Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการผลิตหม่อนกินผลอินทรีย์

คู่มือการผลิตหม่อนกินผลอินทรีย์

Description: คู่มือการผลิตหม่อนกินผลอินทรีย์

Search

Read the Text Version

คู่ มื อ กรมหม่อนไหม 1คูม่ ือการผลิตหมอ่ นผลอินทรีย์

คู่ มื อ สารบัญ เกษตรอนิ ทรยี ์คอื อะไร 3 ประโยชน์ของเกษตรอินทรีย์ 4 แนวทางการผลิตหมอ่ นผลอินทรยี ์ 5 กระบวนการผลิตหมอ่ นผลอนิ ทรยี ์ 6 บนั ทึกการผลิตหม่อนผลอินทรีย ์ 11 ภาคผนวก 1 22 วิธีการเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ และนำ�้ เพือ่ การวิเคราะห์ 22 รายละเอียดประกอบตวั อยา่ งดิน 24 หลกั เกณฑใ์ นการเก็บตัวอยา่ งนำ�้ 25 ภาคผนวก 2 27 ตารางท่ี 1 ปจ จัยการผลิตท่ใี ชเ ปนปุย และสารปรับปรงุ บํารุงดิน 27 ตารางท่ี 2 สารทีใ่ ช้สำ�หรับควบคุมศตั รแู ละโรคของพชื 30

เกษตรอนิ ทรยี ค์ อื อะไร เกษตรอนิ ทรีย์ หรือ Organic Agriculture คอื ระบบการจัดการ การผลิตด้านการเกษตรแบบองค์รวม ท่ีคำ�นึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุล ของธรรมชาติท่เี ก้อื หนุนต่อระบบนิเวศ เพ่อื ส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์ของดิน รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพและวงจรชีวิตในระบบนิเวศและฟื้นฟู สงิ่ แวดลอ้ มใหก้ ลบั คนื สสู่ มดลุ ธรรมชาตโิ ดยไมใ่ ชส้ ารเคมสี งั เคราะห์ ซง่ึ การท�ำ การ เกษตรโดยใช้ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ การใช้ปุ๋ยชวี ภาพและสมนุ ไพรในการปอ้ งกนั และกำ�จัด ศัตรูพืชนั้น กล่าวได้ว่าเป็นเพียงส่วนหน่ึงในการทำ�การเกษตรอินทรีย์เท่านั้น เพราะเกษตรอนิ ทรยี จ์ ะรวมไปถงึ การใชว้ สั ดธุ รรมชาตโิ ดยหลกี เลยี่ งการใชว้ ตั ถดุ บิ จากการสงั เคราะหท์ างการเกษตรทกุ ชนดิ เชน่ ปยุ๋ เคมี ยาฆา่ หญา้ ฯลฯ และการใช้ ทรัพยากรในท้องถิ่นมาหมุนเวียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพ่ือรักษาความสมดุล ของธาตอุ าหาร ท้ังนีย้ งั ต้องมกี ารเลอื กใชพ้ นั ธุ์พชื ทม่ี คี วามตา้ นทานและมีความ หลากหลาย หลีกเล่ียงการใช้พันธุ์พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการดัดแปลงพันธุกรรม และมีการเตรียมดินท่ีดี โดยใช้แรงงานคนหรือเครื่องมือกลในการกำ�จัดวัชพืช มกี ารใชต้ วั ห�ำ้ ตวั เบยี น มาผสมผสานในการก�ำ จดั ศตั รพู ชื ตลอดกระทง่ั การปฏบิ ตั ิ หลังการเก็บเก่ียวและการแปรรูป ควรใช้วิธีธรรมชาติและประหยัดพลังงาน พร้อมท้ังให้ความสำ�คัญถึงผลกระทบต่อมนุษย์และส่ิงมีชีวิตอ่ืน รวมไปถึงควร มกี ารจัดเก็บบนั ทกึ ข้อมลู ไวเ้ พอ่ื รอการตรวจสอบ 3คู่มือการผลติ หม่อนผลอนิ ทรีย์

การเกษตรสมัยใหม่ มีการใช้ทรัพยากรดินโดยไม่คำ�นึงถึงผลเสียทาง กายภาพของดนิ ท�ำ ใหค้ วามอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ ลดลง เปน็ ผลใหเ้ กดิ การสญู เสยี ความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุ ขาดแคลนธาตุอาหารรองในพืช ก่อให้เกิด ปัญหาพชื ออ่ นแอ ขาดภูมิตา้ นทานโรค และท�ำ ให้การคุกคามของแมลงและเช้ือ โรคเกดิ ข้นึ ได้งา่ ย ซึ่งนำ�ไปสูก่ ารใช้สารเคมฆี ่าแมลงและเชอื้ ราเพม่ิ ข้นึ ทัง้ น้ดี ินท่ี เสอื่ มสภาพนน้ั จะเรง่ การเจรญิ เตบิ โตของวชั พชื ใหแ้ ขง่ กบั พชื การเกษตร ซงึ่ น�ำ ไป สกู่ ารใชส้ ารเคมสี งั เคราะหก์ �ำ จดั วชั พชื ซงึ่ ท�ำ ใหก้ ารเพาะปลกู มกี ารลงทนุ ทสี่ งู ขนึ้ ในขณะที่ราคาผลผลิตอาจจะไมส่ ูงขน้ึ ตามไปดว้ ย ทำ�ใหเ้ กษตรกรขาดทุน และมี หน้สี นิ เพิ่มขนึ้ นอกจากนแ้ี ม่น้ำ�และแหล่งน�้ำ อาจปนเปอ้ื นไปดว้ ยสารเคมีทก่ี ่อให้ เกดิ วกิ ฤตใิ นหว่ งโซอ่ าหารและระบบการเกษตร ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและ สขุ ภาพในปจั จุบันอยา่ งมาก เกษตรกรและภาครัฐจึงมคี วามตืน่ ตวั ที่จะสนับสนุน การท�ำ การเกษตรอนิ ทรยี ม์ ากขนึ้ ทงั้ นเี้ ปน็ ผลสบื เนอื่ งมาจากไดเ้ หน็ พษิ ภยั ของสาร เคมตี ่างๆ ซ่ึงสง่ ผลกระทบตอ่ ดิน แหล่งน�้ำ สภาพแวดล้อม และพษิ ภัยอนั ตราย ต่อสงิ่ มีชีวติ ประโยชนข์ องเกษตรอนิ ทรยี ์ การทำ�การเกษตรอินทรีย์ ทำ�ให้ส่ิงแวดล้อมและผืนดินมีความอุดมสมบูรณ์ สามารถจัดการของเสียได้ดี ใช้พลังงานตำ่�กว่าการเกษตรทั่วไป นอกจาก นี้ยังค้นพบว่าดินของระบบเกษตรอินทรีย์สามารถจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แล้วสามารถเปลี่ยนเป็นเน้ือดินด้วยกระบวนการจับคาร์บอนร่วมกันระหว่างพืช และดิน ซ่ึงสามารถลดก๊าซเรือนกระจกที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนได้ ท้ังน้ีการ ท�ำ การเกษตรอินทรียย์ ังชว่ ยในเร่ืองการลดตน้ ทุนการผลติ ลดความเส่ยี งในการ ผลติ และอาจไดผ้ ลก�ำ ไรทส่ี งู ขน้ึ เนอ่ื งจากผลผลติ ทางเกษตรอนิ ทรยี ไ์ ดร้ าคาพเิ ศษ และผลผลติ ทไ่ี ดจ้ ากเกษตรอนิ ทรยี เ์ ปน็ ผลผลติ ทมี่ ปี ระโยชนไ์ รส้ ารพษิ ซง่ึ สรา้ งให้ มนษุ ยม์ อี าหารทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ สขุ ภาพแขง็ แรง นอกจากนเ้ี กษตรอนิ ทรยี ย์ งั มผี ล ในเรอ่ื งการเผยแพรค่ วามรภู้ ายในชมุ ชน ท�ำ ใหเ้ กษตรกรมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นา และมกี ารท�ำ งานรว่ มกนั ในชมุ ชนมากขนึ้ 4 กรมหม่อนไหม

แนวทางการผลติ หม่อนผลอนิ ทรยี ์ ในอดีตการปลูกต้นหม่อนมีจุดมุ่งเน้นในการนำ�ใบหม่อนไปเล้ียงไหม เพยี งอยา่ งเดยี ว แตป่ จั จบุ นั เมอื่ วทิ ยาการดา้ นตา่ งๆ เจรญิ มากขน้ึ เรม่ิ มกี ารพฒั นา โดยใช้ผลหม่อนและเส้นไหมมาเพิ่มศักยภาพในการใช้ประโยชน์สูงข้ึน รวมถึง ตลาดโลกในปัจจุบันมีความต้องการทางด้านความเป็นอินทรีย์มากข้ึน และหาก มกี ารเพมิ่ ความเปน็ อนิ ทรยี ล์ งไปในตวั ผลหมอ่ นและเสน้ ไหมจะสง่ ผลใหผ้ ลหมอ่ น และเส้นไหมนน้ั สามารถชว่ ยเพ่มิ มลู ค่าให้แกเ่ กษตรกรได้อกี ทางหนึ่งด้วย หมอ่ น มีช่อื วิทยาศาสตรว์ ่า Morus spp. เปน็ ไมย้ ืนตน้ จ�ำ พวกไมพ้ ุ่ม อย่ใู นวงศ์ Moraceae เชน่ เดียวกับปอสา ขนุน และโพธิ์ เปน็ ตน้ ลกั ษณะที่ ส�ำ คญั ของพชื วงศ์น้ี คอื มียางมขี นท่ใี บ (บางพนั ธ์อุ าจมนี อ้ ยมาก) มเี สน้ ใย ใบมี รปู รา่ งแตกตา่ งกนั ทงั้ ทเ่ี ปน็ แฉกและไมเ่ ปน็ แฉก หมอ่ นแตล่ ะพนั ธจุ์ ะมเี พยี งเพศ เดยี ว ไมเ่ ปน็ เพศผู้กเ็ พศเมีย มเี พยี งส่วนนอ้ ยเท่านน้ั ทพ่ี บดอกท้ัง 2 เพศอยใู่ น ตน้ เดียวกัน หมอ่ นที่มดี อกเพศเมียจะมีเมลด็ สำ�หรบั ขยายพนั ธุ์ แต่ไม่เปน็ ทีน่ ิยม เนื่องจากจะได้ต้นท่ไี มเ่ หมือนพันธ์เุ ดมิ เพราะมีการผสมขา้ ม จึงนยิ มขยายพนั ธ์ุ ดว้ ยการปกั ช�ำ ท่อนพนั ธุห์ ม่อน สามารถเจรญิ ไดด้ ตี ้ังแต่เขตอบอนุ่ จนถงึ เขตร้อน มลั เบอร์ร่ี (Mulberry: Morus spp.) เป็นเบอรร์ ่ีไทย เรียกอกี อยา่ ง หนง่ึ ว่า ลกู หมอ่ น อุดมไปด้วยวิตามนิ และแรธ่ าตุ เชน่ กรดโฟลิก (Folic acid) ซ่ึงพบว่า ทารกท่ีเกิดจากมารดาท่ีขาดกรดโฟลิก มีความเสี่ยงท่ีจะพิการทาง สมองและประสาท ไขสนั หลงั เพม่ิ การท�ำ งานและลดการอกั เสบของหลอดเลอื ด อันเป็นสาเหตุของโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนั้นยังพบสารต้านอนุมูล อิสระ เช่น แอนโธไชยานิน เควอซิติน ที่มีส่วนลดความเส่ียงในการเกิด โรคมะเรง็ และยงั มรี สชาตดิ ี สสี วย ชวนใหร้ บั ประทาน ผลหมอ่ นหา่ มจะมสี แี ดง ให้รสเปรีย้ ว ผลหม่อนสกุ จะมีสีมว่ งดำ� ใหร้ สหวานจดั ผลมัลเบอร่ี เม่ือนำ�มาทำ�เคร่ืองด่ืมและอาหารแล้วรสชาติสีสันและ คุณค่าทางอาหาร ไม่ด้อยไปกว่าผลบลูเบอรี่ ผลราสพ์เบอร่ี และแบล็คเบอรี่ ผลไมน้ �ำ เขา้ จากตา่ งประเทศทม่ี รี าคาสงู มาก ดงั นนั้ อาหารทใ่ี ชผ้ ลไมด้ งั กลา่ วเปน็ สว่ นผสมจงึ สามารถใชผ้ ลหมอ่ นทดแทนได้ทั้งหมด มลั เบอร์รี่จึงถกู นำ�มาแปรรูป เปน็ เครอ่ื งดม่ื และอาหารหลากหลายชนดิ เชน่ น�ำ้ ผลหมอ่ น ไวนห์ มอ่ น แยมหมอ่ น ไอศกรีมหมอ่ น เชอเบทหม่อน และเยลล่หี มอ่ นไดอ้ ีกดว้ ย 5คู่มือการผลิตหม่อนผลอนิ ทรยี ์

กระบวนการผลิตหม่อนผลอนิ ทรยี ์มดี งั ตอ่ น้ี 1. พื้นทีเ่ พาะปลกู - พน้ื ทคี่ วรมีขนาดใหญต่ ดิ ตอ่ กนั และมีความอุดมสมบรู ณข์ องดินสงู ดนิ สามารถระบายนำ�้ ได้ดี - ต้องทราบประวตั ิในการใช้ประโยชนข์ องพน้ื ทที่ ่ีจะเลอื กใชเ้ ปน็ พืน้ ที่ เพาะปลกู โดยเฉพาะทางด้านเกษตร เชน่ มีการปลูกพืชชนิดใดมากอ่ น มีการ ใช้สารเคมีในการผลติ หรือไม่ เปน็ ต้น - ไม่ควรเปน็ พนื้ ทท่ี ่ีมีการใช้สารเคมีในปรมิ าณมากตดิ ต่อกนั เป็นเวลา นาน หรอื มกี ารปนเปอ้ื นของสารเคมสี งู และหา่ งจากพนื้ ทท่ี ม่ี กี ารใชส้ ารเคมใี นการ ท�ำ เกษตร (ควรมกี ารตรวจสอบหาสารตกคา้ งในดนิ หากเคยเปน็ พนื้ ทเ่ี ปน็ เกษตร เคมมี าก่อน จะใช้เวลา 18 เดือน ในการปรบั เปล่ยี นพ้ืนที่ นับตงั้ แต่วนั ท่ีมกี าร หยุดใช้สารเคมีในการเปลี่ยนมาเป็นเกษตรอินทรีย์ โดยผลผลิตท่ีอยู่ในระหว่าง การปรับเปล่ียน และได้ปฏิบัติตามวิธีการของเกษตรอินทรีย์เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี ให้เรยี กวา่ “ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ก�ำ ลงั ปรับเปลี่ยน”) - เปน็ พน้ื ทที่ ไ่ี มอ่ ยใู่ นภาวะเสยี่ งตอ่ การปนเปอื้ นของวตั ถแุ ละสง่ิ ทเ่ี ปน็ อนั ตราย - เปน็ ท่โี ลง่ แจง้ นำ�้ ไม่ท่วมขัง ควรเป็นดนิ รว่ นปนทราย ระบายน้�ำ ได้ ดี หน้าดนิ ลกึ ไมน่ ้อยกวา่ 30 ซม. 2. การคัดเลือกพันธุ์หม่อน - ควรเลือกจากแหลง่ ท่มี ีการปลกู ด้วยวิธกี ารเกษตรอนิ ทรยี เ์ ป็นล�ำ ดับ แรก และต้องไม่มกี ารใชส้ ารเคมใี นกระบวนการผลิตทกุ ข้ันตอนการปรับเปลีย่ น สูก่ ารผลิตไหมอนิ ทรยี ์ - เกษตรกรตอ้ งเสนอแผนการจัดการฟาร์มทีช่ ดั เจนเกยี่ วกับการปรบั เปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยจะตอ้ งมขี ้อมลู ทีช่ ดั เจน ดงั นี้ 1. ประวตั ิฟาร์ม 2. แผนการปรบั เปลย่ี นและชว่ งเวลา 3. การวเิ คราะห์ผลตกค้างสารเคมีในดิน 4. ประวตั กิ ารใช้สารเคมี 5. ประวตั ิการใชท้ ีด่ นิ 6. ระยะเวลาปรับเปลย่ี น 6 กรมหมอ่ นไหม

3. การปลกู หม่อน - การปลกู โดยใช้ก่งิ ปักช�ำ ใหเ้ ลอื กกง่ิ ทีม่ อี ายุ 6 – 10 เดอื น แต่ละ ท่อน มตี า 4-5 ตา มีความยาวประมาณ 15-20 ซม. โดยนำ�กง่ิ ไปชำ�ไว้ในแปลง เพาะช�ำ หรือในถงุ ช�ำ และยา้ ยลงปลูกในแปลงเมือ่ ตน้ พนั ธ์มุ อี ายุ 3-4 เดือน โดย ทำ�การตดั แตง่ รากและกง่ิ ทแี่ ตกใหมใ่ หย้ าวประมาณ 20 ซม. - การปลูกโดยใชท้ อ่ นพนั ธุ์ ใหเ้ ลือกกิ่งที่มีอายุ 6 – 10 เดอื น โดยใช้ กง่ิ ทแ่ี ก่ (สีนำ�้ ตาล) ตดั ทอ่ นพันธุ์ใหม้ ตี า 4-5 ตา หรือความยาว 15 - 20 ซม. ตดั ท่อนพนั ธ์สว่ นปลายให้มลี กั ษณะเฉยี ง นำ�ทอ่ นพันธ์ุไปปลูกในแปลงโดยปกั ลึก ลงในดนิ ประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของท่อนพันธ์ุ 4. การจัดการดิน น้�ำ และปยุ๋ - รกั ษาและเพม่ิ ระดบั ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ โดยการปลกู พชื คลมุ ดินหรือพชื ปยุ๋ สดแบบอินทรีย์ เชน่ ถัว่ ลิสง ถวั่ พร้า ถั่วพุ่ม ปอเทอื ง โดยปลูก แซมระหวา่ งแถวท่ปี ลกู ต้นหม่อน เพอ่ื เพิม่ อินทรยี วัตถุ รักษาความอุดมสมบูรณ์ ของดิน รักษาความชมุ่ ชนื้ ของดนิ และสร้างความหลากหลายของพืช ลดการ ระบาดของแมลงศตั รูพืช - ควรมกี ารตรวจวเิ คราะหด์ นิ เพอื่ ปรบั คา่ ความเปน็ กรด – ดา่ ง (pH) ให้เหมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตของตน้ หม่อน - ควรใช้วัสดุคลุมดินเพ่ือลดการสูญเสียนำ้�และป้องกันการสูญเสีย หนา้ ดิน เช่น ฟางข้าว หรือแกลบดิบ - สามารถใช้ปุ๋ยและสารปรับปรุงดิน เฉพาะรายการท่ีระบุอยู่ใน ภาคผนวก 2 (ตารางท่ี 1) - หา้ มใชป้ ยุ๋ ทมี่ าจากมลู สตั วท์ ย่ี งั ไมผ่ า่ นการหมกั เบอ้ื งตน้ อนิ ทรยี วตั ถุ ทีม่ สี ่วนผสมจากอุจจาระของมนษุ ย์ และป๋ยุ หมักจากขยะเมือง - หา้ มเผาตอซงั หรอื เศษวสั ดใุ นแปลงเกษตร เนอื่ งจากเปน็ การท�ำ ลาย อินทรียวัตถแุ ละจุลินทรียท์ ม่ี ปี ระโยชนต์ ่อดนิ - กรณีท่ีมีความเส่ียงต่อการปนเป้ือนจากวัตถุหรือสิ่งท่ีเป็นอันตราย ใหส้ ง่ ตวั อยา่ งน�้ำ และดนิ สง่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของทางราชการหรอื หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทไ่ี ด้ รบั การรบั รองระบบคณุ ภาพเพอ่ื วเิ คราะหก์ ารปนเปอื้ นวตั ถหุ รอื สง่ิ ทเ่ี ปน็ อนั ตราย และจลุ นิ ทรยี ก์ อ่ โรค สามารถดวู ธิ กี ารเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ และน�้ำ เพอื่ การวเิ คราะหไ์ ด้ ในภาคผนวก 1 5. การตัดแต่งกิ่งตน้ หม่อน - การตัดแตง่ กิ่งต้นหม่อนสามารถทำ�ได้ 2 วิธี ดังน้ี 1. การตดั ต�ำ่ ทำ�ไดโ้ ดยการตดั กิง่ สงู จากพ้นื ดนิ 25-50 ซม. จากนนั้ สามารถเกบ็ ใบหมอ่ นไดห้ ลังจากตัดต่ำ�แลว้ เป็นเวลา 60-70 วนั โดยใหเ้ หลอื ใบ ส่วนยอดไว้ สามรถเก็บใบไปใช้ประโยชน์ครั้งท่ีสองได้หลังจากน้ัน 30-45 วัน 7คูม่ อื การผลติ หม่อนผลอินทรยี ์

โดยให้เหลือใบส่วนยอดไว้ และสามารถเก็บใบไปใช้ประโยชน์คร้ังท่ีสามได้หลัง จากเกบ็ ใบรอบทส่ี อง 30-45 วนั 2. การตัดกลาง หลังจากเก็บใบไปใช้ประโยชน์ครั้งที่สาม สามารถ ตดั กลางไดโ้ ดยตัดกง่ิ สงู จากพนื้ ดนิ 80-100 ซม. หลังจากตดั กลางไดป้ ระมาน 40-45 วัน สามารถเก็บใบไปใช้ประโยชน์ได้ในคร้ังท่ีสี่ และครั้งท่ีห้าได้ โดย มีระยะห่างในการตัดแต่ละคร้ังเท่าๆกัน หลังจากน้ันให้พักการตัดแต่งก่ิงเพ่ือ เขา้ สกู่ ารตดั ต�่ำ ในรอบปถี ดั ไป 6. การปอ้ งกันและก�ำ จัดวชั พืช - ควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืชโดยการไถกลบ การปลูกพืช หมนุ เวียน การปลกู พชื ร่วม การปลกู พืชคลมุ ดิน - วธิ กี ารและผลติ ภณั ฑใ์ นการปอ้ งกนั ก�ำ จดั ศตั รพู ชื รวมทง้ั สารปรงุ แตง่ ท่ีใช้ในผลิตภัณฑ์ป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชที่อนุญาตให้ใช้ได้ระบุอยู่ในภาคผนวก 2 (ตารางที่ 2) 7. การป้องกนั กำ�จดั ศตั รูหม่อน - ใชพ้ นั ธ์หุ มอ่ นทต่ี า้ นทานโรคและแมลง - ตัดแต่งก่ิงให้ทรงพุ่มโปร่ง ทำ�ให้การถ่ายเทอากาศดีและแสงแดด ส่องถึง - ท�ำ ความสะอาดเครอ่ื งมอื ปลกู และเครอ่ื งมอื ตกแตง่ กง่ิ - หากพบโรคและแมลง ควรเกบ็ ใบและก่งิ ทีเ่ ปน็ โรคมาเผาทำ�ลาย - ควรก�ำ จดั แมลงศตั รูหมอ่ นโดยวธิ ชี ีวภาพ เชน่ สารสกัดจากพชื 8. การเก็บเก่ียวและการปฏบิ ัติหลงั การเกบ็ เก่ียว - อปุ กรณแ์ ละภาชนะที่ใชใ้ นการเกบ็ เก่ยี วและขนยา้ ยตอ้ งสะอาด - ภาชนะทใี่ ชบ้ รรจผุ ลหมอ่ นตอ้ งแขง็ แรง มขี นาดเหมาะสมกบั ปรมิ าณ บรรจทุ ไ่ี มท่ �ำ ใหผ้ ลหมอ่ นเสยี หายจากการซอ้ นทบั กนั และสามารถระบายอากาศได้ 8 กรมหม่อนไหม

- ไมใ่ ชภ้ าชนะบรรจผุ ลหมอ่ นรว่ มกบั การใชบ้ รรจวุ ตั ถอุ นั ตรายทางการ เกษตรหรอื ป๋ยุ เพอ่ื ป้องกันการปนเปื้อน - อปุ กรณแ์ ละภาชนะทใ่ี ชม้ ปี รมิ าณเพยี งพอกบั การปฏบิ ตั แิ ละมสี ภาพ การใชง้ านท่ีไม่ส่งผลเสียหายต่อผลหม่อน - เกบ็ เกย่ี วผลหม่อนดว้ ยวิธีทเ่ี หมาะสม ไมท่ ำ�ใหค้ ณุ ภาพเสียหาย จน มีผลกระทบต่อการเกบ็ รกั ษา - เก็บเก่ียวผลหม่อนโดยพิจารณาจากสีของผล ตามวตั ถุประสงค์ของ การนำ�ไปใชป้ ระโยชน์ - ไมเ่ ก็บผลหมอ่ นทร่ี ่วงหลน่ ลงพื้น - ภาชนะบรรจทุ บ่ี รรจผุ ลหมอ่ นแลว้ ตอ้ งไมว่ างสมั ผสั กบั พน้ื ดนิ โดยตรง เพ่ือป้องกันการปนเปื้อน - ตอ้ งปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ลหมอ่ นทเ่ี กบ็ เกยี่ วมาแลว้ ถกู แสงแดดโดยตรง จน ทำ�ให้ผลหมอ่ นเสอ่ื มคุณภาพ 9. การเกบ็ รักษาและการขนย้ายผลติ ผล - ขนยา้ ยผลหมอ่ นออกจากแปลงไปยงั แหลง่ รวบรวมโดยเรว็ - พาหนะที่ใช้ในการขนย้ายต้องสะอาดและไม่ใช้ร่วมกับการขนย้าย วัตถุอันตรายทางการเกษตรหรือปุ๋ย กรณีที่จำ�เป็นต้องแน่ใจว่ามีการทำ�ความ สะอาดอยา่ งเพียงพอ เพื่อลดความเสย่ี งจากการปนเป้อื น - แหล่งรวบรวมผลหม่อนเพอื่ รอซอื้ ขายหรอื สง่ มอบตอ้ งมกี ารจดั การ อยา่ งถูกสุขลกั ษณะ ไมท่ ำ�ใหเ้ กดิ การปนเปื้อน - มีการจัดการสภาพแวดล้อม เช่น อณุ หภูมิ แสง และการหมุนเวียน อากาศของแหลง่ รวบรวมผลหมอ่ นทไ่ี มท่ �ำ ใหผ้ ลหมอ่ นเสยี หายหรอื เสอื่ มคณุ ภาพ โดยเรว็ - ในกรณที มี่ กี ารเกบ็ รกั ษาเพอื่ รอการแปรรปู ตอ้ งเกบ็ ผลหมอ่ นในสภาพ ท่เี หมาะสมต่อการรักษาคณุ ภาพของผลหมอ่ น 10. สขุ ภาพและความรูข้ องผู้ปฏบิ ตั ิงาน - ผปู้ ฏบิ ตั งิ านไดร้ บั การดแู ลสขุ ภาพอยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอ หรอื ได้รบั การตรวจสขุ ภาพอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้ัง - ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ด้านสุขลักษณะส่วนบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับ การปฏิบตั ิงาน โดยเฉพาะการเกบ็ เกยี่ วและขนยา้ ยผลหม่อน - ไม่ให้ผู้ปฏบิ ัตงิ านทีป่ ่วยหรอื โรคติดตอ่ หรอื มีบาดแผล ปฏิบัตงิ านที่ ตอ้ งสมั ผัสกับผลหมอ่ น 9คมู่ อื การผลติ หม่อนผลอนิ ทรีย์

11. การบนั ทึกข้อมูล - หัวข้อในการบันทกึ ขอ้ มูลมีดังต่อไปนี้ 1. ผลการตรวจสอบการปนเป้ือนในดนิ และน�ำ้ กรณที ีม่ ีความเสี่ยง 2. ผลการตรวจสอบคุณภาพนำ�้ เชน่ ความเปน็ กรด-เบส และความ กระด้างของนำ้� 3. ผลการตรวจสอบความอดุ มสมบูรณ์ของดนิ 4. การใชว้ ัตถอุ นั ตรายทางการเกษตร โดยระบชุ นิดศัตรูพชื ทต่ี อ้ งการ ควบคมุ หรอื ก�ำ จดั ชนดิ ของวตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรทใี่ ช้ ความเขม้ ขน้ วธิ กี าร ใช้ และวนั ทใ่ี ช้ 5. แหลง่ ทม่ี าของปจั จัยการผลิต เชน่ ตน้ พันธ/ุ์ ทอ่ นพันธห์ุ ม่อน และ วตั ถอุ ันตรายทางการเกษตร 6. แหลง่ ทม่ี าของปุ๋ยอินทรีย์ 7. รายการวัตถุอันตรายทางการเกษตรที่มีไว้ในครอบครองปริมาณ ผลผลติ ท่ีเกบ็ ได้ในแตล่ ะวัน/รนุ่ 8. การเก็บรักษาเพ่ือรอการแปรรูปต้องบันทึกข้ันตอนและวิธีการ เกบ็ รกั ษา - เกบ็ รกั ษาบันทึกขอ้ มลู อยา่ งนอ้ ย 2 ปี 10 กรมหมอ่ นไหม

บันทึกการผลิตหมอ่ นผลอินทรยี ์ 1. ข้อมูลทวั่ ไป 1.1 ชอื่ ผู้ผลติ /เกษตรกร/บรษิ ทั .............................................................................................................................................. ทีอ่ ยู่ บ้านเลขท่ี.............หมทู่ ี.่ ...........ถนน................................................ตำ�บล/แขวง........................................................ อ�ำ เภอ/เขต................................................................จังหวดั ..................................................................................................... โทรศพั ท์..............................................โทรสาร................................... E-mail........................................................................ 1.2 ชื่อเจ้าของ (นาย/นาง/นางสาว)........................................................... นามสกุล..................................................... ทีอ่ ยู่ บ้านเลขท.่ี ............หม่ทู ี.่ ...........ถนน................................................ต�ำ บล/แขวง........................................................ อำ�เภอ/เขต................................................................จงั หวดั ..................................................................................................... โทรศพั ท์..............................................โทรสาร................................... E-mail........................................................................ 1.3 ชอ่ื ผบู้ นั ทกึ (นาย/นาง/นางสาว)......................................................นามสกลุ ............................................................ ท่ีอยู่ บ้านเลขที่.............หมู่ที่............ถนน................................ตำ�บล/แขวง.................................................................... อำ�เภอ/เขต................................................................จังหวดั ..................................................................................................... โทรศพั ท.์ .............................................โทรสาร................................... E-mail......................................................................... 2. รายละเอยี ดเกยี่ วกับสถานท่ีผลติ 2.1 พ้ืนทีท่ ี่ใช้ในการผลิตทง้ั หมด.....................................ไร่.................................งาน..................................ตารางวา 2.2 สถานทีต่ งั้ แปลง.....................หมู่ท.่ี ..................ถนน...........................................ต�ำ บล................................................. อ�ำ เภอ.................................................................................จังหวัด............................................................................................. 2.3 จำ�นวนแปลงยอ่ ย................................................จ�ำ นวนชนดิ ..................พชื ............................................................... รายละเอียดของแต่ละแปลงย่อย พืชหลัก อธบิ าย แปลงยอ่ ยที ่ ขนาดแปลง (ไร่) 11คมู่ อื การผลิตหม่อนผลอินทรยี ์

3. การจดั การดนิ 3.1 วิธีการเตรยี มแปลง แปลง เมอื่ โดย ย่อยท ่ี วิธีการเตรยี ม วัน/เดอื น/ป ี เครอื่ งจกั ร แรงงานสตั ว์ อืน่ ๆ โปรดระบุ ขนาดเครือ่ งยนต์ โปรดระบุ เป็นเจา้ ของเคร่ืองจกั ร/ สตั ว์ หรือเช่ามา (หากเช่ามาโปรดระบุแหล่ง)..................................................................... 3.2 การปรบั ปรุง – บ�ำ รงุ ดิน มกี ารใส่ปุย๋ หรือธาตอุ าหารบำ�รุงดินในขน้ั ตอนการเตรียมดินหรือไม่ หากมโี ปรดระบรุ ายละเอียด แปลงยอ่ ยท ี่ ชนดิ อตั รา (กก./ไร่) วนั / เดือน/ ป ี ปรมิ าณรวม (กก.) แหล่งท่มี า การปลกู พชื บำ�รุงดิน ชนิดพชื แหลง่ ทีม่ าของพันธ์ ุ อัตรา (กก./ไร)่ วนั ท่ปี ลูก วนั ท่กี ลบลงดนิ แปลงย่อยทใ่ี ช้ 12 กรมหมอ่ นไหม

การใช้ปยุ๋ หมกั / ปุ๋ยคอก / น�้ำ สกัดชวี ภาพ (โปรดระบุดว้ ยวา่ ทำ�เองหรอื ซือ้ มา) ชนิด ปริมาณกองปุ๋ย องคป์ ระกอบ แหลง่ ทีม่ า ปริมาณการใช ้ แปลงยอ่ ยท่ีใช้ ระยะเวลาท่ที ำ� ของวัตถุดบิ ของวตั ถดุ บิ (กก./ไร)่ 3.3 การใช้สารกำ�จัดศตั รพู ชื ในข้ันตอนการเตรยี มดนิ ก�ำ จัดแมลง ก�ำ จัดโรคพชื ก�ำ จดั วัชพชื อน่ื ๆ (ระบุ) ใช้/ไมใ่ ช ้ ช่ือสารที่ใช ้ แหลง่ ผลติ อตั รา (ต่อไร่) ปริมาณทใ่ี ช้ อปุ กรณ์ทใี่ ช ้ วันที่ ทใ่ี ช ้ 3.4 การวิเคราะหด์ ิน วนั /เดือน/ปี ทท่ี �ำ การวิเคราะห์ รายละเอยี ดผลการวเิ คราะห์ แปลงยอ่ ยที่ ชอ่ื หนว่ ยงานที่ท�ำ การวิเคราะห์....................................................................โทรศพั ท.์ ........................................................ 13คู่มอื การผลิตหมอ่ นผลอนิ ทรยี ์

4. การจัดการน้�ำ (โปรดระบแุ หล่งน้ำ� เชน่ หนอง คลอง บึง คลองชลประธาน หรอื บ่อท่ีขุดขนึ้ และโปรด ระบุดว้ ยวา่ แหล่งน�ำ้ นั้นไหลผา่ นพน้ื ทก่ี ารเกษตร หรอื ย่านชมุ ชนอย่างใด หรอื ไม่) 4.1 แหลง่ น้ำ�หลกั ท่ีนำ�มาใช้ มาจาก.................................................................................................. 4.2 แหล่งน้ำ�สำ�รองในแปลง..........................................................จ�ำ นวน..................................แหง่ บ่อท ี่ ขนาด ความจุ สำ�หรบั แปลงย่อยท่ี พนื้ ท่เี พาะปลูก (ไร)่ ชนดิ พชื ปลูก 4.3 การวเิ คราะห์นำ้� แหลง่ นำ้� วัน/เดือน/ปี ทท่ี ำ�การวเิ คราะห์ รายละเอียดผลการวเิ คราะห์ น�ำ้ ก่อนเขา้ พนื้ ทเ่ี กษตรอินทรยี ์ น้�ำ ในพน้ื ทท่ี ำ�การเกษตรอินทรีย์ หลกั ส�ำ รอง ชื่อหนว่ ยงานท่ีทำ�การวิเคราะห.์ ..............................................................................โทรศัพท์.............................................. 14 กรมหมอ่ นไหม

4.4 แผนผังการจัดการน้ำ�ในแปลง 15ค่มู ือการผลิตหมอ่ นผลอนิ ทรีย์

5. แผนการปลกู พชื 5.1 จ�ำ นวนพืชทปี่ ลูกในแปลงย่อย...........................ชนิด รายละเอยี ดของแต่ละแปลงมดี งั นี้ แปลงย่อยท ่ี ปลกู พืช พันธ์ุพืช พืน้ ท่ี (ไร่) ระยะเวลาปลกู จ�ำ นวนครั้ง/ป ี หมายเหตุ 5.2 แหลง่ ทม่ี าของเมล็ดพนั ธ์ุ หรือพันธพุ์ ชื (โปรดระบุ ผลิตเอง หรอื นำ�มาจากแหลง่ อน่ื โปรดระบุ แหลง่ ทีม่ า) พืช ส่วนท่ีใช้ขยายพนั ธ์ ุ แหลง่ ที่มา แปลงย่อยท่ี 16 กรมหมอ่ นไหม

5.3 การดูแลพชื ในระหวา่ งการผลติ มีการใสป่ ุ๋ยบำ�รงุ ดินใหพ้ ชื หรอื ไม่ (..........) ไมใ่ ช้ (..........) ใช้ รายละเอียดการใช้ ชนดิ อตั รา (กก./ไร่) วัน/เดอื น/ป ี ปรมิ าณรวม แหลง่ ทมี่ า 5.4 การใช้สารกำ�จัดศัตรพู ืช (แมลง/โรคพืช/วชั พืช/สัตว์ศตั รูพชื โปรดระบุ เช่น เพลย้ี แป้ง โรค ราสนมิ ) ศตั รูพชื การควบคุม หมายเหตุ 17คูม่ ือการผลติ หม่อนผลอนิ ทรยี ์

5.5 การใช้สารก�ำ จัดศตั รูพชื 1 2 3 4 ชอื่ สารทีใ่ ช้ แหล่งผลติ อตั รา (ต่อไร่) ปริมาณที่ใช ้ อุปกรณท์ ี่ใช้ วนั ที่ ท่ีใช ้ หากมีการใชส้ ารสกัดจากสง่ิ มชี วี ติ อ่นื ๆ โปรดระบรุ ายละเอียดการใช้ และวธิ ีการเตรียมการน้นั ๆ โดย ละเอียด 5.6 การใช้เครือ่ งมือ-อุปกรณใ์ นการควบคุมศัตรูพืช ศัตรูพืช เครื่องมอื วิธกี ารใช ้ แปลงท่ีใช ้ หมายเหตุ 18 กรมหมอ่ นไหม

5.7 การใช้สารเรง่ การเจรญิ เตบิ โต แปลงย่อ ยท่ี ช่อื พชื ทวีใ่ นั ช/้เเกด็บอื เนก/ย่ี ปว ี พนื้ ทเี่ ก็บเกยี่ ว อุปกรณ์ ปรมิ าณผลผลติ วธิ กี ารเกบ็ เก่ียว (/ไร่) 6. การเก็บเกย่ี ว แปลงย่อ ยท ่ี ช่อื พืช ทวใี่ นั ช/้เเกดบ็ ือเนก/ี่ยปวี พ้ืน ท่ีเก็บเกย่ี ว อุปกรณ์ ปรมิ าณผลผลติ วิธกี ารเก็บเก่ยี ว (/ไร)่ 19คมู่ อื การผลติ หม่อนผลอินทรยี ์

7. การบรรจหุ ีบหอ่ วิธีการบรรจุ สถานที่บรรจุ หมายเหตุ ชื่อ พืช แปลงท่ี 8. การดแู ล รกั ษา อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นกระบวนการผลิต โปรดระบชุ นดิ อุปกรณ์ที่อย่ใู นความครอบครองและการดูแลรักษาอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เหล่านั้น ชนดิ ของอปุ ก รณ์ จำ�นวน วิธีการใช้ วิธกี ารบ�ำ รุงรกั ษา 20 กรมหมอ่ นไหม

9. สารอนื่ ๆ ทใี่ ช้ในกระบวนการผลติ พืชอนิ ทรีย์ นอกจากสารทรี่ ะบุขา้ งตน้ มกี ารใช้สารอินทรยี ์ และอนินทรีย์อนื่ หรอื ไม่ สารอินทรีย์ ชื่อ ปรมิ าณ (อัตรา) แหลง่ ทมี่ า การใช้ สารอนินทรยี ์ ปริมาณ (อัตรา) แหลง่ ท่มี า การใช้ ช่ือ ค�ำ อธิบายเพม่ิ เตมิ 21คูม่ อื การผลิตหม่อนผลอินทรยี ์

ภาคผนวก 1 วธิ ีการเกบ็ ตัวอยา่ งดนิ และนำ้�เพ่ือการวเิ คราะห์ หลักเกณฑ์ในการเก็บตัวอย่างดิน 1. เตรยี มเคร่ืองมอื ที่จ�ำ เปน็ เช่น จอบ เสยี ม พลว่ั อุปกรณ์ส�ำ หรบั รวบรวมดนิ ในแต่ละระดบั ความลึก เช่น ถังพลาสติก อุปกรณ์สำ�หรับคลุกเคล้าดิน ผ่ึงดิน และบรรจุดินเพื่อนำ�ส่งวิเคราะห์ เช่น ถุงพลาสติกและแผ่นพลาสติกใส (โดยอุปกรณ์น้ีต้องมีความสะอาด เพราะหากมีส่ิงเจือปนอาจทำ�ให้ค่า วิเคราะห์ผิดพลาดได้) อุปกรณ์สำ�หรับขุดเจาะดิน เช่น สว่านเจาะดิน (Soil auger) หลอดเจาะดิน (Soil sampling tube) กระบอกเจาะ (Sampling core) พล่วั หรือเสียม (Spade) 2. ขนาดของพน้ื ที่ ควรมีขนาดใหญไ่ ม่เกนิ 25 ไร่ ซึง่ ปจั จยั ในการก�ำ หนดขนาดของพ้ืนทท่ี ่จี ะ ทำ�การเก็บตัวอย่าง 1 ตัวอย่างนัน้ ควรมหี ลกั ในการพิจารณาดังนี้ 1. สภาพภูมิอากาศ 2. สีของดิน 3. อายุ ของพืชที่ปลูก 4. ประเภทของเนื้อดิน 5. ชนดิ ของดิน 6. ประวัติการใส่ปูนและป๋ยุ ท่ีไม่ต่างกันมาก รวมถึง ในพนื้ ที่น้ันควรปลกู พืชชนดิ เดยี วกัน และพ้ืนทค่ี วรมลี กั ษณะค่อนขา้ งราบหรอื มีความลาดเทไม่ต่างกนั มาก 3. ความชนื้ ของดนิ ควรมคี วามชนื้ ทเี่ หมาะสม ซงึ่ การทดสอบความชน้ื ของดนิ ทเี่ หมาะสมสามารถ ทดสอบไดโ้ ดยการบบี ดนิ ไวใ้ นองุ้ มอื และเมอื่ แบมอื ออก ดนิ จะจบั กนั เปน็ กอ้ นและเมอื่ บอิ อกจะรสู้ กึ รว่ นและ แยกออกจากกันง่าย 4. ความลึก ทเ่ี หมาะสมสำ�หรบั การเกบ็ ตัวอยา่ งดินของ ไม้พุม่ ไม้ยนื ต้น ควรเก็บตวั อย่างดนิ ท่ี ความลกึ 0 – 6 และ 6 – 12 นวิ้ วธิ ีการเกบ็ ตวั อยา่ งดิน 1. ก�ำ หนดพ้ืนท่ี ทต่ี อ้ งการเก็บตัวอยา่ งดิน 2. ก�ำ หนดจุดเก็บดินบนพืน้ ท่ี โดยจุดท่ีก�ำ หนดควรมีพ้ืนท่ีจำ�นวน 1 ไร่ และควรกำ�หนด กระจายให้ทวั่ พืน้ ท่ี โดยหลีกเลีย่ งบรเิ วณทางเดนิ เกา่ กองปยุ๋ ปูน สารเคมี และคอกสตั ว์ 3. ควรมีจุดเกบ็ ดนิ อย่างน้อย 1 – 2 จุด ซึง่ หากท�ำ การเก็บตวั อย่างดินในพื้นที่ที่มขี นาด ไมเ่ กนิ 25 ไร่ ควรก�ำ หนดจดุ เก็บ 15 – 50 จุด โดยพื้นที่ 15 ไร่ควรก�ำ หนดจดุ เกบ็ 15 – 30 จดุ ในขณะ ท่ีพื้นที่ 12 ไร่ควรกำ�หนดจดุ เกบ็ 12 – 25 จดุ 4. ท�ำ ความสะอาดผวิ ดนิ บรเิ วณจดุ ทกี่ �ำ หนดโดยการเก็บเศษวชั พชื และขยะออกใหห้ มด 5. เกบ็ ตวั อย่างดินบนและดินลา่ ง ในกรณที ี่เก็บตัวอย่างดินโดยใชห้ ลอดเจาะดิน สวา่ นรปู กระบอก หรือสวา่ นเจาะดิน ให้กดเครอ่ื งมือลงใหต้ ้ังฉากกบั พ้ืนดนิ จนถึงความลึกที่ 12 นวิ้ จะได้ตวั อย่างดนิ ทม่ี ีความลกึ 0 – 12 นว้ิ จากน้นั จึงเก็บตวั อย่างโดยแบง่ ดินทีร่ ะยะ 0 – 6 น้ิว สำ�หรับดินบน และท่ีระยะ 6 – 12 นิว้ ส�ำ หรบั ดนิ ลา่ ง แต่หากใชเ้ สียมหรอื พลว่ั ในการเก็บตวั อย่าง ให้ขดุ ดนิ เปน็ รปู ตวั วี (V) ทีม่ คี วาม ลกึ ตามแนวดิง่ เท่ากบั 6 น้ิว โดยแซะดนิ จากปากหลมุ ด้านใดด้านหน่ึง ให้หา่ งจากปากหลุมประมาณ 1 นว้ิ กดใหล้ กึ ตามแนวขนานกบั ดา้ นขา้ งของรปู ตวั วี จากนน้ั งดั ดนิ ขนึ้ มา ใชม้ อื บดิ า้ นขา้ งทง้ั สองตามแนวความลกึ ออกใหเ้ หลอื เฉพาะดนิ ตรงกลาง โดยมคี วามหนาประมาณ 2 นว้ิ ส�ำ หรบั ดนิ ลา่ งใหด้ �ำ เนนิ การลกั ษณะเดยี วกนั กับดินด้านบน คอื เกบ็ ตัวอยา่ งดินทรี่ ะดับความลกึ 6 – 12 นว้ิ เนอ่ื งจากดินชน้ั ลา่ งมีความแปรปรวนของ คณุ สมบัตทิ างเคมีและฟสิ ิกส์น้อยกว่าดินบน จึงอาจเกบ็ ทกุ จดุ หรือจ�ำ นวนจุดทีเ่ กบ็ อาจจะน้อยลงก็ได้ โดย แยกรวบรวมไวใ้ นถังพลาสตกิ คนละใบกบั ดินบน 22 กรมหมอ่ นไหม

*** พน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสมส�ำ หรบั ไมย้ นื ตน้ ควรมคี วามหนาของดนิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เมตร และจะอาศยั ความละเอียดของเน้ือดินในการพิจารณาขอบเขตในการเก็บตัวอย่าง โดยเลือกต้นท่ีเป็นตัวแทนสวน 6 – 8 ตน้ โดยใหก้ ระจายท่ัวแปลงสวน ซึ่งเครื่องมอื ในการเกบ็ ตวั อย่างดินสำ�หรับแปลงสวน ควรเป็น สวา่ นเจาะดนิ หรอื หลอดเจาะดนิ หรอื ใชเ้ สยี มขนาดเลก็ เพอื่ ใหร้ บกวนรากพชื นอ้ ยทส่ี ดุ และควรเกบ็ ตวั อยา่ ง ทีค่ วามลึก 0 – 6 น้ิว และ 6 – 12 น้ิว ในรัศมพี ุม่ ใบ ตน้ ละ 4 จดุ ตามทิศหลักทัง้ 4 ทศิ ** พ้ืนท่ซี ึง่ มีปัญหา - หากพชื มีการเจริญเตบิ โตทีผ่ ดิ ปกตหิ รอื พืชตาย ควรเกบ็ ตวั อยา่ งจากบริเวณต้นทีแ่ สดง อาการ จ�ำ นวน 4 – 8 ตน้ รวมกนั และเก็บตัวอยา่ งจากพื้นทต่ี ดิ ๆ กัน กบั บรเิ วณที่พืชแสดงอาการมา อกี 1 ตัวอยา่ ง โดยขั้นตอนการเกบ็ ท�ำ ลักษณะเดยี วกันกับการเก็บตวั อยา่ งดนิ ขา้ งต้น - หากพน้ื ทมี่ ปี ญั หาสะสมเกลอื ตา่ งๆ ปนู ขาว หรอื พนื้ ทไี่ ดร้ บั น�ำ้ ทงิ้ จากโรงงานอตุ สาหกรรม ควรเก็บตวั อยา่ งดินท่คี วามลึก 0 – 6 นิว้ โดยเก็บห่างกันจดุ ละ 2 เมตร ประมาณ 20 จุด มารวมกัน และ ควรเก็บทุกระดบั ความลึก 12 น้ิว – 1 เมตร โดยทกุ ระดบั ความลกึ เก็บดนิ จำ�นวน 5 – 10 จุดมารวมกัน เปน็ หนึ่งตวั อยา่ ง 6. น�ำ ตวั อยา่ งดนิ ทเ่ี กบ็ มาใสล่ งในถงั พลาสตกิ ทส่ี ะอาดท�ำ เชน่ นจี้ นครบทกุ จดุ ทกี่ �ำ หนด และ น�ำ ดนิ ท่ีเกบ็ จากแต่ละจุดมารวมกนั ในถังพลาสตกิ จากนัน้ คลุกเคล้าดินใหเ้ ขา้ กัน และเทลงบนแผน่ พลาสติก ทสี่ ะอาด และท�ำ การคลกุ เคลา้ ดนิ อกี ครงั้ (ควรผงึ่ ดนิ ในทรี่ ม่ จนดนิ มคี วามชนื้ ทเี่ หมาะสม ในกรณที ดี่ นิ เปยี ก) เสร็จแลว้ จงึ ทำ�การแบ่งดินมาจำ�นวนหน่งึ ประมาณครึง่ กิโลกรมั เพื่อบรรจดุ ินในถงุ พลาสตกิ 7. บนั ทกึ รายละเอยี ดของดนิ (เขยี นบนถงุ ดา้ นนอก หรอื บนปา้ ยผกู ตดิ ดา้ นนอก อยา่ สอดไว้ ในถงุ ) แปลงท่.ี ............................................. เจ้าของชือ่ ................................................................... ความลกึ ทเี่ กบ็ ........................................................................................................................... เกบ็ จาก........................................................ตำ�บล................................................................... อำ�เภอ...........................................................จงั หวัด................................................................ วันที่เก็บ............................................พชื ท่ีปลูก....................................................................... 8. น�ำ สง่ วเิ คราะห์ โดยเรยี งล�ำ ดบั การสง่ เปน็ คู่ เชน่ แปลงท่ี 1 ดนิ บนกบั แปลงท่ี 1 ดนิ ลา่ ง จดั เป็น 1 คู่ 23คู่มอื การผลิตหม่อนผลอนิ ทรีย์

รายละเอียดประกอบตวั อย่างดิน ชื่อ..................................................................................... นามสกุล........................................................................................... ทอี่ ยเู่ ลขที่.....................................ถนน..................................................................ต�ำ บล........................................................... อำ�เภอ.....................................................................................จงั หวดั ......................................................................................... ตวั อยา่ งดนิ เกบ็ จาก...........................................................................ต�ำ บล.............................................................................. อ�ำ เภอ.....................................................................................จงั หวดั .......................................................................................... 1. รายละเอยี ดประกอบตัวอยา่ งดิน ตัวอยา่ งที่ 1 ตวั อยา่ งท่ี 2 ก. เน้ือท่ี (ไร่) ................................................ .............................................. ข. พน้ื ท่ี (ล่มุ ดอน) ................................................ .............................................. ค. ความลาดเท (มาก ปานกลาง ราบ) ................................................ .............................................. ง. การระบายน�้ำ (ดี ปานกลาง ไมด่ )ี ................................................ .............................................. จ. ชนิดของดิน (หากทราบ) ................................................ .............................................. 2. นำ้� ( ดี ปานกลาง ไมพ่ อ) 3. ประวตั ิการใชป้ ยุ๋ เมื่อสองปีก่อน 25.....................25................... 25................25.................. ก. ปยุ๋ อนิ ทรีย์ (ชนิด) ................................................ .............................................. ข. จ�ำ นวน (กิโลกรัมต่อไร)่ ................................................ .............................................. ค. ปยุ๋ เคมี (สูตร) ................................................ .............................................. ง. จำ�นวน (กโิ ลกรมั ตอ่ ไร)่ ................................................ .............................................. จ. ปนู ขาว (กโิ ลกรัมต่อไร่) ................................................ .............................................. 4. ประวตั ิการปลกู พชื เมอ่ื สองปีก่อน 25.....................25................... 25................25.................. ก. พืชที่ปลูก ................................................ .............................................. ข. ผลผลติ (กิโลกรัมตอ่ ไร่ หรือ ถงั ต่อไร่) ................................................ ........................................... 5. พชื ท่ตี อ้ งการปลูกในปีนี้...................................................................................................................................................... 6. หมายเหต.ุ .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................ 24 กรมหมอ่ นไหม

หลักเกณฑ์ในการเก็บตวั อยา่ งนำ�้ 1. เตรยี มอุปกรณ์ 1.1 ภาชนะเกบ็ ตัวอย่าง ควรเลอื กชนดิ ที่มคี วามจุ 2 – 3 ลติ ร เปน็ พลาสติกใสหรอื เทฟลอน (หากไม่มีและจำ�เป็นต้องซือ้ สามารถใช้ขวดเกบ็ ตัวอยา่ ง ซ่งึ ทางทีด่ ีควรใช้เป็นขวดพลาสติกหรอื โพลเี อทธลี ลีน ทม่ี ีจุกสามารถเปิดได้ และมีความจปุ ระมาณ 1 – 2 ลิตร แทนได้เลย) โดยภาชนะนน้ั ตอ้ ง มคี วามสะอาด 1.2 อุปกรณ์ส�ำ หรับเขียนรายละเอียดของตัวอย่างนำ�้ ไดแ้ ก่ ฉลาก ปากกาเคมี จดระบุ วันทีเ่ ก็บ เวลา สถานที่ บรเิ วณทีเ่ กบ็ พรอ้ มทงั้ ระบวุ ัตถุประสงค์ในการสง่ วเิ คราะห์อย่างชัดเจน 2. ปริมาณตัวอย่างน้ำ�ท่ีเก็บ ที่เพียงพอสำ�หรับการนำ�ไปตรวจสอบทางกายภาพและเคมีใน แง่การเกษตร คือปริมาณตัวอย่างนำ้� 1 – 2 ลิตร ซ่ึงข้อสำ�คัญในการเก็บ จำ�เป็นต้องเก็บตัวอย่างน้ำ� ให้เตม็ ขวดอยเู่ สมอ ไม่วา่ จะใช้ขวดท่บี รรจุขนาดใดก็ตาม (อย่าให้มีชอ่ งวา่ งของอากาศ) 3. วิธกี ารเก็บรักษาคณุ สมบตั ขิ องตัวอยา่ งนำ้� หลังจากทเี่ กบ็ ตัวอย่างน�้ำ มาแล้ว ควรนำ�สง่ เพือ่ วิเคราะห์ให้รวดเร็วที่สุด เพราะหากปล่อยไว้อาจเกิดปฏิกิริยาทางเคมีและชีวะ ซ่ึงทำ�ให้คุณสมบัติของน้ำ� เปลยี่ นแปลงไป โดยระยะเวลาทยี่ อมใหม้ ากทสี่ ดุ ทจ่ี ะเกบ็ ตวั อยา่ งกอ่ นการท�ำ การวเิ คราะหท์ างกายภาพและ เคมี เปน็ ดงั นี้ * นำ�้ สะอาด (unpolluted water) 72 ช่ัวโมง * นำ้�คอ่ นข้างสกปรก (Slightly polluted water) 48 ช่วั โมง * นำ�้ สกปรก (polluted water) 24 ชว่ั โมง หากมคี วามจ�ำ เปน็ ไมส่ ามารถน�ำ สง่ ตวั อยา่ งน�ำ้ เพอ่ื วเิ คราะหไ์ ดท้ นั ที การเกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ ไวใ้ นทมี่ ดื และอุณหภมู ติ ่�ำ (40 องศาเซลเซียส) จะเปน็ วิธีท่ีสะดวกและเหมาะสมท่ีสุด 25คู่มอื การผลติ หมอ่ นผลอินทรยี ์

วธิ กี ารเกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ 1. ล้างอุปกรณใ์ หส้ ะอาดกอ่ นนำ�มาใช้ 2. เกบ็ ตวั อย่าง โดยการน�ำ น้�ำ ทจ่ี ะเกบ็ ตัวอยา่ งนน้ั มาเขยา่ ล้างขวด 2 – 3 ครงั้ แลว้ จึงเก็บ ตัวอยา่ งน�ำ้ ใหล้ น้ จนเต็มขวด แลว้ ปดิ จกุ ให้แนน่ - นำ้�ประปา น้ำ�ก๊อก และนำ้�จากระบบนำ้�ที่ส่งตามท่อ ก่อนเก็บควรไขน้ำ�ทิ้งสักครู่ เพอ่ื เป็นการทำ�ความสะอาดทอ่ จึงทำ�การเกบ็ ตวั อย่าง - น้ำ�บ่อ น�ำ้ บาดาล และน�้ำ เจาะท่ีสบู ขนึ้ มา ก่อนเกบ็ ควรสบู นำ้�ขึ้นมา จนน�ำ้ ใต้ดนิ ไหลซมึ เขา้ มาในบอ่ เตม็ ท่ี จึงท�ำ การเกบ็ ตัวอย่าง - น�้ำ แม่นำ้� ลำ�ธาร และคลองทมี่ นี �้ำ ไหล จะมีคณุ สมบตั ิแตกตา่ งกันตามความลึก มอี ัตรา การไหล และระยะหา่ งจากฝง่ั ดังน้นั หากมีเครือ่ งมือจึงควรเกบ็ ตัวอย่างจากผิวนำ�้ จนถงึ กน้ แมน่ ้�ำ ท่บี ริเวณ กลางล�ำ นำ้� น�ำ มารวมกนั โดยคิดตามการไหลของน้ำ� หรืออาจเก็บเป็นตวั อย่างแยก โดยเก็บจากกลางลำ�น�ำ้ ทจี่ ุดกึง่ กลางของความลึก จึงจะนับวา่ เป็นตวั อยา่ งท่ดี ีท่ีสดุ แต่หากไมม่ เี คร่ืองมอื ใหใ้ ชข้ วดเกบ็ ตัวอยา่ งท่ี สะอาดล้างนำ�้ ตวั อย่าง 2 – 3 ครัง้ จุม่ ลงในผิวน้�ำ ท่รี ะดับความลึก 1 ฟตุ หรอื จดุ ทจ่ี ะใชน้ �ำ้ น้ัน - น�้ำ ทะเลสาบ สระ หนอง บงึ อา่ งเกบ็ น�้ำ ทมี่ คี วามลกึ และความกวา้ ง เปน็ น�ำ้ นงิ่ คณุ สมบตั ิ ของน้ำ�ในแต่ละบริเวณจะแตกต่างกันมาก จึงควรเก็บตัวอย่างแยกเฉพาะจุด โดยจุ่มเก็บตัวอย่างในระดับ ความลกึ ประมาณ 1 ฟุต หรอื ตามความเหมาะสม - น�ำ้ โสโครก น�ำ้ เสยี หรอื น�ำ้ ทงิ้ จากโรงงานอตุ สาหกรรมจะมกี ารผนั แปรทงั้ ทางดา้ นคณุ ภาพ ของน�้ำ และอตั ราการไหลอยตู่ ลอดเวลา โดยการเกบ็ ตวั อยา่ งน�้ำ ทงิ้ จากโรงงานอตุ สาหกรรม ใหเ้ กบ็ น�ำ้ ทง้ิ จาก ทุก ๆ จดุ ทป่ี ล่อยน�ำ้ ออกมา หรือท่ีจุดรวมของน�ำ้ ทง้ิ การเกบ็ ตัวอยา่ งน�้ำ เสยี จากอาคารบ้านเรอื น ควรเก็บ จากทอ่ ระบายน้ำ�โสโครก ทัง้ หมดขา้ งต้นควรเก็บตัวอย่างแยกทุก ๆ ช่วงเวลา ณ จุดเดียวกนั โดยช่วงเวลา ที่ใช้คือช่วงเวลา 24 ชว่ั โมง 3. สง่ ตวั อย่างน�ำ้ เพื่อวเิ คราะหท์ นั ที โดยใหข้ ้อมลู ประกอบตวั อย่างน้ำ�โดยละเอียด ระบุ วนั เดอื น ปที เ่ี กบ็ ชนดิ ของแหลง่ น�ำ้ แหลง่ ทเ่ี กบ็ ความลกึ อตั ราการไหล ตลอดจนขอ้ มลู สง่ิ แวดลอ้ มอน่ื ๆ เชน่ น�ำ้ เคยทว่ ม ฝนตกหนัก หรือแห้งแล้ง และควรระบุวตั ถุประสงค์ ปัญหา และความจำ�เป็นทีต่ ้องท�ำ การวิเคราะห์ ทง้ั นี้ สามารถน�ำ สง่ ตวั อยา่ งไดท้ ก่ี ลมุ่ งานพฒั นาระบบตรวจสอบคณุ ภาพดนิ และน�้ำ กลมุ่ วจิ ยั เกษตรเคมี ส�ำ นกั วจิ ยั และพัฒนาปัจจยั การผลิตทางการเกษตร (กองเกษตรเคมีเดิม) กรมวชิ าการเกษตร ( ภายในมหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์ จตจุ ักร กรุงเทพ ฯ 10900 โทร 0-2579-8601 ตอ่ 200 โทรสาร 0-2579-8600 ) 26 กรมหมอ่ นไหม

ภาคผนวก 2 ตารางท่ี 1 ปจจัยการผลติ ที่ใชเปนปยุ และสารปรบั ปรุงบาํ รงุ ดนิ ชื่อสาร รายละเอยี ด/ขอ กําหนด 1. มลู สัตวจ ากปศสุ ตั วแ ละสตั วป ก - กรณีไมไดมาจากระบบการผลิตเกษตรอินทรีย 2. ปยุ หมักจากปฏิกูลของสัตวแ ละสัตวป ก 3. ปยุ คอกและปยุ หมักจากมูลสตั ว จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ 4. มลู สตั วช นดิ แหงจากปศสุ ัตวและสตั วปก หนว ยงานที่มอี ํานาจหนาทีเ่ ก่ยี วของ - ไมอ นญุ าตใหใ ชแ หลง ทมี่ าจากฟารม ทมี่ กี ารเลยี้ งแบบ 5. ของเสยี และปส สาวะจากสตั ว  อตุ สาหกรรม (ใชส ารเคมี หรอื ยาสตั ว ปรมิ าณมาก และการเลยี้ งแบบกรงตับ) 6. ปยุ จากธรรมชาติ (ปยุ ปลา มูลนก มูลคา งคาว) - ไมใหใชมูลสัตวสดกับพืชอาหารในลักษณะท่ีเสี่ยง 7. ฟางขาว ตอ การปนเปอ นจลุ นิ ทรยี ก อ โรคสสู ว นทบี่ รโิ ภคไดข อง 8. ปุย หมกั จากวัสดเุ พาะเห็ด พืช 9. ปุยหมักจากวสั ดอุ ินทรยี เหลือใชจ ากบา นเรือน - กรณไี มไดม าจากระบบการผลติ อนิ ทรยี  จําเปนตอง 10. ปยุ หมักจากวัสดพุ ืชเหลือใช ้ ไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือหนวยงานที่ 11. สว นเหลือจากโรงงานฆา สัตวแ ละโรงงาน มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวของ ควรผานการหมัก และ/ อุตสาหกรรมสัตวน�ำ้ หรือ การทาํ ใหเจอื จางลงภายใตสภาวะควบคมุ แลว และไมอ นญุ าตใหใ ชแ หลง ทม่ี าจากการทาํ ฟารม แบบ โรงงาน - จําเปน ตอ งไดรบั การยอมรับจากหนว ยรบั รองหรือ หนว ยงานที่มอี าํ นาจหนา ทเ่ี กี่ยวขอ ง - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานที่มอี ํานาจหนาทเ่ี กย่ี วของ - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานท่ีมีอํานาจหนาท่ีเกี่ยวของ และวัสดุที่ใช ควรอยภู ายใตรายการเหลา นี้ - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี ีอาํ นาจหนา ท่ีเกี่ยวของ - - โดยตอ งไมใ ชส ารสงั เคราะห และจาํ เปน ตอ งไดร บั การ ยอมรับจากหนวยรับรองหรือหนวยงานท่ีมีอํานาจ หนาท่เี กีย่ วขอ ง 27คู่มอื การผลิตหมอ่ นผลอินทรีย์

ชื่อสาร รายละเอียด/ขอกําหนด 12. ผลพลอยไดจากโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและ - จะตองไมม ีการใชว ัตถุเจือปนทเ่ี ปนสารสังเคราะห ทอผา - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี อี ํานาจหนาทเ่ี กย่ี วของ 13. สาหรา ยทะเลและผลติ ภณั ฑจ ากสาหรายทะเล - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานทีม่ ีอาํ นาจหนา ที่เกย่ี วของ 14. ข้ีเลอ่ื ย เปลอื กไม และของเสียจากไม - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานที่มีอาํ นาจหนาทเี่ กยี่ วขอ ง 15. ขี้เถา จากไม  - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานท่ีมีอาํ นาจหนาทเ่ี กย่ี วของ 16. หินฟอสเฟตจากธรรมชาติ - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ 17. เบซกิ สแลก (basic slag) หนว ยงานทม่ี ีอาํ นาจหนาทเี่ กย่ี วขอ ง - ปริมาณแคดเมียมตอ งไมเ กนิ 90 mg/kg (มลิ ลิกรัม ตอ กิโลกรมั ) P2O5 - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานทม่ี อี าํ นาจหนา ทีเ่ กย่ี วของ 18. หินโปแทสเซียมและเกลือโปแทสเซียมจากเหมือง - ตอ งมคี ลอรนี เปน สว นประกอบตำ�่ กวา 60% (เชน kainite และ sylvinite) 19. ซัลเฟตของโปแทส (เชน patenkali) - ไดจ ากกระบวนการทางกายภาพ แตต อ งไมม กี ารเสรมิ ดวยกระบวนการทางเคมีเพื่อเพ่ิมการละลาย - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี ีอาํ นาจหนา ทเี่ กี่ยวของ 20. แคลเซยี มคารบอเนตจากธรรมชาติ (เชน ชอลก - ปูนมารล ปูนขาว ชอลกฟอสเฟต) 21. หนิ แมกนเี ซยี ม - 22. หนิ แคลคาเรียสแมกนีเซียม (calcareous - magnesium rock) 23. แมกนีเซียมซัลเฟต (epsom salt) - 24. ยปิ ซมั (แคลเซียมซลั เฟต) - 25. สทลิ เลจ (stillage) และสารสกดั สทลิ เลจ - ไมร วมแอมโมเนยี มสทิลเลจ (ammonium stillage) (stillage extract) 28 กรมหม่อนไหม

ช่ือสาร รายละเอียด/ขอ กาํ หนด 26. โซเดียมคลอไรด (sodium chloride) - เฉพาะเกลอื สนิ เธาว 27. อลูมิเนียมแคลเซียมฟอสเฟต (aluminium - ปริมาณแคดเมยี มไมเ กิน 90 mg/kg P2O5 calcium phosphate) 28. แรธาตปุ รมิ าณนอ ย (เช่น โบรอน ทองแดง เหล็ก - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ แมงกานสี โมลบิ ดีนัม สังกะสี) หนว ยงานทม่ี ีอาํ นาจหนา ท่ีเก่ยี วของ 29. กํามะถัน - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี ีอํานาจหนา ทเ่ี กี่ยวขอ ง 30. หินบด - 31. ดิน เชน เบนโทไนต เพอรไลต ซโี อไลต - (bentonite, perlite, zeolite) 32. สงิ่ มชี วี ติ ดา นชวี วทิ ยาตามธรรมชาติ (เชน ไสเ ดอื น) - 33. เวอมคิ ไู ลต (vermiculite) - 34. วสั ดทุ ่ีใชในการเพาะปลกู (peat) - ไมรวมวัตถุเจือปนสังเคราะหที่อนุญาตสําหรับ เมล็ดพนั ธุ วัสดุปลูกบางชนิด - การใชอ ื่นๆ ตามทีไ่ ดร บั การยอมรับจากหนว ยรับรอง 35. ฮวิ มสั (humus) จากไสเ ดอื นดนิ และแมลง - 36. ซโี อไลต (zeolite) - 37. ถา นจากไม้ - 38. ดางคลอไรด (chloride of lime) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานทม่ี อี าํ นาจหนาทีเ่ กี่ยวของ 39. ผลพลอยไดจ ากโรงงานน�ำ้ ตาล - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานที่มอี าํ นาจหนาที่เก่ียวขอ ง 40. ผลพลอยไดจากโรงงานผลิตสวนผสมแปรรูปตางๆ - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ จากเกษตรอนิ ทรยี  หนว ยงานที่มีอํานาจหนาท่ีเกี่ยวของ 41. ผลพลอยไดจากน้ำ�มันปาลม มะพรา ว และโกโก - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานทม่ี ีอาํ นาจหนา ท่ีเกีย่ วของ 29คู่มือการผลติ หมอ่ นผลอนิ ทรีย์

ตารางท่ี 2 สารที่ใช้ส�ำ หรบั ควบคมุ ศัตรแู ละโรคของพืช ช่อื สาร รายละเอียด/ขอกําหนด 1. พชื และสัตว - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ 1.1 สารเตรยี มทมี่ ีสวนของไพรที รนิ (pyrethrins) หนวยงานทีม่ ีอํานาจหนาทเ่ี กยี่ วขอ ง สกดั จาก Chrysanthemum cinerariaefolium 1.2 สารเตรียมของโรทโี นน (rotenone) หรือ สาร - มกี ารปอ งกนั การปนเปอนลงสูแ หลงน้ำ� ออกฤทธจ์ิ ากโลติ้น (Derris elliptica), Lonchocarpus, - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ Thephrosia spp. หนวยงานท่ีมีอํานาจหนา ท่เี กย่ี วของ 1.3 สารเตรยี มจาก Quassia amara - จาํ เปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรอื หนวยงานทมี่ ีอํานาจหนาท่ีเกี่ยวขอ ง 1.4 สารเตรียมจาก Ryania speciosa - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานท่มี อี าํ นาจหนาทเี่ กีย่ วขอ ง 1.5 สารออกฤทธจ์ิ ากสะเดา (neem) หรอื Aza- - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ dirachtin จาก Azadirachta spp. หนว ยงานทมี่ ีอาํ นาจหนาทเ่ี กย่ี วขอ ง 1.6 โพรโปลสิ (propolis) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทมี่ ีอาํ นาจหนาทเ่ี ก่ียวของ 1.7 น�้ำ มนั จากพชื และสตั ว (plant and animal oils) - 1.8 สาหรายทะเล (seaweed) สาหรายทะเลบด - ไมใ ชส ารเคมี (seaweed meal) หรือสาหรายสกัด นำ�้ ทะเล น้ำ�เกลอื (seaweed extracts, sea salts and salty water) 1.9 เจลาทิน (gelatin) - 1.10 เลซทิ นิ (lecithin) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทมี่ ีอํานาจหนา ท่ีเกย่ี วของ 1.11 เคซีน (casein) - 1.12 กรดธรรมชาติ (เชน น้ำ�สม สายช)ู - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานท่มี ีอํานาจหนาทเ่ี กี่ยวขอ ง 1.13 สารหมกั จาก aspergillus - 1.14 สารสกัดจากเห็ดหอม (shiitake fungus) - 1.15 สารสกดั จาก Chlorella - 30 กรมหม่อนไหม

ช่อื สาร รายละเอียด/ขอกําหนด 1.16 สารเตรยี มจากพชื ธรรมชาติ ยกเวน ยาสูบ - จาํ เปน ตองไดรับการยอมรบั จากหนว ยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี ีอํานาจหนาท่เี กย่ี วขอ ง 1.17 น�ำ้ ชายาสบู (tobacco tea) ยกเวน้ สารนโิ คตนิ - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ บริสุทธ์ิ หนวยงานที่มอี ํานาจหนา ทเ่ี ก่ียวของ 1.18 กากชา - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานทม่ี อี าํ นาจหนาที่เกย่ี วของ 1.19 น�้ำ สม ควนั ไม - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ย งานที่มอี าํ นาจหนา ท่เี ก่ยี วขอ ง 2. แรธาตุ (mineral) 2.1 สารประกอบอนินทรยี  เชน สารผสมบอรโดซ - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ (bordeaux mixture) คอปเปอรไ ฮดรอกไซด์ (copper หนว ยงานทมี่ อี ํานาจหนาทีเ่ กี่ยวของ hydroxide) คอปเปอรออกซีคลอไรด์ (copper oxychloride 2.2 สารผสมเบอกนั ดี (burgundy mixture) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานที่มีอาํ นาจหนาที่เกย่ี วของ 2.3 เกลอื ทองแดง (copper salts) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี อี ํานาจหนา ท่เี กย่ี วขอ ง 2.4 กํามะถัน (sulphur) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ย งานทม่ี อี ํานาจหนา ที่เกีย่ วขอ ง 2.5 แรธ าตผุ ง เชน่ หนิ บด (stone meal) - ซลิ เิ กต (silicates) 2.6 ดนิ เบา (diatomaceous earth) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานท่ีมอี ํานาจหนาที่เก่ียวขอ ง 2.7 ซลิ เิ กต (silicates) ดินแรเบนโทไนต์ - (ben tonite) 2.8 โซเดียมซิลเิ กต (sodium silicate) - 2.9 โซเดยี มไบคารบ อเนต (sodium bicarbonate) - 2.10 โพแทสเซยี มเปอรแ มงกาเนต (potassium - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ permanganate) หนวยงานที่มอี าํ นาจหนา ที่เกย่ี วของ 31คมู่ อื การผลิตหม่อนผลอินทรีย์

ชอ่ื สาร รายละเอยี ด/ขอกาํ หนด 2.11 น�ำ้ มนั พาราฟน (paraffin oil) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานท่มี อี ํานาจหนาทเ่ี ก่ยี วขอ ง 3. จุลินทรยี ท ีใ่ ชส ําหรบั ควบคมุ ศัตรพู ชื แบบชีววิธี - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ 3.1 จุลนิ ทรยี  (แบคทเี รยี , ไวรัส, เช้อื รา เชน่ หนว ยงานที่มีอาํ นาจหนา ท่เี กย่ี วของ Bacillus thuringiensis, Granulosis virus) 4. อืน่ ๆ 4.1 กา ซคารบ อนไดออกไซดแ ละไนโตรเจน (carbon - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ dioxide and nitrogen gas) หนว ยงานที่มอี าํ นาจหนาทเ่ี กยี่ วขอ ง 4.2 สบโู พแทสเซียม (สบอู อ น) - 4.3 เอทลิ แอลกอฮอล (ethyl alcohol) - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนว ยงานทม่ี ีอาํ นาจหนา ที่เกย่ี วของ 4.4 สารเตรยี ม Homeopathic และ Ayurvedic - 4.5 สมนุ ไพรและสารเตรยี มทไี่ ดจ ากการเปลยี่ นแปลง - ทางพลชีวภาพ 4.6 แมลงตวั ผูท่ถี ูกทาํ หมนั - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานที่มีอํานาจหนาที่เกยี่ วขอ ง 5. การใชกับดัก - 5.1 สารเตรยี มฟโ รโมน (pheromone) 5.2 สารเตรยี มจาก metaldehyde ใชในกบั ดกั - จําเปนตองไดรับการยอมรับจากหนวยรับรองหรือ หนวยงานทม่ี อี ํานาจหนาทเ่ี กย่ี วขอ ง 32 กรมหมอ่ นไหม