Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอาชีวศึกษาเพื่อทักษะอนาคต (Future Skill College)

การอาชีวศึกษาเพื่อทักษะอนาคต (Future Skill College)

Published by เยาวเรศ อนันต์, 2020-09-18 04:45:18

Description: การอาชีวศึกษาเพื่อทักษะอนาคต (Future Skill College)

Search

Read the Text Version

การอาชวี ศึกษาเพื่อทกั ษะอนาคต (Future Skill College) แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์สำหรับทักษะแห่งอนาคต. vcurve_top ... คอร์สเรียนออนไลน์ที่ดีที่สุด ครอบคลุม ทกุ ทกั ษะสำคญั เพอ่ื เตรยี มความพร้อมสำหรบั ทศวรรษน.้ี tech_icon. คำทขี่ าดไป: อาชีวศกึ ษา College) การจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี การจัดการศึกษาระบบทวิภาคี หรือเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Dual Vocational Training (DVT) เป็น การจัดการการศกึ ษาที่เนน้ ให้ผู้เรยี นวชิ าชีพไดม้ ีโอกาสฝึกงานภาคปฏิบัตใิ นสถานประกอบการจริงเป็น ความ ร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประการเพื่อให้ผู้ที่จบการศึกษาออกไปเป็นช่างเทคนิคและช่าง ชำนาญงาน เต็มรูปแบบ ดงั นัน้ ผเู้ รียนจะมเี วลาเรียน แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี กรอบความคิด

สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ดำเนินการจัดการศึกษาด้านอาชีวศกึ ษา ซึง่ สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบญั ญตั ิการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ซง่ึ มี รายละเอียด ดังน้ี พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๐ การอาชีวศกึ ษา และการฝึกอบรมวชิ าชีพ ใหจ้ ดั ในสถานศึกษาของรฐั สถานศกึ ษา ของเอกชน สถานประกอบการ หรอื โดยความรว่ มมือระหว่าง สถานศกึ ษา กับสถานประกอบการ ทงั้ นี้ให้ เป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการอาชวี ศึกษาและกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง พระราชบญั ญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ การจดั การอาชีวศกึ ษาและการฝกึ อบรมวิชาชีพใหจ้ ัดได้ โดยรปู แบบ ดังต่อไปนี้ (๑) การศกึ ษาในระบบ เป็นการจดั การศึกษาวิชาชพี ทเ่ี นน้ การศกึ ษาในสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบัน เปน็ หลกั โดยมกี ารกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศกึ ษา หลกั สตู ร ระยะเวลาการวัดและการประเมนิ ผลท่เี ปน็ เงือ่ นไขของการสำเร็จการศกึ ษาท่ีแนน่ อน (๒) การศกึ ษานอกระบบ เป็นการจัดการการศึกษาวชิ าชพี ทีม่ คี วามยดื หยนุ่ ในการกำหนด จุดมงุ่ หมาย รูปแบบ วิธกี ารศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลที่เปน็ เง่ือนไขของการสำเร็จการศกึ ษา โดย เนื้อหาและหลกั สูตรจะตอ้ งมคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งvกบั สภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ ละกล่มุ (๓) การศึกษาระบบทวิภาคี เปน็ การจดั การศึกษาวิชาชีพที่เกดิ จากขอ้ ตกลงระหวา่ ง สถานศึกษาอาชีวศกึ ษา หรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐในเรื่อง การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวดั และการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาสว่ นหน่งึ ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาหรือสถาบันและเรยี น ภาคปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหนว่ ยงานของรัฐ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการผลิตและพฒั นากำลงั คน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั สามารถจัด การศกึ ษา ตามวรรคหนงึ่ ในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ ทงั้ น้ี สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาหรอื สถาบนั นน้ั ตอ้ ง มุ่งเนน้ การจดั การศึกษาระบบทวิภาคเี ป็นสำคัญ มาตรา ๙ การจัดการอาชีวศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพตามมาตรา ๖ มาตรา ๗ และมาตรา ๘ใหจ้ ัดตาม หลักสูตรทีค่ ณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากำหนด ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (๒) ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ สูง (๓) ปรญิ ญาตรีสาขาสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาอาจกำหนดหลกั สตู รทจ่ี ดั ข้นึ เพื่อความรู้ หรอื ทักษะในการ ประกอบอาชพี หรอื การศึกษาต่อ ซงึ่ จดั ขึ้นเปน็ โครงการหรอื สำหรบั เป้าหมายเฉพาะได้

คำนิยามศัพท์ สถานประกอบการ หมายถงึ สถานประกอบการที่ร่วมมอื กับสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน การอาชวี ศกึ ษาในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเพอื่ จดั การอาชวี ศกึ ษาและฝกึ อบรมวชิ าชพี ท้ังน้ี ตามหลกั เกณฑท์ ่ีคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด เช่น บรษิ ัทจำกัด บรษิ ัทจำกัด(มหาชน) หา้ ง หนุ้ สว่ น ร้านคา้ อู่ สถานประกอบอาชีพอิสระ แหลง่ วทิ ยาการ แหลง่ วิทยาการ หมายถงึ หน่วยราชการ รัฐวสิ าหกจิ หอ้ งปฏบิ ัติการของราชการ หรือสถานประกอบการ ท้ังน้ี คำว่า แหลง่ วทิ ยาการไมร่ วมถงึ สถานศึกษา ผคู้ วบคุมการฝึก หมายถึง ผู้ทส่ี ถานประการมอบหมายให้ทำหน้าที่ ประสานงานกบั สถานศกึ ษา ในการจัด ฝึกงาน และรับผิดชอบดแู ลการฝกึ งานของนักศกึ ษาในสถานประกอบการ ครูฝกึ หมายถึง ผูท้ ่ีทำหนา้ ที่ สอน ฝกึ อบรม นกั ศกึ ษาในสถานประกอบการ การฝกึ ทักษะวชิ าชีพ หมายถึง การเรยี น การฝกึ การปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการ บนั ทึกความรว่ มมือ หรือ MOU มาจากคำว่า Memorandum of Understanding หมายถงึ หนงั สอื ซ่ึงฝา่ ยหนง่ึ แสดงความสมัครใจ จะปฏิบตั ิอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดและตามเง่อื นไขท่ีปรากฏใน หนังสือนัน้ กบั อีกฝา่ ยหนึง่ โดยท่หี นงั สอื นี้ไมถ่ ือว่าเป็นสัญญาผกู มดั แตแ่ สดงความตอ้ งการอันแนว่ แน่ ของผูล้ งนามวา่ จะปฏบิ ัตดิ ังทไ่ี ด้ระบุไว้ v


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook