Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (๑)

พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (๑)

Description: พระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (๑)

Search

Read the Text Version

พระราชกาหนด การกู้ยมื เงนิ ทเี่ ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗

พระราชกาหนด การก้ยู มื เงนิ ท่ีเป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็ นปี ที่ ๓๙ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราช โองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยท่ีเป็ นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินท่ีเป็ นการฉ้อโกง ประชาชน อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕๗ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกาหนดขึน้ ไว้ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกาหนดนีเ้ รียกว่า “พระราชกาหนดการกู้ยมื เงนิ ที่เป็ น การฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗” มาตรา ๒[๑] พระราชกาหนดนใี้ ห้ใช้บงั คบั ต้งั แต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษาเป็ นต้นไป

มาตรา ๓ ในพระราชกาหนดนี้ “ก้ยู ืมเงิน”[๒] หมายความว่า รับเงิน ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อ่ืนใด ไม่ว่าในลักษณะของการรับฝาก การกู้ การยืม การจาหน่ายบัตรหรือส่ิงอ่ืนใด การ รับเข้าเป็ นสมาชิก การรับเข้าร่วมลงทุน การรับเข้าร่วมกระทาการอย่างใดอย่างหน่ึง หรือในลกั ษณะอนื่ ใด โดยผู้กู้ยมื เงินหรือบุคคลอน่ื จ่ายผลประโยชน์ตอบแทน หรือตก ลงว่าจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ให้ก้ยู มื เงนิ ท้ังนี้ ไม่ว่าจะเป็ นการรับเพื่อตนเอง หรือรับในฐานะตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้ก้ยู ืมเงนิ หรือของผู้ให้ก้ยู ืมเงิน หรือในฐานะ อน่ื ใด และไม่ว่าการรับหรือจ่ายเงิน ทรัพย์สิน ผลประโยชน์อ่ืนใด หรือผลประโยชน์ ตอบแทนน้นั จะกระทาด้วยวธิ ีการใด ๆ “ผลประโยชน์ตอบแทน”[๓] หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือ ผลประโยชน์อื่นใดที่ผู้กู้ยืมเงิน หรือบุคคลอื่นจ่ายหรือจะจ่ายให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเงินเพื่อ การก้ยู มื เงนิ ท้ังนี้ ไม่ว่าจะจ่ายในลกั ษณะดอกเบยี้ เงนิ ปันผล หรือลกั ษณะอน่ื ใด “ผู้กู้ยืมเงนิ ” หมายความว่า บุคคลผู้ทาการกู้ยืมเงนิ และในกรณที ่ีผู้ก้ยู ืม เงนิ เป็ นนติ ิบุคคล ให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งลงนามในสัญญาหรือตราสารการกู้ยมื เงนิ ในฐานะผู้แทนของนิตบิ ุคคลน้นั ด้วย “ผู้ให้กู้ยืมเงิน” หมายความรวมถึง บุคคลซึ่งผู้ให้กู้ยืมเงนิ ระบุให้เป็ น บุคคลที่ได้รับต้นเงินหรือผลประโยชน์ตอบแทนจากผู้ก้ยู ืมเงิน “พนักงานเจ้าหน้าท่ี” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังให้ปฏิบัติการ ตามพระราชกาหนดนี้ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผ้รู ักษาการตามพระราชกาหนดนี้ มาตรา ๔[๔] ผู้ใดโฆษณาหรือประกาศให้ปรากฏต่อประชาชนหรือกระทา ด้วยประการใด ๆ ให้ปรากฏแก่บุคคลต้ังแต่สิบคนขึ้นไปว่า ในการกู้ยืมเงินตนหรือ บุคคลใดจะจ่ายหรืออาจจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ตามพฤติการณ์แห่งการกู้ยืมเงนิ ในอตั ราท่สี ูงกว่าอตั ราดอกเบีย้ สูงสุดทสี่ ถาบนั การเงนิ ตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบีย้ เงนิ

ให้ก้ยู ืมของสถาบันการเงินจะพงึ จ่ายได้ โดยที่ตนรู้หรือควรรู้อยู่แล้วว่าตนหรือบุคคล น้ันจะนาเงนิ จากผู้ให้กู้ยมื เงนิ รายน้ันหรือรายอื่นมาจ่ายหมุนเวียนให้แก่ผู้ให้ก้ยู ืมเงิน หรือโดยท่ีตนรู้หรือควรรู้อยู่แล้วว่า ตนหรือบุคคลน้ันไม่สามารถประกอบกิจการใด ๆ โดยชอบด้วยกฎหมายที่จะให้ผลประโยชน์ตอบแทนพอเพยี งที่จะนามาจ่ายในอตั รา น้ันได้ และในการน้ันเป็ นเหตุให้ตนหรือบุคคลใดได้ก้ยู ืมเงินไป ผู้น้ันกระทาความผิด ฐานก้ยู มื เงนิ ท่เี ป็ นการฉ้อโกงประชาชน ผู้ใดไม่มใี บอนุญาตให้ประกอบธุรกจิ เกี่ยวกบั ปัจจัยชาระเงนิ ต่างประเทศ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน ดาเนินการ หรือให้พนักงาน ลูกจ้าง หรือบุคคลใดดาเนินการโฆษณา ประกาศหรือชักชวนประชาชนให้ลงทุนโดย (๑) ซือ้ หรือขายเงนิ ตราสกลุ ใดสกลุ หนึง่ หรือหลายสกลุ หรือ (๒) เก็งกาไรหรืออาจจะได้รับผลประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของ อัตราแลกเปล่ียนเงิน ให้ถือว่าผู้น้ันกระทาความผิดฐานกู้ยืมเงินท่ีเป็ นการฉ้อโกง ประชาชนด้วย มาตรา ๕ ผู้ใดกระทาการ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ในการก้ยู มื เงนิ หรือจะก้ยู มื เงนิ (ก) มีการโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไป หรือโดยการแพร่ข่าว ด้วยวธิ ีอน่ื ใด หรือ (ข) ดาเนนิ กจิ การก้ยู มื เงนิ เป็ นปกติธุระ หรือ (ค) จดั ให้มีผู้รับเงนิ ในการก้ยู มื เงนิ ในแหล่งต่าง ๆ หรือ (ง) จัดให้มีบุคคลต้ังแต่ห้าคนขึน้ ไป ไปชักชวนบุคคลต่าง ๆ เพ่อื ให้มี การให้ก้ยู มื เงนิ หรือ (จ) ได้กู้ยืมเงินจากผู้ให้กู้ยืมเงินเกินสิบคนซึ่งมีจานวนเงินกู้ยืม รวมกันต้ังแต่ห้าล้านบาทขึ้นไป อนั มิใช่การก้ยู มื เงินจากสถาบันการเงนิ ตามกฎหมาย ว่าด้วยดอกเบยี้ เงนิ ให้ก้ยู มื ของสถาบนั การเงนิ และ

(๒) ผ้นู ้ัน (ก) จ่าย หรือโฆษณา ประกาศ แพร่ ข่าว หรือตกลงว่าจะจ่าย ผลประโยชน์ตอบแทน ให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเงินในอัตราที่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยสูงสุดท่ี สถาบนั การเงนิ ตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบีย้ เงนิ ให้กู้ยมื ของสถาบันการเงนิ จะพึงจ่าย ได้ หรือ (ข) ไม่ยอมปฏบิ ตั ติ ามคาสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๗ (๑) (๒) หรือ (๓) หรือกจิ การของผู้น้ันตามที่ผู้น้ันได้ให้ข้อเท็จจริงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ตามมาตรา ๗ ไม่ปรากฏหลักฐานพอที่จะเช่ือได้ว่า เป็ นกิจการท่ีให้ผลประโยชน์ตอบ แทนพอเพยี งทีจ่ ะนามาจ่ายให้แก่ผ้ใู ห้ก้ยู มื เงนิ ท้ังหลาย ผ้นู ้นั ต้องระวางโทษเช่นเดยี วกบั ผู้กระทาความผดิ ฐานกู้ยมื เงนิ ท่ีเป็ นการ ฉ้อโกงประชาชนตามมาตรา ๔ ท้ังนี้ เว้นแต่ผู้น้ันจะสามารถพสิ ูจน์ได้ว่า กจิ การของ ตนหรือของบุคคลท่ีตนอ้างถึงน้นั เป็ นกิจการท่ีให้ผลประโยชน์ตอบแทนพอเพียงท่ีจะ นามาจ่ายตามที่ตนได้กล่าวอ้าง หรือหากกิจการดังกล่าวไม่อาจให้ผลประโยชน์ตอบ แทนพอเพียง ก็จะต้องพิสูจน์ได้ว่ากรณีดังกล่าวได้เกิดขึ้นเน่ืองจากสภาวการณ์ทาง เศรษฐกจิ ทีผ่ ดิ ปกติอนั ไม่อาจคาดหมายได้ หรือมเี หตุอนั สมควรอย่างอน่ื มาตรา ๖ เพือ่ ประโยชน์ในการคานวณอตั ราผลประโยชน์ตอบแทนตาม มาตรา ๔ และมาตรา ๕ ในกรณที ผ่ี ้กู ้ยู มื เงนิ ได้จ่ายหรือจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนที่ มิใช่เป็ นตัวเงิน ให้คานวณมูลค่าของผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวออกเป็ นจานวน เงนิ ในกรณที ีพ่ ฤติการณ์แห่งการก้ยู มื เงินไม่เปิ ดช่องให้คานวณผลประโยชน์ ตอบแทนเป็ นจานวนเงินแน่นอนได้ ให้ประมาณการจากอัตราผลประโยชน์ตอบแทน ข้ันต่าท่คี าดว่าผ้ใู ห้ก้ยู มื เงนิ จะได้รับ หากจะมีการจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนน้ัน[๕]

มาตรา ๗ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่า ผู้ใดได้กระทาความผิดตาม มาตรา ๔ หรือกระทาการตามมาตรา ๕ (๑) หรือ (๒) (ก) ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมี อานาจดงั ต่อไปนี้ (๑) มีหนังสือเรียกให้ผู้น้ันหรือบุคคลใดที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีเห็นว่าจะ เป็ นประโยชน์แก่การตรวจสอบถงึ การก้ยู มื เงนิ มาให้ถ้อยคา (๒) ส่ังให้บุคคลดงั กล่าวตาม (๑) รายงานสภาพกจิ การของตนตลอดจน สินทรัพย์และหนสี้ ินท้ังหมดของตน (๓) ส่ังให้บุคคลดงั กล่าวตาม (๑) นาบัญชี เอกสาร หรือหลกั ฐานอ่ืนอัน เกย่ี วกบั การก้ยู มื เงนิ มาตรวจสอบ (๔) เข้าไปในสถานท่ีใด ๆ ในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึน้ ถึงพระอาทิตย์ ตกหรือในเวลาทาการของสถานที่น้นั เพอื่ ทาการตรวจสอบหรือค้นบัญชี เอกสาร หรือ หลักฐานอ่ืนของบุคคลดังกล่าวตาม (๑) ในการนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจส่ัง บุคคลทอี่ ย่ใู นสถานที่น้นั ให้ปฏิบตั ิการเท่าที่จาเป็ นเพอื่ ประโยชน์ในการตรวจสอบหรือ ค้น ตามควรแก่เรื่อง และให้มีอานาจยึดบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานเหล่าน้ัน มา ตรวจสอบได้ การเรียกหรือการสั่งตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ต้องแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า เจด็ วนั นับแต่วนั ได้รับหนังสือเรียกหรือคาสั่ง เว้นแต่ในกรณจี าเป็ นเร่งด่วน เมื่อได้เข้าไปและลงมือทาการตรวจสอบหรือค้นตาม (๔) แล้ว ถ้ายัง ดาเนินการไม่เสร็จ จะกระทาการต่อไปในเวลากลางคนื กไ็ ด้ มาตรา ๘ ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่มีเหตุอันควรเชื่อว่า ผู้กู้ยมื เงินผู้ใดท่ีเป็ น ผู้ต้องหาว่ากระทาความผิดตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ มีหนี้สินล้นพ้นตัวตาม กฎหมายว่าด้วยการล้มละลาย หรือมีสินทรัพย์ไม่พอชาระหนีส้ ิน และเห็นสมควรให้มี การดาเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้น้ันไว้ก่อนเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของ ประชาชนผู้ให้กู้ยืมเงิน ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีโดยอนุมัติของรัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงการคลงั มอี านาจสั่งยดึ หรืออายดั ทรัพย์สินของผู้น้ันไว้ก่อนได้ แต่จะยึดหรือ อายัดทรัพย์สินไว้เกินกว่าเก้าสิบวันไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีมีการฟ้ องคดีต่อศาลตาม มาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ ให้คาสั่งยึดหรืออายัดดังกล่าวยังคงมีผลต่อไปจนกว่าศาลจะ ส่ังเป็ นอย่างอนื่ เมื่อได้มีการยึดหรืออายดั ทรัพย์สินของผู้ใดไว้ตามวรรคหนึ่ง หรือเมื่อ พนกั งานเจ้าหน้าทมี่ ีเหตุอันควรเช่ือว่าผู้กู้ยมื เงนิ ที่เป็ นผู้ต้องหาว่ากระทาความผิดตาม มาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ มีหนีส้ ินล้นพ้นตัวตามกฎหมายว่าด้วยการล้มละลาย หรือมี สินทรัพย์ไม่พอชาระหนสี้ ิน แต่ยงั ไม่สมควรสั่งยึดหรืออายดั ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้พนกั งานเจ้าหน้าทส่ี ่งเร่ืองให้พนักงานอยั การเพอ่ื พจิ ารณาดาเนินคดลี ้มละลายต่อไป ตามมาตรา ๑๐ การยดึ หรืออายดั ทรัพย์สินตามวรรคหน่ึง ให้นาบทบัญญัติตามประมวล รัษฎากรทเ่ี กย่ี วกบั การยดึ หรืออายดั ทรัพย์สินมาใช้บงั คบั โดยอนุโลม มาตรา ๙ เม่ือพนักงานอัยการได้ฟ้ องคดีอาญาแก่ผู้ใดในความผิดตาม มาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ถ้าผ้ใู ห้ก้ยู มื เงนิ ร้องขอ ให้พนกั งานอยั การมอี านาจเรียกต้นเงนิ คนื ให้แก่ผู้น้ันได้ และจะเรียกผลประโยชน์ตอบแทนที่เป็ นสิทธิอันชอบด้วยกฎหมาย ให้แก่ผู้น้ันด้วยก็ได้ ในการนี้ ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการฟ้ องคดีแพ่งที่เกี่ยวเน่ืองกับ คดอี าญาตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาใช้บงั คบั โดยอนุโลม มาตรา ๑๐ เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนผู้ให้กู้ยืมเงิน ให้ พนกั งานอยั การมอี านาจฟ้ องผ้กู ้ยู มื เงนิ ท่ีเป็ นผู้ต้องหาว่ากระทาความผิดตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ เป็ นบุคคลล้มละลายได้ เมอ่ื (๑) เป็ นผ้มู ีหนสี้ ินล้นพ้นตัว หรือมสี ินทรัพย์ไม่พอชาระหนสี้ ินได้ (๒) เป็ นหนีผ้ ู้ให้ก้ยู ืมเงนิ รายหน่ึงหรือหลายรายเป็ นจานวนไม่น้อยกว่า หนง่ึ แสนบาท และ

(๓) หนนี้ ้นั อาจกาหนดจานวนได้โดยแน่นอน ไม่ว่าหนีน้ ้ันจะถึงกาหนด ชาระโดยพลนั หรือในอนาคตกต็ าม การฟ้ องคดีล้มละลายตามวรรคหนึ่ง ให้ดาเนินกระบวนพิจารณาไป ตามกฎหมายว่าด้วยการล้มละลาย โดยให้ถือว่าพนักงานอัยการมีฐานะ และสิทธิ หน้าที่เสมือนเจ้าหนีผ้ ู้เป็ นโจทก์ และให้ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียม ค่าฤชาธรรมเนียม หรือการต้องวางเงนิ ประกนั ต่าง ๆ ตามกฎหมายดงั กล่าว ในการพจิ ารณาคดลี ้มละลาย ถ้าศาลพจิ ารณาได้ความจริงตามวรรคหน่ึง ให้ศาลมีคาส่ังพทิ ักษ์ทรัพย์ลูกหนเี้ ดด็ ขาด ในการพิพากษาคดีล้มละลายตามมาตรานี้ ให้ศาลมีอานาจกาหนด หลกั เกณฑ์เกยี่ วกับส่วนแบ่งทรัพย์สินของเจ้าหนี้ในลาดบั (๘) ของมาตรา ๑๓๐ แห่ง พระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ เพ่อื ให้เกดิ ความเป็ นธรรมแก่เจ้าหนี้ ท้ังหลาย โดยให้คานึงถึงผลประโยชน์ตอบแทนท่ีเจ้าหนี้ผู้ให้กู้ยมื เงินแต่ละรายได้รับ มาแล้วก่อนมกี ารดาเนนิ คดลี ้มละลายประกอบด้วย มาตรา ๑๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชกาหนดนี้ ให้พนักงาน เจ้าหน้าท่ีเป็ นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ในการปฏิบัติหน้าท่ี พนักงานเจ้าหน้าท่ีต้องแสดงบัตรประจาตัวต่อ บุคคลท่เี กยี่ วข้อง บัตรประจาตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ี ให้เป็ นไปตามแบบที่รัฐมนตรีกาหนด โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๑๑/๑[๖] ในกรณีท่ีมีการจับกุมผู้กระทาความผิดตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ให้ผู้แจ้งเบาะแสการกระทาความผิดมีสิทธิได้รับเงนิ สินบนและให้เจ้า พนักงานผู้ตรวจค้นหรือจับกุมผู้กระทาความผิดมีสิทธิได้รับเงินรางวัล โดยให้

พนักงานอัยการร้ องขอต่ อศาลส่ังจ่ ายเงินสินบนและเงินรางวัลจากค่าปรั บท่ีผู้กระทา ความผดิ ได้ชาระต่อศาลเมอื่ คดถี ึงทส่ี ุด การจ่ายเงินสินบนและเงินรางวัลให้จ่ายเป็ นจานวนรวมกันแล้วร้อยละ ยสี่ ิบห้าของค่าปรับทีไ่ ด้ชาระต่อศาล หลักเกณฑ์และวิธีการขอรับเงินสินบนและเงินรางวัล การกาหนดส่วน แบ่งในระหว่างผู้มีสิทธิหลายราย และการจ่ายเงินสินบนและเงนิ รางวัลให้เป็ นไปตาม ระเบียบทก่ี ระทรวงการคลงั กาหนด มาตรา ๑๒ ผ้ใู ดกระทาความผดิ ตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ต้องระวาง โทษจาคุกต้ังแต่ห้าปี ถึงสิบปี และปรับต้ังแต่ห้าแสนบาทถึงหนึ่งล้านบาท และปรับอีก ไม่เกนิ วนั ละหนึง่ หม่ืนบาทตลอดเวลาทย่ี งั ฝ่ าฝื นอยู่ มาตรา ๑๓ ผ้ใู ดขดั ขวาง ไม่ปฏิบตั ติ ามคาส่ัง หรือไม่อานวยความสะดวก แก่พนกั งานเจ้าหน้าทซ่ี ึ่งปฏบิ ตั หิ น้าท่ีตามมาตรา ๗ (๔) หรือมาตรา ๘ ต้องระวางโทษ จาคกุ ไม่เกนิ หนงึ่ ปี และปรับไม่เกนิ หนง่ึ แสนบาท มาตรา ๑๔ ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอนั สมควร ไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือ คาส่ังของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๗ (๑) (๒) หรือ (๓) หรือไม่ยอมตอบคาถาม เมอ่ื ซักถาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สามเดอื น และปรับไม่เกนิ สามหมน่ื บาท มาตรา ๑๕[๗] ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดเป็ นนิติบุคคล ถ้าการกระทา ความผิดของนิติบุคคลน้ันเกิดจากการสั่งการหรือการกระทาของกรรมการ หรือ ผ้จู ัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผดิ ชอบในการดาเนินงานของนิติบุคคลน้ัน หรือในกรณที ี่ บุคคลดังกล่าวมีหน้าท่ีต้องส่ังการหรือกระทาการและละเว้นไม่ส่ังการหรือไม่กระทา

การจนเป็ นเหตุให้นิติบุคคลน้ันกระทาความผิด ผู้น้ันต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ สาหรับความผดิ น้นั ๆ ด้วย ความในวรรคหน่ึงให้ใช้บังคับแก่พนักงานหรือลูกจ้างของนิติบุคคลซึ่ง ปรากฏพยานหลกั ฐานว่ามพี ฤติกรรมเป็ นผู้รับผิดชอบในการดาเนินงานของนิติบุคคล ด้วย มาตรา ๑๕/๑[๘] ผ้ใู ดต้องคาพพิ ากษาถึงที่สุดให้ลงโทษตามมาตรา ๔ หรือ มาตรา ๕ ถ้าได้กระทาความผดิ น้ันซ้าอีกในระหว่างรอการลงโทษหรือรอการกาหนด โทษอยู่ก็ดี หรือภายในเวลาห้าปี นับแต่วนั พ้นโทษก็ดี หากศาลจะพพิ ากษาลงโทษคร้ัง หลงั กใ็ ห้เพมิ่ โทษทีจ่ ะลงแก่ผ้นู ้นั อกี หน่งึ เท่าของโทษทศี่ าลกาหนดสาหรับความผดิ คร้ัง หลงั มาตรา ๑๕/๒[๙] ในกรณีคนต่างด้าวต้องคาพิพากษาถึงท่ีสุดว่ากระทา ความผิดตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ให้เนรเทศผู้น้ันออกนอกราชอาณาจักรตาม กฎหมายว่าด้วยการเนรเทศ ถ้าผู้น้ันจะต้องรับโทษก็ให้รับโทษก่อน มาตรา ๑๖ ในกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ใดได้ กระทาความผิดตามมาตรา ๓๔๓ แห่งประมวลกฎหมายอาญา ก่อนวันที่พระราช กาหนดนี้ใช้บังคับ และการกระทาของผู้น้ันมีลักษณะเข้าองค์ประกอบความผิดตาม มาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจตามมาตรา ๗ และมาตรา ๘ และให้นาบทบัญญัติมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๔ มาใช้ บังคบั มาตรา ๑๗ การก้ยู มื เงนิ ท่ีมีลกั ษณะเข้าองค์ประกอบความผดิ ตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ซ่ึงมสี ัญญาหรือข้อตกลงการก้ยู มื เงนิ ทไ่ี ด้กระทาไว้ก่อนวันท่ีพระราช

กาหนดนี้ใช้บังคับ ให้สัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าวเท่าท่ีมีผลผูกพันได้โดยชอบด้วย กฎหมาย ยงั คงมผี ลใช้ได้ต่อไปตามเงอื่ นไขดงั ต่อไปนี้ (๑) ถ้าสัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าวไม่มีระยะเวลาสิ้นสุด ให้สัญญาหรือ ข้อตกลงน้ันมีผลผูกพันได้ต่อไป และให้สิ้นสุดลงเม่ือครบหนึ่งปี นับแต่วันที่พระราช กาหนดนใี้ ช้บังคบั เว้นแต่ค่สู ัญญาจะตกลงกนั ให้สัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าวสิ้นสุดลง ก่อนกาหนดน้ัน หรือคู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงจะใช้สิทธิเรียกให้ชาระหนีห้ รือชาระหนี้ หรือบอกเลกิ สัญญาหรือข้อตกลง ตามสิทธิของตนก่อนกาหนดน้นั (๒) ถ้าสัญญาหรือข้อตกลงดงั กล่าวมีระยะเวลาสิ้นสุดภายในหนึ่งปี นับ แต่วนั ที่พระราชกาหนดนีใ้ ช้บังคับ ให้สัญญาหรือข้อตกลงน้ันสิ้นสุดลงตามที่ได้ สัญญาหรือตกลงไว้น้ัน เว้นแต่คู่สัญญาจะตกลงกันให้สัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าว สิ้นสุดลงก่อนกาหนดน้ัน หรือคู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาหรือ ข้อตกลง ตามสิทธิของตนก่อนกาหนดน้นั (๓) ถ้าสัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าวมีระยะเวลาสิ้นสุดภายหลังหนึ่งปี นับแต่วนั ที่พระราชกาหนดนีใ้ ช้บังคับ ให้สัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าวสิ้นสุดลงเม่ือ ครบกาหนดหน่ึงปี นับแต่วันที่พระราชกาหนดนี้ใช้บังคับ เว้นแต่คู่สัญญาจะมาจด ทะเบยี นต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามวรรคสองภายในกาหนดเก้าสิบวนั นับแต่วนั ที่พระ ราชกาหนดนใี้ ช้บังคบั กใ็ ห้ข้อสัญญาหรือข้อตกลงน้นั สิ้นสุดลงตามท่ีได้จดทะเบียนไว้ อย่างไรกต็ าม ไม่เป็ นการตัดสิทธคิ ่สู ัญญาทจ่ี ะตกลงกนั ให้สัญญาหรือข้อตกลงดังกล่าว สิ้นสุดลงก่อนกาหนดน้ัน หรือคู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงจะใช้สิทธิบอกเลกิ สัญญาหรือ ข้อตกลงตามสิทธขิ องตนก่อนกาหนดน้นั หลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนสัญญาหรือข้อตกลงตาม (๓) ของ วรรคหน่ึง ให้เป็ นไปตามที่รัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใน กรณีที่มีการยื่นคาขอจดทะเบียนโดยคู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งแต่เพียงฝ่ ายเดียว พนักงานเจ้าหน้าท่ีจะจดทะเบียนให้ได้ต่อเมื่อได้มีหนังสือสอบถามไปยังคู่สัญญาอีก

ฝ่ ายหนึ่งและคู่สัญญาอกี ฝ่ ายหน่งึ น้ันได้ให้ความยนิ ยอมและยอมรับข้อความในสัญญา หรือข้อตกลงทีน่ ามาขอจดทะเบยี นน้นั แล้ว ในการรับจดทะเบียน ถ้าพนกั งานเจ้าหน้าท่เี หน็ ว่าสัญญาหรือข้อตกลงใด กระทาขึ้นหลังวันท่ีพระราชกาหนดนี้ใช้บังคับ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่ง ปฏิเสธการจดทะเบียนพร้อมท้ังให้เหตุผลต่อผู้ขอจดทะเบียน ถ้าผู้ขอจดทะเบียนไม่ เห็นด้วย ให้มีสิทธิไปร้องขอต่อศาลภายในกาหนดสิบห้าวันนับแต่วันท่ีได้รับทราบ คาสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ เพ่อื ให้ศาลมีคาวินิจฉัยแสดงว่าสัญญาหรือข้อตกลงน้ัน ได้กระทาขึน้ ก่อนวนั ที่พระราชกาหนดนีใ้ ช้บังคับ และให้นาบทบัญญัติตามประมวล กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพ่งมาใช้บังคบั โดยอนุโลม บทบญั ญัติมาตรานี้ มีผลใช้บังคบั ในทางแพ่งและไม่มีผลเป็ นการลบล้าง ความผดิ อาญาแต่อย่างใด มาตรา ๑๘ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชกาหนดนี้ และให้มีอานาจแต่งต้ังพนักงาน เจ้าหน้าทเ่ี พอื่ ปฏบิ ตั ิการตามพระราชกาหนดนี้ ผ้รู ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประจวบ สุนทรางกรู รองนายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกาหนดฉบับนี้ คือ เนื่องจากขณะนี้ ปรากฏว่า มีการกู้ยืมเงินหรือรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป โดยมีการจ่ายดอกเบี้ย หรือผลประโยชน์อย่างอื่นตอบแทนให้สูงเกนิ กว่าประโยชน์ที่ผู้ก้ยู มื เงินหรือผู้รับฝาก เงนิ จะพงึ หามาได้จากการประกอบธุรกจิ ตามปกติ โดยผู้กระทาได้ลวงประชาชนที่หวงั จะได้ดอกเบีย้ ในอัตราสูงให้นาเงินมาเก็บไว้กับตนด้วยการใช้วิธีการจ่ายดอกเบีย้ ใน อตั ราสูงเป็ นเคร่ืองล่อใจ แล้วนาเงนิ ท่ีได้มาจากการกู้ยืมหรือรับฝากเงินรายอื่น ๆ มา จ่ายเป็ นดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ให้แก่ผู้ให้กู้ยืมเงินหรือผู้ฝากเงินรายก่อน ๆ ใน ลักษณะต่อเน่ืองกัน ซ่ึงการกระทาดังกล่าวเป็ นการฉ้อโกงประชาชน เพราะเป็ นที่ แน่นอนอยู่แล้วว่า ในท่ีสุดจะต้องมีประชาชนจานวนมากไม่สามารถได้รับต้นเงิน กลับคืนได้ และผู้กู้ยืมเงินหรือผู้รับฝากเงินกับผู้ที่ร่วมกระทาการดังกล่าวจะได้รับ ประโยชน์จากเงินที่ตนได้รับมา เพราะผู้ให้กู้ยืมเงนิ หรือผู้ฝากเงินไม่สามารถบังคับ หรือติดตามให้มีการชาระหนี้ได้ อน่ึง กิจการดังกล่าวนี้มีแนวโน้มจะขยายตัว แพร่หลายออกไปอย่างรวดเร็ว หากปล่อยให้มีการดาเนินการต่อไปย่อมจะก่อให้เกิด ผลร้ายแก่ประชาชนทั่วไป และจะเป็ นอนั ตรายอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ สมควรทจี่ ะมีกฎหมายเพอ่ื ปราบปรามการกระทาดงั กล่าว กบั สมควรวางมาตรการเพ่ือ คุ้มครองประโยชน์ของประชาชนท่ีอาจได้รับความเสียหายจากการถูกหลอกลวง และ โดยที่เป็ นกรณีฉุกเฉินท่ีมีความจาเป็ นรีบด่วนในอันจะรักษาความมั่นคงในทาง เศรษฐกจิ ของประเทศ จึงจาเป็ นต้องตราพระราชกาหนดนี้

ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง การอนุมัติพระราชกาหนดการกู้ยมื เงินที่เป็ นการ ฉ้อโกงประชาชน พ.ศ.๒๕๒๗[๑๐] พระราชบญั ญตั ิแก้ไขเพิม่ เติมพระราชกาหนดการก้ยู ืมเงนิ ที่เป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๓๔[๑๑] มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ ห้ใช้บังคบั เม่อื พ้นกาหนดสามสิบวนั นับแต่ วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็ นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คอื เน่ืองจากปรากฏว่ามี บุคคลประกอบกิจการโดยวธิ ีชักจูงให้ผู้อน่ื ส่งเงนิ หรือผลประโยชน์อย่างอนื่ ให้แก่ตน และให้ผู้น้ันชักจูงผู้อื่นตามวิธีการท่ีกาหนด และแสดงให้ผู้ถูกชักจูงเข้าใจว่า ถ้าได้ ปฏิบัติตามจนมีบุคคลอื่นอีกหลายคนเข้าร่วมต่อ ๆ ไปจนครบวงจรแล้วผู้ถูกชักจูงจะ ได้รับกาไรมากกว่าเงินหรือประโยชน์ท่ีผู้น้ันได้ส่งไว้ ดังเช่นที่บางคนเรียกว่า แชร์ ลูกโซ่ ในที่สุดการดาเนินการเช่นน้ันจะมิได้เป็ นไปตามคาชักจูง แต่กลบั จะก่อให้เกิด ความเสียหายแก่ประชาชนผู้หลงเชื่อ เพ่ือป้ องกันและปราบปรามการกระทาน้ัน สมควรแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชกาหนดการกู้ยืมเงินท่ีเป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ ให้ครอบคลมุ ถงึ การกระทาดงั กล่าว จงึ จาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบญั ญัตแิ ก้ไขเพิ่มเติมพระราชกาหนดการกู้ยืมเงินท่ีเป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕[๑๒] มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินีใ้ ห้ใช้บังคบั ต้ังแต่วนั ถัดจากวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษาเป็ นต้นไป

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คอื โดยที่ในปัจจุบันได้มี การหลอกลวงประชาชนให้นาเงนิ เข้ามาร่วมลงทุนในธุรกจิ ซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศ หรือเกง็ กาไร ซึ่งนอกจากจะทาให้เกดิ ความเสียหายแก่ประชาชนที่ถูกหลอกลวงแล้วยัง เกดิ ความเสียหายต่อเศรษฐกจิ ในวงกว้าง แต่บทบัญญัติของพระราชกาหนดการก้ยู ืม เงนิ ท่ีเป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ ในปัจจุบันไม่อาจใช้บังคบั ครอบคลุมแก่ การกระทาดังกล่าวได้ จึงสมควรแก้ไขเพิม่ เติมองค์ประกอบความผิดฐานกู้ยมื เงินที่ เป็ นการฉ้อโกงประชาชน และกาหนดให้การโฆษณา หรือประกาศ หรือการกระทาใด ๆ ให้ประชาชนนาเงนิ เข้ามาร่วมลงทุนลักษณะดังกล่าว เป็ นความผิดฐานกู้ยืมเงินท่ีเป็ น การฉ้อโกงประชาชนด้วย ประกอบกับสมควรเพิ่มเติมบทบัญญัติในเรื่องการคานวณ ผลประโยชน์ ตอบแทนความรั บผิดของพนักงานหรื อลูกจ้ างของนิติบุ คคลผู้กระทา ความผดิ ผู้กระทาความผิดต้องรับโทษหนักขึน้ เมื่อมีการกระทาความผิดซ้า และการ เนรเทศผู้กระทาความผิดซึ่งเป็ นคนต่างด้าว รวมท้ังให้มีการจ่ายเงินสินบนและเงิน รางวัลเพ่ือให้การปราบปรามผู้กระทาความผิดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจาเป็ นต้อง ตราพระราชบญั ญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกีย่ วกับความรับผดิ ในทาง อาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐[๑๓] มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินีใ้ ห้ใช้บังคบั ต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษาเป็ นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คอื โดยที่ศาลรัฐธรรมนูญ ได้มคี าวนิ ิจฉัยว่าพระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๕๔ เฉพาะในส่วนท่ีสันนิษฐานให้กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลใดซ่ึงรับผิดชอบ ในการดาเนินงานของนิติบุคคลน้ัน ต้องรับโทษทางอาญาร่วมกับการกระทาความผิด

ของนติ บิ ุคคล โดยไม่ปรากฏว่ามกี ารกระทาหรือเจตนาประการใดอนั เกีย่ วกับการกระทา ความผิดของนิติบุคคลน้ัน ขัดหรือแย้งต่ อรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง เป็ นอนั ใช้บังคับไม่ได้ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ และต่อมาศาลรัฐธรรมนูญได้มคี า วนิ ิจฉัยในลกั ษณะดงั กล่าวทานองเดยี วกนั คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๔ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๗๘ พระราชบญั ญตั สิ ถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ มาตรา ๒๘/๔ และพระราชบัญญัติป๋ ุย พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๗๒/๕ ขัดหรือแย้งต่ อรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง เป็ นอนั ใช้บังคบั ไม่ได้ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ ดงั น้ัน เพือ่ แก้ไขบทบัญญัติของ กฎหมายดงั กล่าวและกฎหมายอนื่ ที่มีบทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะเดยี วกนั มิให้ขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญ จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบญั ญตั นิ ี้ องั ศุมาล/ี ผู้จดั ทา ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ อุดมลกั ษณ์/ผู้ตรวจ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ วริญา/เพม่ิ เตมิ ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ วชิ พงษ์/ตรวจ ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐

[๑] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๐๑/ตอนท่ี ๑๖๔/ฉบับพเิ ศษ หน้า ๑/๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗ [๒] มาตรา ๓ นิยามคาว่า “ก้ยู มื เงนิ ” แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิแก้ไข เพมิ่ เตมิ พระราชกาหนดการกู้ยมื เงนิ ทเี่ ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๓๔ [๓] มาตรา ๓ นยิ ามคาว่า “ผลประโยชน์ตอบแทน” แก้ไขเพมิ่ เติมโดย พระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพม่ิ เตมิ พระราชกาหนดการกู้ยมื เงนิ ทเ่ี ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๓๔ [๔] มาตรา ๔ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพมิ่ เตมิ พระราชกาหนดการ ก้ยู มื เงนิ ทเ่ี ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ [๕] มาตรา ๖ วรรคสอง เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั ิแก้ไขเพม่ิ เตมิ พระราช กาหนดการก้ยู มื เงินทเ่ี ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ [๖] มาตรา ๑๑/๑ เพมิ่ โดยพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพมิ่ เตมิ พระราชกาหนดการก้ยู มื เงนิ ทเ่ี ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ [๗] มาตรา ๑๕ แก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิแก้ไขเพมิ่ เตมิ บทบญั ญตั แิ ห่ง กฎหมายทเี่ กยี่ วกบั ความรับผดิ ในทางอาญาของผู้แทนนติ บิ ุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐ [๘] มาตรา ๑๕/๑ เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั ิแก้ไขเพม่ิ เตมิ พระราชกาหนดการก้ยู มื เงนิ ทเี่ ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ [๙] มาตรา ๑๕/๒ เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพม่ิ เตมิ พระราชกาหนดการกู้ยมื เงนิ ทเ่ี ป็ นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ [๑๐] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๐๒/ตอนท่ี ๖๗/ฉบบั พเิ ศษ หน้า ๑๑/๓๐ พฤษภาคม ๒๕๒๘ [๑๑] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๐๘/ตอนท่ี ๑๒๙/ฉบบั พเิ ศษ หน้า ๑๑/๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๔ [๑๒] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนที่ ๑๒๒ ก/หน้า ๑/๑๖ ธนั วาคม ๒๕๔๕ [๑๓] ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๔/ตอนท่ี ๑๘ ก/หน้า ๑/๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐