็นรายบุคคล กจิ กรรมขนั้ เริ่มตน้ “รจู้ กั เสยี งพยญั ชนะ” และ “รจู้ กั ชอื่ ตัวและพยญั ชนะ” (ใชร้ ว่ มกนั ) กจิ กรรม พลกิ ควำ่ จำไดไ้ หม สอื่ : บตั รพยญั ชนะ 2 ชุด 1. ครูแบ่งนักเรยี นเปน็ 2 กลุม่ วางบัตรพยญั ชนะควำ่ ไว้บนโตะ๊ 1 ชดุ หงายไวอ้ กี 1 ชดุ 2. ให้นกั เรียนตวั แทนแตล่ ะกล่มุ นักเรยี นตัวแทนกลุ่มที่ 1 เปิดบตั รพยญั ชนะข้นึ มา 1 ใบ และอ่านออก เสียงช่อื พยญั ชนะ หรือเสียงPhonics พยัญชนะนน้ั ๆ 3. นักเรยี นตัวแทนกล่มุ ท่ี 2 ฟังเสียงพยญั ชนะทีต่ วั แทนกลุ่มท่ี 1 พูด ใหห้ าบตั รพยัญชนะท่ตี รงกบั เสียง อา่ นของตวั แทนกลุ่มท่ี 1 4. ถา้ นักเรียนกลมุ่ ที่ 1 อ่านถูก กล่มุ ที่ 2 หาเจอ ให้ได้กลุม่ ละ 1 คะแนน 5. เลน่ สลับกันไปจนครบทกุ คน 81

กจิ กรรมขนั้ เรม่ิ ตน้ “รจู้ กั เสยี งพยญั ชนะ” กจิ กรรม Zoo Phonics สอ่ื : บตั รพยญั ชนะ,บตั รคำศพั ท์, กระดาษ A4 1. ครใู หน้ ักเรยี นดูวดี ีโอฝึก Zoo Phonics ฝึกวนั ละ 3 ตวั อักษร โดยใหอ้ อกเสยี ง เช่น A-alligator, แอะ แอะ เอ 1. ครูพูดชอื่ พยญั ชนะ และคำศพั ท์ประกอบ เช่น A-Apple นักเรียนฟังและเลอื กว่า A ตรงกบั ภาพคำศพั ท์ใด 2. ใหน้ กั เรียนท่เี ป็นผูเ้ ล่น 2-3 คน ยืนตรงข้ามกบั กระดานทค่ี รตู ิดบตั รคำ ครูใหส้ ญั ญาณ one-two-go นกั เรยี นได้ยนิ สญั ญาณแล้วจงึ ขว้างลกู บอลพลาสติกใหต้ รงกบั บตั รคำท่ีถกู ตอ้ ง 3. ครูตรวจสอบความถกู ต้องเปน็ รายบคุ คล แหล่งสือ่ Zoo Phonics: https://www.youtube.com/watch?v=LLbFEW3pYzY&t=63s 82

กจิ กรรมขน้ั เรมิ่ ตน้ “เชอ่ื มโยงเสยี งกบั พยญั ชนะ” กจิ กรรม ฝกึ อา่ นผสานคำ สอ่ื : แถบ CVC หรอื บตั รคำ 1. ใหน้ ักเรียนฝึกอา่ นพยัญชนะตน้ บอกชอื่ พยญั ชนะ บอกเสยี งของพยัญชนะนนั้ ๆ เชน่ C เคอะ – A แอะ – T เทอะ – CAT แคท โดยครูพยายามกระตุ้นใหน้ กั เรยี นบอกชือ่ พยัญชนะทีล่ ะตวั และบอกเสียงประจำพยัญชะทีละตวั 2. ฝึกอา่ นคำอน่ื ๆ โดยใช้คำท่ใี ช้สระเดยี วกัน ตวั สะกดเดียวกัน เชน่ CAT MAT BAT FAT VAT RAT NAT CIT MIT BIT FIT VIT RIT NIT CET MET BET FET VET RET RIT COT MOT BOT FOT VOT ROT RIT CUT MUT BUT FUT VUT RUT VIT เปน็ ตน้ วธิ ที ำสอื่ แถบ CVC ไฟลส์ ำหรบั ดาวนโ์ หลด แบบตวั อักษรสำหรับนำไปตดั และประกอบเปน็ ส่อื แถบCVC https://drive.google.com/file/d/0B3Pibf1gbAQ6ZHZobjRia2Ryb1E1Ym1fbVJBSW9YbnU1Q1 FN/view?usp=sharing 83

กิจกรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ 1. จงอธบิ ายหลกั การสอนภาษาเพ่ือการส่อื สาร (CLT) โดยสังเขป (2 คะแนน) 2. ขั้นตอนของการสอนภาษาเพื่อการสอ่ื สาร (CLT) มกี ีข่ นั้ ตอน จงอธบิ ายและยกตวั อย่างประกอบ (2 คะแนน) 3. ใหท้ า่ นออกแบบการสอนทกั ษะการอา่ นตามขั้นตอน Pre-While-Post จากบทอา่ น (reading text) ที่ กาหนดให้ (2 คะแนน) Time to Relax ! Come and join our lunchtime yoga class with experienced yoga teacher Divya Bridge! When? Every Tuesday at 1.30 p.m. Where? Meeting Room 7 How much? £10 for four 30-minute classes. What to bring? Comfortable clothes. Divya will provide the yoga mats. How to join? Write to Sam at [email protected] We can only take a maximum of 20 in the room, so book now! ------------------------------------------------------- (อ้างองิ https://learnenglish.britishcouncil.org/skills/reading/a1-reading/a-poster-at-work ) 84

4. ให้ทา่ นออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาองั กฤษตามแนวการสอนภาษาเพือ่ การสื่อสารโดยใช้เงอ่ื นไขตาม สถานการณ์ทีก่ าหนดให้ ดังนี้ (2 คะแนน) Topic : Occupation Level : Prathomsuksa 4 Function : Asking and answer about ‘dream job’ Giving reason about ‘dream job’ Time : 1 hour 5. ให้ทา่ นปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรูห้ รือออกแบบแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาอังกฤษตามลาดับ โครงสร้างรายวิชาของทา่ น และขอให้ท่านดาเนินการ ดงั นี้ (2 คะแนน) 1) ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ จานวน 1 แผน 2) นาแผนการจัดการเรยี นรไู้ ปแลกเปลี่ยนกับครูที่เปน็ buddy teacher (ศึกษารายละเอียดในส่วนที่ 3 การปฏบิ ตั ิการนิเทศโดยใชก้ ระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างววิชาชีพ (PLC) สาหรับครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ) 3) นาข้อแนะนาทีไ่ ดม้ าพฒั นาแผนการจัดการเรียนรใู้ หส้ อดคล้องกบั แนวทางการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก หมายเหตุ : การแลกเปลย่ี นขอ้ เสนอแนะในการจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรูน้ ั้น สามารถให้ครผู สู้ อนตา่ ง กลมุ่ สาระ ต่างระดับช้ัน หรอื ศกึ ษานเิ ทศกร์ ่วมให้ขอ้ เสนอแนะได้ 4) บันทึกผลจากการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ตามหวั ข้อดังนี้ จุดเด่น ข้อเสนอแนะ จดุ ที่จะปรบั เปลีย่ น 85

แบบทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ หลงั การนเิ ทศเพอ่ื ส่งเสรมิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ของครผู สู้ อน (Post-Test) คาช้แี จง ให้ท่านเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้อง 1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ก. เปน็ การลงมอื ปฏบิ ัติโดยครูเปรยี บเปน็ เจ้าของความรู้ ข. เปน็ กระบวนการเรียนการสอนทีใ่ ห้ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในช้นั เรียน ค. ผู้เรียนสร้างองคค์ วามร้ไู ด้ เข้าใจตนเอง ใช้ศักยภาพของตนเองในการคดิ วิเคราะห์ ง.สร้างสรรคผ์ ลงานตามส่ิงท่ีตนเองสนใจอยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ งกับทกั ษะและสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 2. วิธีการสอนแบบใดทส่ี อดคลอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ ก. ใหน้ กั เรยี นจดเนอ้ื หาจากใบงาน ข. แบง่ กลุม่ ให้นักเรียนชว่ ยกนั ป้นั ตุ๊กตาหมีตามแบบในใบงาน ค. ครูแจกบัตรคา ให้นกั เรียนแบง่ กล่มุ กันออกมาอา่ นหนา้ ชั้นเรยี น ง. นกั เรียนอภปิ รายแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดแู ลตนเองในสถานการณ์ Covid-19 3. ขอ้ ใดคือความหมายของการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก ก. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนรับความรจู้ ากครู ข. การจัดการเรยี นร้ทู ่ใี ช้เฉพาะตาราเรยี นเป็นหลัก ค. การจัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ให้นักเรียนได้ทากจิ กรรมเคลอ่ื นไหว ง. การจดั การเรียนรทู้ ี่เนน้ กิจกรรมท่ีตอ้ งสอื่ สาร คิด อภปิ รายรว่ มกนั 4. วธิ กี ารเรียนร้รู ูปแบบใดเป็นผลจากการเรยี นรเู้ ชิงรุกมากท่สี ุด ก. Discussion ข. Teach others ค. Demonstrations ง. Practice Doing 5. การบรรยายหรอื การสอนโดยให้ผู้เรียนรบั ความรู้ เหมาะทีจ่ ะใช้ในขัน้ ตอนใด ก. เม่ือต้องการนาเสนอส่งิ ใหม่ ข. เมอื่ ตอ้ งการควบคุมช้นั เรยี น 86

ค. เมอ่ื ต้องการให้นกั เรยี นนาเสนอ ง. เมอื่ ตอ้ งการใหน้ กั เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรม 6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสาคัญทีข่ องการจัดการเรียนร้เู ชิงรกุ ก. จดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ เี่ ปน็ แบบแผนและสาธิตใหน้ กั เรียนทดลองปฏบิ ัติตาม ข. จดั กิจกรรมการเรียนรูท้ เ่ี ปน็ จรงิ และคำนึงถึงคณุ ค่าท่ีจะเกิดขนึ้ ในอนาคต ค. จดั กิจกรรมการเรียนรใู้ หน้ ักเรยี นทางานเป็นทมี ในสถานการณท์ ่ีเป็นชวี ติ จริง ง. จดั กจิ กรรมการเรยี นร้เู ป็นสหวิทยาการและลงมอื ปฏิบัตใิ นสถานการณท์ เี่ ปน็ ชวี ิตจรงิ 7. ข้อใดไมใช่แนวคดิ การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ก. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการเรยี นรสู้ งู สดุ ข. เป็นการพัฒนาศกั ยภาพการคดิ การแกป้ ญั หาและการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ค. ผู้เรยี นไดบ้ ูรณาการขอ้ มูลข่าวสารสารสนเทศสู่ทกั ษะการคดิ วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ค่า ง. ครูเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรเู้ พื่อเปน็ ผูใ้ หข้ ้อสรปุ หลังจบบทเรียน 8. กิจกรรมใดเปน็ การจดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสริม Active Learning รูปแบบรว่ มมือ ก. Think-Pair-Share ข. Student-led review sessions ค. Collaborative learning group ง. Analysis or reactions to videos 9. ขอ้ ใด ไม่ใชว่ ธิ กี ารประเมินผลการเรียนรเู้ ชิงรุก ก. ประเมนิ โดยผเู้ ช่ยี วชาญ ข. ประเมินโดยการสนทนา ค. ประเมินตนเองของผ้เู รียน ง. ประเมินโดยการสังเกตพฤตกิ รรม 10. ข้อใดกลา่ วถงึ การประเมนิ ตามสภาพจริงไม่ถกู ตอ้ ง ก. เป็นการประเมินด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย ข. เป็นการประเมนิ ท่สี ะทอ้ นความสามารถที่แทจ้ รงิ ของผู้เรยี น ค. เปน็ การประเมินที่เนน้ การปฏิบัตคิ วบคกู่ ับการคดิ วิเคราะห์ ง. เป็นการประเมนิ ทก่ี าหนดเกณฑใ์ ห้สอดคล้องหรือใกล้เคยี งกับชวี ติ จรงิ 87

11. เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรม คือข้อใด ก. แบบมาตรประเมินคา่ ข. แบบตรวจสอบรายการ ค. แบบบนั ทึก ง. ถูกทกุ ขอ้ 12. ขอ้ ใดคอื พน้ื ฐานแนวคดิ ของการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ ก. บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนมอี ทิ ธิพลตอ่ การเรียนรู้ ข. ครูกากับดแู ลให้ผเู้ รียนอยู่ในระเบียบวนิ ยั อย่างเคร่งครัด ค. จานวนสอื่ ท่ีใชส้ ่งงผลต่อพัฒนาการเรยี นรอู้ ย่างมีนยั ยสาคัญ ง. ใหผ้ เู้ รยี นเป็นผู้มีบทบาทหลกั ในการกากบั การเรยี นร้ขู องตนเอง 13. การใชบ้ ัตรคา การใช้เพลง หรอื การใชส้ ติกเกอร์เสรมิ พลงั เป็นการออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบใด ก. เทคนิคการสอน ข. วิธีการจัดการเรียนรู้ ค. รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ ง. ปรชั ญาการจัดการศึกษา 14. กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน มกี ข่ี ้นั ตอน ก. 4 ขัน้ ตอน ข. 5 ขัน้ ตอน ค. 6 ขั้นตอน ง. 7 ขั้นตอน 15. กิจกรรมเชิงสารวจ เชงิ สร้างสรรค์ และเชงิ การแสดงออก เป็ประเภทของกจิ กรรมในรปู แบบการเรยี นรู้ใด ก. รปู แบบการเรียนรเู้ ชิงประสบการณ์ ข. รปู แบบการเรียนรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน ค. รูปแบบการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ง. รูปแบบการเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน 16. หัวใจสาคญั ของการเรียนรูผ้ า่ นเกม (Game-based learning) คอื สิ่งใด ก. เพศและวัยของนักเรียน ข. การออกแบบเกมที่มีประสทิ ธภิ าพ 88

ค. มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชี้วดั ง. เลือกกลมุ่ สาระการเรียนรทู้ เี่ หมาะสม 17 “นักเรียนแบ่งกลุ่ม กาหนดเป้าหมาย แบง่ บทบาทหน้าทภ่ี ายในกลุ่ม” เปน็ ขนั้ ตอนในในการจัดกจิ รรมการ เรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ก. ขัน้ จัดกลุม่ ร่วมมอื ข. ขัน้ กระตุน้ ความสนใจ ค. ข้นั แสวงหาความรู้ ง. ขน้ั ให้ความร้พู ืน้ ฐาน 18. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ วงจรการจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ ประสบการณ์ ก. สร้างแนวคดิ เชงิ นามธรรม ข. สะท้อนผลจากการสังเกต ค. มกี ารลงมือปฏิบตั ิเชงิ รกุ ง. สรปุ หลักการจากผ้มู ีประสบการณ์ 19. กจิ กรรม Active Reading รูปแบบใดท่ีตอ้ งการให้ผู้เรยี นทาความเข้าใจข้อมลู ท่ีเป็นรปู ภาพผสมกับ สญั ลักษณ์แทนคา ก. Closing ข. Labelling ค. Pictogram ง. Emphasizing 20. กจิ กรรมท่ีส่งเสริม Active Writing รูปแบบใดทสี่ อดคล้องกับชีวติ ประจาวนั ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษา ตอนต้นมากท่สี ดุ ก. Drama ข. Diary ค. Newspaper ง. Presentation 89

21. กิจกรรมส่งเสริมการทางานเป็นทีมรปู แบบใด ทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนทุกคนไดพ้ ดู เชงิ วพิ ากษ์ตอ่ ผลงานของ เพื่อนในกลมุ่ ก. การหาขอ้ ยตุ ิ ข. การพดู รอบวง ค. การแก้ปญั หาด้วยการต่อภาพ ง. การให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับแบบหมนุ เวียน 22. หากหอ้ งเรียนของทา่ น มีนกั เรยี นทพี่ ูดนอ้ ย ไม่คอ่ ยกลา้ แสดงออก ท่านจะกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นของทา่ นร่วม แสดงความคิดเห็นไดม้ ากขน้ึ ดว้ ยวธิ กี ารใด ก. การพดู รอบวง ข. การเขียนรอบวง ค. การอภิปรายเป็นทมี ง. คดิ เด่ียว คิดคู่ รว่ มกันคิด 23. “How can you protect yourself from cyberbullying?” เป็นคาถามประเภทใดตามข้นั พทุ ธิพสิ ยั ก. ถามความเข้าใจ ข. ถามการวเิ คราะห์ ค. ถามการนาไปใช้ ง. ถามการประเมนิ คา่ 24. จากนิทาน “ลกู ม่วงขา้ งเรนิ ” เหตกุ ารณท์ ต่ี ัวละครทราบวธิ กี ารเก็บมะม่วงแล้ว แตย่ ังเจอปัญหามะมว่ ง หลน่ ลงพ้นื จึงสอบถามแนวทางและคน้ คว้าเพ่มิ เตมิ เปน็ ข้ันตอนใดในกระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลงั ก. เสนอสิง่ เร้า ต้ังคาถาม ข. สอื่ สารสะท้อนคิด ค. อภิปรายสรา้ งความรู้ ง. แสวงหาสารสนเทศ 90

25. ข้อใด ไมใ่ ช่องคป์ ระกอบความสามารถทางภาษาเพอื่ การส่อื สาร ก. Expressive competence ข. Discourse competence ค. Grammatical competence ง. Sociolinguistic competence 26. แผนการจัดการเรยี นรู้ตามแนวการสอนภาษาเพอื่ การสื่อสาร (CLT) ประกอบด้วยขนั้ ตอนใดบา้ ง ก. Warm up / production / practice / present / wrap-up ข. wrap-up / practice / production / present / warm up ค. warm up / present/ practice / production / wrap-up ง. wrap-up / present / production / practice / warm up 27. การให้ฝกึ อา่ นโดยดภู าพแล้วนามาสนทนาหรือหาคาตอบเกีย่ วกบั ภาพนั้นๆ เปน็ การสอนอ่านขน้ั ตอนใด ก. Personalization ข. Predicting ค. Playing ง. Present 28. หากต้องการให้นักเรียนมีอิสระในการเขียน สามารถเติมสว่ นท่ขี าดหายไปใหส้ มบูรณ์ ทา่ นควรใช้กิจกรรม การสอนเขยี นรปู แบบใด ก. การเขยี นแบบอิสระ ข. การเขยี นแบบควบคมุ ค. การเขยี นแบบคัดลอก ง. การเขียนแบบกึ่งควบคมุ 29. ขน้ั ตอนใดที่ครูผูส้ อนสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาของนกั เรยี นได้ ก. ขั้นฝกึ ข. ขนั้ นาเสนอ ค. ข้ันการใชภ้ าษา ง. ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน 91

30. สอื่ การสอนภาษาเพอื่ การสื่อสารในกิจกรรมการเรียนการสอนใด เปน็ task-based material ก. Debate ข. Puppet ค. Flashcard ง. Magazine Link ทำแบบทดสอบหลงั การศึกษาคมู่ อื ฯ https://forms.gle/skaHmnxJscrWcbMa6 92

สว่ นที่ 3 การปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศโดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) สำหรบั ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ 93

กรอบแนวคดิ ในการนเิ ทศ ❖ การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) พฒั นาการสอน แผนการสอน วางแผนการสอน สงั เกตชนั้ เรียน การพฒั นาครู การพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั สะทอ้ นสกู่ ระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน Lesson Study พฒั นาผเู้ รยี น ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมบี ทบาทเป็นผมู้ ีสมรรถนะในการเรยี นรู้ ท้งั ความสามารถในการแสวงหาความรู้ สรา้ งองค์ความรู้ โดยตนเอง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และคิดสร้างสรรค์ หัวใจสำคัญของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) คือ การปรับเปลี่ยนกระบวนการในการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ทั้งการมีส่วนร่วมด้านการคิด การสื่อสาร การลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถคน้ พบองค์ความรู้ ข้อสรุป วิธีการที่เกิดจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง แทนที่การรับฟังคำตอบจากครู เพียงอย่างเดียว ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ต้องคำนึงลักษณะที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีการสร้างความรูด้ ้วย ตนเอง (Constructivism Theory) และการเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมท่ีจะทำให้ผู้เรยี นเกดิ ความกระตือรือร้น ทีจ่ ะทำกิจกรรมการเรียนรูต้ ่าง ๆ (eager to learn) มากขนึ้ เรยี นรใู้ นสถานการณ์จำลอง มีการฝึกปฏิบัติในสภาพ จริง และเชื่อมโยงกบั สถานการณ์ต่างๆ ให้เกิดเป็นการเรียนรู้ท่ีมีความหมาย (meaningful learning) เพื่อให้การ จัดการเรียนรทู้ ่จี ะสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายของการจัดการศกึ ษาและสอดคล้องกับความสนใจของผู้เรยี น มีแนวโน้ม ท่ใี หจ้ ดั การเรยี นรู้โดยให้ผู้เรยี นสร้างความร้ดู ว้ ยตนเองได้ ❖ การนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้เพอ่ื การพัฒนาคณุ ภาพในชัน้ เรยี น การนิเทศการจัดการเรียนรู้ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างการนเิ ทศ และการนเิ ทศการสอน ซึ่งเป็นส่วนยอ่ ย ของการนิเทศ การนเิ ทศการสอนหรือการนิเทศการจดั การเรยี นรู้เปน็ กระบวนการของผนู้ ิเทศท่ีมุ่งจะปรับปรุงและ พัฒนาการสอนในสถานศึกษา เป็นการทำงานโดยตรงกับครูผู้สอน การนิเทศการจัดการเรียนรูเ้ ป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารงานโรงเรียน โดยมุ่งท่ีพฤติกรรมของครูที่จะส่งผลต่อพฤตกิ รรมของผู้เรียน การนิเทศการจัดการเรียนรู้ 94