Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

Description: แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

Search

Read the Text Version

แนวทางสำหรับผปู้ ฏิบัตงิ าน การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น โดย สำนักการแพทย์พืน้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก

แนวทางสำหรับผปู้ ฏบิ ตั ิงานการดูแลสุขภาพแมแ่ ละเด็กดว้ ยภูมิปญั ญา การแพทยพ์ ื้นบา้ น ISBN : 978 - 616 - 11 - 0872 - 4 ท่ปี รึกษา แพทย์หญิงวลิ าวัณย์ จงึ ประเสรฐิ นายแพทย์ประพจน์ เภตรากาศ นายแพทย์ปภสั สร เจียมบุญศรี ผู้เขียน ดารณี ออ่ นชมจันทร์ บรรณาธกิ ารบริหาร เสาวณยี ์ กลุ สมบูรณ์ บรรณาธิการ อรจริ า ทองสุกมาก ภราดร สามสูงเนิน อรพินท์ ครุฑจบั นาค กมลทพิ ย์ สุวรรณเดช สริ ริ กั ษ์ อารทรากร จดั พิมพ์โดย สำนกั การแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ อำเภอเมอื ง จังหวัดนนทบรุ ี โทรศัพท์/โทรสาร ๐ - ๒๕๙๑ - ๗๘๐๘ เว็บไซด ์ http://www.dtam.moph.go.th พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑ กันยายน ๒๕๕๔ พมิ พท์ ี ่ โรงพมิ พ์ชมุ ชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด

สำนกั การแพทย์พืน้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก คำนำ หนังสือแนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน คณะผู้จัดทำมุ่งหวังในการจุดประเด็น ท า ง ค ว า ม คิ ด ใ ห้ กั บ นั ก วิ ช า ชี พ สุ ข ภ า พ แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ท่ี ป ฏิ บั ติ ง า น ในหน่วยบริการสุขภาพ ท่ีสรา้ งโอกาสทีจ่ ะเข้าไปเรียนรู้ ทำความเข้าใจ และ รวบรวมความรู้จากหมอพื้นบ้าน โดยเฉพาะประเด็นนี้ ผู้มีความรู้และ ประสบการณส์ งู คอื หมอตำแย ที่องค์การอนามยั โลกใช้วา่ ผดุงครรภ์พื้นบา้ น (Traditional birth attendant หรอื TBA) หมายความว่า ผทู้ ี่ชว่ ยแมต่ อน คลอดลกู แตจ่ ากการศกึ ษาหลายเรอ่ื ง รวมทง้ั บทเรยี นการศกึ ษาวจิ ยั “โตะ๊ บแิ ด” ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ของสำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทยและภาคีวิจัย ได้ค้นพบภูมปิ ัญญาของหมอตำแย หมอพ้นื บา้ นหรอื โต๊ะบิแดที่มากไปกว่า การทำคลอด หากแตห่ มอตำแยพน้ื บา้ นมภี มู ปิ ญั ญา ประสบการณ์ เปน็ ทพ่ี ง่ึ พา ของประชาชนในพน้ื ท่ี ทง้ั การดแู ลสขุ ภาพแมก่ อ่ นและหลงั คลอด ดแู ลสขุ ภาพ ใหท้ ้งั แม่และลกู หวังว่าสาระในงานวิจัยวิชาการเล่มน้ีจะสร้างแรงบันดาลใจของ ผู้ปฏิบัติงานท่ีจะเร่ิมบันทึกความรู้ของหมอตำแยอาจจะปฏิบัติการหรือสร้าง ความรว่ มมอื ในการทำงานรว่ มกนั ในการดแู ลสขุ ภาพในพน้ื ทร่ี ว่ มกบั หมอตำแย เป็นการทำงานไปพรอ้ มๆ ไปกับการเรียนรู(้ Interactive learning through action) แพทยห์ ญงิ วลิ าวัณย์ จงึ ประเสรฐิ อธบิ ดกี รมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก

สำนกั การแพทย์พน้ื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก คำบอกเลา่ แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพแม่และเด็กด้วย ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการคิด การศึกษารวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้านในการดูแลสุขภาพ แม่และเด็ก และนำไปประยกุ ตใ์ ชแ้ บบผสมผสานในการจดั บรกิ ารสุขภาพ หลายท่านคงแปลกใจว่า หมอตำแยในสงั คมไทยกลายเปน็ ตำนาน ไปแลว้ ไมใ่ ช่หรอื จากการเรียนร้ผู ่านการดำเนนิ โครงการวิจัยและพฒั นาการ สร้างเสริมสุขภาพและการดูแลอนามัยของมารดาและทารกชาวไทยมุสลิม ใน ๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใตด้ ว้ ยภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น ทำใหท้ ราบวา่ ภมู ปิ ญั ญาหมอตำแยพน้ื บา้ น หรอื ภาษาทอ้ งถน่ิ ชาวไทยมสุ ลมิ เรยี ก “โตะ๊ บแิ ด” ยงั คงอยแู่ ละประชาชนในชมุ ชนไดพ้ ง่ึ พาในการดแู ลสขุ ภาพ ทง้ั ในระยะตง้ั ครรภ์ ระยะคลอด และหลงั คลอด ในรูปแบบของพิธีกรรม การนวด การใช้ยา สมุนไพรพน้ื บา้ น จากบทเรยี นการทำงานในพืน้ ทที่ ีม่ หี มอตำแย พบว่า แมห้ มอตำแย ไมไ่ ดม้ บี ทบาทหลกั ในการทำคลอดแลว้ แตห่ ญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละครอบครวั ยงั ตอ้ ง พึ่งพาหมอตำแย ดา้ นการดูแลในระยะต้ังครรภ์ การแตง่ ท้อง การดแู ลสขุ ภาพ เมื่อมีอาการแพ้ท้องการทำพธิ กี รรมเพ่ือความเปน็ ศิรมิ งคลการดแู ลหลังคลอด เพื่อให้น้ำคาวปลาไหลดี มนี ้ำนมเล้ียงบุตร และมดลูกเขา้ อู่เรว็ และข้อคน้ พบ ถึงการปรับระบบบริการในด้านแม่และเด็กในสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้มี การปรับให้สอดคลอ้ งกับวิถีวัฒนธรรมของประชาชน เช่น การอนุญาตใหญ้ าติ อยกู่ บั หญงิ ตัง้ ครรภใ์ นหอ้ งรอคลอด หรอื บางแหง่ อนญุ าตใหญ้ าตเิ ขา้ ไปในห้อง คลอดด้วย ผู้ที่หญิงตั้งครรภ์เลือกในกรณีดังกล่าวคือ หมอตำแย(โต๊ะบิแด) ดงั นน้ั หมอตำแยมใิ ชเ่ พยี งผอู้ าวโุ สในการชว่ ยคลอดหรอื ดแู ลแมแ่ ละเดก็ ในชมุ ชน เท่าน้ัน แต่หมอตำแย คอื หมอคนหน่งึ ของประชาชนทีค่ นในชุมชนไดพ้ ึ่งพา

สำนักการแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก โครงการวิจัยดงั กลา่ วได้ดำเนนิ การในพื้นท่ี ๙ ตำบล ในเขต ๙ อำเภอ ๕ จังหวัดชายแดนใต้ อันเป็นพื้นที่ในเขตวัฒนธรรมมุสลิม แม้การทำงานในเขตวฒั นธรรมไทยมสุ ลมิ ดว้ ยกนั แต่ยงั พบวา่ หมอตำแยแต่ละ พื้นที่มีกระบวนการดูแลสุขภาพแม่และสมุนไพรท่ีใช้มีส่วนที่เหมือนและ แตกตา่ งกัน การเรียนรู้จากงานวิจัยข้างต้นเป็นแรงบันดาลใจให้ทีมงานสำนักการ แพทยพ์ น้ื บา้ นไทย ไดด้ ำเนนิ โครงการจดั การความรแู้ ละพฒั นากระบวนการดแู ล สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น การทำงานแบง่ เปน็ ๒ สว่ น คือ การจัดการความรู้โดยการศึกษาวิจัยในภาพรวม และการฟื้นฟูส่งเสริม การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น ในพน้ื ท่ี ๔ จงั หวดั คอื จงั หวัดพะเยา จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวดั สรุ นิ ทร์ และจงั หวดั พัทลงุ ซ่งึ ออกแบบการทำงานโดยการกระตุ้นให้เกิดการค้นหาและรวบรวมภูมิปัญญา หมอตำแยในการดแู ลสขุ ภาพแม่และเดก็ สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย หวังว่า หนังสือนี้จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหก้ บั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในสถานบรกิ ารสขุ ภาพภาครฐั ไดเ้ กดิ แนวคิดและนำแนวทางไปประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการสืบค้นหมอตำแย หมอพนื้ บา้ นในพน้ื ที่ และรวบรวมจัดหมวดหม่ขู องความรู้เพือ่ พัฒนาสำหรบั ใช้ประโยชน์ตอ่ ไป ทีมงานยินดอี ย่างยิง่ ทีจ่ ะได้รับข้อเสนอแนะและขอ้ คิดเห็น จากท่าน ขอขอบคณุ มา ณ โอกาส นี้ ทมี งานสำนักการแพทย์พ้นื บ้านไทย กนั ยายน ๒๕๕๔

สำนกั การแพทย์พ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก สารบญั หน้า คำนำ คำบอกเลา่ สารบญั บทที่ ๑ ความสำคญั ความหมาย คณุ ค่าและบทบาท ๙ ๑. ความสำคญั ในการสง่ เสรมิ การดูแลสุขภาพ ๑๑ แมแ่ ละเดก็ ด้วยภมู ปิ ัญญาการแพทย์พื้นบา้ น ๒. ความหมาย คณุ ค่าและบทบาทของภมู ปิ ัญญา ๑๘ การแพทย์พนื้ บา้ นในการดแู ลแมแ่ ละเด็ก ๓. บทบาทหน้าท่ีบคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ละ ๒๓ สาธารณสขุ ในการส่งเสริมการดแู ลสขุ ภาพ แม่และเดก็ ด้วยภมู ปิ ัญญาการแพทย์พืน้ บ้าน บทที่ ๒ องค์ความรแู้ ละภูมิปญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ นในการดแู ล ๒๕ สุขภาพแม่และเด็ก ๔ ภาค ๑. องค์ความรแู้ ละภมู ิปัญญาการแพทย์พ้ืนบา้ นภาคเหนือ ๒๗ ๒. องค์ความรู้และภมู ิปัญญาการแพทย์พ้นื บ้านภาคกลาง ๓๙ ๓. องค์ความรแู้ ละภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านภาคอีสาน ๕๔ ๔. องคค์ วามร้แู ละภูมิปัญญาการแพทยพ์ น้ื บ้านภาคใต ้ ๕๙

สำนักการแพทย์พืน้ บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก บทที่ ๓ แนวทางการส่งเสริมและประยกุ ตใ์ ชอ้ งค์ความรแู้ ละ ๖๙ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ นในการดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ๑. แนวทางการศึกษาภูมิปญั ญาการแพทยพ์ ื้นบ้าน ๗๑ เพ่อื การส่งเสริมในการดูแลสขุ ภาพแม่เดก็ ๒. แนวทางการสง่ เสรมิ และประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามร ู้ ๘๒ และภูมิปัญญาการแพทยพ์ นื้ บ้านในระบบบริการ สขุ ภาพชมุ ชน บรรณานุกรม ๘๙ ภาคผนวก ๙๓ เคร่อื งมือการเกบ็ ขอ้ มลู การดแู ลสุขภาพแม่และเด็ก ๙๕ ด้วยภมู ิปญั ญาการแพทย์พืน้ บา้ น ๑๑๒ รายชอื่ ผ้รู ่วมให้ขอ้ มลู ๑๑๓ ภาพหมอตำแยผใู้ หข้ อ้ มูล ๑๑๖ ภาพการศึกษาเจาะลึกองคค์ วามรจู้ ากหมอตำแย ๑๑๘ ภาพการปฏิบัติตนเพือ่ การฟ้ืนฟูสภาพร่างกาย ๑๒๒ ภาพแมก่ ำ๋ เดือน (หญงิ หลังคลอด) ๑๒๓ ภาพการดแู ลและบำบดั ผมู้ อี าการผิดเดอื น ๑๒๔ ภาพอาหารสำหรับหญิงหลงั คลอด ๑๒๕ ภาพอาหารแสลงสำหรบั หญงิ หลงั คลอด ๑๒๖ ภาพจอมบรูน ๑๒๗ ภาพจวมกรู

สำนกั การแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก อังคุลิมาลปริตร ยะโตหัง ภะคะนิ อะรยิ ายะ ชาตยิ า ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณงั ชีวติ า โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภสั สะ คำแปล นอ้ งหญงิ ตง้ั แตอ่ าตมาเกดิ ในอรยิ ชาตแิ ลว้ มไิ ดม้ เี จตนาจะทำลายชวี ติ สตั วเ์ ลย ดว้ ยความสัตย์จรงิ น้ัน ขอความสวสั ดจี งมีแกเ่ ธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่บุตร ในครรภ์ของเธอด้วยฯ อานุภาพ องั คลุ มิ าล ปรติ รเปน็ คาถาทพ่ี ระพทุ ธองคต์ รสั สอนใหพ้ ระองคลุ มี าลทำสจั จกรยิ า ให้หญิงคนหน่งึ คลอดบุตรง่าย และขจัดโรคภยั ไขเ้ จ็บอน่ื ๆ ใหอ้ ัตรธานหาย ไปด้วย มกั สวดในงานมงคล โดยเฉพาะพิธมี งคลสมรส และในการทำให้ หญิงมคี รรภค์ ลอดบุตรโดยสวสั ดี จากหนงั สือ พทุ ธานภุ าพ อานุภาพของพระพุทธองค์ โดย พระครูปลัดสุวัฒนธรี คณุ (เทดิ ญาณวชิโร, วงศช์ อมุ่ ) พิมพค์ รง้ั ท่1ี 8 สำนักพิมพ์ อนนั นตะ, ๒๕๕๒. กทม.

๑บทท่ี ๑ ความสำคัญ ความหมาย คณุ ค่า และบทบาท



สำนกั การแพทย์พื้นบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก บทที่ ๑ ความสำคญั ความหมาย คณุ คา่ และบทบาท ๑. ความสำคญั ในการส่งเสริมการดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเด็ก ด้วยภมู ปิ ญั ญาการแพทย์พน้ื บา้ น ๑.๑ สถานการณ์ระบบการดูแลสขุ ภาพของโลกและประเทศไทย ปฏญิ ญาปักก่ิง (Beijing Declaration) ในการประชมุ International Forum on Integration of TM/CAM into Health system เม่ือปี ค.ศ. ๒๐๐๘ ให้ความสำคัญตอ่ การใช้ภมู ิปญั ญาการแพทยด์ ้ังเดิมของแตล่ ะประเทศ เพอ่ื แกป้ ญั หาสขุ ภาพในปจั จบุ นั และอนาคต โดยมสี าระสำคญั ๖ ประเดน็ คอื ๑) ส่งเสริมองค์ความรู้การแพทย์ดั้งเดิมในการรักษาและการปฏิบัติ ๒) จัดทำนโยบายกฎระเบยี บมาตรฐานการแพทย์ดัง้ เดิมใหเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งของ ระบบสขุ ภาพ ๓) การบรู ณาการการแพทย์ด้ังเดิมเขา้ สู่ระบบสขุ ภาพของ ประเทศ ๔) การส่งเสรมิ และพฒั นาการแพทย์ดัง้ เดมิ ไปบนพ้ืนฐานการวิจัย และนวัตกรรมในแนวทางของ “Global Strategy and Plan of Action on Public Health, Innovation and Intellectual Property” ซงึ่ รับรอง ในการประชมุ สมัชชาสขุ ภาพโลกครั้งท่ี ๖๑ เม่ือปี ค.ศ.๒๐๐๘ ๕) รฐั บาล ควรจัดให้มรี ะบบสอบคุณสมบตั ิและเพิ่มพนู ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ผ้ปู ระกอบโรคศลิ ปะแผนด้งั เดมิ ๖) ควรมกี ารฝกึ อบรมและสือ่ สารกนั และกัน ระหว่างการบรกิ ารแพทย์แผนปจั จบุ นั และการแพทยด์ ้ังเดมิ ๑.๒ ระดบั นโยบายของประเทศไทย นโยบายของประเทศไทย ใหค้ วามสำคญั ตอ่ การสง่ เสรมิ การใชภ้ มู ปิ ญั ญา ท้องถิ่นด้านสุขภาพไว้อย่างชัดเจนในธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ แนวทางสำหรบั ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน 11 การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเด็กดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ืน้ บ้าน

สำนกั การแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก หมวดท่ี ๗ ขอ้ ๕๓ การส่งเสริมสนับสนุนการใช้และพฒั นาภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ด้านสขุ ภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พน้ื บา้ นและการแพทย์ทางเลอื ก อื่นๆ ควรอยู่บนพนื้ ฐานหลักการดังตอ่ ไปน้ี ๑) มีความสอดคล้องกับวถิ ีชมุ ชน วฒั นธรรม จารีตประเพณี ความเช่ือ ศาสนา และนำไปสู่การพง่ึ ตนเองดา้ น สขุ ภาพ ๒) ใหก้ ารสง่ เสรมิ การแพทยท์ กุ ระบบอยา่ งเทา่ เทยี มกนั เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง ความเขม้ แขง็ ของระบบสขุ ภาพ ๓) ให้ประชาชนมีสิทธใิ นการเลือกใชแ้ ละเข้า ถึงการแพทย์ระบบตา่ งๆ อย่างเทา่ เทียมเพ่อื การดูแลสุขภาพของตนเองและ ครอบครวั มคี วามรเู้ ทา่ ทนั และไดร้ บั การคมุ้ ครองในฐานะผบู้ รโิ ภค โดยมรี ะบบ ข้อมลู ขา่ วสารด้านสุขภาพท่ถี ูกตอ้ ง เป็นกลางและเข้าถงึ ได้ และในข้อ ๖๒ และ ๖๓ กลา่ วถงึ มาตรการส่งเสริมสนบั สนนุ การใชแ้ ละพฒั นาภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถนิ่ ดา้ นสุขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ นื้ บ้านและการแพทย์ ทางเลือกอืน่ ๆ ดังนี้ ขอ้ ๖๒ ใหร้ ฐั สรา้ งเสรมิ ความเขม้ แขง็ และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนและ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ในการฟ้นื ฟู สบื สานและใชป้ ระโยชน์ภมู ิปัญญาท้องถิ่นดา้ น สขุ ภาพ และการประยกุ ตแ์ ละพฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นสขุ ภาพใหส้ อดคลอ้ ง กับบรบิ ททางดา้ นสังคม เศรษฐกิจและวฒั นธรรมที่เปล่ยี นแปลงไป รวมทง้ั ส่งเสริม สนบั สนุน ใหช้ มุ ชนท้องถิ่นและองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ มีบทบาท ในจัดการภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ด้านสขุ ภาพในระดับชมุ ชน ขอ้ ๖๓ ให้รัฐสร้างเสริมความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถนิ่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น สถาบันวิชาการในทอ้ งถิน่ ในการส่งเสริม สนบั สนุน การใช้และการพฒั นาการแพทย์พนื้ บ้าน โดยการสนบั สนุนและ เสรมิ สร้างสถานภาพของหมอพ้นื บา้ น การพฒั นาศักยภาพหมอพ้ืนบ้านใน ชุมชน การสนับสนนุ การสบื ทอดสู่หมอพ้นื บา้ นร่นุ ใหมโ่ ดยส่งเสรมิ ให้เยาวชน รุ่นใหมเ่ ห็นคุณค่าของหมอพื้นบ้าน และรักษาแบบแผนการสืบทอดทเ่ี ปน็ ของชุมชนการพฒั นาระบบการจดั การความรู้ ทั้งในตำราและตวั หมอพ้นื บา้ น 12 แนวทางสำหรับผูป้ ฏบิ ตั ิงาน การดแู ลสขุ ภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภูมิปญั ญาการแพทย์พื้นบ้าน

สำนักการแพทย์พ้ืนบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก การส่งเสริมการวิจัยและพฒั นาองคค์ วามร้ขู องหมอพ้นื บา้ น เพอื่ เปน็ การตอ่ ยอดองค์ความรู้เดิมและนำไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพของประชาชน อยา่ งเหมาะสม ให้หนว่ ยงานของรัฐ และชุมชนสร้างเสรมิ ความเขม้ แขง็ ของ เครือขา่ ยหมอพืน้ บ้าน สนับสนุนการเช่ือมโยงของเครือข่ายทงั้ ในระดบั ชมุ ชน ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ ด้วยกระบวนการการมีส่วนร่วมและ การประสานงานในแนวราบให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องพัฒนามาตรการ ด้านกฎหมายและมาตรการต่างๆ เพอ่ื รองรับสถานภาพของหมอพ้นื บ้าน ๑.๓ นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนา ภูมปิ ญั ญาไท สขุ ภาพวถิ ีไท เพอื่ เป็นแผนแม่บทของประเทศเพ่ือใหบ้ รรลุตาม ธรรมนูญสขุ ภาพโดยมวี ัตถุประสงค์หลกั ๔ ประการคอื ๑) เพ่ือใหก้ ารแพทย์ พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมีศักยภาพและเป็น การแพทยท์ เ่ี ปน็ ระบบหลกั ของประเทศเฉกเชน่ เดยี วกบั การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั ๒) เพ่อื ให้ระบบสขุ ภาพของประเทศสามารถพึ่งตนเองได้โดยอาศัยภูมปิ ัญญา การแพทยพ์ น้ื บ้าน การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กท้ังในดา้ นองค์ ความรู้ การบรกิ าร กำลังคน ยาและผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร ๓) เพื่อใหช้ ุมชนและ สังคมไทย มีศักยภาพในการอนรุ ักษ์ พัฒนาและคมุ้ ครองภมู ิปัญญาไทย (การแพทยพ์ น้ื บา้ น การแพทยแ์ ผนไทยและสมนุ ไพร)เพอ่ื ใหเ้ กดิ การใชป้ ระโยชน์ อยา่ งเปน็ ธรรมและเกดิ ประโยชนต์ อ่ การพง่ึ ตนเองดา้ นสขุ ภาพ ๔) เพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ การใชย้ าไทยและยาสมนุ ไพรในระบบสขุ ภาพของประเทศโดยมเี ปา้ หมายหลกั ๒ ประการไดแ้ ก่ เป้าหมายการพฒั นาเพื่อเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบ สขุ ภาพของประเทศ และเป้าหมายการพฒั นาเพื่อการพง่ึ ตนเองดา้ นสขุ ภาพ ซ่ึงวางบนหลักพื้นฐานที่สำคัญคือต้องคำนึงถึงการพึ่งตนเองด้านสุขภาพท้ังใน ระดบั ชมุ ชนทอ้ งถิ่นและในระดับประเทศ ต้องให้ความสำคัญกบั ระบบสุขภาพ ภาคประชาชนโดยรฐั ควรปรบั บทบาทเปน็ ผสู้ นบั สนนุ ใหป้ ระชาชนมคี วามเขม้ แขง็ แนวทางสำหรับผู้ปฏบิ ัติงาน 13 การดแู ลสขุ ภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น

สำนักการแพทย์พ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และจัดการดแู ลสุขภาพด้วยตนเอง เน้นการพฒั นาแบบบูรณาการ โดยเฉพาะ การมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นของสงั คมไทย และเนน้ การพฒั นาศกั ยภาพของ ชุมชนทอ้ งถน่ิ และสงั คมในการอนรุ ักษ์ พัฒนาและคุ้มครองภมู ปิ ัญญาไทย ความจำเปน็ ในการสง่ เสรมิ การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญา การแพทย์พ้ืนบา้ น ปงี บประมาณ ๒๕๕๒ สำนกั การแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์ แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ไดจ้ ดั ทำโครงการสง่ เสรมิ และพฒั นากระบวน การจัดการและดูแลสุขภาพชุมชนด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านมีแผน ทำงานรว่ มกบั ภาคี ๔ ภมู ภิ าคโดยสนบั สนนุ การดำเนนิ งานทง้ั ดา้ นงบประมาณ และวิชาการด้วยการปฏิบัติการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการดูแลสุขภาพ และการถา่ ยทอดความรกู้ ารแพทยพ์ น้ื บา้ นของหมอพน้ื บา้ นในพน้ื ท่ี ๔ ภมู ภิ าค ควบคู่กับการจดั การความรกู้ ารแพทย์พ้นื บ้าน ๔ ประเด็น คือ การรกั ษา อัมพฤกษ์ อมั พาต การรกั ษาพนื้ บา้ นเกยี่ วกบั สตั ว์พษิ กัด งกู ัด การดแู ลรกั ษา เบาหวานด้วยภูมปิ ัญญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ด้วย ภมู ปิ ัญญาสขุ ภาพท้องถิน่ /การแพทย์พื้นบา้ น เพ่อื ให้ไดร้ ูปแบบกระบวนการ พัฒนาการใช้ประโยชน์การแพทย์พ้ืนบ้านในระดับชุมชนและผสมผสานใน ระบบบรกิ ารสุขภาพแผนปจั จุบันระดบั ปฐมภมู ิ ผลการจัดการความรู้การดูแลสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาการ แพทยพ์ นื้ บ้านพบวา่ จากการทบทวนวรรณกรรม การสำรวจการใช้ภมู ิปัญญา พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพของหญงิ หลังคลอดทีม่ บี ตุ รอายตุ ำ่ กวา่ ๑ ปี ใน ระหวา่ งเดอื น มกราคม-กันยายน ๒๕๕๒ และการศึกษาเจาะลกึ องค์ความรู้ หมอตำแยในพื้นที่ ๔ ภมู ภิ าค ทำให้เห็นคณุ คา่ และประโยชนข์ องภูมิปญั ญา การแพทยพ์ น้ื บา้ นในการดแู ลแมแ่ ละเดก็ ในระยะตง้ั ครรภแ์ ละระยะหลงั คลอด โดยเฉพาะการดูแลสุขภาพด้วยอาหารและวิธีปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพและ ความปลอดภัยของแม่และเด็กรวมถึงการใช้หัตถการและเทคโนโลยีพื้นบ้าน 14 แนวทางสำหรับผปู้ ฏิบัตงิ าน การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภมู ิปญั ญาการแพทย์พ้นื บ้าน

สำนกั การแพทย์พนื้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เช่น การอยู่ไฟหลังคลอด การทับหม้อเกลือ การประคบ การอบสมุนไพร การนวดหลงั คลอด เพอ่ื การบำรงุ รกั ษาและฟน้ื ฟสู ภาพรา่ งกายของหญงิ หลงั คลอด ใหก้ ลบั สสู่ ภาพปกตแิ ละปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นในระยะยาว ทอ่ี าจสง่ ผลกระทบ ไปถึงสภาพรา่ งกายในวยั ทอง จากการสำรวจสถานการณก์ ารใชภ้ มู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ นในการดแู ล แม่และเด็กในสถานบริการของรัฐ และในชุมชน พบว่ายังคงมีการใช้ ในระดบั ครอบครวั โดยผทู้ ม่ี อี ทิ ธพิ ลในการตดั สนิ ใจคอื หญงิ ตง้ั ครรภ์ สามี และ แม่ ทัง้ แมต่ ัวเองและแมส่ ามี ทำใหม้ องเห็นภาพอนาคตของการดำรงอยู่ ของ หมอตำแยและองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการดูแลแม่และเด็ก ได้ใน ๒ กรณี ดงั น้ี กรณีที่ ๑ หากไม่มีการส่งเสริมสนับสนุนอย่างเป็นระบบ การใช้ ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการดูแลแม่และเด็กในวิถีชีวิตวัฒนธรรม การดแู ลกันเองในครอบครัวจะหายไป กลายเปน็ การใช้บริการเทคโนโลยีการ แพทยพ์ น้ื บา้ นทป่ี ระยกุ ตเ์ ขา้ กบั ยคุ สมยั ในระบบธรุ กจิ สปา สขุ ภาพและความงาม ทตี่ อ้ งเสยี คา่ ใช้ตามกลไกการตลาด เนอ่ื งจาก ๑. แนวโน้มลักษณะครอบครัวคนไทยที่มีลักษณะครอบครัวขยาย สภาพเศรษฐกจิ สงั คมทที่ ำให้ครอบครัวใหมต่ อ้ งออกมาหาที่อยู่ ที่ใกลท้ ท่ี ำงาน แยกออกมาจากครอบครัวพ่อแม่เดมิ ทำใหก้ าร รับรู้วิถีการดูแลสุขภาพที่ปฏิบัติกันในครอบครัวในรุ่นยายรุ่นแม่ ขาดหายไป การรบั รภู้ มู ปิ ญั ญาจากรนุ่ ยายสรู่ นุ่ หลานจงึ ลดนอ้ ยลง และเมื่อรุ่นหลานกลายเป็นรุ่นแม่ รุ่นต่อๆ ไป การรับรู้ และวิถีปฏบิ ัติในครอบครัวจะหายไปในที่สดุ ๒. ด้วยจุดเด่นของคุณค่าและประโยชน์ขององค์ความรู้ภูมิปัญญา ของเทคโนโลยพี น้ื บ้านในการดูแลแมห่ ลังคลอด เช่น การอยไู่ ฟ การทับหมอ้ เกลือ การนวดหลงั คลอด เหล่าน้ี จะถูกนำมาพฒั นา แนวทางสำหรับผู้ปฏิบตั งิ าน 15 การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ด้วยภมู ปิ ญั ญาการแพทย์พืน้ บ้าน

สำนักการแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ต่อยอด และเขา้ สรู่ ะบบกลไกการตลาด ทม่ี กี ารสื่อสารใหเ้ ห็น คุณคา่ ของภมู ิปญั ญาทส่ี ามารถเลอื กซ้ือบริการได้ ๓. ในสงั คมชนบท หมอตำแยจะค่อยๆ หมดไปเนื่องจาก หมอตำแย ไม่ได้ทำคลอด แต่เป็นเพียงผู้ดูแลและให้การช่วยเหลือหญิง หลงั คลอด ความสำคญั ในบทบาททางสงั คมจงึ ไมเ่ ดน่ ชดั เหมอื น ในอดีต จึงไมม่ ผี สู้ ืบทอด อกี ท้งั ในระบบบริการอนามัยแมแ่ ละ เด็กก็ต้องการที่จะให้บริการแม่และเด็กที่ครอบคลุมบริการตาม เป้าหมาย ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จำเป็นต้องพยายามลด ปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดจากทุกๆ ด้าน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาที่ ไมแ่ น ่ชัดว่าจะเปน็ ผลดีหรือผลเสียตอ่ แม่และเดก็ ในปัจจบุ ันจึง พยามยามปรับบทบาทหมอตำแยให้เป็นหมอนวดดูแลแม่ หลังคลอด ภูมิปญั ญาการแพทยพ์ ้นื บา้ นในการดูแลแม่และเดก็ ในสังคมชนบทยังคงมีการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลแม่ และเดก็ ในเรื่องอาหาร การปฏบิ ตั ติ นตามความเช่ือทีบ่ อกตอ่ กนั มาในครอบครวั แตอ่ ย่างไรก็ตามด้วยความเจรญิ ของเทคโนโลยี และการสอ่ื สาร กลไกการตลาด ธรุ กจิ สปา สขุ ภาพและความงาม สามารถคืบคลานส่สู ังคมชนบทไดโ้ ดยงา่ ย จนในทส่ี ดุ คนร่นุ ใหม่ จะรับวัฒนธรรมการดูแลแม่และเด็กตามกลไกทางธุรกิจแทน วฒั นธรรมสุขภาพเพ่อื สขุ ภาวะของแมแ่ ละลกู กรณีที่ ๒ หากมกี ารส่งเสรมิ อยา่ งเปน็ ระบบ จะเกดิ การใชป้ ระโยชน์ จากองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการดูแลแม่และเด็กในระบบ สขุ ภาพ ตั้งแตร่ ะดบั ครอบครวั ชุมชนและเช่อื มโยงสู่ระบบบรกิ ารของรฐั ทำให้ ประชาชนพ่ึงตนเองในการดูแลแม่และเด็กตามวิถีวัฒนธรรมท่ีมีการพัฒนา ต่อยอดใหเ้ หมาะสมกบั สังคมปจั จุบนั เนื่องจาก 16 แนวทางสำหรบั ผปู้ ฏิบตั ิงาน การดูแลสุขภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ ื้นบา้ น

สำนกั การแพทย์พืน้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๑. ในการสง่ เสรมิ อยา่ งเปน็ ระบบ ในระดบั นโยบายจะตอ้ งมกี ารศกึ ษา วจิ ยั เชงิ ระบบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากองคค์ วามรภู้ มู ปิ ญั ญา การแพทย์พื้นบ้านในการดูแลแม่และเด็กทั้งในระบบบริการ ของรัฐและในชุมชน ที่ครอบคลุมในทกุ มิติ ทงั้ ด้านกรอบแนวคดิ วิธวี ทิ ยา โครงสรา้ งกลไกเชิงระบบ มิติสงั คมวฒั นธรรมสขุ ภาพ และการแพทย์ และด้านสถานการณแ์ ละผลกระทบ มีการถอด บทเรียน สร้างแม่แบบ (Best Practice) เพื่อการส่งเสริม ประยกุ ตใ์ ช้โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หนว่ ยงานองค์กรที่ เก่ียวข้องทกุ ภาคส่วน ทุกระดบั จะทำใหภ้ ูมปิ ัญญาการแพทย์ พ้ืนบ้านด้านการดูแลแม่และเด็กยังคงคุณค่าและความหมาย เพอ่ื สขุ ภาวะ และชมุ ชนสามารถพง่ึ ตนเองดา้ นการดแู ลแมแ่ ละเดก็ ประหยัดค่าใชจ้ ่าย ยงั คงดำรงความสัมพันธข์ องคนในครอบครวั ความช่วยเหลอื เก้อื กลู ซง่ึ กนั ของคนในสงั คมท่จี ะต้องชว่ ยกนั ดแู ล แมแ่ ละเดก็ ทเ่ี กิดมาเปน็ สมาชิกใหมข่ องครอบครัวและสงั คม ๒. องค์ความรู้ภูมิปัญญาที่ผ่านการศึกษาวิจัยและพัฒนาอย่าง เปน็ ระบบจะถกู สง่ ผา่ นตามกระบวนการใหบ้ รกิ ารในระบบบรกิ าร ของรฐั ที่เชื่อมโยงกบั ชุมชนและหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ผูเ้ ป็นแม่ จะได้รับข้อมูลข่าวสารการใช้องค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์ พน้ื บา้ นในการดแู ลสขุ ภาพ จากบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลการเลือกใช้องค์ความรู้ภูมิปัญญาที่ สามารถปฏบิ ตั เิ องไดใ้ นครอบครัว ชุมชน และการใชบ้ ริการใน สถานบริการของรฐั ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการเพ่ือส่งเสริมให้เกิดการใช้ประโยชน์ จากองคค์ วามรภู้ มู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ นในการดแู ลแมแ่ ละเดก็ อยา่ งเปน็ ระบบ เพ่ือปอ้ งกนั ปญั หาที่อาจเกดิ ไดต้ ามข้อสงั เกตในกรณที ่ี ๑ ทก่ี ล่าวมาข้างตน้ แนวทางสำหรบั ผปู้ ฏิบัติงาน 17 การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ิปญั ญาการแพทย์พื้นบา้ น

สำนกั การแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒. ความหมาย คณุ คา่ และบทบาทของภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น ในการดูแลแม่และเดก็ ภมู ิปญั ญาพืน้ บา้ นในการดูแลรักษาสขุ ภาพแมแ่ ละเด็ก เปน็ ภมู ปิ ญั ญา ในการดูแลรักษาให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย นับเป็นภูมิปัญญาอันสำคัญยิ่ง ท่ีทำให้สามารถดำรงเผ่าพันธไุ์ ว้ได้ เปน็ ภมู ิปญั ญาของแม่ ย่า ยายที่สืบทอด สูล่ กู สาวผจู้ ะทำหนา้ ทแ่ี ม่ เปน็ องค์ความรูภ้ มู ปิ ญั ญาทอี่ ยใู่ นวิถวี ัฒนธรรม มที ั้ง ภูมปิ ญั ญา และความเชอ่ื ที่ดูแลกนั เองในครอบครวั ภมู ปิ ัญญาหมอตำแยหรือ ผดุงครรภ์โบราณที่เป็นผู้ช่วยเหลือดูแลหญิงตั้งครรภ์ ทำคลอดและดูแล หลังคลอด ซ่ึงจะเปน็ ทร่ี ูก้ ันวา่ ส่งิ ใดที่ดแู ลกันเองในครอบครวั สง่ิ ใดต้องอาศยั การดแู ลจากหมอพื้นบ้านทเี่ รยี กวา่ หมอตำแย และส่ิงใดทตี่ ้องได้รบั การดแู ล จากเจา้ หน้าทีด่ ้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข บทเรียนในการศกึ ษารวบรวมองคค์ วามรู้หมอพื้นบ้าน นอกจากจะเหน็ การดำรงอยแู่ ละบทบาทหมอพน้ื บ้านในชุมชนแล้ว ยงั ทำใหเ้ หน็ คุณค่าและ ความหมายของหมอพื้นบ้าน ดังเช่นการศึกษาองค์ความรู้ของหมอตำแย ชาวไทยมุสลิมใน ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เรียกว่าโต๊ะบิแด ที่พบว่า องค์ความรู้และบทบาทที่ยังคงดำรงอยู่ได้ในปัจจุบัน มีจุดเด่นนอกจาก การสอ่ื สารทเ่ี ขา้ ใจกนั ตามวฒั นธรรมประเพณแี ลว้ ยงั พบวา่ รปู แบบการใหบ้ รกิ าร ของโต๊ะบแิ ดเป็นรปู แบบการแพทยท์ ่ีศ.นพ.ประเวศวะสีเรียกว่า“การแพทย์ ทฤษฎใี หม่” เปน็ “ทฤษฎสี ุขภาพ” ท่กี ่อใหเ้ กดิ ดุลยภาพทัง้ กาย จติ สงั คม และสิ่งแวดล้อม เมื่อมองย้อนวิถีการทำงานของหมอตำแยกับความสัมพันธ์ ตอ่ ชมุ ชนในงานอนามยั แมแ่ ละเดก็ จะพบความหมายและคณุ คา่ ของภมู ปิ ญั ญา การแพทยพ์ น้ื บา้ นในการดแู ลแมแ่ ละเดก็ เหน็ คณุ คา่ ในวถิ ปี ฏบิ ตั ขิ องหมอตำแย ที่วงการแพทย์และสาธารณสุขในปัจจุบันหลายส่วนต้องการเห็นและพยายาม ผลกั ดนั ใหเ้ กิด เพือ่ คุณภาพชวี ิตท่ีดีและการมสี ่วนร่วมของชุมชน ดงั น้ี 18 แนวทางสำหรับผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ืน้ บา้ น

สำนักการแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒.๑ เปน็ การแพทยแ์ บบองคร์ วม (Holistic Medicine) การให้ความหมาย หรือคำอธบิ ายองค์ความรูข้ องหมอตำแย มใิ ช่เพยี ง การอธิบายถึงเหตุผลว่าทำไมหรือคืออะไรเหมือนการให้ความหมายทาง วทิ ยาศาสตร์ แตม่ นี ัยแฝงถงึ ระบบความคดิ ความเช่อื ท่สี ่งผ่านกันมารนุ่ ตอ่ รนุ่ เป็นความหมายและคุณค่าของความเคารพเชื่อฟัง ที่ส่งผลดีต่อแม่และเด็ก ทั้งกายและจิต จึงยึดถือปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ดังเช่นคำบอกเล่า ของมารดาหลงั คลอดรายหนง่ึ ทเ่ี ลา่ ถงึ โตะ๊ บแิ ดหรอื หมอตำแยของชาวมสุ ลมิ วา่ “ฝากทอ้ งกับโตะ๊ บีแดและอนามยั จะไปใหโ้ ตะ๊ บแิ ดยนื ยนั ว่าต้งั ทอ้ ง จรงิ กอ่ นถงึ ไปฝากท้องกับอนามัย พอท้อง 7 เดือนทำพธิ แี นแง1 กบั โต๊ะบแิ ด คนที่บ้านบอกให้ทำ คนอื่นในหมู่บ้านทำกันหมด หลังทำแนแงก็ใช้บริการ ยกท้องแต่งท้องเพราะรู้สกึ อึดอัดพอใหโ้ ตะ๊ บิแดแตง่ ท้องก็รสู้ กึ ดขี น้ึ คา่ ใช้จา่ ย ทำแนแง ให้เงนิ 12 บาท ผ้าโสร่ง 1 ผืน ไก่ 1 ซีก ทำแลว้ สบายใจ คนอ่นื ในหมู่บา้ นทำกันทกุ คนอยแู่ ลว้ ไม่ตอ้ งบอก” การไปให้โต๊ะบิแดยืนยันว่าตนเองตั้งท้อง เป็นการสร้างความมั่นใจ โดยผู้ที่ตนเองเชื่อถือ การที่จะเชื่อถือย่อมต้องยอมรับในความสามารถใน การวินิจฉัย การทำพิธีแนแง เป็นวิถีชีวิตที่ทุกคนทราบกันอยู่แล้วว่าเมื่อท้อง ก็ต้องทำแนแงแม้จะไม่ทราบความหมายของแนแงแต่ทำแล้วสบายใจ ส่วนการยกท้องเป็นการแก้ไขความไม่สบายของตนเองทำให้อาการดีข้ึน เม่ือทำแนแงและยกทอ้ งจึงรสู้ กึ ท้งั สบายกายและสบายใจ บง่ บอกถึงศกั ยภาพ ของโตะ๊ บิแดในการดแู ลหญงิ ตัง้ ครรภ์ 1พิธีแนแง คือ พธิ ีการดแู ลหญงิ ตง้ั ครรภ์ไทยมสุ ลิมท้องแรก เมือ่ อายคุ รรภ์ ๗ เดือน โดยหมอตำแย (โตะ๊ บแิ ด) เพื่อขจัดสิ่งชวั่ ร้าย เกิดความเปน็ ศริ ิมงคลแกแ่ มแ่ ละเด็กในครรภ์ และตรวจดูทา่ เดก็ ในครรภ์ มรี ายละเอยี ดขน้ั ตอนการทำพิธีแตกต่างกนั บ้าง ในแต่ละพ้นื ที่ แนวทางสำหรบั ผู้ปฏิบัตงิ าน 19 การดูแลสขุ ภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทย์พน้ื บา้ น

สำนกั การแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ความสัมพนั ธ์ของหมอตำแยตอ่ ชุมชน มใิ ช่เพยี งแคค่ นทำคลอด แตย่ งั เปน็ ทีพ่ ่ึง เป็นกำลงั ใจ เปน็ ความอบอ่นุ และความมั่นใจ “มีลกู ๓ คน ฝากท้องกับโตะ๊ บิแดและเจ้าหน้าทีอ่ นามัยทง้ั ๓ คน ท่ฝี ากกบั โต๊ะบิแดเพราะร้สู ึกปลอดภัย สะดวก สามารถพูดเป็นกันเองได้ แถมยงั ถามไถ่สขุ ภาพรา่ งกายเราดว้ ย สามารถเรยี กมาเม่อื ไรกไ็ ด้” “โตะ๊ บแิ ดมาทำคลอดให้ มแี มอ่ ยใู่ กล้ รสู้ กึ วา่ ปลอดภยั โตะ๊ บแิ ดจะคอย แต่งท้องให้ตรงจดุ เพอ่ื ให้คลอดง่าย” “เจบ็ ท้องคลอดใหส้ ามีไปรับโต๊ะบิแดซ่ึงอยูห่ ลังบา้ น เฝา้ ตัง้ แตเ่ ทยี่ งคืน แลว้ นอนลบู ทอ้ งจนคลอด รู้สกึ สบายใจ และอบอ่นุ ไมก่ ลัวการคลอด ขณะ เจบ็ ทำน้ำมนั เสกใหก้ นิ พรอ้ มน้ำมนต์ และเป่ามนต์บนทอ้ ง” ๒.๒ เป็นการแพทย์ผสมผสาน(Integrated Medicine ) หมอตำแยสว่ นใหญผ่ า่ นการอบรมผดงุ ครรภโ์ บราณจากกรมอนามยั มาแลว้ ดังนั้นองค์ความรู้ของหมอตำแย จึงมีทั้งองค์ความรู้แบบพื้นบ้านดั้งเดิม ท่ีสืบทอดมาผสมผสานกับความร้กู ารแพทย์แผนปัจจุบันท่ไี ด้รับจากการอบรม ในครง้ั นน้ั แมจ้ ะไมเ่ คยไดร้ บั การฟน้ื ฟอู กี เลย แตก่ ย็ งั นำเอาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั มาใช้ เช่นคำอธบิ ายของหมอตำแยท่านหนึ่งอธิบายการทำคลอดวา่ “เมอ่ื ศรี ษะทารกโผล่ จะรบั ทารกด้วยมือเปล่า แตป่ ัจจุบันจะใสถ่ ุงมือ โดยจะหนั หนา้ เขา้ หาผคู้ ลอด เมอ่ื เหน็ ศรี ษะทารกกำลงั จะโผลอ่ อกมา จะใชม้ อื ข้างหน่ึงกดศีรษะทารกให้ก้มหน้าลงและใช้มืออีกข้างหนึ่งประคองฝีเย็บไว้ ปอ้ งกันแผลฝเี ย็บฉกี ขาด เมอ่ื คลอดศรี ษะออกมาแล้ว จะรอใหศ้ ีรษะทารก หมนุ เองตามธรรมชาติ และค่อยๆ ทำคลอดตวั เดก็ ออกมา เมอื่ ทารกคลอด ออกมาแลว้ จะใช้ผา้ ใหม่รบั ทารก จะดแู ลทารกโดยการสงั เกตเสยี งรอ้ ง สีผิว หลงั จากนน้ั ใชน้ ว้ิ มอื ลว้ งเขา้ ไปในปากของทารกเพอ่ื เอานำ้ ครำ่ ออกมา ทำเชน่ น้ี ๒ − ๓ ครง้ั จนกวา่ ทารกจะรอ้ ง และใชม้ อื ขา้ งหนง่ึ จบั ขาทารกยกขน้ึ มอื อกี ขา้ ง หนง่ึ ประคองศรี ษะทารกไว้ ในปจั จบุ นั จะใชล้ กู สบู ยางแดงทไ่ี ดร้ บั จากการอบรม 20 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏิบัติงาน การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเด็กดว้ ยภมู ิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้าน

สำนกั การแพทย์พน้ื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ผดุงครรภ์โบราณ ในการดดู มกู ออกจากปากของทารก ในกรณีทท่ี ารกไมร่ อ้ ง จะอ่าน อายะ เอ็นนา แลว้ เปา่ หขู ้างขวาและซา้ ยของทารก ทารกจะรอ้ งทนั ที แตเ่ คยพบกรณที ท่ี ารกไมร่ อ้ งแตล่ มื ตาดี ตวั แดงดี กถ็ อื วา่ ทารกปกติ หลงั จากนน้ั จะอาบนำ้ ใหท้ ารก โดยใชน้ ำ้ อนุ่ ผสมขมน้ิ เลก็ นอ้ ยเพอ่ื ใหท้ ารกมผี วิ เนยี นนมุ่ แลว้ เชด็ ใหแ้ หง้ หอ่ ทารกดว้ ยผา้ ใหม่ ซง่ึ การดแู ลทารกนใ้ี ชเ้ วลาประมาณ ๕–๑๐ นาท”ี ปจั จบุ นั หมอตำแยไมต่ อ้ งการทำคลอด แตท่ ย่ี งั คงดำรงบทบาทเกย่ี วเนอ่ื ง ดว้ ยภาระทางวฒั นธรรมประเพณี ชุมชนยงั ตอ้ งการพ่ึงพา ในระยะตัง้ ครรภ์ ระหว่างรอคลอดและหลงั คลอด สว่ นการทำคลอดน้นั ก็เมื่อฉกุ เฉนิ หรือจำเปน็ ดงั นน้ั ศักยภาพในบูรณาการการดแู ลแม่และเดก็ ในชุมชน คอื การดูแลในระยะ ตั้งครรภ์ ระหว่างรอคลอดและหลังคลอด หากเพิ่มศักยภาพการวิเคราะห์ ภาวะปจั จยั เสย่ี งและการเฝา้ ระวงั อาการแทรกซอ้ นในระยะตา่ งๆ ใหก้ บั หมอตำแย ซึ่งจะทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถานบริการกับชุมชนในการพัฒนางาน อนามยั แม่และเด็กที่สอดคล้องกบั วถิ ีวฒั นธรรม ๒.๓ เปน็ การใหบ้ รกิ ารแบบครบวงจรและบรกิ ารถงึ บา้ น (One stop service & Delivery) หมอตำแยมีองค์ความรู้ที่บ่งบอกถึงภูมิปัญญาในการดูแลแม่และเด็ก ในระยะต่างๆ หญงิ ตัง้ ครรภ์จะมาขอใหด้ แู ลตงั้ แต่เรม่ิ ไม่แน่ใจว่าจะตัง้ ครรภ์ ไปจนถงึ รอ้ื เตาไฟทใ่ี ชอ้ ยไู่ ฟหลงั คลอดดว้ ยความเคารพ ไวเ้ นอ้ื เชอ่ื ใจ และดแู ลกนั มาตลอด “ประจำเดอื นขาด ๓ เดอื น ชวนสามีไปปรกึ ษาโต๊ะบิแดว่าตัง้ ทอ้ งหรือ ไมร่ อจนเดก็ ดิ้นจึงไปฝากครรภ์กับอนามยั พอ ๘ เดอื นกฝ็ ากทอ้ งกับโตะ๊ บแิ ด ทำพธิ ีแนแงไม่คดั ทอ้ งแต่จบั ทอ้ งดขู นาดเด็ก คา่ สมนาคุณตามความสมคั รใจ (๒๐ บาท)” “ไม่ไดอ้ ยูไ่ ฟแตน่ ั่งแคร่ ๗ วัน รบั โต๊ะบิแดมานวดตดิ ต่อกัน ๓ วนั แลว้ แตโ่ ตะ๊ บิแดวา่ ง บางครง้ั นวดกลางคนื คา่ ใช้จ่ายรวมตอนคลอดแลว้ ไม่ แนวทางสำหรับผู้ปฏิบตั ิงาน 21 การดแู ลสขุ ภาพแม่และเด็กดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ้ืนบ้าน

สำนักการแพทย์พืน้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ตอ้ งจา่ ยอีก หลังนวดนำ้ นมออกมามาก ลกู ดูดดี รู้สึกตัวเบา โตะ๊ บแิ ดให้ กินยาน้ำสมุนไพรแกป้ วดมดลกู ๓ ขวด ๑๐๐ บาท ใหก้ นิ นำ้ อนุ่ งดอาหาร ผกั และผลไมท่ ่มี รี สเยน็ งดอาหารรสเปรยี้ ว ครบ ๗ วัน ทำพธิ รี ือ้ เตาไฟโดยล้าง ทำความสะอาดแครใ่ หส้ ะอาดปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ปน็ โรคซมึ เศรา้ หลงั คลอด หลงั คลอด จะเน้นใหด้ ดู นมแมอ่ ยา่ งเดยี ว คา่ ตอบแทนรื้อเตาไฟ มเี งิน ๑๒ บาท มะพร้าว ๑ ลูก กะละมัง ๑ ใบ ไฟแชค ๑ อัน ขา้ วเหนียว ๔ ลิตร” ในระหวา่ งตง้ั ครรภ์ หญงิ ตง้ั ครรภจ์ ะเปน็ ผไู้ ปหาหมอตำแยทบ่ี า้ น เพอ่ื ขอให้ เปน็ ผดู้ แู ลตนเองในระหว่างการต้งั ครรภ์ เปน็ การแสดงเจตนารมณแ์ ละแสดง การยอมรับ แม้ตัง้ ใจจะไปคลอดที่โรงพยาบาล แต่ถา้ หากฉกุ เฉนิ ไปไมท่ ัน อย่างไรก็มีหมอตำแยทำคลอดให้ หลังจากคลอดแล้วจะเป็นผู้ตามไปดูแล จนครบกำหนดกระบวนการอยไู่ ฟ เปน็ การใชบ้ รกิ ารกบั หมอตำแยผเู้ ดยี วตง้ั แตต่ น้ จนจบ ดังนนั้ ตลอดระยะเวลา ๙ เดือนหรืออย่างนอ้ ย ๔-๕ เดือนของการ ต้งั ครรภ์ หมอตำแยจงึ มีความค้นุ เคย สนทิ สนม เข้าใจในลักษณะอาการและ การเปลยี่ นแปลงและขอ้ จำกดั ของหญงิ ตง้ั ครรภ์ผู้น้ันได้เปน็ อย่างดี ซ่ึงผดิ กบั การไปใชบ้ ริการในสถานบริการของรฐั เม่ือฝากครรภพ์ บเจา้ หน้าทแี่ ผนกหนึ่ง เมอื่ คลอดพบเจา้ หนา้ ทีอ่ กี แผนกหน่ึง หลังคลอดกพ็ บเจา้ หน้าที่อกี แผนกหนึง่ คร้ันกลบั บา้ นเจ้าหน้าท่ที ่ตี ามไปเยีย่ มก็เปน็ อีกแผนกหน่ึง หญิงตั้งครรภต์ ้อง ปรับตัวกับระเบียบวิธีการของแต่ละแผนก ปรับตัวกับเจ้าหน้าที่ที่เปลี่ยน หน้ากนั ไปในแต่ละกระบวนการ ลว้ นแตแ่ ตกตา่ งทางวัฒนธรรมอยา่ งสิ้นเชิง และแม้จะมกี ารพัฒนาปรับปรุงสถานบริการใหส้ อดคล้องกบั วัฒนธรรม แตก่ ็ มอิ าจทดแทนหรือชดเชยในความรู้สกึ ที่คนุ้ เคยได้ การทีโ่ รงพยาบาลบางแห่ง อนุญาตให้หมอตำแยนำส่งหญิงใกล้คลอดและไปอยู่ดูแลในขณะรอคลอดและ หลังคลอด นับเปน็ การบรู ณาการองค์ความรู้ภมู ปิ ญั ญาท่ีสอดคลอ้ งกบั ความ ต้องการของชุมชน และเมอื่ มกี ารเพิ่มพนู ความรู้ ปัจจัยเสยี่ งในการระยะต่างๆ ของแมแ่ ละเดก็ ก็จะช่วยลดอตั ราเสย่ี งตอ่ การตายของมารดาและทารกลงได้ 22 แนวทางสำหรบั ผู้ปฏบิ ตั ิงาน การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเด็กดว้ ยภูมิปญั ญาการแพทย์พ้ืนบา้ น

สำนกั การแพทยพ์ ืน้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ส๓่ง. เบสทริมบกาทารหดนูแ้าลทสี่บุขุคภลาาพกรแดม้า่แนลกะาเรดแ็กพดท้วยย์แภลูมะิสปาัญธญาราณกสาุขรแในพกทายร์ พนื้ บ้าน บุคลากรผ้ปู ฏิบัติคือกลไกสำคัญท่จี ะทำให้การส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญา การแพทยพ์ ืน้ บ้านในการดแู ลแมแ่ ละเดก็ ประสบผลสำเรจ็ เกดิ การพ่งึ ตนเอง ด้านการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน อยา่ งมปี ระสิทธิผลและประสิทธิภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง บุคลากรจะตอ้ งมหี ลกั การ และบทบาทหน้าท่ี ดังน้ี ๓.๑ หนา้ ท่ีในการเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจภูมปิ ัญญาการแพทย์พนื้ บา้ น บคุ ลากรสาธารณสขุ ควรไดศ้ กึ ษา เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจภมู ปิ ญั ญาการแพทย์ พน้ื บ้านในการดูแลแม่และเดก็ โดยใช้ มุมมอง ๔ มติ ิในการใชป้ ระโยชนแ์ ละ ผสมผสานภูมิปัญญาพื้นบ้านที่เสนอโดย นายแพทย์วิชัย โชควิวัฒนและ เสาวณยี ์ กลุ สมบรู ณ์ เรอ่ื ง แนวคดิ การผสมผสานภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นในการดแู ล สุขภาพแม่และเด็กภายใต้โครงการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลอนามัย ของมารดาและทารกชาวไทยมสุ ลมิ ใน ๕ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญา การแพทยพ์ น้ื บา้ น ดงั น้ี ๑) ความรู้ (Knowledge) องคค์ วามรภู้ มู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นในการดแู ล สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ (Maternal Child Health : MCH) ของโตะ๊ บแิ ด เปน็ อยา่ งไร มคี วามชดั เจนหรือไม่ อยา่ งไร คน้ พบอะไรบ้างจากงานวจิ ัยน้ี ๒) สถานการณ์ (Situation) เปน็ อยา่ งไร มกี ารใชภ้ มู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ดแู ลแมแ่ ละเด็ก โดยใคร? มีลกั ษณะการใช้แบบใดบ้าง ๓) ระบบ (System) ทร่ี องรับมีหรือไมอ่ ยา่ งไร? ทัง้ ระบบสขุ ภาพ ในชมุ ชนและการผสมผสานกบั ระบบการดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ (MCH) ในระดบั ปฐมภมู ิ ๔) มิตทิ างสังคมวฒั นธรรม (Social and Cultural Context) แนวทางสำหรับผู้ปฏบิ ัติงาน 23 การดูแลสขุ ภาพแม่และเด็กด้วยภมู ปิ ัญญาการแพทย์พ้ืนบา้ น

สำนักการแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมเป็นอย่างไร? มีผลต่อการดำรงอยู่ การสบื ทอด และการใชป้ ระโยชนจ์ ากภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นดา้ นสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ (MCH) อยา่ งไร ชมุ ชนมีแนวทางการผลติ ซ้ำ (Reproduction) ภมู ิปญั ญา หรือไม่ อยา่ งไร? ๓.๒ บทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมและพฒั นา การสง่ เสรมิ และพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ทางเลอื กใหก้ บั ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ โดยอาศยั พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ในดา้ นการสง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชน์ จากภูมิปญั ญาพืน้ บา้ น ดา้ นสขุ ภาพในการดูแลและจดั การสุขภาพต้องอาศยั การเสรมิ กระบวนการให้เกิดการวางแผน และส่งเสรมิ พัฒนาอย่างจริงจงั ระหว่างองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และหมอตำแย หรอื ภาคกี ารทำงานดา้ น ภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ นในชมุ ชนดา้ นงบประมาณในการดแู ลในชมุ ชนของหมอตำแย และส่งเสรมิ การสืบทอดความรู้ การสง่ เสรมิ และพฒั นาในระยะยาว การจดั ทำแผนแมบ่ ทของการฟน้ื ฟสู ง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชนภ์ มู ปิ ญั ญา พื้นบ้านในการดูแลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ เชิงระบบ โดยบูรณาการในแผนพัฒนา สุขภาพในพน้ื ที่ การส่งเสริมการวิจัยต่อยอดเพื่อการพัฒนาความรู้จากภูมิปัญญา พื้นบ้านในการดูแลสุขภาพแม่และเด็กของหมอตำแยในระดับสูงขึ้น ดังข้อ คน้ พบจากการศึกษา มภี มู ิปัญญาหลายด้าน เช่น สมนุ ไพรทีใ่ ช้ในการดแู ล สขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ การนวดยกมดลูกเพือ่ ใหม้ ดลูกเขา้ อ่เู ร็ว เปน็ ต้น 24 แนวทางสำหรับผปู้ ฏิบัตงิ าน การดูแลสขุ ภาพแม่และเด็กดว้ ยภูมิปัญญาการแพทย์พ้ืนบ้าน

๒บทท่ี ๒ องคค์ วามรแู้ ละภมู ิปัญญา การแพทยพ์ ื้นบา้ นในการดแู ล สุขภาพแมแ่ ละเดก็ ๔ ภาค



สำนกั การแพทย์พนื้ บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก บทท่ี ๒ องคค์ วามรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ น้ื บา้ น ในการดูแลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ๔ ภาค ๑. องคค์ วามรูแ้ ละภมู ิปญั ญาการแพทย์พื้นบา้ นภาคเหนอื ภาคเหนอื ตอนบน เรยี กมารดาหลังคลอดว่าแม่กำ๋ เดอื น ซึ่งสิทธพิ งษ์ อาณาตระกลู (๒๕๕๐) ไดใ้ หค้ วามหมายของแม่ก๋ำเดือนวา่ หญิงหลงั คลอด ต้งั แต่วนั แรก จนถึง ๓๐ วัน ถ้าเป็นลกู คนแรก/ทอ้ งแรก ตอ้ งเผอ่ื วนั ไปอกี ๒ – ๓ วัน จะต้องอยเู่ ดอื นนานกวา่ ๓๐ วนั (คือการอยเู่ ดือนไฟ) ถา้ เปน็ ลูกชาย จะอยเู่ ดือนแค่ ๒๕ วัน ตามความเชอื่ ดัง้ เดิมเพ่อื ใหล้ ูกคงกะพนั ปลอดภยั จาก คมหอกคมดาบ ภาพแมก่ ำ๋ เดอื น แนวทางสำหรับผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน 27 การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ด้วยภูมิปญั ญาการแพทย์พื้นบ้าน

สำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก การอยู่เดือน ในระหว่างระยะหลงั คลอด ๒๕-๓๐ วนั แมก่ ำ๋ เดอื นจะ ต้องปฏิบตั ิตนและกระทำกิจกรรมตา่ งๆ เพอ่ื ฟื้นฟสู ภาพรา่ งกายหลงั คลอด เรียกว่า การอยู่เดอื น เหตุทต่ี อ้ งอยเู่ ดอื น เน่อื งจาก แม่ก๋ำเดอื น หรือ หญิงหลงั คลอดอยูใ่ น สภาพร่างกายอ่อนแอจากการเสียเลือดมาก ระหว่างคลอดต้องระมัดระวัง สุขภาพร่างกายใหด้ ี การอยู่เดือนหรือการอยู่ไฟ หมายถงึ การใช้ความร้อน จากไฟช่วยทำให้ร่างกายพักฟื้น ความร้อนจากไฟเป็นยา เป็นยาวิเศษ ตำรับหนง่ึ (ยาวิเศษปา๊ กหนง่ึ ) ทำใหแ้ ผลแห้งเรว็ ฮ้วนหรอื มดลกู เขา้ อ่เู ร็ว ทำใหน้ ำ้ นมแมก่ ำ๋ เดอื นไหลมปี รมิ าณมากพอสำหรบั ลกู เลอื ดลมไหลเวยี นดี ร่างกายแข็งแรง การอย่เู ดือนมี ๒ ลักษณะคือ การอย่เู ดือนไฟคอื หลังคลอดวนั แรก ตอ้ งผงิ ไฟตลอดเวลา และการอยู่เดอื นเย็น ซึ่งการอยเู่ ดอื นเย็นก็คอื การอยู่ แบบธรรมดาไม่ตอ้ งอยูไ่ ฟ หลงั จากออกเดือน หรือ หลงั จากอยู่เดือนไฟเสรจ็ การผงิ ไฟของแมก่ ำ๋ เดอื น ทำใหเ้ ลอื ดลมดี ทำใหน้ ำ้ นมสกุ และมวี ธิ กี าร กระตนุ้ นำ้ นมแมโ่ ดยนำขา้ วสารหอ่ ใสผ่ า้ เอาไปผงิ ไฟใหอ้ นุ่ แลว้ นำไปประคบ กับเตา้ นม ที่เป็นกอ้ นเนือ้ แข็งเพ่อื ให้นมสกุ และมนี ำ้ นมหากไม่อยู่เดอื น/อยไู่ ฟ จะทำใหแ้ มก่ ำ๋ เดอื นมอี าการผดิ เดอื น หมายถงึ สขุ ภาพระยะยาวของแมก่ ำ๋ เดอื น ในระหว่างการอยเู่ ดอื น มีการสุมไฟ (อยู่ไฟ) ตลอดเวลา ห้ามไฟ ในเตาดบั สามตี อ้ งคอยชว่ ยแมก่ ำ๋ เดอื นสมุ ไฟ ทง้ั กลางวนั และกลางคนื ในชว่ ง เวลากลางคืนแม่ก๋ำเดือนตอ้ งเตรียมไมเ้ รยี วไว้ขา้ งๆ ตัว ๑ อัน หากสามี เผลอหลบั และกรณีไฟดบั จะใชไ้ มเ้ รยี วคอยสะกิดสามใี หช้ ว่ ยเตมิ ไฟ ดงั น้ัน แมก่ ๋ำเดอื นหรอื สามี ต้องคอยระวังไม่ใหไ้ ฟดบั มคี วามเชือ่ วา่ หากไฟดับลูกจะ เปน็ กระสือ การอยู่ไฟจะทำให้นำ้ นมไหลออกมาเอง โดยทุกส่วนของร่างกาย จะตอ้ งโดนความรอ้ นจากไฟ ท้งั ด้านหนา้ ด้านหลงั ขา และเทา้ จนเหงื่อไหล การผิงไฟต้องกลบั หรือพลิกลำตวั ทุก ๑๕ นาทีโดยประมาณ เพ่ือให้ทกุ ส่วน ของร่างกายได้รบั ความรอ้ นอยา่ งสม่ำเสมอ 28 แนวทางสำหรับผู้ปฏิบตั งิ าน การดูแลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภมู ิปัญญาการแพทย์พ้ืนบา้ น

สำนกั การแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก การออกเดือน หรอื กำหนดวันส้นิ สดุ การอยู่เดอื น ต้องหาฤกษ์ยามหรือ ตอ้ งหาวนั ดหี รอื วนั เสยี ในการออกเดอื น หากตรงกบั วนั เสยี อาจจะตอ้ งเลอ่ื น วันออกเดอื น ๑ วนั หรือ ออกเดอื นก่อน ๑ วัน แต่อย่าให้เกิน ๑ วนั ถ้าเกิน ๑ วนั จะทำให้ลกู ดือ้ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการอยู่เดือน จอง หรอื เตยี งสำหรบั แมก่ ำ๋ เดอื นนอน ทำจากไมไ้ ผ่ โดยหลงั จากคลอด สามีจะต้องนำไม้ที่เตรียมไว้มาทำเตียงให้แม่ก๋ำเดือน (ทำจอง) ไม่ให้นอน บนที่นอนใหน้ อนบนไมไ้ ผ่ สงู ประมาณ ๑ ฝา่ มอื หรือสูงเสมอกับเตาไฟ หม้อต้มสมุนไพร สำหรับดื่ม (หม้อต่อม) เตรยี มหมอ้ ตม้ สมนุ ไพรให้ แม่กำ๋ เดอื นด่ืมแม่ก๋ำเดอื นต้องดื่มน้ำร้อน/นำ้ สมนุ ไพร (ไพล) ตลอด ผวิ ไมไ้ ผต่ ดั สายสะดอื หากสายรก (ฮก) ยงั ไมไ่ หลออกมา จะใชไ้ มไ้ ผ่ ผ่าแลว้ คบี สายรกไว้ปอ้ งกันไมใ่ หส้ ายรกไหลกลบั คืน หากไหลคนื แม่ก๋ำเดอื น อาจตายได้ และมวี ธิ ขี บั สายรกออกได้ ใชค้ าถาขบั ออก หรอื นวดทอ้ ง บบี หนา้ ทอ้ ง (สิทธพิ งษ์ อาณาตระกูล, ๒๕๕๐) เตาไฟ หมอ้ ต้มนำ้ สมนุ ไพรอาบ ฟนื สำหรบั สุมไฟใหแ้ มก่ ๋ำเดือนระหวา่ งอยู่เดอื น กอ่ นคลอดสามจี ะ ต้องเตรยี มวัสดุ/อุปกรณ์ให้พรอ้ ม เชน่ ฟืน ตอ้ งเป็นไม้เน้ือแข็ง ไมม่ แี มลงเจาะ ตอ้ งปอกเปลอื กไมอ้ อกใหห้ มด ถา้ มแี มลงเจาะ เวลานำฟนื ไปสมุ ไฟใหแ้ มก่ ำ๋ เดอื น จะทำให้มกี ลน่ิ เหม็น ทำใหม้ ผี ลกระทบกับแม่ก๋ำเดอื นจะตอ้ งเตรยี มก่อนท่ีจะ คลอดประมาณ ๑ เดือน บางครัง้ ทอ้ งได้ ๓ – ๔ เดอื น ก็สามารถเตรยี มไว้ ให้เพยี งพอ สมนุ ไพร สำหรบั แมก่ ำ๋ เดอื น ไพล (ปเู ลย) ใบเปลา้ เทยี นดำ (เตยี นดำ) แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน 29 การดแู ลสขุ ภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ื้นบา้ น

สำนกั การแพทย์พ้นื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ภาพ ไพล (ปูเลย) 30 แนวทางสำหรับผปู้ ฏิบตั งิ าน การดูแลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ด้วยภูมิปญั ญาการแพทยพ์ ื้นบ้าน

สำนกั การแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ภาพ ใบเปลา้ สำหรับต้มน้ำอาบ แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงาน 31 การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภมู ิปัญญาการแพทยพ์ ้นื บา้ น

สำนกั การแพทย์พน้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ภาพ เทยี นดำ ภาพ ยาฝนแกผ้ ดิ สาบ 32 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏิบตั งิ าน การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภูมิปัญญาการแพทย์พน้ื บ้าน

สำนกั การแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก สมนุ ไพรสำหรบั ลกู แกป้ วดทอ้ ง มหาหงิ ส์ บดละเอยี ดทาบรเิ วณทอ้ ง ข้อควรปฏบิ ตั ิ / ขอ้ หา้ ม ระหวา่ งอยเู่ ดือน / เหตผุ ล ในระหวา่ งอยเู่ ดอื น หา้ มออกนอกบา้ น/นอกชายคาบา้ น โดยไมจ่ ำเปน็ ใหอ้ ยแู่ ตใ่ นบา้ น ยกเวน้ ซกั ผา้ /ผา้ ออ้ ม หากมเี พอ่ื นบา้ นมาหา หรอื มาใหก้ ำลงั ใจ ตอ้ งเขา้ ไปหาในหอ้ ง หรอื บริเวณทีอ่ ย่เู ดือน ใหป้ ิดหนา้ ตา่ งใหม้ ิดชิด โดยเฉพาะ ๑๕ วนั แรกในระหวา่ งอยเู่ ดือน หา้ มกินอาหารแสลง (กำ๋ กนิ๋ ) อาหารเป็นพษิ ของหมักดอง อาหาร รสเผด็ ควรกนิ อาหารประเภทของแหง้ “กนิ๋ ส้มฮว้ นบาน ก๋นิ หวานฮว้ นใก้” (ฮว้ นบานหรอื ฮว้ นใก้ มคี วามหมายเดยี วกนั คอื ทำใหม้ ดลกู ขยาย) ทำใหม้ ดลกู ไม่เขา้ อู่ หรือ เขา้ อ่ชู า้ ใหก้ นิ อาหารรสจืดเป็นหลัก ถ้าจะกินเนอื้ หมู หรือ เน้ือปลา กอ่ นนำมาปรงุ อาหาร จะตอ้ งลา้ งด้วยนำ้ ขา้ วมวก (นำ้ แช่ข้าวเหนยี ว คา้ งคนื ทค่ี นภาคเหนือ ตอ้ งแช่ข้าวไว้ ๑ คืนก่อนนำไปนงึ่ ) เพื่อลา้ งพษิ ไมท่ ำ ใหผ้ ดิ เดือน กนิ นำ้ ร้อน/อาบนำ้ รอ้ น นำ้ ตม้ สมนุ ไพร อาบนำ้ ต้มใบเปลา้ ทุกวัน ๓๐ วัน ที่เตรียมไว้ ๓๐ มัด ห้ามกนิ เนอ้ื ววั /ควาย ห้ามกนิ ปลาชนดิ ไมม่ เี กล็ด หา้ มยกของหนัก การแตง่ ตวั ตอ้ งแตง่ ตวั มดิ ชดิ คลมุ และสรา้ งความอบอนุ่ ใหก้ บั รา่ งกาย ใสห่ มวกกนั หนาว เสอ้ื แขนยาว ใสถ่ งุ เทา้ หรอื คนสมยั กอ่ นใชผ้ า้ เกา่ มาพนั เทา้ ไว้ ใชผ้ า้ ขาวมา้ รดั บรเิ วณหนา้ ทอ้ ง / ทอ้ งทห่ี ยอ่ นยาน เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ดลกู หยอ่ น ถา้ ไม่อย่เู ดอื น จะทำใหร้ ่างกายอ่อนแอ ปว่ ยเปน็ โรคไดง้ ่าย มผี ลกบั เลือด กบั ลมในร่างกาย สุขภาพร่างกายของแมก่ ำ๋ เดือนเปรยี บเสมือน ก๋วยตา๋ ห่าง (ตาของชะลอม หรอื ตะกรา้ ) การอยู่เดอื น คนสมัยกอ่ นถอื ว่าเปน็ ยาอย่างดี แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏิบัติงาน 33 การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ืน้ บา้ น

สำนกั การแพทย์พน้ื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ภาพ การแต่งกายแมก่ ๋ำเดอื น 34 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ ืน้ บ้าน

สำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ภาพ การแตง่ กายแม่ก๋ำเดือน บุคคลท่เี กย่ี วข้อง/บทบาทหมอเมือง ระหวา่ งอยู่เดือน พ่อฮบั /แมฮ่ ับ หรอื หมอตำแย ในช่วงขณะท่ีคลอด/ปวดท้อง สามี หรือญาติจะต้องเตรียมที่นอนม้วนให้แม่หลังคลอดนั่งพิง ไปบอก พ่อฮับ (หมอตำแยที่เป็นผู้ชาย) หรือแม่ฮับ (หมอตำแยที่เป็นผู้หญิง) มาช่วยคลอด ช่วยปรับท่าของลูกที่จะคลอด จะสามารถสังเกตอาการของแม่หลังคลอด ไดว้ า่ ใกล้คลอดหรือยัง หากใกลค้ ลอดแมห่ ลงั คลอดจะมอี าการร้อนบรเิ วณหัว มหี มอเมอื งมาช่วยเปา่ คาถาใส่น้ำ (นำ้ มนต์ใหด้ ่มื ) เป่าคาถาใสก่ ระหม่อมหรอื หัวแมห่ ลงั คลอด ช่วยใหม้ ีแรงเบ่ง/สะเดาะเอาลกู ออกให้คลอดงา่ ย ในช่วง ระหวา่ งกำลงั คลอดคนสมยั ก่อนจะใชส้ มนุ ไพร คอื เมลด็ ผักกาดพน้ื เมอื ง นำมาบดผสมกับนำ้ ผึ้งให้ดื่ม เพือ่ ปอ้ งกนั เลือดขนึ้ ไหลออกทางปาก แนวทางสำหรับผูป้ ฏิบตั ิงาน 35 การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเด็กดว้ ยภูมิปัญญาการแพทยพ์ ้นื บา้ น

สำนกั การแพทยพ์ นื้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ให้นำปลายกางเกงสามี แชน่ ำ้ ให้หญงิ ทอ้ งกนิ เพ่อื เป็นการขอขมา สามี ทไ่ี ดพ้ ดู ดา่ ว่ากล่าว เพราะชว่ งทที่ อ้ ง อารมณ์หงดุ หงดิ ไดด้ า่ ว่าสามี หลังจากออกเดอื นแล้วจะเอาลกู นอนอู่ (เปลนอน) หลังจาก ๑๕ วันบางคน ๓๐ วนั หรือหลงั ออกเดือน ก็จะเอาทารก ขึน้ อู่ได้ พอ่ จะเปน็ คนสานอู่หรอื ยมื คนอืน่ ก็ได้ กอ่ นเอาทารกข้นึ อู่ ตอ้ งหา วันกอ่ นวา่ วนั ไหนดี ก็จะเอาทารกขึ้นอู่ จะเอาเคยี ว ใบหนาดหญา้ ล้านผีปา่ ย มดั ไวใ้ ต้อู่ และกรณแี มจ่ ะไปทำธุระให้นำไมก้ วาดวางไว้บนหัวนอนอขู่ องเด็ก เพ่อื หมายไว้ป้องกันผสี าง พธิ กี รรม กอ่ นการคลอดลกู ตอ้ งมพี ิธีกรรมการสงเคราะห์ สขู่ วญั รดน้ำ ปดั เคราะห์ ทำก่อนจะคลอดท้องแก่ก็มกี ารรดน้ำดำหวั สู่ขวัญผ้หู ญงิ ท่ี ทอ้ ง (แม่มาน) ปัดเคราะห์ไมใ่ หม้ ีเคราะหเ์ พ่ือใหล้ ูกท่จี ะคลอดงา่ ยและพิธลี อด ตาแหลว ๗ ชน้ั เพอ่ื ไมใ่ หแ้ มต่ ายทอ้ งกลม (ตายพาน) พธิ นี จ้ี ะทำตอนทอ่ี ายคุ รรภ์ ประมาณปลายเดือนท่ี ๘ เขา้ เดือนท่ี ๙ (อายทุ ้อง) อาการผดิ ปกตขิ องแมก่ ๋ำเดอื น กรรณกิ าร์ ชมภศู รี (๒๕๕๐) โครงการพฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นการ แพทย์พ้ืนบา้ นลา้ นนาเพ่อื การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ ร่วมกบั กล่มุ หมอพ้นื บา้ น อำเภอเกาะคา จงั หวดั ลำปาง ศกึ ษาและจดั ทำชดุ องคค์ วามรวู้ ธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพ แม่ก๋ำเดือน เขียนถึงอาการผิดปกตทิ ่พี บบ่อยในแม่ก๋ำเดอื น คือ อาการกนิ ผดิ สาบผดิ และไดใ้ ห้ความร้เู ก่ยี วกบั อาการดังกล่าวไว้ ดังนี้ กนิ ผดิ หรอื ผดิ กนิ คอื “อาการทเ่ี กดิ จากการกนิ หรอื บรโิ ภคอาหารแสลง” สาบผดิ หรอื ผดิ สาบ คอื “อาการท่เี กดิ จากการไดก้ ลิน่ ส่งิ ท่ีไม่ถกู กบั รา่ งกาย เชน่ การไดก้ ลน่ิ อาหาร ไดก้ ลน่ิ นำ้ หอมตา่ งๆ กลน่ิ ดอกไม้ กลน่ิ เหมน็ ไหม้ กลิน่ สี กล่ินทินเนอร์ กลน่ิ ยางไหม้” 36 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน การดแู ลสุขภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภูมปิ ญั ญาการแพทยพ์ ื้นบ้าน

สำนกั การแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก สาเหตทุ ่ที ำให้เกดิ อาการกนิ ผิด วฒั นธรรมภาคเหนือมีความเชื่อกันมาช้านานว่า อาการกนิ ผดิ สาบผิด นัน้ มักเกดิ กบั หญิงหลังคลอดทไี่ ม่ได้อยู่เดอื นไฟ ซ่งึ จะก่อใหเ้ กิดอาการกนิ ผดิ สาบผดิ ไดท้ ง้ั ในระหวา่ งการอยเู่ ดอื นไฟ และหลงั จากออกเดอื นไฟไปจนตลอดชวี ติ หากมกี ารรกั ษาอยา่ งทันท่วงทกี ็จะไม่ทำใหอ้ าการดังกลา่ วกลบั มาเป็นอกี ครั้ง กลมุ่ คนทมี่ ักเกิดอาการกินผดิ สาบผดิ อาการกินผิดสาบผดิ มักเกิดกับหญิงที่อยู่ระหวา่ งการอยเู่ ดอื นไฟ หรือ หญงิ หลงั คลอดเปน็ สว่ นใหญ่ หญงิ หรอื ชายวยั ตา่ งๆ กส็ ามารถเกดิ อาการเชน่ น้ี ได้เช่นกัน วธิ รี ักษาอาการกินผิดสาบผิดตามแบบพื้นบ้านทางเหนอื โดยการใชส้ มนุ ไพรทไ่ี ดม้ าจากพชื และสตั ว์ ทง้ั วธิ กี ารฝนกนิ การตม้ อาบ การตม้ ดม่ื การฮมยาสมนุ ไพร (อบยาสมนุ ไพร) ซง่ึ การรกั ษาจะขน้ึ อยกู่ บั อาการ ของแตล่ ะคน เมอ่ื มอี าการรนุ แรงตอ้ งใชห้ ลายวธิ กี ารควบคกู่ นั ไป แตถ่ า้ ไมร่ นุ แรง มากนกั กจ็ ะใช้วธิ กี ารฝนยากนิ ยาฝนที่ใช้รักษาอาการกินผิดสาบผดิ ยาฝนเปน็ รปู แบบของยาพน้ื บา้ นชนดิ หนง่ึ ทน่ี ำมาใชใ้ นกระบวนการรกั ษา อาการกินผิดสาบผิด เป็นยาสมุนไพรที่นำมาใช้โดยผ่านกรรมวิธีการฝน (ถู) กบั หินแลว้ ละลายในน้ำ อาจเป็นสมนุ ไพรเด่ยี ว หรอื เป็นยาตำรบั เพอื่ ใช้รักษา บรรเทาอาการของโรคต่างๆ แนวทางสำหรับผปู้ ฏบิ ัติงาน 37 การดแู ลสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พนื้ บ้าน

สำนกั การแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก เทยี นดำ สมุนไพรท่ีช่วยปอ้ งกันไมใ่ ห้แมก่ ำ๋ เดือนผดิ สาบ การป้องกันไมใ่ ห้แม่กำ๋ เดือนผิดสาบโดยจะใช้ เทยี นดำพอประมาณ หอ่ ใส่ผา้ เลก็ ๆ มัดและคลอ้ งคอไว้ เปน็ ยาดม หากแม่กำ๋ เดอื นได้กล่ินสาบกจ็ ะ ดมเทยี นดำเพอื่ ป้องกนั ได้ อาหารแสลงทอ่ี าจทำให้เกิดอาการกนิ ผิดสาบผดิ เนอื้ ววั เน้ือควาย ย่งิ ถา้ เป็นเนื้อวัว เนอ้ื ควายท่ตี ายแลว้ หรือ เน้อื ควายเผอื ก นำมากินยิง่ มีความเสี่ยงท่ีจะเกิดอาการกนิ ผดิ สาบผดิ แตงกวา หรือภาษาทางเหนือเรียกว่า แตงซ้าง ผกั ชะอม หรือ ผักหละ ส่วนใหญ่จะเกดิ กบั หญงิ หลงั คลอด เน้ือไก่ เนื้อปลาไม่มเี กลด็ เชน่ ปลาดกุ ปลาไหล (ปลาเหยี่ยน) กุ้ง อึ่งอ่าง กบ น้ำปู ของหมกั ดองตา่ ง ๆ เช่น หนอ่ ไมด้ อง ผักดอง กล่ินท่ีอาจทำใหเ้ กิดอาการสาบผดิ กลิน่ เหมน็ กล่นิ หอมเกินไป กลิน่ น้ำหอม กลนิ่ แปง้ สบู่ กลิ่นดอกไม้ (ดอกราตรี ดอกวาสนา ดอกไมท้ ม่ี กี ลน่ิ แรง) กลิ่นเผาสงิ่ ต่างๆ เชน่ ผ้าห่ม น้ำมนั ก๊าด พลาสตกิ ฯลฯ วิธกี ารป้องกันตามแบบพื้นบา้ นชาวเหนือ หา้ มกินอาหารแสลงทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ ตามความเชอ่ื ของคนเมอื ง บา้ นเรา หลงั คลอดควรจะพกั ฟน้ื รา่ งกาย โดยการอยเู่ ดอื นไฟตามแบบพน้ื บา้ น หรอื ตามคำสอนของคนเหนอื 38 แนวทางสำหรับผู้ปฏบิ ตั ิงาน การดูแลสุขภาพแม่และเดก็ ด้วยภมู ิปญั ญาการแพทยพ์ ืน้ บา้ น

สำนักการแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ดูแล และระมดั ระวังตนเองระหวา่ งการอย่เู ดือนหลงั คลอด ระมัดระวงั เรอ่ื งการบริโภคอาหาร ๒. องคค์ วามร้แู ละภมู ปิ ญั ญาการแพทยพ์ ้นื บา้ นภาคกลาง รตั นาวดี อนิ ทรถาวร (๒๕๔๙) ประธานศูนยเ์ รียนรกู้ ารแพทยพ์ ้นื บ้าน วดั ละมดุ วสิ ทุ ธยิ าราม อำเภอไชโย จงั หวดั อา่ งทอง ศกึ ษาการฟน้ื ฟสู ขุ ภาพมารดา หลังคลอด ดว้ ยวิธกี ารแบบทอ้ งถ่นิ ดงั นี้ ๑. การอยไู่ ฟ การอยไู่ ฟหลังคลอดของคนไทยไดป้ ฏิบตั ิสบื เน่ืองมานาน จนเรยี กเวลาหลงั คลอดบตุ รวา่ ระยะอยไู่ ฟ สมัยโบราณตอ้ งเลือกไม้สะแกหรือ ไมม้ ะขามเพราะมขี เ้ี ถ้าน้อยไมร่ บกวนทำความรำคาญใหม้ าก และควรจะมี ไมท้ องหลาง (แตจ่ ะทำใหเ้ กดิ ควนั ) รว่ มดว้ ย เหตทุ ต่ี อ้ งใชไ้ มท้ องหลาง เพราะ เชอ่ื วา่ การอยไู่ ฟดว้ ยไมท้ องหลางจะชว่ ยปอ้ งกนั การปวดมดลกู และพษิ เลอื ด การอยไู่ ฟแบบด้งั เดิม เรยี กว่า การอย่ไู ฟแบบใชก้ องไฟ มีวธิ ีการ คือ ต้องใช้เชอ้ื เพลงิ ถ่านมาก่อไฟ ซงึ่ ในปัจจบุ นั ไดม้ ีการปรับเปลีย่ นวิธกี ารอย่ไู ฟ เปน็ การอยู่ไฟชุด และการใช้กระเปา๋ นำ้ รอ้ น ๑.๑ การอย่ไู ฟชุด ซงึ่ เปน็ กล่องแบนๆ ทำดว้ ยอลูมิเนยี มสำหรับ ใสเ่ ชือ้ ไฟ วิธใี ชค้ อื จุดไฟท่เี ช้ือไฟจุดอยบู่ รเิ วณหน้าทอ้ งผ้าทพ่ี นั ห่อกล่องไฟชุด ต้องหนาพอที่จะป้องกันความร้อนจากกล่องไฟชุดไม่ให้กระทบหน้าท้อง มากเกนิ ไปเพราะจะทำให้บรเิ วณหนา้ ทอ้ งมารดาเป็นอันตรายได้ ๑.๒ การใช้กระเป๋าน้ำร้อน กระเป๋าไฟฟ้าวางบริเวณหน้าท้อง แทนการอยู่ไฟชุด ซึ่งเป็นการประยกุ ตใ์ ชใ้ นระยะหลังๆ หรือบางท้องถนิ่ ใชอ้ ฐิ เผาไฟวางบรเิ วณหน้าท้อง แนวทางสำหรบั ผปู้ ฏิบตั งิ าน 39 การดูแลสขุ ภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ ืน้ บ้าน

สำนักการแพทยพ์ ืน้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผลของการอยไู่ ฟของมารดาหลงั คลอดบตุ ร (รตั นาวดี อนิ ทรถาวร, ๒๕๔๙) ๑. ลดความเกรง็ และความตงึ ตวั ของกลา้ มเนอ้ื การตงึ ตวั หรอื การเกรง็ ตวั ของกลา้ มเนอ้ื เกดิ จากการใชก้ ลา้ มเนอ้ื เปน็ ระยะเวลานานซง่ึ ทำใหข้ าดเลอื ด ไปเลย้ี งโดยอณุ หภมู ทิ ต่ี ำ่ กวา่ ๔๕ องศาเซลเซยี ส สามารถกระตนุ้ การทำงาน ของเซลประสาท สง่ ผลให้กลา้ มเนื้อมีความไวต่อการกระตุ้นลดลง ๒. เพิ่มการไหลเวียนโลหิตให้มากขึ้น โดยความร้อนจะไปกระตุ้น การนำสญั ญาณประสาททางใยประสาทใหญท่ ่พี บมากบรเิ วณผวิ หนังผา่ นเข้าสู่ ไขสนั หลงั บางสว่ น บางสญั ญาณ ประสาทจะยอ้ นกลบั ไปยงั หลอดเลอื ดทไ่ี ดร้ บั การกระต้นุ ทำให้มกี ารหล่งั สารซ่งึ ไม่มีฤทธ์ติ ่อการตึงตัวของกลา้ มเน้อื เรยี บทาง หลอดเลอื ด ทำใหห้ ลอดเลือดมีการขยายตวั ส่งผลใหม้ ีปริมาณการไหลเวียน เลอื ดเพม่ิ ข้ึน ๓. ความรอ้ นเปน็ ตวั การรบั ความรสู้ กึ ปวด โดยความรอ้ นจะไปกระตนุ้ ตัวรับอุณหภูมิบริเวณผิวหนังให้เกิดการนำสัญญาณประสาททางใยส่วนใหญ่ ท่ีสามารถยับย้ังสัญญาณประสาทเก่ียวกับอาการปวดท่ีทำโดยใยประสาทเล็ก สง่ ผลใหม้ สี ัญญาณประสาทผ่านเข้าสสู่ มองบรเิ วณรับรู้อาการปวดลดลง ๔. ลดอาการอกั เสบ ความรอ้ นสามารถทำใหเ้ นอื้ เยื่อบรเิ วณทีไ่ ดร้ ับ ความรอ้ นมอี ณุ หภมู เิ พม่ิ ขน้ึ เปน็ ผลใหป้ ฏกิ ริ ยิ าทางเคมแี ละอตั ราการเผาผลาญ ภายในเซลเพม่ิ ข้ึน เปน็ ผลดีตอ่ การทำงานของร่างกาย เพราะเน้ือเยือ่ สามารถ นำออกซิเจนไปใช้ได้มากข้ึนมีการนำสารต่างๆไปใช้ในกระบวนการซ่อมแซม เนอ้ื เยอ่ื ทม่ี กี ารอกั เสบหรอื บาดเจบ็ ไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ทำใหก้ ารกำจดั ของเสยี ของรา่ งกาย เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพิม่ ขึ้น 40 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน การดูแลสขุ ภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภูมิปญั ญาการแพทย์พ้นื บ้าน

สำนกั การแพทย์พื้นบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๓. การเข้ากระโจม คอื การอบตวั ด้วยไอน้ำท่ีมาจากสมุนไพร ซงึ่ เป็น วิธกี ารท่สี ำคญั มากเพราะเช่อื วา่ เปน็ วธิ กี ารกำจัดมลทินต่างๆ ทีป่ รากฏบนผิว เนื้อให้หมดไป กำจัดนำ้ เหลอื งเสยี และเป็นการบำรุงผวิ หนา้ ไมใ่ หเ้ กดิ ฝา้ บำรงุ ผวิ พรรณให้สดใส ภาพ กระโจมแบบพ้ืนบ้าน (๑) แนวทางสำหรับผู้ปฏิบตั งิ าน 41 การดูแลสขุ ภาพแม่และเด็กดว้ ยภูมิปัญญาการแพทย์พนื้ บ้าน

สำนกั การแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ภาพ กระโจมแบบพ้นื บ้าน (๒) 42 แนวทางสำหรับผปู้ ฏิบตั ิงาน การดูแลสุขภาพแม่และเด็กด้วยภูมิปญั ญาการแพทยพ์ ื้นบ้าน

สำนักการแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ภาพ สมนุ ไพรสำหรับเข้ากระโจม (หมอพ้นื บา้ น) ภาพ สมนุ ไพรสำหรับเข้ากระโจม (โรงพยาบาลสนามชัยเขต) แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัตงิ าน 43 การดูแลสุขภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ัญญาการแพทยพ์ นื้ บ้าน

สำนักการแพทย์พืน้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ขอ้ หา้ มในการเขา้ กระโจมหรอื อบสมุนไพร ๑. หญงิ คลอด ๑−๒ วนั ไมค่ วรเขา้ กระโจม เน่ืองจากรา่ งกาย ออ่ นแอ ควรทอดระยะออกไปประมาณ ๔−๕ วนั หลงั คลอด ๒. ผ้ทู ีร่ ้สู ึกอ่อนเพลยี อดนอน หวิ ข้าว หิวนำ้ หรอื อม่ิ เกนิ ไป ๓. เปน็ ไข้ ตวั รอ้ น ปวดศีรษะ คล่ืนไส้ อาเจยี น ๔. เป็นโรคหัวใจ ความดันสงู หอบหดื ลมชกั การประคบตัว จะทำหลังคลอดแล้วและอยใู่ นช่วงเวลาการอยไู่ ฟ หลังคลอด ๒−๓ วัน การประคบตวั ทุกวันตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลา ๓−๗ วัน สมุนไพรทีใ่ ชท้ ำลูกประคบ ส่วนใหญ่จะใชไ้ พล ขม้นิ ออ้ ย ใบมะขาม ใบส้มปอ่ ย เกลอื หนึง่ หยิบมือเคลา้ แล้วมดั ใหแ้ นน่ เปน็ ลกู ประคบใช้ประคบ ตามแขน ขา ตวั เตา้ นม หนา้ ทอ้ ง การประคบเต้านม ทำให้เตา้ นมไมค่ ัด นำ้ นมเดินสะดวก ภาพ สมนุ ไพรทใ่ี ช้ทำลูกประคบ 44 แนวทางสำหรับผู้ปฏิบัตงิ าน การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ด้วยภูมปิ ญั ญาการแพทยพ์ ้ืนบา้ น

สำนกั การแพทย์พ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ภาพ สมุนไพรที่ใชท้ ำลูกประคบ การประคบร้อน ประคบด้วยลกู ประคบสมุนไพรหรือการประคบรอ้ น ดว้ ยสมนุ ไพร จดั เปน็ การประคบรอ้ นดว้ ยความรอ้ นชน้ื โดยการเตรยี มสมนุ ไพรสด ตามสูตรที่กำหนดให้ ตำพอแหลกผสมกันห่อด้วยผ้า หลังจากนั้นนำไป อังน้ำรอ้ นแล้วนำไปประคบบริเวณท่ตี ้องการ ซง่ึ การประคบดังกลา่ วสามารถ บรรเทาอาการบวมอักเสบของกล้ามเน้ือช่วยให้เน้ือเย่ือพังผืดยืดตัวและช่วย เพมิ่ การไหลเวยี นโลหิตไดเ้ ชน่ เดยี วกัน การทับหม้อเกลือ ทำโดยการนำเอาเกลือบรรจุลงในหม้อตาลที่มี ฝาละมปี ดิ ตง้ั บนไฟจนรอ้ นจัดจนเกลอื ในหมอ้ แตกประทุ ยกหม้อลงไปวางบน ใบพลบั พลงึ หรอื ใบละหงุ่ แลว้ แตจ่ ะหาไดใ้ นทอ้ งถน่ิ ใชผ้ า้ หอ่ หมอ้ เกลอื ใหค้ ลมุ ทั้งใบพลับพลึงหรือใบละหุ่งที่วางไว้ให้เหลือชายผ้าพอที่จะรวมกันเป็นกระจุก สำหรบั ถอื นำหม้อเกลอื ไปนาบและประคบตามตวั ของหญงิ หลงั คลอด และ หัวเหน่า เชื่อว่าจะทำให้มดลูกเข้าอู่เร็ว ทำวันละ ๒ ครั้ง เช้ามืดและ เวลาบ่ายจนกว่าจะออกไฟ แนวทางสำหรบั ผู้ปฏบิ ตั งิ าน 45 การดูแลสุขภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภูมิปัญญาการแพทย์พนื้ บา้ น

สำนกั การแพทย์พน้ื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ภาพ ใบพลับพลงึ ภาพ ใบละหงุ่ 46 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเดก็ ดว้ ยภูมปิ ญั ญาการแพทย์พนื้ บา้ น

สำนกั การแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ภาพ การทบั หมอ้ เกลือ แนวทางสำหรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน 47 การดูแลสุขภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ิปัญญาการแพทยพ์ นื้ บ้าน

สำนักการแพทย์พ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ภาพ การทบั หมอ้ เกลอื 48 แนวทางสำหรับผูป้ ฏบิ ัตงิ าน การดแู ลสขุ ภาพแมแ่ ละเดก็ ด้วยภมู ปิ ัญญาการแพทย์พื้นบา้ น

สำนักการแพทยพ์ ้นื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ภาพ ตวั ยาทบั หมอ้ เกลอื การนั่งถ่าน สมัยก่อนหญิงที่อยู่ไฟจะต้องมีการนั่งถ่านทำโดยใช้ ผวิ มะกรดู ตากแห้ง วา่ นน้ำ ว่านนางคำ ไพล ขม้นิ ออ้ ย ชานหมาก ชะลูด ขมน้ิ ผง ใบหนาด อาจจะไมค่ รบทกุ อยา่ ง นำสมนุ ไพรเหลา่ นไ้ี ปหน่ั ใหล้ ะเอยี ด แลว้ ตากแดดเตรยี มไว้ เวลาใชโ้ รยลงบนเตาไฟนง่ั หอ้ ยขาบนแครค่ วนั จากเตาไฟ จะรมบรเิ วณทห่ี ญงิ หลงั คลอดนง่ั และเปน็ การสมานแผลทเ่ี กดิ จากการคลอดลกู วธิ นี ต้ี อ้ งทำดว้ ยความระมดั ระวงั มฉิ ะนน้ั สะเกด็ ถา่ นจะแตกกระเดน็ ทำใหเ้ กดิ แผลพุพองได้ แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน 49 การดแู ลสุขภาพแม่และเดก็ ดว้ ยภมู ปิ ญั ญาการแพทย์พืน้ บา้ น

สำนกั การแพทย์พน้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ภาพ สมนุ ไพรสำหรบั การนั่งถา่ น 50 แนวทางสำหรบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน การดูแลสุขภาพแมแ่ ละเด็กด้วยภูมปิ ัญญาการแพทย์พื้นบ้าน