Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ การประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535

คู่มือปฏิบัติตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ การประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535

Description: คู่มือปฏิบัติตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ การประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535

Search

Read the Text Version

คู่มือปฏบิ ัติ ต้นู ำ้� ดื่มหยอดเหรียญ การประกอบกิจการท่ีเป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ พระราชบญั ญัตกิ ารสาธารณสขุ พ.ศ.2535 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู อื ปฏบิ ตั ิ ตู้นำ�้ ดม่ื หยอดเหรียญ การประกอบกจิ การท่เี ป็นอันตรายต่อสุขภาพ พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข



ค�ำ น�ำ ต้นู ำ้�ด่มื หยอดเหรียญ เป็นกจิ การที่เปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพตามประกาศกระทรวง สาธารณสขุ มาตรา 31 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และพบวา่ ปจั จบุ นั มกี ารตดิ ตงั้ ตนู้ �ำ้ หยอดเหรยี ญเปน็ จ�ำ นวนมาก จากผปู้ ระกอบการผลติ และจ�ำ หนา่ ยตนู้ �้ำ หยอดเหรยี ญ หลายยห่ี อ้ ท้ังในเขตชมุ ชนหนาแนน่ หรอื เขตท่พี ักอาศยั เชน่ หอพัก ยา่ นธุรกจิ หมบู่ ้าน จดั สรร และชมุ ชนทวั่ ไป กรมอนามัยโดยสำ�นกั สขุ าภบิ าลอาหารและน�้ำ ไดส้ ำ�รวจคุณภาพน้ำ� จากตู้น้ำ�ด่ืมหยอดเหรียญ พบปัญหาคุณภาพนำ้�ส่วนหนึ่งยังไม่ได้มาตรฐาน ผู้ให้บริการ ขาดการดูแลบำ�รงุ รักษา รวมทัง้ ปัจจยั ปัญหาอ่นื ๆ กรมอนามยั จงึ ได้จดั ท�ำ คูม่ ือปฏิบตั ติ ้นู �ำ้ ด่ืม หยอดเหรียญฯ โดยปรับปรุงจากฉบับเดิมให้เหมาะสมกับข้อกำ�หนดท่ีมีในปัจจุบัน เพื่อให้ ผปู้ ระกอบกจิ การและผเู้ กย่ี วขอ้ งน�ำ ไปเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู สขุ ลกั ษณะ โดยมงุ่ หวงั ให้เกิดการพัฒนายกระดบั มาตรฐานการผลิตน้�ำ บรโิ ภคและการคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค ส�ำ นกั สุขาภิบาลอาหารและน�ำ้ กรมอนามยั



สารบัญ หน้า ค�ำ นำ� ก สารบญั ข บทที่ 1 บทนำ� 1 บทที่ 2 ตู้น�ำ้ ดื่มหยอดเหรียญ 2 บทท่ี 3 แนวทางการควบคมุ คณุ ภาพน้�ำ ตนู้ �้ำ ดม่ื หยอดเหรียญ 6 การตรวจสอบแบคทีเรียโดยใชช้ ุดทดสอบอยา่ งง่ายตรวจสอบ 10 โคลิฟอร์มแบคทเี รีย (อ 11) เอกสารอ้างอิง 14 ภาคผนวก ภาคผนวก ก. ค�ำ แนะนำ�ของคณะกรรมการสาธารณสุข ตเร้นู ือ่ �ำ้ งหยแนอดวทเหารงยีกญารคพว.ศบ.ค2ุม5ก5า3ร ประกอบกจิ การ 16 ภาคผนวก ข. ข-1 เกณฑม์ าตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี 284 (พ.ศ.2547) เรอื่ ง น�ำ้ บรโิ ภคในภาชนะบรรจุที่ปดิ สนิท (ฉบบั ที่ 5) 18 ข-2 ประกาศส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา เรอื่ ง คำ�ชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี 362) พ.ศ.2556 เรื่อง นำ้�บรโิ ภคจากตนู้ �้ำ ด่ืมอัตโนมัต ิ 19 ภาคผนวก ค. การสุ่มเกบ็ ตัวอย่างน้ำ�ตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพ เคมีและชวี วิทยา 21



บทที่ 1 บทน�ำ 1. ความเป็นมา สบื เนอื่ งจากกระทรวงสาธารณสขุ ไดป้ ระกาศการผลติ น�ำ้ กลนั่ น�้ำ บรโิ ภค เปน็ กจิ การ ท่เี ป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตามมาตรา 31 แห่งพระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสุข พ.ศ.2535 ในการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุขคร้ังที่ 54-2/2552 มีมติให้การประกอบกิจการ ตู้น้ำ�ด่ืมหยอดเหรียญเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามประกาศฯ ดังกล่าว ซ่ึงต้อง ควบคมุ คณุ ภาพให้ไดต้ ามมาตรฐานคณุ ภาพน้�ำ บรโิ ภคทก่ี �ำ หนด จึงใหส้ �ำ นักสุขาภบิ าลและนำ้� กรมอนามัย จดั ทำ�คูม่ ือการปฏบิ ตั ิสำ�หรบั ผปู้ ระกอบกิจการน�ำ ไปใชเ้ ป็นแนวปฏิบตั ิในทศิ ทาง เดยี วกนั เพอ่ื คมุ้ ครองใหผ้ บู้ รโิ ภคไดร้ บั บรกิ ารน�้ำ ดม่ื ทปี่ ลอดภยั สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ตี อ่ ไป 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื เปน็ คมู่ อื ใหผ้ ปู้ ระกอบกจิ การตนู้ �ำ้ ดม่ื หยอดเหรยี ญน�ำ ไปปฏบิ ตั ติ ามหลกั การ สุขาภิบาลน้ำ�ดม่ื ท่ดี ี 2.2 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามข้อก�ำ หนดของส่วนราชการ ท้องถ่ินในทิศทางเดยี วกนั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ 3.1 เปน็ คมู่ อื ใหผ้ ปู้ ระกอบกจิ การตนู้ �ำ้ ดม่ื หยอดเหรยี ญปฏบิ ตั ติ ามหลกั การสขุ าภบิ าล นำ้�ด่มื ที่ดี 3.2 นำ้�บริโภคมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานกำ�หนด ผู้บริโภคได้รับบริการนำ้�ท่ี ปลอดภัยและไมเ่ จบ็ ป่วยเป็นโรคท่เี กดิ จากน้�ำ เปน็ สอ่ื กรมอนามยั 1 กระทรวงสาธารณสุข

บทที่ 2 ตู้นำ้�ดืม่ หยอดเหรียญ 2.1 นยิ าม ตู้น�ำ้ ดื่มหยอดเหรียญ ในคูม่ ือปฏิบัตติ ู้น�ำ้ ดมื่ หยอดเหรียญฉบบั นี้ หมายความวา่ สถานทท่ี ่ผี ลติ นำ้�บรโิ ภคบรรจุขวดหรอื ใสภ่ าชนะตา่ งๆ หรอื ผลิตภณั ฑส์ ำ�หรับตดิ ตง้ั กบั ท่อจา่ ยนำ�้ เพอ่ื ปรบั ปรงุ คณุ ภาพน�ำ้ ใหส้ ะอาด ไวส้ �ำ หรบั บรกิ ารผบู้ รโิ ภค โดยมกี ารจ�ำ หนา่ ยหรอื จา่ ยเงนิ เปน็ คา่ น�้ำ บริโภค ณ สถานที่ผลิต โดยผ่านเครื่องอัตโนมตั ิ 2.2 สว่ นประกอบของตู้น�ำ้ ดมื่ หยอดเหรียญ ส่วนประกอบของตู้นำ้�ด่ืมหยอดเหรียญ ประกอบด้วย ตัวตู้ มีช่องจ่ายน้ำ�และ ฝาปิดช่องหยอดเหรียญ ภายในประกอบด้วย ระบบการกรองท่ีมีประสิทธิภาพสูงและการ ฆา่ เชอื้ โรคดว้ ยแสงอลุ ตรา้ ไวโอเลตหรอื โอโซนเพอื่ ใหน้ �ำ้ ดมื่ ทผี่ ลติ ไดส้ ะอาดและปราศจากเชอื้ โรค และถังสำ�รองนำ�้ ตัวตู้ทำ�จากวัสดุท่ีไม่เป็นสนิม มีความแข็งแรง และมีการป้องกันอันตรายจาก กระแสไฟฟ้าดูด อุปกรณ์ท่ีสัมผัสกับนำ้� เช่น ถังสำ�รองนำ้� ท่อนำ้� หัวจ่ายน้ำ� เป็นต้น ทำ�จากวสั ดุทใ่ี ชใ้ นอุตสาหกรรมอาหาร (Food Grade) 2 ค่มู อื ปฏิบัติ ตู้นำ้�ดื่มหยอดเหรียญ

2.3 กระบวนการผลติ น้ำ�ด่มื ของต้นู ้�ำ ดื่มหยอดเหรียญ ในการผลิตน้ำ�ดื่มของตู้น้ำ�ดื่มหยอดเหรียญ ส่วนใหญ่นิยมใช้วิธีการกรอง แบบ Reverse Osmosis (RO) ซง่ึ จะใหค้ วามสะอาดมากกวา่ การกรองแบบธรรมดา โดยระบบ กรองน�ำ้ แบบ RO เปน็ การกรองโดยใชแ้ รงดนั สงู ให้น�ำ้ ผา่ นเยอื่ บาง ๆ ทเี่ รียกวา่ เมมเบรน (Membrane) สามารถกรองได้ละเอยี ดขนาดโมเลกลุ จึงกรองจลุ นิ ทรียแ์ ละสารอนินทรีย์ เช่น โลหะหนกั ความกระดา้ ง และเเรธ่ าตุตา่ ง ๆ ได้ ขนั้ ตอนในการผลิต เรมิ่ จากน�ำ น้ำ�ดิบซึง่ ส่วนใหญ่เป็นน้�ำ ประปาหรือแหลง่ น�ำ้ อน่ื ท่ีมี ความสะอาด เช่น น้ำ�บาดาลมาผา่ นการกรองหยาบเพอ่ื กำ�จดั ตะกอนขนาดใหญ่ การกรอง ละเอียด การกำ�จดั สี กลิน่ รส และคลอรนี ดว้ ยไส้กรองคาร์บอนหรือถ่านกัมมนั ต์ แล้วผ่าน การกรองท่ีละเอียดมากขึ้นหรือระบบฆ่าเชื้อโรค จากน้ันน้ำ�จะถูกสูบด้วยปั้มแรงดันสูงผ่าน เมมเบรนและถูกเก็บไว้ในถังที่ปิดสนิทเพ่ือรอจำ�หน่าย น้ำ�ส่วนท่ีไม่ผ่านเมมเบรนจะใช้เป็น น�้ำ ลา้ งเมมเบรนแลว้ ระบายทง้ิ และน�้ำ บางสว่ นจะถกู น�ำ กลบั เขา้ ขบวนการกรองอกี เมอ่ื ผบู้ รโิ ภค กดปมุ่ จา่ ยน�้ำ ระบบจะน�ำ น�้ำ ทเ่ี กบ็ ไวม้ ากรองอกี ครง้ั หนง่ึ ดว้ ยไสก้ รองคารบ์ อนกอ่ นจา่ ยน�้ำ จากเครอ่ื ง ซงึ่ ตนู้ �้ำ หยอดเหรยี ญบางแห่งอาจเพิม่ ระบบฆ่าเช้ือโรคอกี ช้ันหนง่ึ ดังแผนภาพท่ี 1 กรมอนามยั 3 กระทรวงสาธารณสุข

แผนภาพที่ 1 กระบวนการผลติ ของตู้น้�ำ หยอดเหรยี ญ แหลง่ น้ำ� (นำ้�ประปา/แหลง่ น้ำ�อ่ืน) กรองหยาบ กรองละเอียด กรอง Activated Carbon กรองละเอียด/ระบบฆ่าเชือ้ โรค น�้ำ บางสว่ นกลบั เข้า ปั๊มแรงดนั สูง กระบวนการกรองใหม่ กรองผา่ น Membranes ระบายนำ�้ ทงิ้ ถงั เกบ็ ส�ำ รองนำ�้ กรอง Activated Carbon ระบบฆ่าเชอ้ื โรค น�ำ้ บรโิ ภค 4 คมู่ ือปฏิบตั ิ ตู้น้ำ�ดืม่ หยอดเหรยี ญ

องคป์ ระกอบภายในตู้น้�ำ ดมื่ หยอดเหรยี ญ เครื่องกรอง ถังเกบ็ น้ำ� ระบบฆ่าเชอ้ื โรค (หลอด UV) กรมอนามัย 5 กระทรวงสาธารณสขุ

บทท่ี 3 แตนู้นวำ�้ ทดาื่มงหกยาอรดคเวหบรคียมุ ญคณุ ภาพน�ำ้ การควบคุมคุณภาพน้ำ�ของตู้นำ้�ดื่มหยอดเหรียญให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานก�ำ หนด ผปู้ ระกอบกจิ การจะตอ้ งดำ�เนนิ การปอ้ งกนั การปนเปอื้ นและอนั ตรายจากการประกอบกจิ การ ตู้นำ�้ ด่ืมหยอดเหรียญ 6 ประเดน็ ไดเ้ เก่ สถานทต่ี ั้ง คณุ ลกั ษณะของตู้นำ้� แหล่งน้ำ�และการ ปรับปรุงคณุ ภาพน�้ำ การควบคมุ คณุ ภาพน�ำ้ ตามเกณฑม์ าตรฐานนำ้�บรโิ ภค การบำ�รงุ รักษา และการท�ำ ความสะอาด และการบันทึกและการรายงาน รายละเอยี ดดงั นี้ 3.1 สถานท่ีตง้ั สถานทต่ี ง้ั ตูน้ ำ�้ ด่ืมหยอดเหรยี ญตอ้ งอยใู่ นทีท่ ่ีเหมาะสม เปน็ สัดส่วน มกี ารปอ้ งกัน ไม่ก่อให้เกดิ การปนเปือ้ นตอ่ นำ�้ ทีผ่ ลิตได้ หา่ งจากเหตุรำ�คาญและสิ่งปนเปอ้ื นตา่ งๆ ตลอดทั้งมี ความปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค 3.1.1 ตอ้ งตง้ั อยหู่ า่ งจากบรเิ วณทมี่ ฝี นุ่ ละออง แหลง่ ระบายน�้ำ เสยี และขยะมลู ฝอย ไม่นอ้ ยกวา่ 30 เมตร 3.1.2 บรเิ วณพืน้ ที่ตัง้ ต้นู ้ำ�ไม่เฉอะแฉะและสกปรก มกี ารระบายนำ�้ ทถ่ี กู สขุ ลักษณะ ไม่กอ่ ให้เกดิ การปนเปือ้ น 3.1.3 ตอ้ งมีการควบคมุ ป้องกนั การปนเปอ้ื นจากแมลงและสตั วพ์ าหะน�ำ โรค ไมใ่ ห้ แมลงและสตั ว์พาหะน�ำ โรคเข้าภายในตู้ได้ เชน่ มฝี าเปิดปิดช่องรบั นำ�้ เป็นตน้ 3.1.4 การตดิ ตงั้ ตตู้ อ้ งยกระดบั สงู กวา่ พนื้ อยา่ งนอ้ ย 10 เซนตเิ มตร มคี วามมนั่ คง แข็งแรง และมรี ะบบปอ้ งกนั ภยั จากกระแสไฟฟา้ รัว่ หรือลดั วงจร 3.1.5 จัดให้มีท่ีสำ�หรับวางภาชนะบรรจุนำ้�ท่ีม่ันคง แข็งแรง มีความสูงจากพื้น ตามความเหมาะสม โดยค�ำ นงึ ถงึ การปนเปอื้ นทีอ่ าจเกิดขึ้นได้ 6 คมู่ ือปฏิบัติ ตนู้ ำ�้ ดื่มหยอดเหรียญ

3.2 คณุ ลักษณะของตนู้ ำ�้ ตู้นำ้�ด่มื ตอ้ งมีความปลอดภยั ทนทาน และไม่เปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ 3.2.1 ตนู้ �้ำ ตอ้ งท�ำ จากวสั ดทุ ไี่ มเ่ ปน็ สนมิ มคี วามทนทาน สามารถปอ้ งกนั อนั ตราย จากกระแสไฟฟ้าดูดได้ และมีลกั ษณะง่ายต่อการทำ�ความสะอาด ตอ้ งไมร่ ่วั ซึม 3.2.2 อปุ กรณท์ ่ีสัมผสั โดยตรงกับนำ�้ เชน่ ถังส�ำ รองนำ�้ ทอ่ นำ�้ หัวจา่ ยน�้ำ เป็นตน้ ต้องทำ�จากวสั ดทุ ใ่ี ชก้ บั อาหาร (Food Grade) ตอ้ งไม่ทำ�ให้น้ำ�มกี ลิ่น รส สเี ปลยี่ นไปจากเดมิ และไม่มสี ารพษิ 3.2.3 หัวจ่ายน้ำ�จะต้องสูงจากพ้ืนไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร ต้องสะอาดและ ช่องรับน้ำ�ตอ้ งมีประตปู ิดไดม้ ดิ ชิดเพ่อื ปอ้ งกันแมลงและสัตว์พาหะนำ�โรค 3.2.4 ตนู้ �ำ้ ทงั้ ภายนอกและภายในรวมทงั้ อปุ กรณท์ ส่ี มั ผสั โดยตรงกบั น�้ำ ตอ้ งสะอาด ไม่มีคราบสกปรก และตะไคร่น้�ำ 3.3 แหล่งนำ�้ และการปรบั ปรงุ คุณภาพนำ้� แหล่งนำ้�ดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำ�ดื่มต้องเป็นน้ำ�ที่สะอาดและมีการปรับปรุงคุณภาพ ปลอดภยั จากสิ่งแปลกปลอม กล่นิ และรสที่ไม่พึงประสงคเ์ ปน็ ทนี่ า่ รงั เกียจ 3.3.1 แหล่งนำ้�ท่ีนำ�มาใช้ในการผลิตต้องเป็นน้ำ�ท่ีมีคุณภาพดี ได้แก่ น้ำ�ประปา น้�ำ บาดาล 3.3.2 ต้องปรับปรุงคุณภาพน้ำ�ที่ผลิตได้ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง นำ้�บริโภคในภาชนะบรรจุที่ปดิ สนทิ 3.4 การควบคุมคุณภาพมาตรฐานนำ�้ บริโภค ผู้ประกอบกิจการต้องตรวจสอบคุณภาพนำ้�โดยการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติ การมีระบบควบคุมคุณภาพเพ่ือวิเคราะห์คุณภาพนำ้�ทางด้านกายภาพ เคมีและแบคทีเรีย และตรวจสอบคุณภาพนำ้�ด้วยการใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายตรวจสอบเช้ือโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (อ 11) เป็นระยะ ๆ เพ่ือใหไ้ ดน้ �้ำ บริโภคท่ีมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน กรมอนามัย 7 กระทรวงสาธารณสขุ

3.4.1 สมุ่ เกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ จากตนู้ �ำ้ สง่ ตรวจวเิ คราะหค์ ณุ ภาพน�ำ้ ทางดา้ นกายภาพ เคมแี ละ แบคทเี รยี อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั 3.4.2 สุ่มเก็บตัวอย่างนำ้�จากตู้นำ้�ตรวจสอบแบคทีเรียโดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่าย ตรวจสอบโคลิฟอรม์ แบคทีเรีย (อ 11) อย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้ 3.5 การบำ�รงุ รักษาและการท�ำ ความสะอาด ผู้ประกอบกิจการต้องดูแลบำ�รุงรักษาให้ตู้น้ำ�คงสภาพดีใช้งานได้อย่างปลอดภัย ระบบการทำ�งานส่วนใดท่ีเกิดชำ�รุดหรือบกพร่องจะต้องจัดการซ่อมแซมแก้ไขให้ดีดังเดิม ดูแลรักษาความสะอาดท้ังสถานที่ต้ัง บริเวณที่ต้ัง ตัวตู้ท้ังภายนอกและภายในตลอดท้ัง วัสดุกรอง โดย 3.5.1 ตรวจสอบ ดแู ลระบบการท�ำ งานของตนู้ ำ้�ตามขอ้ แนะน�ำ ของผลิตภณั ฑ์ 3.5.2 ทำ�ความสะอาดสถานที่บริเวณที่ตั้งของตู้นำ้�เป็นประจำ�ทุกวัน เพ่ือป้องกัน การฟงุ้ กระจายของฝนุ่ ละอองและเชอ้ื โรค 3.5.3 ทำ�ความสะอาดพื้นผิวตู้ ช่องระบายนำ้�และหัวจ่ายน้ำ�เป็นประจำ�ทุกวัน ให้สะอาดไมม่ คี ราบสกปรก ฝุ่นละอองและสง่ิ ปนเปอื้ นอืน่ ๆ 3.5.3 ลา้ งท�ำ ความสะอาดถงั เกบ็ น้ำ�ภายในตู้ อย่างนอ้ ยเดอื นละ 1 คร้ัง 3.5.4 ล้างทำ�ความสะอาดและเปลี่ยนไส้กรองตามระยะเวลา ข้อแนะนำ�ของ ผลติ ภณั ฑเ์ มอ่ื ผลการตรวจพบการปนเปอ้ื น เนอ่ื งจากตนู้ �ำ้ ดมื่ หยอดเหรยี ญ เปน็ ระบบทกี่ รอง ผ่านเยื่อกรอง เมมเบรน (Membrane) และเม่ือผ่านการกรอง จะมีสิ่งสกปรกหรือ เช้ือโรคสะสมทีเ่ ยือ่ กรอง ท�ำ ใหอ้ ดุ ตนั ตอ้ งถอดเอาเยอื่ กรองออกมาล้างทำ�ความสะอาด เอาส่ิง อดุ ตันเหลา่ น้นั ออก แต่ถา้ ปล่อยให้เยือ่ กรองอดุ ตนั มากๆ ไม่ล้างท�ำ ความสะอาดเยอ่ื กรองก็ จะถกู ยอ่ ยสลายโดยจลุ นิ ทรยี ท์ สี่ ะสมอยู่ ท�ำ ใหเ้ ยอื่ กรองฉกี ขาดและไมส่ ามารถกรองสงิ่ สกปรก ต่างๆ ในน�้ำ ได้ 8 คมู่ ือปฏบิ ัติ ตนู้ ้ำ�ดื่มหยอดเหรียญ

3.6 การบันทกึ และการรายงาน ผู้ประกอบการตอ้ งแสดงขอ้ มลู และรายงานเปน็ เอกสาร เพ่ือใหผ้ ู้บริโภคตรวจสอบได้ ดังน้ี 3.6.1 บนั ทกึ การตรวจสอบคณุ ภาพนำ้�และการดแู ลบำ�รุงรักษาตามก�ำ หนด โดยระบุ เวลาและผู้ปฎิบตั หิ รือหนว่ ยงาน ทีช่ ดั เจนสามารถตรวจสอบได้ 3.6.2 มีสญั ลกั ษณ์แสดงคณุ ภาพนำ�้ ให้ผู้บริโภคทราบอย่างเปิดเผย 3.6.3 รวบรวมและแสดงผลการตรวจวเิ คราะหค์ ณุ ภาพน�ำ้ เพอ่ื แสดงวา่ ไดด้ �ำ เนนิ การ ตามระยะเวลาทก่ี ำ�หนด และรู้ถงึ คุณภาพนำ�้ ตลอดท้ังการปรบั ปรุงอยา่ งเหมาะสม กรมอนามัย 9 กระทรวงสาธารณสุข

การตรวจสอบแบคทีเรียโดยใช้ชุดทดสอบอย่างง่ายตรวจสอบ โคลิฟอร์มแบคทเี รยี (อ 11) การตรวจสอบโคลฟิ อรม์ แบคทเี รยี ในน�ำ้ ดมื่ สามารถตรวจสอบเบอื้ งตน้ ดว้ ยอาหาร ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรยี ( อ 11) เป็นวธิ ที ี่งา่ ยและสะดวกในการปฏิบัตโิ ดยสังเกตจาก การเปล่ียนสีของอาหารตรวจเช้ือ จากสีแดงเป็นสีต่างๆ เช่น สีส้ม สีนำ้�ตาล สีเหลือง มีความขุน่ และฟองแก๊สปุดขึน้ เมือ่ เขย่าเบาๆ อุปกรณ์ (1) อาหารตรวจเชือ้ อ 11 เป็นสารเคมสี ำ�เรจ็ รูป (สารละลายใสสแี ดง) ใชต้ รวจ เช้ือโคลิฟอร์ม แบคทีเรยี ในนำ้�ดม่ื บรรจไุ ว้ 5 มิลลิลติ ร ( 1 ขีด) ในขวดแก้ว ขนาด 25 มิลลิลิตร (2) แอลกอฮอล์ 70% (3) ส�ำ ลี (4) ใบมดี วธิ ีตรวจสอบ (1) อาหารตรวจเชอ้ื โคลฟิ อร์มแบคทีเรยี 10 คู่มือปฏบิ ตั ิ ตู้นำ้�ดม่ื หยอดเหรียญ

(2) ท�ำ ความสะอาดมือทั้ง 2 ขา้ งและอปุ กรณ์ ดว้ ยสำ�ลชี ุบแอลกอฮอล์ 70% (3) ท�ำ ความสะอาดบรเิ วณรอบฝาขวดและคอขวดหลงั ตดั แถบรดั ปากขวดใหส้ ะอาด อกี ครั้งหน่ึงดว้ ยส�ำ ลีชุบแอลกอฮอล์ 70% กรมอนามัย 11 กระทรวงสาธารณสุข

(4) ใชน้ ว้ิ หวั แมม่ อื และนวิ้ ชหี้ มนุ ฝาขวด โดยไมใ่ หน้ วิ้ มอื โดนปากขวด และใชน้ วิ้ นาง และน้วิ กอ้ ยหนบี ฝาขวดไว้ โดยไม่วางฝาขวดบนพ้นื (5) เติมนำ้�ตัวอย่างท่ีต้องการตรวจ 15 มิลลิลิตร จนถึงขีดที่ 4 ของขวด ใชน้ ว้ิ ชรี้ บั น�้ำ หนกั ของภาชนะส�ำ หรบั รนิ น�ำ้ อยา่ ใหภ้ าชนะโดนปากขวด ใหอ้ ยหู่ า่ งจากปากขวด ประมาณ 1 เซนตเิ มตร ในขณะเทตัวอยา่ งน้ำ�ลงในขวด (6) ปดิ ฝาขวด หมนุ ขวดเบาๆ ใหอ้ าหารตรวจเช้ือผสมกบั ตัวอยา่ งนำ�้ 12 คู่มอื ปฏบิ ัติ ตู้น้ำ�ดม่ื หยอดเหรียญ

(7) ตง้ั ไว้ในอณุ หภมู หิ ้อง (25-40 C0) เปน็ เวลา 24-48 ช่วั โมง (8) ดูผลจากสีของอาหารตรวจเชื้อหลังจากต้ังไว้ 24 ชั่วโมง ถ้าสีเปล่ียนจาก สแี ดงเป็นสสี ้ม หรอื สีสม้ แกมเหลอื ง หรอื สเี หลือง มีความขุ่นและฟองแก๊สปุดขึ้นเมื่อเขยา่ เบาๆ แสดงว่านำ้�มีการปนเปื้อนของเช้ือโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ไม่ควรใช้บริโภค (ถ้าต้ังไว้ 24 ชั่วโมง ไม่เปล่ยี นสใี ห้ต้ังไวต้ ่ออีก 24 ชว่ั โมง รวมเป็น 48 ชั่วโมง) หมายเหตุ (1) ซอื้ อาหารตรวจเชอ้ื โคลฟิ อรม์ แบคทเี รยี ไดจ้ ากศนู ยห์ อ้ งปฎบิ ตั การกรมอนามยั (2) ควรเกบ็ อาหารตรวจเช้ือโคลฟิ อร์มแบคทเี รยี ในต้เู ยน็ (3) มอี ายกุ ารใช้งานประมาณ 1 ปี หลังการผลติ (4) เม่ือตรวจสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียเสร็จแล้ว ควรเทอาหารตรวจเช้ือ ในโถสขุ ภณั ฑ์ และลา้ งขวดใหส้ ะอาดก่อนท้ิง กรมอนามัย 13 กระทรวงสาธารณสขุ

เอกสารอา้ งองิ กระทรวงสาธารณสุข. 2553. “ค�ำ แนะนำ�ของคณะกรรมการสาธารณสุข เร่อื งแนวทาง การควบคุมการประกอบกิจการตู้น้ำ�ดื่มหยอดเหรียญ พ.ศ. 2553” ประกาศ ณ วันที่ 2 มถิ นุ ายน 2553 กระทรวงสาธารณสขุ . 2547. “ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ท่ี 284 (พ.ศ. 2547) เรื่อง นำ้�บริโภคในภาชนะบรรจุท่ีปิดสนิท (ฉบับท่ี 5)” ประกาศ ณ วันท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2547 คู่มือปฏิบัติตู้นำ้�ด่ืมหยอดเหรียญ. 2556. สำ�นักสุขาภิบาลอาหารและนำ้� กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั (พิมพค์ รง้ั ที่ 1/2556) กองสขุ าภบิ าลอาหารและน�ำ้ . 2549. รายงานการศกึ ษาเรอ่ื งความปลอดภยั ของน�ำ้ บรโิ ภค บรกิ ารสาธารณะและแบบหยอดเหรยี ญ. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ . 30 น พชิ ติ สกลุ พราหมณ์ . 2533. การสขุ าภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ ม. ธนการพมิ พ ์ กรงุ เทพมหานคร. 612 น 14 ค่มู อื ปฏิบตั ิ ต้นู ้�ำ ด่มื หยอดเหรียญ

ภาคผนวก กรมอนามยั 15 กระทรวงสาธารณสขุ

ภาคผนวก ก 16 คู่มือปฏบิ ตั ิ ตนู้ �้ำ ด่มื หยอดเหรยี ญ

กรมอนามัย 17 กระทรวงสาธารณสขุ

ภาคผนวก ข-1 เกณฑ์มาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบบั ท่ี 284 (พ.ศ.2547) เรอ่ื ง นำ�้ บรโิ ภคในภาชนะบรรจุทีป่ ดิ สนทิ (ฉบบั ที่ 5) ดชั นีคุณภาพน�้ำ หน่วยวดั คา่ มาตรฐาน สี (Colour) ฮาเซนยนู ติ (Hazen) (เกณฑอ์ นุโลมสงู สดุ ) กลิน่ (Odour) - 20 ความขุ่น (Turbidity) ซิลกิ าสเกลยนู ิต ไมม่ ีกลิน่ (silica scale unit) (ไมร่ วมกลน่ิ คลอรนี ) คา่ ความเป็นกรด-ดา่ ง (pH) สารละลายทงั้ หมดทเี่ หลอื จากการระเหย (Total Solids) - 5.0 ความกระดา้ งทั้งหมด (Total Hardness) มลิ ลกิ รัม / ลิตร สารหนู (As) มลิ ลิกรัม / ลิตร 6.5-8.5 แบเรยี ม (Ba) มิลลิกรมั / ลติ ร 500 แคดเมียม (Cd) มลิ ลิกรมั / ลิตร 100 คลอไรด์ (Cl, ค�ำ นวณเป็นคลอรีน) มลิ ลกิ รมั / ลิตร 0.05 โครเมียม (Cr) มิลลกิ รัม / ลิตร 1.0 ทองแดง (Cu) มลิ ลิกรัม / ลติ ร 0.005 เหลก็ (Fe) มลิ ลิกรัม / ลิตร 250 ตะก่วั (Pb) มิลลกิ รัม / ลิตร 0.05 แมงกานสี (Mn) มิลลกิ รมั / ลติ ร 1.0 ปรอท (Hg) มิลลิกรมั / ลติ ร 0.3 ไนเตรท (NO3 N,ค�ำ นวณเป็นไนโตรเจน) มิลลกิ รมั / ลิตร 0.05 ฟนี อล (Phenol) มิลลิกรมั / ลติ ร 0.05 ซลิ เิ นียม (Se) มิลลกิ รมั / ลติ ร 0.002 เงนิ (Ag) มิลลกิ รมั / ลิตร 4.0 ซัลเฟต (SO4) มลิ ลิกรัม / ลิตร 0.001 สังกะสี (Zn) มลิ ลิกรมั / ลิตร 0.01 ฟลูออไรด์ (F, คำ�นวณเปน็ ฟลูออรีน) มิลลิกรัม / ลิตร 0.05 อลูมเิ นยี ม (Al) มิลลกิ รัม / ลติ ร 250 เอ บี เอส (Alkylbenzene Sulfonate, ABS) มิลลิกรมั / ลติ ร 5.0 ไซยาไนด์ มิลลิกรัม / ลิตร 0.7 แบคทีเรียประเภทโคลฟิ อรม์ (Coliform) มิลลิกรัม / ลิตร 0.2 อี.โคไล (E.Coli) เอม็ พเี อน็ / 100 มลิ ลลิ ติ ร 0.2 จลุ นิ ทรยี ท์ �ำ ใหเ้ กดิ โรค (Disease-causing bacteria) เอ็มพเี อ็น / 100 มลิ ลลิ ิตร 0.1 เอม็ พีเอน็ / 100 มลิ ลลิ ติ ร 2.2 ตรวจไม่พบ ตรวจไมพ่ บ 18 คมู่ อื ปฏบิ ตั ิ ตู้น�ำ้ ด่มื หยอดเหรียญ

ภาคผนวก ข-2 กรมอนามัย 19 กระทรวงสาธารณสุข

20 คูม่ ือปฏบิ ัติ ตู้น้ำ�ด่มื หยอดเหรยี ญ

ภาคผนวก ค การสุ่มเก็บตวั อยา่ งน�้ำ ตรวจวิเคราะหท์ างกายภาพ เคมีและชีววทิ ยา การสุ่มเก็บตัวอยา่ งนำ้�ทีด่ ีและถูกต้องควรพิจารณาถงึ ส่ิงต่อไปน้ี 1. ภาชนะทใ่ี ช้ในการบรรจตุ ัวอย่างน�ำ้ ภาชนะที่ใช้ในการสมุ่ เกบ็ ตัวอย่างนำ้�ตรวจวเิ คราะห์ในหอ้ งปฏบิ ัติการ 1 ตัวอยา่ ง ประกอบด้วย ขวดพลาสตกิ ขนาด 2 ลิตร จำ�นวน 1 ใบ ขนาด 1 ลิตร จำ�นวน 1 ใบ ขวดแบคทีเรียขนาด 125 มิลลลิ ิตร พร้อมกระปอ๋ งบรรจสุ แตนเลสทอี่ บฆา่ เชอ้ื แลว้ จ�ำ นวน 1 ชุด 2. วธิ กี ารสุ่มเกบ็ ตวั อยา่ ง 2.1 การส่มุ เกบ็ ตวั อยา่ งน้ำ�เพอื่ ตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพและเคมี ก. เขยี นรายละเอยี ดจุดสุม่ เก็บตัวอย่างน้�ำ ปดิ ข้างขวด ข. ลา้ งภาชนะบรรจตุ วั อย่างน้ำ� ขนาด 2 ลิตร ด้วยน�้ำ ที่จะเกบ็ 2 – 3 คร้ัง กอ่ นสุม่ เก็บตวั อย่างน�้ำ ค. เกบ็ ตวั อยา่ งน้�ำ จนเกอื บเต็มขวด เหลือทว่ี ่างไวป้ ระมาณ 1 น้วิ ง. ปดิ ฝาขวดใหส้ นิทกอ่ นแช่เย็น 2.2 การสมุ่ เกบ็ ตวั อย่างน�้ำ เพ่อื วเิ คราะห์ทางโลหะหนัก ก. เขยี นรายละเอยี ดจุดสมุ่ เกบ็ ตวั อย่างน�้ำ ปิดขา้ งขวด ข. ล้างภาชนะบรรจตุ วั อยา่ งนำ้� ขนาดบรรจุ 1 ลติ ร ดว้ ยนำ�้ ทีจ่ ะส่มุ เกบ็ 2 – 3 คร้ังกอ่ นสุม่ เก็บตัวอยา่ งน้�ำ ค. บรรจตุ วั อยา่ งน้ำ�จนเกอื บเตม็ ขวด เหลือท่ีวา่ งไวป้ ระมาณ 1 นวิ้ ง. เตมิ กรดไนตริก 1.5 มลิ ลลิ ติ ร ปิดฝาขวด เขย่าใหเ้ ข้ากัน (ไมจ่ �ำ เปน็ ต้อง แช่เย็น) 2.3 การสมุ่ เกบ็ ตวั อยา่ งน้�ำ เพ่ือตรวจสอบทางแบคทเี รีย การสุ่มเก็บตัวอย่างนำ้�ในการตรวจสอบทางแบคทีเรีย ระหว่างการสุ่ม เก็บตวั อยา่ งนำ้�ควรระมัดระวงั เปน็ พิเศษ เพ่ือปอ้ งกันการปนเปอื้ น โดยทำ�ตามข้ันตอนดงั นี้ ก. เขียนรายละเอียด จุดสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำ�ปิดข้างกระป๋องส่วนบนของ กระป๋องบรรจุขวดแบคทีเรีย ซึ่งเป็นภาชนะขวดแก้วปากกว้าง มีความจุ ประมาณ 125 มิลลลิ ติ ร มีฝาจกุ แกว้ ปิดสนิท (แบบกราวน์จอยท)์ ซึ่งฝา และคอขวดหุ้มด้วยกระดาษอลูมิเนียม (เก็บบรรจุในกระป๋องสแตนเสส กรมอนามยั 21 กระทรวงสาธารณสุข

ซง่ึ ผา่ นการฆ่าเชือ้ แล้ว) ข. ควำ่�กระป๋องที่บรรจุขวดลง ดึงกระป๋องส่วนล่างออก จับขวดตั้งขึ้น และหงายกระป๋องขึ้นท้งั 2 ส่วน วางบนท่ีสะอาด ค. เปิดฝาขวดโดยจับบนแผ่นอลูมิเนียม บรรจุตัวอย่างน้ำ�ประมาณ 4/5 ของขวด (ประมาณ 100 มลิ ลลิ ติ ร)ปดิ ฝาขวดให้สนทิ ง. คว�่ำ ขวดลงในฝากระป๋องสแตนเลส แล้วปิดกระป๋องใหเ้ รยี บรอ้ ย จ. ใชก้ ระดาษกาวยน่ พนั รอบบรเิ วณรอยตอ่ ของกระปอ๋ ง ประมาณ 2 -3 รอบ ฉ. บรรจลุ งในถงุ พลาสตกิ มดั ปากถงุ ใหแ้ น่นกันนำ้�ซมึ เขา้ ช. แชต่ วั อยา่ งนำ�้ ลงในหีบบรรจนุ ำ�้ แข็ง ข้อควรปฏิบัตใิ นการสมุ่ เก็บตวั อยา่ งนำ้� (1) การส่มุ เกบ็ ตวั อย่างน้ำ�ต้องปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ก. เช็ดบริเวณก๊อกจา่ ยน�ำ้ ให้แหง้ ทำ�การฆ่าเช้ือโรคที่ปลายก๊อกนำ�้ โดยใช้ สำ�ลชี บุ แอลกอฮอล์ 70 % เช็ดก๊อกน�้ำ เพอ่ื เป็นการฆา่ เชอื้ โรคก่อนท�ำ การสุ่มเกบ็ ตวั อย่างน้ำ� ข. กดน�้ำ ใหไ้ หลปานกลาง ท�ำ การสมุ่ เกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ เพอื่ ตรวจสอบทางแบคทเี รยี กอ่ นแล้วจงึ สุม่ เก็บตวั อย่างนำ�้ เพ่อื ตรวจวิเคราะห์ทางเคมีและกายภาพ ค. การสมุ่ เกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ ส�ำ หรบั ตรวจสอบทางแบคทเี รยี ระวงั อยา่ ใหป้ ากขวด ที่เก็บตัวอย่างน้ำ�ไปสัมผัสกับปลายก๊อก หรือส่ิงอ่ืนๆเพราะจะทำ�ให้เกิด การปนเปือ้ นเชื้อโรคได้ 3. การเกบ็ รกั ษาสภาพตวั อย่างน้�ำ ตัวอย่างน้ำ�ที่สุ่มเก็บเพ่ือตรวจสอบคุณภาพน้ำ�มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังน้ันวิธีท่ีถูกต้อง คือ ตรวจวิเคราะห์ทันทีท่ีเก็บตัวอย่างได้ แต่ในทางปฏิบัติมีขีดจำ�กัด จงึ ไมส่ ามารถวเิ คราะหต์ วั อยา่ งไดพ้ รอ้ มกนั หมดทกุ ขอ้ มลู บางขอ้ มลู สามารถวเิ คราะหใ์ นสนามได้ แต่บางข้อมูลต้องนำ�ไปตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการจึงต้องมีการรักษาคุณภาพน้ำ� ให้เปลี่ยนแปลงน้อยท่ีสดุ โดยการแช่เย็นด้วยนำ้�แข็ง ขณะเดยี วกันต้องส่งตัวอยา่ งนำ้�ให้ถึง ห้องปฏิบัตกิ ารให้เร็วทสี่ ุดเท่าทจี่ ะท�ำ ได้ การส่งตวั อย่างควรอยภู่ ายในระยะเวลา 8 ชั่วโมง ไม่ควรเกนิ 24 ชัว่ โมง โดยเกบ็ รักษาตัวอย่างในความเยน็ 4 - 10 องศาเซลเซยี ส 22 คู่มอื ปฏบิ ตั ิ ต้นู ้ำ�ดมื่ หยอดเหรียญ

3.1 การเกบ็ รักษาตวั อยา่ งขณะขนส่งไปยังหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เม่ือสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำ�เสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องส่งตัวอย่างน้ำ�ไปตรวจวิเคราะห์ ยงั หอ้ งปฏิบัติการขณะขนส่งจะตอ้ งไม่ใหต้ ัวอย่างถกู แสงแดด และต้องรกั ษาสภาพคณุ ภาพน้ำ� โดยการแชเ่ ยน็ ในภาชนะทเี่ กบ็ ความเยน็ ไดว้ างเรยี งขวดเกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ ในภาชนะแชเ่ ยน็ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ ระวงั ขวดตวั อยา่ งลม้ การใสน่ �้ำ แขง็ แชต่ วั อยา่ งใหใ้ สเ่ สมอระดบั ปากขวดเกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ ไมใ่ หม้ าก เกนิ ไปจนล้น ขณะขนส่งตอ้ งเตมิ น้ำ�แขง็ และไขนำ�้ ที่ละลายทิ้งเป็นระยะๆ 3.2 การเขยี นฉลากและใบส่งตวั อย่าง เพ่ือความชัดเจนถูกต้องลดความผิดพลาดในการน�ำ ส่งตัวอย่างที่ส่งตรวจวิเคราะห์ ผเู้ กบ็ ตัวอย่างควรดำ�เนินการ ดังน้ี (1) ปิดฉลากภาชนะเกบ็ ตัวอยา่ งน�ำ้ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ก. รหัสตัวอยา่ ง หมายถึง รหัส หรอื สัญลกั ษณข์ องตัวอยา่ งน้ำ�ที่ผสู้ ่งใช้ ซ่ึง ก�ำ หนดเปน็ ตวั อักษรหรือตวั เลข เช่น A1 1/1 ข. หนว่ ยงานทส่ี ง่ หมายถงึ หนว่ ยงานทส่ี ง่ ตวั อยา่ งน�ำ้ ตรวจวเิ คราะหใ์ หร้ ะบชุ อื่ ให้ชัดเจน ค. ประเภทของแหล่งน�ำ้ หมายถงึ รายละเอียดตัวอย่างน้ำ�ท่เี กบ็ เปน็ ประเภทใด เช่น น้ำ�ตู้นำ้�ดื่มหยอดเหรียญ น้ำ�ประปา (ส่วนภูมิภาค) น้ำ�ประปา (เทศบาล) น�ำ้ ประปา (หมบู่ ้าน) น�ำ้ ฝน และนำ้�บ่อต้นื เป็นตน้ ง. สถานทีเ่ ก็บตัวอย่างน้�ำ ระบุจุดเกบ็ ตัวอยา่ งทก่ี �ำ หนดระบทุ ีต่ ั้ง บ้าน เลขท่ี ถนน ตรอก/ซอย ตำ�บล อำ�เภอ จังหวัด จ. วันท่เี กบ็ ตัวอยา่ งน�ำ้ และเวลาทีเ่ ก็บตวั อยา่ งน�้ำ ฉ. ชื่อผ้สู ุ่มเกบ็ ตัวอย่าง ตัวอย่างฉลากปิดภาชนะเก็บตัวอย่างนำ้� รหสั ตวั อยา่ ง........... A/1......................หนว่ ยงานทสี่ ง่ บรษิ ทั ตนู้ �้ำ หยอดเหรยี ญ (มหาชน)...................... ประเภทแหล่งนำ�้ ..............นำ�้ ดมื่ ตูห้ ยอดเหรียญ............................................................................................... สถานท่ีเก็บตวั อยา่ งน้ำ�........บ้านเลขท่ี 88/22 ถ. ตวิ านนท์ ต.ในเมือง อ. เมอื ง จ.นนทบุร.ี ..... วันที่เก(็บ2ต)ัว อยก่าางรเ.ข...ยี....น.2ร0า..ย.กล.ยะ..อ.2ยี 5ด5ใ7บ..ส...่ง...ต....ัว...อ....ย...า่....ง...น....้ำ�...เวลา.............13.15 น............................ ชื่อผู้เกบ็(2ต)ัว อยก่าางร..เ..ข....ยี ...น....ร..นาายยลตะ้นเอนีย้ำ�.ด...ใ...บ..สสะ่งอตาวัดอดย.ี ...่า...ง...น....�ำ้............................................................................. กรมอนามยั 23 กระทรวงสาธารณสขุ

ใบส่งตัวอย่างน้ำ�ระบุรายละเอียดครบถ้วน และตัวอย่างนำ้� 1 ตัวอย่าง ต้องมใี บส่งตวั อย่างนำ�้ กำ�กับ 1 ใบ (3) ขอ้ ควรระวัง ก. ปิดฉลากและเขียนรายละเอียดของตัวอย่างน้ำ�ท่ีภาชนะทุกใบ ด้วยปากกา หมกึ แห้งกันน้�ำ ได้ ไม่ควรใชด้ นิ สอหรอื หมกึ ซมึ ข. ควรปิดฉลากกอ่ นเกบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ ค. ให้แช่เย็นขวดเก็บตัวอย่างนำ้�ขนาดจุ 2 ลิตร และขวดเก็บตัวอย่างนำ้� ตรวจสอบทางแบคทีเรียหลงั การเก็บตวั อยา่ ง ง. เตมิ กรดไนตรกิ ลงในขวดตัวอย่างนำ้�พลาสติก ขนาดจุ 1 ลิตร สำ�หรับ ตรวจวิเคราะหโ์ ลหะหนักไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งแชเ่ ย็น จ. ระบขุ ้อมลู เร่อื งสถานท่ี จุดเก็บ และขอ้ มูลอนื่ ๆ ในใบส่งตัวอย่างใหค้ รบถว้ น และถูกต้อง ฉ. ตรวจสอบว่ารายละเอียดจุดเก็บ และรหัสท่ีภาชนะเก็บตัวอย่างนำ้� มรี หสั ตรงกบั ใบส่งตัวอยา่ งหรอื ไม่ (4) การตดิ ต่อหน่วยงานที่ทำ�การวเิ คราะห์ ก. แจ้งแผนกำ�หนดส่งตัวอย่างนำ้�ล่วงหน้า เพื่อห้องปฏิบัติการได้เตรียม อปุ กรณ์ และสารเคมที ีจ่ �ำ เป็นไวล้ ว่ งหน้า ข. ควรส่งตัวอย่างน�ำ้ ถึงหอ้ งปฏบิ ตั ิการโดยเร็วภายในเวลาไมเ่ กิน 8 ช่ัวโมง หรอื อย่างช้าไมเ่ กิน 24 ชั่วโมง นดั เวลาทีส่ ง่ ตวั อยา่ งถงึ หอ้ งปฏิบัติการ เพ่ือให้ทำ�การวิเคราะห์ได้ทันทีท่ีตัวอย่างถึงห้องปฏิบัติการเพราะหาก สง่ ตวั อยา่ งถงึ ตอนบา่ ยอาจมเี วลาไมพ่ อในการตรวจวเิ คราะหอ์ าจตอ้ งเลอื่ น การตรวจสอบไปในวนั ถัดไป ค. ปิดผนึกหีบห่อ และหีบแช่เย็นบรรจุตัวอย่างให้แน่นหนาพร้อมทั้งแนบ ใบสง่ ตวั อย่างน�ำ้ มาดว้ ยทุกครัง้ ง. ระบรุ ายละเอียดผูร้ ับปลายทางให้ชัดเจน หมายเหตุ การตรวจสอบคณุ ภาพน�้ำ ทางกายภาพ เคมีและแบคทีเรีย สามารถส่งตรวจ วเิ คราะหไ์ ดท้ ศ่ี นู ยห์ อ้ งปฎบิ ตั กิ ารกรมอนามยั หรอื หอ้ งปฎบิ ตั กิ ารทไี่ ดร้ บั การ รบั รองหรอื มรี ะบบควบคมุ คณุ ภาพ 24 ค่มู อื ปฏิบตั ิ ตู้น้�ำ ด่ืมหยอดเหรียญ

ตวั อยา่ งใบส่งตัวอย่างน�้ำ ใบส่งตัวอย่างส�ำ หรบั หนว่ ยงานภายในและโครงการของกรมอนามัย กรมอนามยั 25 กระทรวงสาธารณสขุ

ทป่ี รกึ ษา ดร.นพ.พรเทพ ศริ ิวนารังสรรค์ อธิบดกี รมอนามัย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ นายพิษณ ุ แสนประเสริฐ รองอธิบดกี รมอนามยั นางนันทกา หนเู ทพ รองอธบิ ดกี รมอนามัย รกั ษาราชการแทนผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั สุขาภบิ าลอาหารและน�ำ้ คณะผ้จู ัดท�ำ นายวิโรจน ์ วชั ระเกยี รตศิ ักด ์ิ สำ�นักสขุ าภิบาลอาหารและน�้ำ นายศรายุทธ อุ่นแกว้ ส�ำ นักสขุ าภบิ าลอาหารและน้�ำ นายพนมพันธ์ จนั ทรส์ งู ส�ำ นักสขุ าภิบาลอาหารและน�ำ้ นางสาวกาญจนา แสนตะรัตน ์ ส�ำ นักสขุ าภบิ าลอาหารและน�ำ้ บรรณาธิการ นายวิโรจน ์ วชั ระเกียรตศิ ักด ิ์ ส�ำ นักสุขาภิบาลอาหารและนำ�้ จัดพมิ พ์โดย กลุ่มวิจัยและพฒั นาคณุ ภาพนำ�้ บริโภค ส�ำ นกั สขุ าภบิ าลอาหารและน้ำ� พมิ พค์ ร้ังที่ 1 : กมุ ภาพนั ธ์ 2556 จ�ำ นวน 10,000 เล่ม. โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั พมิ พค์ รั้งที่ 2 : ตลุ าคม 2557 จำ�นวน 3,000 เลม่ . โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั 26 คู่มอื ปฏบิ ตั ิ ตนู้ ำ�้ ด่มื หยอดเหรียญ

สำ� นกั สขุ าภิบาลอาหารและน้ำ� กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ โทรศัพท์ : 0 2590 4606, 0 2590 4607 โทรสาร : 0 2590 4186, 0 2590 4188