Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษารายกรณีผู้ป่วยไมเกรน จากกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม

การศึกษารายกรณีผู้ป่วยไมเกรน จากกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม

Description: การศึกษารายกรณีผู้ป่วยไมเกรน จากกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม

Search

Read the Text Version

การศกึ ษารายกรณี ( Case Study) ผ้ปู ว่ ยไมเกรน จากกลมุ่ อาการออฟฟศิ ซนิ โดรม (migraine /office syndrome ) กาญจนาฎ คงคานอ้ ย พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ กลุม่ งานวชิ าการเวชกรรมและผดงุ ครรภแ์ ผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คานา การศึกษารายกรณีนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือใชเ้ ป็นกรณีศึกษาเฉพาะราย คือผู้ป่วยมีภาวะไมเกรน และอาการร่วมอ่ืนจากกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ที่มารับการรักษาที่ศูนย์การแพทย์ทางเลือก กองการแพทย์ ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข จานวน 1 ราย โดยจะมี รายละเอียดเก่ียวกับ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การค้นหาปัญหา การวางแผนการดูแล การปฏิบัติการ พยาบาล กรณีศึกษา สรุปกรณีศึกษาและข้อเสนอแนะทางการพยาบาล เพื่อส่งเสริม ปอ้ งกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพ ผู้ป่วยไมเกรน มีการปฏิบัติโดยยึดหลักกาย จิต สังคมและจิตวิญญาณของกรณีศึกษา เป็นการปฏิบัติด้วยหัว ใจความเป็นมนุษย์ ขอขอบคุณอาจารย์ลินดา สันตวาจาและอาจารย์รัชนี ราษฎร์จาเริญสุข ที่ได้ให้คาแนะนาในการ ทากรณีศกึ ษาเป็นอย่างดี กาญจนาฎ คงคาน้อย พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ

สารบญั หนา้ เรอ่ื ง 1 2 บทนา 2 4 -ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 9 -สาเหตุของโรคและปัจจยั ทเี่ ก่ียยวขอ้ งกบั การเกดิ โรค 11 -อาการและอาการแสดง 12 -การวินจิ ฉัยแยกโรค 13 -การรักษาพยาบาลผู้ป่วยไมเกรน -การป้องกันการเกดิ ไมเกรนจากออฟฟศิ ซินโดรม 15 -การฝงั เข็ม 15 - หลกั การพยาบาลผ้ปู ว่ ยฝงั เข็ม 17 18 กรณศี กึ ษา 18 21 1.ขอ้ มลู ส่วนบุคคล 21 2.ขอ้ มลู พืน้ ฐานเกย่ี วกบั สุขภาพของผ้รู ับบรกิ าร 23 3.การตรวจรา่ งกายทกุ ระบบ 29 4.การวนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล 33 5.ข้อมลู แบบแผนสขุ ภาพของกอรด์ อน 33 6.สรปุ สภาวะผปู้ ว่ ยในปจั จุบนั 34 7.ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร 35 8.การรกั ษาของแพทย์ 9.การวางแผนทางการพยาบาล 36 10.การติดตามและการนดั มารบั บริการฝังเขม็ 11.คาแนะนาก่อนกลับบ้าน 12.สรปุ กรณีศกึ ษา 13.วิจารณ์/เสนอแนะ เอกสารอา้ งองิ

1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา กลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) เป็นอาการที่มักเกิดข้ึนกับคนวัยทางานที่ต้อง นั่งทางานในออฟฟิศท้ังวัน ไม่มีการออกกาลังกายเป็นประจา และมีสภาพแวดล้อมในที่ทางานท่ีไม่เหมาะสม การระบายอากาศไม่ดี จึงส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ รวมไปถึงการ ปวดหลังเรื้อรังจากการน่ังอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์วันละ 8 ชั่วโมง ทาให้กล้ามเนื้อต้นคอ สะบกั เม่ือย เกร็งอยู่ ตลอดเวลา กระบังลมขยายไดไ้ ม่เต็มที่ สมองได้รับออกซิเจนไม่เต็มท่ี ทาให้ง่วงนอน และหากมีความเครียดจะ ส่งผลใหโ้ รคน้รี ุนแรงมากข้ึน เช่น เป็นไมเกรนหรอื ปวดศรี ษะเรอ้ื รัง ปวดตา หน้ามืด เป็นต้น นอกจากนี้ อาการ อาจรุนแรงจนถงึ ขั้นหมอนรองกระดกู เส่ือม หรือหมอนรองกระดูกกดทบั เส้นประสาท ทง้ั น้ี กลุ่มอาการออฟฟิศ ซินโดรม ยังรวมไปถึงระบบทางเดินหายใจและภูมิแพ้ เน่ืองจากการทางานอยู่ในที่อากาศถ่ายเทไม่สะดวก เครื่องปรับอากาศไม่สะอาด รวมไปถึงสารเคมีจากหมึกของเคร่ืองถ่ายเอกสาร เคร่ืองแฟกซ์ และเครื่องพิมพ์ เอกสาร ซงึ่ วนเวยี นอยภู่ ายในห้องทางานอกี ด้วย แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม คือ การรักษาตามอาการ อาจไม่ จาเปน็ ต้องใช้ยา เพียงปรับเปล่ียนอิริยาบถ แตห่ ากอาการไม่ดขี ึ้น หรือมีความรุนแรงมากขึ้นอาจให้ยาบรรเทา อาการหรือไดร้ ับการผ่าตัด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของผู้ปุวยแต่ละราย ในทางการแพทย์ปจั จุบนั มีท้ังการผ่าตัด เพื่อรักษาท่ีสาเหตุของโรคหรือให้ยาบรรเทาอาการทั้งในรูปแบบการฉีดยาหรือรับประทานยา เน่ืองจากกลุ่ม อาการออฟฟิศซินโดรมเป็นโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อม การปูองกันสามารถทาไดโ้ ดย 1. การ ทาความสะอาดออฟฟิศ หากใช้พรมปูพื้นควรทาความสะอาดพรมอย่างน้อยทุกเดือน 2. การทางานกับ คอมพิวเตอร์ควรพกั สายตา เปลี่ยนอริ ิยาบถ พกั เบรกยืดเส้นยืดสายระหวา่ งการทางาน โดยลุกข้ึนยืนเดินไปมา 3.ไม่ควรถ่ายเอกสารในออฟฟิศ ควรต้ังเคร่ืองถ่ายไว้ภายนอก 4. ดูแลเครื่องปรับอากาศโดยการล้างไส้กรอง อากาศบอ่ ยๆ 5.ทางานในสถานท่ี มีแสงสวา่ งเพยี งพอ อุณหภมู ิที่เหมาะสม ไม่เย็นหรือร้อนเกินไป (ท่ีมา : รพ. นพรัตน์ ราชธานี : 3 ส.ค. 2561 : MGR Online ) ไมเกรนจากออฟฟศิ โดรม ไมเกรน (MIGRAINE) คอื อาการปวดหัวขา้ งเดยี ว หรือปวดศีรษะคร่ึงซีก เป็นอาการท่ีเกิดข้ึนได้ ทุกวัยโดยเฉพาะวัยทางาน อาการปวดอาจเกิดข้ึนและหายได้เอง หรือเป็นเร้ือรัง มักเกิดร่วมกับผู้ท่ีมีปัญหา ออฟฟิศซินโดรม (ท่ีมา :นพ.ณัฐพงศ์ วงศ์ววิ ัฒน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ : www. MGR online : 3 สค.61 ) โดยผู้ที่มีอาการออฟฟิศซินโดรมจะมีอาการปวดกล้ามเน้ือเย่ือพังผืด (Myofascial Pain Syndrome) และเอ็น (Tendinitis) โดยสาเหตุและปัจจัยท่ีทาให้มีโอกาสเกิดกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม ได้แก่ ท่าทางการทางาน (Poster) เช่น ลักษณะท่าน่ังทางาน การวางมือ ศอก บนโต๊ะทางานที่ไม่ถูกต้อง การบาดเจ็บจากงานซ้า ๆ (Cumulative Trauma Disorders) หรือระยะเวลาในการทางานท่ีมากเกินไป ทาให้ร่างกายเกิดการล้า เช่น การใช้ข้อมือซ้า ๆ ในการใช้เมาส์ อาจทาให้เกิดการอักเสบของเอ็นบริเวณข้อมือ หรือพังผืดเส้นประสาท

2 บริเวณข้อมือได้ สิ่งแวดล้อมในการทางานท่ีไม่เหมาะสม เช่น ลักษณะโต๊ะทางาน หน้าจอคอมพิวเตอร์ แสง สว่างในหอ้ งทางาน สาเหตขุ องโรค/ปจั จัยทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การเกิดโรคไมเกรนจากออฟฟศิ ซนิ โดรม ไมเกรน สามารถเกิดข้ึนได้กบั ทกุ คนทกุ เพศทุกวยั ท้งั น้ีตอ้ งข้นึ อยู่กับปจั จัยโดยรอบ และการทางาน ของสมองเป็นตวั กระตนุ้ ดว้ ย ซง่ึ เปน็ สว่ นสาคญั ทท่ี าใหค้ นวัยทางานมคี วามเสย่ี งมากกว่าวัยอน่ื เพราะใน ปัจจบุ นั คนวัยทางานต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการทางาน ดังน้นั การเจอแสงจากจอคอมพิวเตอรเ์ ป็นเวลานาน การสะสมความเครยี ดจากการทางาน หรือการทางานมากเกินไปจนมีเวลาพกั ผ่อนนอ้ ย จงึ เป็นสาเหตใุ ห้เกดิ ความเสย่ี งไมเกรนมากยง่ิ ขนึ้ ( ทม่ี า : โรงพยาบาลบางประกอก 9 : 24 ธันวาคม 2564) นอกจากนีย้ งั มปี จั จัยที่สามารถกระต้นุ ให้เกิดอาการดังกล่าวได้อีก เชน่ สภาวะความเครยี ด, การด่ืม แอลกอฮอล,์ คาเฟอนี และสบู บหุ รมี่ ากเกนิ ไป , การเปลีย่ นแปลงฮอร์โมนในเพศหญงิ , การถกู กระตนุ้ จาก สภาพแวดล้อม เชน่ มีแสง กลนิ่ หรอื เสยี งมากเกินไป การพกั ผอ่ นไมเ่ พยี งพอ หรือการนอนหลับมากเกนิ ไป อาการและอาการแสดง อาการปวดแบบไมเกรน มีความเฉพาะอยู่ด้วยเช่นกัน คือ ปวดศีรษะครึ่งซีก (ปวดข้างเดียว) สามารถสลับข้างใดข้างหนึ่งไปมาได้ อาการปวดจะอยู่ในระดับปานกลางข้ึนไป การเดิน หรือการขึ้นบันได สามารถทาให้ปวดมากขึ้นได้ การปวดจะเป็นลักษณะคล้ายจังหวะของชีพจร หรือท่ีเราเรียกกันว่าปวดแบบ “ตบุ ๆ” โดยปกติอาการปวดจะอยู่ไดร้ าว 4 – 72 ชั่วโมง หากไม่ทาการรักษา จากอาการท่ีกล่าวมาผู้ปุวยอาจ มีอาการอื่น ๆ เกิดขึ้นร่วมด้วย เช่น มีอาการคลื่นไส้อยากอาเจียน ไม่ต้องการเจอแสงจ้า หรือกลิ่นเหม็น เป็น ต้น ซ่ึงการปวดศีรษะแบบไมเกรนนั้นสามารถเกิดได้ทั้งแบบมีสัญญาณเตอื น (Migraine with aura) คือมี ปัญหาด้านการมองเห็น มือแขน และปากชา กับอีกประเภทคือแบบไม่มีสัญญาณเตือน (Migraine without aura) ซงึ่ พบได้มากกว่าแบบแรก จริงๆแล้วไมเกรนเป็นโรคปวดศีรษะที่มีลักษณะจาเพาะ แต่โดยความเป็นจริง โรคไม เกรน มีอาการท่ีมีความหลากหลายมาก และบางกรณี ผู้ปุวยอาจไม่มีอาการปวดศีรษะเลยก็ได้ (acephalic migraine) จงึ ทาให้การเรียกวา่ โรคปวดศีรษะไมเกรน อาจไม่ถูกตอ้ งเสมอไป (ดังน้ันจึงเรียกว่าโรคไมเกรนแทน โรคปวดศีรษะไมเกรน) และอาการไมเกรนท่ีไม่ตรงตามเกณฑ์ของไมเกรนที่มีอาการนาและไม่มีอาการนา เช่น ไมเกรนท่ีไม่มีอาการปวดศีรษะ ไมเกรนที่มีอาการทางระบบประสาทผิดปกตทิ ่ีพบไม่บ่อย เช่น อาการอ่อนแรง ครึ่งซีก(hemiplegic migraine) อาการก้านสมองทางานผิดปกติ (migraine with brainstem aura) ไมเกรน ชอ่ งท้อง (abdominal migraine) เป็นต้น ไมเกรน เป็นโรคที่มีอาการอ่ืน ๆ ร่วมกับอาการปวดศีรษะได้บ่อย ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน อาการตาสู้แสงจ้าไม่ได้ หรือ กลัวแสง นอกจากน้ีแล้ว ยังมีอาการอื่น ๆ ที่เกิดร่วมด้วยได้ ได้แก่ อาการปวดต้นคอ (ทาให้บางครั้งวินิจฉัยผิดเป็นโรคกระดูกคอ) อาการคัดจมูก น้ามูกไหล (ทาให้บางครั้ง วินิจฉัยผิดเป็นโรคไซนัสอักเสบ) อาการเวียนศีรษะ (ทาให้บางคร้ังวินิจฉัยผิดเป็นโรคหู) และอาการปวด กล้ามเน้อื ตามร่างกายอนื่ ๆ

3 Migraine aura หรอื อาการนาไมเกรน เปน็ อาการท่ีเกดิ จากคลนื่ ผิดปกตใิ นสมองของผู้ปวุ ยไมเกรน ท่ีเกิดข้ึนก่อนอาการปวดศีรษะ โดย aura จะพบในผู้ปุวยไมเกรนได้ประมาณ 25% อาการ aura มี หลากหลาย แตท่ ี่พบไดบ้ ่อย ๆ ได้แก่ Visual aura (อาการนาทางการมองเห็น) เช่น ตามองเห็นแสงผิดปกติ มักเป็นแสงระยิบระยับ แสงซิกแซ็ก อาการตามัว , Sensory aura (อาการนาทางความรู้สึก) เช่น ความรู้สึก ผิดปกตบิ รเิ วณแขนขา , Speech aura (อาการนาทางการพดู ) เช่น อาการพดู ไมช่ ัด พูดไมอ่ อก นอกจากนยี้ ังมี aura ที่พบไดไ้ ม่บ่อย ได้แก่ Brain stem aura (มีอาการเดินเซ เห็นภาพซ้อน พดู ลาบาก) Hemiplegic aura (มอี าการอ่อนแรงครง่ึ ซีก) อาการ aura เกดิ จาก wave ในสมองที่มีการสร้างขึ้นและมีการเคล่ือนตวั ไปตามผิว ของสมอง เรียกว่า cortical spreading depression (CSD) ซ่ึงจะทาให้มีการกระตุ้นของกระบวนการปวด ศีรษะไมเกรนตามมา การวนิ ิจฉยั โรค การวินิจฉัยโรคไมเกรนเป็นศิลปะโดยต้องอาศัยทักษะในการซักประวัติเป็นสาคัญ การใช้ Headache questionnaire และมแี นวทางการวนิ จิ ฉัยทเ่ี ป็นมาตรฐานจะทาให้การวินิจฉัยผิดพลาดน้อย โดย ใช้เกณฑ์การวนิ ิจฉัยโรคปวดศีรษะระหว่างประเทศกับการวนิ ิจฉัยโรคไมเกรน International classification for headache disorder (ICHD) เป็นแนวทางในการวนิ จิ ฉัย การวินิจฉัยโรคไมเกรนอาศยั อาการทางคลนิ ิกเปน็ สาคญั ข้นั ตอนในการวนิ จิ ฉยั โรคไมเกรนได้แก่ 1.การให้การวินิจฉัยแยกโรคปวดศีรษะชนิดอ่ืน ๆ ออกไปก่อน โดยอาศัยการซักประวัติและการตรวจ ร่างกาย โรคปวดศีรษะชนิดอ่ืนๆ ที่นอกเหนือจากไมเกรนจะมีอาการและอาการแสดงที่บ่งช้ีไปทางโรคนั้น ๆ เช่น โรคปวดศีรษะจากเส้นเลือดสมอง จะมีอาการปวดศีรษะท่ีเป็นอย่างรวดเร็วและมีอาการของความผิดปกติ ทางระบบประสาทอนื่ ๆ หรือ อาการปวดศีรษะที่เกิดจากโรคเนื้องอกสมองจะทาให้มีอาการปวดศีรษะมากขึ้น เร่ือย ๆ (progressive headache) เป็นตน้ 2.การให้การวินิจฉัยโรคปวดศีรษะไมเกรนโดยการใช้เกณฑ์การวินิจฉัยโรคปวดศีรษะระหว่างประเทศ (International Classification for Headache Disorder) โดยเกณฑ์การวนิ ิจฉัยได้แก่ ผู้ปวุ ยจะมีอาการปวด ศีรษะอย่างน้อย 5 ครั้งท่ีเข้าได้กับโรคไมเกรน (อย่างน้อย 2 ครั้งหากเป็นไมเกรนชนิดมีอาการนา) มีอาการ นาน 4-72 ชว่ั โมง มีอาการปวดศีรษะที่มีลักษณะ 2 ใน 4 ข้อท่ีเหมือนไมเกรน (ได้แก่ ปวดตุ๊บ ๆ , ปวดขมับ, ปวดปานกลางหรือรุนแรง, อาการปวดแย่ลงเม่ือมีกิจกรรม) นอกจากนี้ยังมีอาการบางอย่างที่สนับสนุนโรคไม เกรนได้แก่ อาการคลนื่ ไส้ หรอื อาเจยี น อาการตากลัวแสง 3.นอกจากเกณฑ์การวินิจฉัยสากล ยังมีเครื่องมือในการคัดกรองโรคไมเกรนท่ีมีความไวสูงได้แก่ ID Migraine (Identify Migraine) ท่ีมีคาถาม 3 คาถาม และถ้ามีอาการดงั ต่อไปน้ี 2 ใน 3 คาถาม ก็มีโอกาสเป็น โรคไมเกรนสูง

4 ไมเกรนเปน็ โรคทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงในด้านของอาการและความถ่ีไดต้ ลอดระยะเวลาในการดาเนิน โรค โดยความถี่ของอาการไมเกรน (จานวนวันของอาการปวดศีรษะต่อเดือน) และระยะเวลา เป็นปัจจัยที่แยก ระหวา่ ง episodic migraine และ chronic migraine โดย episodic migraine คือ ไมเกรนท่ีมีอาการปวด ศีรษะ < 15 วนั /เดือน และ chronic migraine คือ ไมเกรนท่ีมีอาการปวดศีรษะ > 15 วนั /เดือน ตดิ ต่อกัน เป็นเวลาอยา่ งน้อย 3 เดอื น เม่ือผู้ปุวยเกิดภาวะไมเกรนเรื้อรัง จะทาให้เกิดมีการประทบต่อคุณภาพชีวิตสูง นอกจากน้ี ผู้ปุวย จานวนหนึ่ง อาการปวดศีรษะจะมีอาการท่ีเปล่ียนแปลงไปจากไมเกรนที่เคยเป็นอยู่เดิม ( Transformed Migraine) ได้แก่ -เปล่ยี นจากปวดเพียงขา้ งเดียว เป็นปวด 2 ข้าง -มีอาการปวดไมร่ นุ แรงมาก แตป่ วดระยะเวลาท่ีนานหรือไมห่ ายสนิทจากอาการปวดศีรษะ -อาการคลืน่ ไส้ หรอื อาเจยี นลดลง การวนิ ิจฉยั แยกโรค ก. ไมเกรนทไี่ มม่ อี าการเตือน (Common migraine) อาการปวด เร่ิมเปน็ ทนั ที เกดิ แถวสมองใหญ่ส่วนหน้าต่อขมับอาจเป็นข้างเดียว หรือ 2 ข้างก็ได้ อาการปวดตุบๆ บริเวณหลังตาหรือในหูแล้วปวดตอ้ื ๆ แผ่ไปทั่วศีรษะท่ีไวต่อความเจ็บปวด มักจะปวดตอนต่ืน นอนใหม่ๆ หรือสายกว่าน้ัน ระยะเวลาที่เกิดส่วนใหญ่ที่พบประมาณ4-24 ชั่วโมง บางรายอาจนานกว่านี้ อาการจะลดลงในระหว่างต้ังครรภ์และมีแนวโน้มจะดีขึ้นเม่ือถึงวัยกลางคน อาจมีคล่ืนไส้ อาเจียนร่วมด้วย หรือไม่ก็ได้ เมื่อเร่ิมมีอาการรีบให้ยา Gynergen และ Phenergan อาการจะดีข้ึน แล้วให้ยา Propronolol (Inderal) ปอู งกันจะได้ผลดี การวินจิ ฉัยวา่ จะเปน็ ไมเกรนทไี่ มม่ อี าการเตอื นหรอื ไม่ ดูในเกณฑก์ ารวนิ จิ ฉยั เกณฑ์ในการวินิจฉยั อาการไมเกรนท่ีไม่มีอาการเตอื น 1.มอี าการปวดศีรษะอย่างนอ้ ย 10 ครงั้ ต่อสปั ดาห์ 2.ระยะเวลา 4-24 ชัว่ โมง บางรายมากกวา่ น้ี 3.ลกั ษณะอาการปวด (อยา่ งนอ้ ย 2 ใน 4 ) 3.1 ปวดข้างเดยี ว 3.2 มีอาการปวดตบุ ๆ 3.3 ปวดปานกลางจนถงึ ปวดรนุ แรง 3.4 การปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวันทาใหอ้ าการปวดมากข้นึ 4.มีอาการดังต่อไปนอ้ี ย่างนอ้ ย 1 อยา่ ง 4.1 คล่นื ไสห้ รอื อาเจยี น 4.2 กลัวแสง (Photophobia) และเสยี ง(Phonophobia) 5.มคี วามผิดปกติต่อไปน้อี ยา่ งน้อย 1 ข้อ 5.1 ประวตั ิและการตรวจร่างกาย ไม่มคี วามผดิ ปกตทิ างกาย 5.2 ถา้ มีความผดิ ปกตทิ างกายจะแสดงอาการปรากฏให้เห็น

5 5.3 ถา้ มีความผดิ ปกตทิ างกายจะมีอาการปวดศรี ษะช่ัวคราว ข. ไมเกรนที่มีอาการเตือน (Classic หรอื Neurologic migraine) จะมีอาการเตือนล่วงหน้า (aura) หลายแบบ เช่น ซึมเศร้า หงุดหงดิ กระสับกระส่าย บางรายเบื่อ อาหาร อาการเตือนทางตาพบได้ประมาณร้อยละ 25 จะมองเห็นจุดบอด ภาพแหวง่ เว้าร่วมกับอาการชาที่ปาก ลนิ้ แขนขา 1 ชั่วโมง ตามดว้ ยอาการปวดตุบๆ เร่มิ ที่ขมับก่อนแลว้ กระจายไปทั่วสมองซีกน้ัน อาการปวดคอ่ ยๆ เพ่ิมข้ึนภายใน 1 ชั่วโมง ร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียน อาจเป็นอยู่หลายชว่ั โมง ( 4-24 ชั่วโมง) ถ้าไม่รีบรักษา ขณะเกดิ อาการผูป้ วุ ยจะไวตอ่ แสง เสียง ดงั น้ันจึงเลือกที่จะนอนพักในห้องมืดเงยี บมากกวา่ การให้ยาเมื่อเริ่มมี อาการ จะได้ผลดี เช่นเดียวกับไมเกรนที่ไม่มีอาการเตือน อน่ึงอาการปวดศีรษะแบบไมเกรนท่ีมีอาการเตือนน้ี พบวา่ มีการถา่ ยทอดทางกรรมพนั ธ์ุ การวนิ ิจฉัยแยกโรคอาศยั หลักเกณฑด์ งั นี้ 1. มีอาการปวดศรี ษะอยา่ งน้อย 2 ครั้ง ตอ่ สปั ดาห์ 2. มอี าการเตอื นอย่างนอ้ ย 3 ใน 4 ข้อดงั น้ี 2.1 มอี าการเตอื นหนึ่งอย่างหรือมากกวา่ 2.2 อาการเตอื นค่อยๆ เป็นนานกวา่ 4 นาที หรอื มีอาการเตอื น 2 อย่าง หรือมากกว่า 2.3 ระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า ถ้ามีอาการเตือนมากกว่าหน่ึงอย่าง อาการ ปวดศรี ษะจะเพม่ิ ขน้ึ 2.4 อาการปวดศีรษะจะเกิดขนึ้ หลังอาการเตอื น 1 ชว่ั โมง หรอื อาจจะเกดิ พร้อมๆ กนั กไ็ ด้ 3. มอี าการต่อไปนีอ้ ยา่ งน้อย 1 อย่าง 3.1 ประวัตแิ ละการตรวจรา่ งกายไม่มีโรคทางกาย 3.2 ถา้ มโี รคทางกายจะปรากฏอาการใหเ้ หน็ ชดั เจนหรือปรากฏทางหอ้ งทดลอง 3.3 ถา้ มโี รคทางกาย อาการปวดศรี ษะจะเปน็ ชว่ั คราว การรกั ษาโรค และข้อมลู เกี่ยวกบั ยาทใ่ี ชใ้ นการรกั ษาไมเกรน การรักษาประกอบดว้ ย 2 สว่ นคอื 1. การรักษาดว้ ยยา ซงึ่ ประกอบดว้ ย 2 กลุ่มหลกั คือ ยาระงบั ปวด และยาเพอื่ ปูองกนั โดยหลกั การแล้ว ยาระงับปวดจะแนะนาให้รับประทานเป็นครั้งคราวเท่าที่จาเป็นเพื่อให้บรรเทาจากอาการปวด พออาการดีขึ้น ให้หยุดใช้ ส่วนยาเพ่ือปูองกันให้รับประทานต่อเน่ืองทุกวันตามที่แพทย์ส่ัง แพทย์จะแนะนาให้รับประทานยา เพื่อปูองกันก็ต่อเมื่อปวดศีรษะบ่อย เช่น สัปดาห์ละ 1 - 2 คร้ัง ข้ึนไป หรือแม้จะปวดไม่บ่อย แต่รุนแรงมาก

6 หรือนานต่อเนื่องกันหลายวัน ยาปูองกันไมเกรนน้ันมีอยู่หลายชนิด จะต้องเลือกชนิดและปรับขนาดยาให้ เหมาะสมสาหรับผู้ปวุ ยแต่ละราย แนะนาให้รับประทานยาปูองกันต่อเนื่องจนอาการสงบลงนานอย่างน้อย 3 - 6 เดือน จึงคอ่ ยๆหยดุ ยาได้ เมือ่ กาเรบิ ขึน้ อกี จงึ เริม่ รับประทานใหม่ 2. การรักษาท่ีไม่ใช้ยา ได้แก่ การประคบเย็น การนวด กดจุด การทากายภาพบาบัดเพื่อผ่อนคลาย กล้ามเนื้อรอบศีรษะและคอ การนอนพัก การนั่งสมาธิ หรือ การคลายเครียดด้วยวิธีต่างๆ อาจพอช่วยให้ บรรเทาอาการปวดได้บ้าง สิ่งท่ีสาคัญ คือ หลีกเล่ียงปัจจัยท่ีจะกระตุ้นให้เกิดอาการปวดต่างๆ เสริมสร้าง ภูมิคุ้มกันทางธรรมชาตจิ ากการออกกาลังกายสม่าเสมอ การดูแลสุขภาพจิตใจ การรักษาระดับอารมณ์ให้คงท่ี แจม่ ใส และรู้จกั การผอ่ นคลายความตึงเครียดกเ็ ปน็ การรกั ษาท่ีสาคัญ ยาทใี่ ชใ้ นการรักษาไมเกรน 1. ยาบรรเทาอาการเมื่อเร่มิ เปน็ - เออร์โกตามีนทาเตรท (Gynergen) อมใตล้ ้ิน 1-2 ม.ก. ซ้าได้ทุกช่ัวโมง ขนาดสูงสุดวันละ 4-6 กรัม ควรให้ทันทีเม่ือเร่ิมเปน็ การอมใต้ลิ้นจะทาให้ดดู ซึมได้เร็ว ยานี้ทาให้หลอดเลือดตีบ จึงต้องสังเกตอาการ ไม่ควรใหห้ ญิงตงั้ ครรภ์โรคตับกินยาคมุ กาเนดิ - ยาผสมระหวา่ ง คาเฟอีน 100 ม.ก. และไกเนอร์เจน 1 ม.ก. กิน 2 เม็ด เม่ือเร่ิมเป็น และ 1 เม็ด ทกุ 30 นาที ไมเ่ กิน 6 เมด็ กากับเวลาถ้ากนิ ช้าจะนอนไมห่ ลบั ห้ามใช้ในผูป้ วุ ยโรคหัวใจหลอดเลือด โรคตา, ไต , ตบั - Indomethacin (Indocin) กินวนั ละ 150-200 ม.ก.ซ้าได้ 2 แคบซูล และล่าสุด คือ ก่อนนอน ควรให้พร้อมอาหารหรือนมเพ่ือลดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร - Anaprox 275 ม.ก. 3 เมด็ ใน 1 ช่ัวโมง ตอ่ มาซา้ ได้อกี 2 เม็ด ถา้ ไม่ได้ผล - Naprosyn ขนาด 250 ม.ก. 3 เม็ด ซา้ ได้ 1 เมด็ ใน 1 ช่ัวโมงตอ่ มา 2. ยาทใี่ ชป้ อู งกันอาการไมเกรน - Propranolol (inderal) กินขนาด 60 ม.ก. และค่อยๆ เพิ่มได้ถึง 240 ม.ก. ขนาดท้ายก่อน นอน เพื่อปูองกันหลอดเลือดขยายในตอนเช้า ควรตรวจสังเกตจุดเลือดออก ยานี้ทาให้ชีพจรช้า และลดความ ดนั โลหิต หา้ มให้ในผู้ปวุ ยหอบหืด หัวใจวายเฉียบพลนั - Methysergide (Sansert) กินวนั ละ 2-6 ม.ก. ควรกินยาพร้อมอาหาร ยานี้มีผลข้างเคียงสูง ควรหยุดยาทุก 3 เดอื น นาน 2 สปั ดาห์ 3. ยารักษาอาการซมึ เศร้า

7 - Imipramine hydrochloride กินวันละ 3 คร้ัง ในขนาด 30-60 ม.ก. เล่ียงอาหาร หรือ เครอ่ื งดม่ื ท่ีมีไทรามีน ระวงั ในการลุกนง่ั 4. ยาควบคุมอาการคล่นื ไส้อาเจยี น - Metoclopramide (Reglan) กินขนาด10-20ม.ก. เร่ิมให้ทันทีเม่ือ เร่ิมเป็นและอีก 30 นาที กอ่ นใหย้ ารักษาไมเกรนชนิดอื่นๆ - Primethazine hydrochloride (phenergan) ขนาด 50 ม.ก. กินหรือฉีดคร้ังเดียว กินพร้อม อาหาร หรือนมและน้า 1 แก้ว ห้ามให้ผู้ปวุ ยโรคลมบา้ หมู ตอ้ หิน ดูแลความสะอาดชอ่ งปากเสมอ การปูองกัน อย่างอืน่ คือ บริการให้คาปรึกษา การแสดงความเห็นอกเห็นใจก็ช่วยปูองกันได้ นอกจากนี้ ผู้ปุวยเองก็ควรจะ งดอาหารหรอื เคร่ืองด่มื ทม่ี ไี ทรามีน (Tyramine) เชน่ สุรา ชอกโกเลต เนย ผลไมด้ ิบ เช่น แอปเป้ิล ส้ม มะเขอื เทศ เห็ด หัวหอม ผลิตภัณฑ์จากเนอ้ื อาหารดงั กลา่ วจะกระตุ้นให้เกิดอาการได้ ผู้ปุวยท่ีมีอาการรุนแรง มักต้องให้ยาระงับปวดที่แรงๆ เช่นกัน ผู้ที่มีอาการปวดศีรษะจาก ความเครียดอาจให้ยากล่อมประสาทอย่างอ่อน ยาระงับอาการเศร้าซึม การนวดเบาๆ เพื่อผ่อนคลาย หรือ ประคบด้วยน้าอุ่น หรือการบีบให้กล้ามเนี้อคลายตัวก็ได้ผลดี ถ้าอาการปวดรุนแรงอาจต้องส่งปรึกษา นักจิตวิทยา อาการปวดศีรษะที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกาย อาจใช้ความร้อนประคบ นวด ใช้ปลอกคอ หรือใหย้ าระงับอกั เสบอาการปวดชนดิ ไม่กลับซา้ เชน่ เน้ืองอกในสมอง เย่ือหุ้มสมองอกั เสบ ความดนั ในกะโหลก สูง ควรจดั ใหน้ อนศรี ษะสงู 30 องศา และรักษาโรคที่เปน็ สาเหตุ บางครั้งเวลาเกิดอาการปวดศีรษะมักจะต้องหายาแก้ปวดมารับประทาน โดยกลุ่มยาท่ีใช้รักษา อาการปวดแบบเฉียบพลัน เช่น ยาแก้อกั เสบท่ีไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) ยากลุ่มทริป-แทน (triptans) และ ยากลุ่ม ergotamine แต่สาหรับคนท่ีเป็นไมเกรนนั้น บางคนอาจจะมีอาการปวดศีรษะไดบ้ ่อยเกือบทุกวัน อกี ท้ังการรบั ประทานยาแกป้ วดก็มกั จะไมห่ าย ส่งผลใหป้ ระสิทธภิ าพในการทางานลดลง ไมส่ ามารถเขา้ สังคมหรือ ทางานได้ตามปกติ รวมถึงคุณภาพชีวิตแย่ลง ดังนั้นการรักษาแบบปูองกันจึงมีความสาคัญในคนไข้กลุ่มที่เป็น โรคปวดศีรษะไมเกรน โดยเฉพาะในผู้ที่ปวดศีรษะบ่อย มีความรุนแรงในการปวดมาก ไม่ตอบสนองต่อยาแก้ ปวดทีร่ บั ประทาน หรอื มีขอ้ ห้ามหรอื มผี ลข้างเคยี งจากการใชย้ าแกป้ วด ยาปูองกันไมเกรนชนิดรับประทานท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น ยากันชัก ยาต้านเศร้า ยาลดความ ดันอย่างไรก็ตามยาเหล่าน้ีเป็นยาที่ไม่ได้ผลิตมาเพ่ือการรักษาและปูองกันโรคไมเกรนโดยตรง แต่สามารถ นามาใช้ลดความถ่ีและความรุนแรงของไมเกรนได้ การค้นพบสาร Calcitonin Gene – related Peptide หรือ เรียกย่อ ๆ ว่า CGRP ซึ่งเป็นนิวโรเปปไทด์ชนิดหน่ึงในร่างกาย ออกฤทธ์ิเก่ียวกับกลไกการรับความปวด ผา่ นเสน้ ประสาทสมอง โดยเฉพาะเสน้ ประสาทสมองคู่ที่ 5 ซึง่ เปน็ เส้นประสาทหลักในการนาความปวดบริเวณ ศรี ษะ ต้นคอ และใบหน้า สาร CGRP ยังมฤี ทธ์ิทาใหเ้ ส้นเลอื ดสมองเกิดการขยายตัว ซึ่งในคนท่ีเกดิ อาการปวดศรี ษะไมเกรน เฉียบพลนั จะพบวา่ มีสาร CGRP ในเลอื ดสงู ขนึ้ มากกวา่ คนปกติ ซงึ่ การค้นพบสาร CGRP นี้ ไดน้ าไปส่กู าร พฒั นายาเพื่อไปยับยงั้ สาร CGRP ในปัจจุบนั มียาที่ยับยัง้ สาร CGRP อยู่ 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ได้แก่

8 1. CGRP monoclonal antibody 2. CGRP receptor antagonist จากการศึกษาในคน พบวา่ ยาในกลุ่ม CGRP monoclonal antibody สามารถลดจานวนวนั ท่ีปวด ไมเกรนและลดปริมาณการใช้ยาแก้ปวด รวมทั้งยังเพ่ิมคุณภาพชีวิตให้กับผู้ปุวยไมเกรนอีกด้วยการศึกษาใน ผู้ปวุ ยไมเกรนชนิดรักษายาก เช่น ไมเกรนชนิดเรื้อรัง (Chronic Migraine) ไมเกรนชนิดที่ไม่ตอบสนองต่อยา ปูองกันชนิดอ่ืน ๆ (Prior Preventive Treatment Failure) และไมเกรนชนิดที่มีการใชย้ าแก้ปวดเกินขนาด (Medication Overuse Headache) จะตอบสนองตอ่ ยาในกลุ่ม CGRP Monoclonal Antibody ไดด้ ีกว่ายา ปูองกันชนิดรับประทานอ่ืน ๆ โดยยากลุ่มน้ีจะฉีดเข้าใต้ผิวหนัง มีข้อดีคือ ในการฉีดแต่ละคร้ังจะมีฤทธ์ิในการ ปอู งกันนานประมาณ 1 เดือน จึงช่วยลดปัญหาการลืมรับประทานยา และยังมีผลข้างเคียงจากยาน้อยกว่ายา ปอู งกันไมเกรนกลุ่มอนื่ อยา่ งชัดเจน ผลข้างเคียงท่ีพบมากกว่ายาหลอก เช่น เจ็บหรือมีรอยแดงบริเวณที่ฉีดยา ติดเชื้อทางเดินหายใจ ส่วนบน และ ท้องผูก ซึ่งเปน็ ผลข้างเคียงชนิดไม่รุนแรง ส่วนในระยะยาว การติดตามผู้ที่ใช้ยาประมาณ 3 – 5 ปี พบว่า CGRP Monoclonal Antibody มีผลข้างเคียงน้อยมากต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ความดัน โลหิต และอตั ราการเตน้ ของหัวใจไมเ่ ปลย่ี นแปลง รวมทั้งไม่มีผลต่อการทางานตับ โรคปวดศีรษะไมเกรนเปน็ โรคทม่ี ีความรุนแรงสง่ ผลกระทบท้ังต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม รวมถึง คุณภาพชีวิต การรักษา โดยการใช้ยาปูองกันจะสามารถลดความรุนแรงของโรคได้ ยาในกลุ่ม CGRP Monoclonal Antibody ออกฤทธ์ิจาเพาะเจาะจงกับโรคปวดศีรษะไมเกรนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ ในผู้ปุวยไมเกรนชนิดเรื้อรังหรือไม่ตอบสนองต่อยาปูองกันอ่ืน ๆ และมีการศึกษาระยะยาวท่ียืนยันถึง ประสิทธภิ าพของการรักษาและผลข้างเคียงทนี่ อ้ ยมาก การรกั ษาพยาบาลผูป้ ่วยไมเกรนดว้ ยการแพทย์แผนปจั จบุ นั 1. การใช้ยา ซึ่งประกอบด้วย 2 กลุ่มหลัก คือ ยาระงับปวด และยาเพ่ือปูองกัน โดยหลักการ แล้วยาระงับปวด จะแนะนาให้รับประทานเป็นครั้งคราวเท่าท่ีจาเป็นเพ่ือให้บรรเทาจากอาการปวด พอ อาการดีข้ึนให้หยุดใช้ ส่วนยาเพื่อปูองกันให้รับประทานต่อเนื่องทุกวันตามท่ีแพทย์ส่ัง แพทย์จะแนะนาให้ รับประทานยาเพ่ือปูองกันก็ต่อเมื่อปวดศีรษะบ่อย เช่น สัปดาห์ละ 1 - 2 คร้ัง ขึ้นไป หรือแม้จะปวดไม่บ่อย แต่รุนแรงมากหรือนานต่อเน่ืองกันหลายวัน แนะนาให้รับประทานยาปูองกันต่อเน่ืองจนอาการสงบลงนาน อย่างน้อย 3 -6 เดอื น จึงคอ่ ยๆหยุดยาได้ เมือ่ กาเริบขึ้นอกี จึงเริม่ รบั ประทานใหม่หรอื มาพบแพทย์ 2. การไม่ใช้ยา เช่น การทากายภาพบาบัด(Physical therapy )เพ่ือผ่อนคลายกล้ามเน้ือรอบ ศรี ษะและคอ 3. การออกกาลังกาย แบบแอโรบคิ ( Aerobic exercise)

9 การรักษาพยาบาลผปู้ ว่ ยไมเกรนดว้ ยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1.) การฝังเขม็ ( Acupuncture ) 2.) Cognitive and behavioral therapy ( CBT ) คือ การให้ความรู้ ให้กาลังใจ เพ่ือ เปล่ยี นทศั นคตผิ ู้ปุวยให้สามารถอยู่ร่วมกบั อาการอ่ืนๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3.) การยืดกล้ามเน้อื (Stretching) 4.) การนวด ( Massage) 5.) การใช้นา้ มันหอมระเหย (Aroma therapy) 6.) การใชค้ วามรอ้ นหรือเยน็ เชน่ การประคบร้อนดว้ ยสมุนไพร การประคบดว้ ยความเย็น 7.) ดุลยภาพบาบัด ได้แก่การบริหารกาย-จิต การกดจุด การนวด การปรับสมดุล โครงสรา้ งรา่ งกาย 9.) การทาสมาธิ ( Meditation ) 10.) การทาโยคะ ( Yoga ) 12.) ดนตรบี าบดั ( Music therapy ) 13.) การสรา้ งจนิ ตนาการ ( Imagery) 14.) เทคนคิ การผอ่ นคลายกล้ามเน้ือ ( Relaxation technique ) 15.) การสัมผัสบาบดั ( therapeutic touch ) การให้คาแนะนา ที่สาคัญมีอยู่ 2 วธิ ี วิธีแรกก็คือการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอร่วมกับการกาจัด ความเครียดอย่างเหมาะสม วิธีท่ีสองคือการรับประทานยาปูองกันไมเกรน แพทย์จะแนะนาให้รับประทาน ปูองกันก็ต่อเมื่อปวดศีรษะบ่อยมาก เช่น สัปดาห์ละ 1-2 คร้ังข้ึนไป หรือแม้จะปวดไม่บ่อยแต่รุนแรงมากหรือ นานต่อเนื่องกันหลายวัน ยาปูองกันไมเกรนนั้นมีอยู่หลายชนิดจะต้องเลือกชนิดและปรับขนาดยาให้เหมาะสม สาหรับผู้ปุวยแต่ละรายไป พยาบาลให้คาแนะนาให้รับประทานยาปอู งกันอย่างตอ่ เน่ืองจนอาการสงบลงนาน 6-12เดอื นจึงลองหยดุ ยาไดเ้ มอื่ กาเรบิ ขึ้นอกี จึงเริ่มรับประทานใหม่หากอาการไมด่ ีข้ึนใหร้ บี มาพบแพทย์ โรคที่ทาให้เกิดอาการปวดศีรษะนั้นมีมากมายหลายสาเหตุ หากมีอาการปวดตงึ ศีรษะเรื้อรังหรือ ปวดรุนแรงร่วมกับอาการปวดกล้ามเน้ือ ตคอบ่าไหล่และมีความเครียดสะสม ควรท่ีจะปรึกษาแพทย์เพื่อ วนิ ิจฉยั หาสาเหตุ สาหรบั โรคปวดศรี ษะไมเกรนนั้นแมจ้ ะเป็นโรคท่ีเร้ือรงั แต่สามารถท่ีจะควบคุมให้โรคสงบ ลงไดท้ ั้งโดยวธิ ีธรรมชาติ โดยการออกกาลังกาย พกั ผ่อนให้เพียงพอ และรู้จักกาจัดความเครียดอย่างเหมาะสม ในกรณีที่จาเป็นก็อาจต้องใช้ยาร่วมกับแนวทางการรักษาแบบการแบบการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื ก

10 การปอ้ งกันการเกดิ ไมเกรนจากออฟฟิศซินโดรม การปอู งกนั เพื่อหลกี เลย่ี งอาการออฟฟศิ ซินโดรมประกอบดว้ ยหลายปจั จัย และทกุ สาเหตุมี ความสาคัญทนี่ ามาซงึ่ อาการปวด ดังน้ันการปอู งกันแต่ละวิธจี ะมสี ว่ นชว่ ยใหท้ ่านมคี วามสขุ กบั การทางานท่ี ปราศจากอาการปวด โดยการปูองกันน้ีเป็นตัวอย่างท่จี ะแนะนาเพือ่ ลดการเกิดปญั หาออฟฟศิ ซินโดรม 1. การปรับเปล่ียนท่าทางอริ ยิ าบทเพอื่ ใหเ้ หมาะสมกับสิง่ แวดลอ้ มในการทางาน 2. ไม่ทางานในท่าทางอริ ยิ าบทเดมิ นานเกนิ 50 นาที หากมคี วามจาเป็นตอ้ งทาตอ่ เนอื่ งควรหยุดพักสัก 10-15 นาที 3. ปรับเปล่ยี นอุปกรณ์ในการทางานทจ่ี าเปน็ เพือ่ ลดการบาดเจบ็ ในระหวา่ งปฏิบัติงาน 4. เตรยี มรา่ งกายให้พรอ้ ม เช่น การออกกาลงั กายเพ่ือเสริมสรา้ งกลา้ มเนื้อบรเิ วณที่ตอ้ งใช้งานหนกั , การ ยดื กล้ามเนื้อก่อน ระหว่าง และหลังจากการทางานในแต่ละวัน 5. ออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอ ( Be Fit ) อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครงั้ ครงั้ ละไมต่ ่ากว่า 30 นาที 6. ปรับกิริยาท่าทางและบุคลกิ ใหส้ งา่ งาม นงั่ ยืน เดนิ ไมไ่ หล่ห่อหรอื หลงั แอน่ หลังคอ่ ม 7. การยกของจากพน้ื ควรระวังและใชท้ ่าทางทเี่ หมาะสม เพ่ือเปน็ การปูองกนั โรคหมอนรองกระดูก เคลื่อน 8. วางแผนการเคลื่อนไหวบนโต๊ะทางาน โดยการจัดโต๊ะทางาน หรือพื้นท่ีทางานให้เหมาะสม ควร จดั วางของท่ีต้องใช้ใหใ้ กล้ตวั ใกล้มือ จะไดไ้ ม่ต้องเอยี้ วตัวอยู่บ่อยคร้ัง และไม่ตอ้ งก้มตวั ข้ึนลง หันซ้าย หันขวา ซึ่งอาจทาใหเ้ กิดอาการเคลด็ ได้ 9. ปรับอุปกรณ์เคร่ืองใช้สานักงาน เช่นไม่ควรใช้เก้าอ้ีสปริงท่ีเอนได้ เพราะพนักเก้าอ้ีไม่เหมาะกับ การรองรับหลังเท่าท่ีควร ควรเลือกเก้าอ้ีที่เอนได้ มีความสูงของเก้าอ้ีและโต๊ะได้ระดับปรับพนักพิงให้ รองรบั กับหลงั ส่วนลา่ ง หากทาไม่ไดใ้ หใ้ ช้หมอนหนุนหลังส่วนล่างปรับตง้ั จอคอมพิวเตอร์และคีย์บอร์ด ไวใ้ นแนวตรงกับหนา้ ใชเ้ มา้ โดยพักข้อศอกไวบ้ นที่รองแขนและสามารถเคลื่อนไหวไดแ้ บบไม่จากัด พืน้ ที่ 10. ปรบั พฤติกรรมการนงั่ เกา้ อี้ขณะนงั่ ทางานโดยนงั่ ให้เต็มก้น หลังตรงชดิ ขอบด้านในของเกา้ อี้ กระพริบ ตาบอ่ ยๆพักสายตาจากจอคอมพวิ เตอรท์ กุ ๆ 10 นาที เปลยี่ นท่าการทางานทุก 20 นาที ยืดเหยียด กล้ามเน้ือมือและแขนทกุ ๆ 1 ชว่ั โมง 11. หาตน้ ไมใ้ นรม่ มาปลกู เพอื่ ชว่ ยดูดซบั สารพษิ และเปน็ ท่พี ักสายตาจากการมองหน้าจอคอมพวิ เตอร์ หรือโทรศพั ทม์ อื ถือนานๆ 12. ควรเปิดหน้าต่างสานกั งานเพื่อให้อากาศหมนุ เวียนถา่ ยเท ในตอนเชา้ ทอี่ ากาศยังไม่รอ้ น 13. รับประทานอาหารให้ครบท้ัง 5 หมู่ และตรงเวลา 14. ตรวจสุขภาพเปน็ ประจาทุกปีและปรับอารมณ์ใหแ้ จม่ ใส ผ่อนคลายอยู่เสมอ หากปรบั สถานที่ ทางานและปรบั พฤตกิ รรมแลว้ ไม่ดีข้ึน ต้องพบแพทยเ์ พื่อขอคาปรึกษาและหาแนวทางการบาบัด รกั ษาต่อไป

11 การฝงั เข็ม ปจั จุบนั นกั วิทยาศาสตร์และแพทย์แผนปัจจุบนั ได้พบหลักฐานท่ีนามาอธิบายผลของการรักษาด้วย การฝังเข็มได้หลายประการเช่น การปักเข็มลงบนจุดฝังเข็ม จะทาให้เกิดการหลั่งของสารคล้ายมอร์ฟีนใน ประสาทส่วนกลางทั้งสมองและไขสันหลัง รวมทั้งประสาทส่วนปลายคือสารเอนเคฟฟาลีนและเอนดอร์ฟนิ ซ่ึง สามารถยับย้ังอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ทาให้อาการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นลดลง ช่วยระงับ อาการปวดได้ และสารออโตคอนท่ีมีผลช่วยลดการอักเสบ การฝังเข็มทาให้เพิ่มการไหลเวียนเลือดและสาร จาเป็น ( Micro circulation ) ( กติ ตศิ กั ดิ์ เกง่ สกลุ ,2558 ) แนวคิดการรักษาดว้ ยการฝงั เขม็ แนวคิดการรักษาพยาบาลด้วยการฝังเข็มตามแนวทางเวชศาสตร์การแพทย์แผนจีน แพทย์แผนจีน อธิบายว่า โรคเกดิ จากการเสียสมดุลระหวา่ งยินและหยาง ( Yin and Yang ) ซึ่งเป็น 2 อย่างท่ีอยู่ตรงข้าม กันเสมอ เช่น ร้อน-เย็น หยุดนิ่ง- เคล่ือนไหว เป็นตน้ การเสียสมดุลอาจเกิดจากอิทธิพลจากภายนอกเช่น ดิน ฟูา อากาศ ความร้อน หนาว เช้ือโรค อาหาร และสารพิษต่างๆ หรือมาจากภายในเช่น อวัยวะต่างๆของ รา่ งกายทท่ี างานผดิ ปกติ จากพฤติกรรมหรือพันธุกรรม เช่นตับ ไต ลาไส้ กระเพาะอาหารทางานไม่ปกติ สง่ ผลใหร้ ่างกายเกิดความไม่สขุ สบายหรอื เจ็บปุวย เน่ืองจากอวัยวะภายในท่ีประกอบไปด้วยธาตุต่างๆจะมีพลัง (Vital energy ) ซึ่งแพทยแ์ ผนจีนเรยี กวา่ ช่ี (Qi-ชี่ ) หรือพลังลมปราณ และพลังของอวัยวะน้ันจะมีทิศทางการ ไหลเวียนโคจรไปตามร่างกายท่ีถูกตอ้ งแน่นอน เช่น ชขี่ องกระเพาะอาหารจะต้องไหลลง อาหารจึงไปสู่ลาไส้ได้ หากชข่ี องกระเพาะอาหารโคจรกลับทางเป็นย้อนขึ้น ก็จะเกิดอาการผิดปกตคิ ืออาเจียน หากการไหลเวียนของ พลังอวัยวะต่างๆผิดทิศทางหรือเกิดการอุดก้ัน เดินไม่สะดวก ก็จะเกิดอาการของโรค เกิดความเจ็บปวด เกิด เลือดคง่ั เกิดของเสยี คั่ง การปักเข็มจะชว่ ยทะลุทะลวงให้ลมปราณไหลเวียนไดใ้ หม่ และปรับทิศทางไห้ถูกต้อง อาการปวดและความผิดปกตขิ องอวัยวะนน้ั กจ็ ะหายไป ( กติ ติศกั ดิ์ เก่งสกุล,2558 ) การฝงั เข็มกบั การรักษาโรค องค์การอนามยั โลก ( WHO ) ไดจ้ ดั ประชุมผู้เชยี่ วชาญการฝงั เขม็ จากนานาประเทศครั้งแรกท่ีกรุง ปักกิ่ง เมื่อ ค.ศ. 1979 และได้กาหนดรายช่ือโรคที่แนะนาให้การฝังเข็มเป็นทางเลือกในการรักษาโรคไว้ 43 โรค ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ได้มีการจัดประชมุ ขึ้นเป็นคร้ังท่ี2 และได้เพมิ่ รายชื่อโรคเป็น 58 โรค สาหรับโรคที่ องค์การอนามัยโรคยอมรับและประกาศให้การรกั ษาหรอื บรรเทาอาการด้วยวิธฝี งั เข็ม มีดงั น้ี การรักษาทไ่ี ด้ผลเดน่ ชัดเปน็ พเิ ศษ ไดแ้ ก่ อาการปวดเร้อื รงั เช่น ปวดศีรษะไมเกรน คอ บา่ ไหล่ หลัง เอว หัวเข่า ปวดจากโรค รูมาตอยส์ ปวดจากการเคล็ด ขัด ยอก ปวดประจาเดือน ปวดนิ่วในถุง นา้ ดี ภูมแิ พ้ หอบหดื หวาดวิตกกงั วล นอนไมห่ ลบั กลา้ มเนอ้ื ตึงแขง็ ตลอดเวลา วธิ ีการฝังเข็มรักษาไมเกรน แพทย์จะใช้เข็ม ซึ่งมีปลายเล็กและบาง ความสั้นยาว ข้ึนอยู่กับตาแหน่งที่จะฝัง ลักษณะเข็มจะ เป็นเข็มตัน ปลายตัด ไม่มีสารและยาชนิดใดเคลือบเข็มอยู่ และจะใช้เพียงคร้ังเดียวแล้วทิ้ง ไม่นากลับมาใช้อีก แพทย์จะแทงเข็มลงไปตรงตาแหน่งของจุดฝังเข็มตามอวัยวะต่างๆของร่างกาย โดยใช้หลักการรักษาตาม แนวทางของการแพทย์แผนจีน ขณะที่เข็มผ่านผิวหนัง ผู้ปุวยจะเจ็บเล็กน้อยและเจ็บไม่มาก และเม่ือเข็มแทง

12 เข้าไปลึกถึงตาแหน่งของจุดฝังเข็ม จะมีอาการปวดต้ือๆ หรือปวดหน่วงๆ หรือปวดไปตามทางเดินของเส้น ลมปราณ การฝงั เข็มที่ใช้ในศูนย์การแพทยท์ างเลือก แพทยจ์ ะวินจิ ฉยั การรกั ษา และทาการรกั ษาโดยการฝังเข็มตรงบรเิ วณทป่ี วดโดยวธิ กี ารแบบใดแบบ หนึ่งตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ 1. ฝังเขม็ แบบแหง้ ( DRY ACUPUNCTURE ) หรอื 2. ฝงั เขม็ รว่ มกบั การกระตนุ้ ไฟฟาู ( ELECTRO ACUPUNCTURE ) หรอื โคมความรอ้ น 3. จานวนเขม็ ทีฝ่ ังมจี ดุ หลักบนศรี ษะจานวน 8 เข็ม การพยาบาลผปู้ ่วยฝงั เขม็ กอ่ นฝังเข็ม พยาบาลจะให้คาแนะนาผูป้ วุ ย ดงั นี้ 1. การนัดหมายก่อนมาฝังเข็ม แนะนาให้ผู้ปุวยพักผ่อนนอนหลับให้เต็มท่ี ไม่ควรอดนอนก่อนมา รับการฝังเขม็ 2. ควรรบั ประทานอาหารใหอ้ ม่ิ พอดี ไม่อ่ิมเกินไปและไมง่ ดอาหารกอ่ นมาฝังเขม็ 3. สวมเส้ือผา้ หลวมๆ สบายๆ เพือ่ ความสะดวกในการฝงั เข็ม 4. ผ้ปู วุ ยท่มี รี ่างกายออ่ นแอ มโี รคประจาตวั ผู้สูงอายุ หรือเดินไมส่ ะดวก ควรมีญาตมิ าด้วย ขณะฝังเขม็ พยาบาลจะให้การพยาบาลผปู้ ุวยดงั น้ี 1. หากผปู้ วุ ยมีอาการตืน่ เตน้ กลวั เข็ม ใหล้ ดอาการตื่นเต้นโดยใหผ้ ู้ปุวยหายใจเขา้ ทางจมูกและผ่อน ลมออกทางปากช้าๆ คิดถงึ สงิ่ สวยงามทอ้ งฟูาทะเล ผอ่ นคลายกลา้ มเนอ้ื ไม่ออกแรงตา้ นขณะแพทย์ทาการ ฝงั เข็ม พยาบาลควรสมั ผัสผู้ปวุ ยเบาๆเพ่ือใหผ้ ู้ปวุ ยผอ่ นคลายและลดความตึงเครยี ดลง วธิ ีการนค้ี วรเตรยี ม ผปู้ ุวยประมาณ 3-5 นาทกี อ่ นใหแ้ พทย์ทาการฝังเข็ม หมน่ั สังเกตสีหน้าและการหายใจ และรอจน ผูป้ ุวยจะผ่อน คลาย 2. เมอ่ื แพทยท์ าการฝังเข็ม พยาบาลต้องคอยดูแลไมใ่ ห้ผ้ปู วุ ยเกร็งกลา้ มเนื้อเพราะอาจทาให้ เกิด อาการชาหรอื เปน็ ตะครวิ ได้ หากเม่ือยอาจขยับได้เลก็ นอ้ ย แต่ไมค่ วรเคล่ือนไหวร่างกาย 3. เมื่อแพทยฝ์ งั และท้งิ เข็มไว้ ขณะท่ีเขม็ ยงั อยบู่ นร่างกายหากมอี าการผิดปกติ หรอื เจ็บปวด บรเิ วณท่ฝี ังเข็มมากขน้ึ หรือมีอาการหนา้ มืดเปน็ ลมขณะเข็มยงั ฝงั อยูบ่ นร่างกายใหผ้ ู้ปวุ ยเรยี กพยาบาลทันที 4.ขณะฝงั เข็มและใชเ้ ครอ่ื งมอื กระตุน้ หม่ันสังเกตแุ ละสอบถามผู้ปวุ ยว่า เคร่ืองกระตุ้นแรงไป หรือไม่ พอดหี รือไม่ ถ้าแรงหรอื เบาไปควรปรบั ใหพ้ อดี 5.การถอดเข็ม ใหเ้ ชค็ จานวนเข็มให้ครบ เพอื่ ไม่ให้มเี ขม็ หลงเหลอื อยู่ 6.OBSERVE BLEEDING ถ้ามใี หใ้ ช้สาลแี หง้ กดหา้ มเลอื ด หลงั ฝงั เข็ม การพยาบาลจะให้คาแนะนาผปู้ ุวยดงั น้ี  ให้ผ้ปู วุ ยดม่ื น้าอุ่น หรือนา้ ธรรมดา หลงั การฝงั เขม็

13  สารวจร่างกายผปู้ ุวยหลังถอนเข็ม ว่ามีสิ่งผิดปกติ เช่นมีเลือดออก มรี อยบวม หรอื ผู้ปวุ ยยงั มีความรู้สกึ เจบ็ ปวดอยู่ หากยงั มีอาการดังกลา่ วตอ้ งรายงานให้แพทยท์ ราบ  ไม่ควรขับข่ี ยวดยานพาหนะทันทหี ลงั การฝงั เข็ม เพราะอาจเกดิ การง่วงนอน  งดอาบนา้ 2 ชว่ั โมงหลงั การฝงั เข็ม  หลังฝังเข็มควรนอนพักผอ่ นและงดกจิ กรรมท่ใี ช้แรงมากเชน่ การออกกาลงั กายท่ีหกั โหม การ เตน้ แอโรบคิ หรอื วา่ ยน้าเปน็ ตน้  หากมไี ข้ใหร้ บั ประทานยาลดไข้ และนอนพกั ผ่อน อาการจะหายไปภายใน 24 ช่วั โมง หาก หลงั 24 ช่ัวโมงอาการไข้ไม่ลดลง และมอี าการปวดบวมแดงร้อนบริเวณทีฝ่ ังเข็มรว่ มด้วย ใหร้ ีบกลับมาพบ แพทยท์ ันที ขอ้ หา้ มในการฝังเขม็ 1. ผปู้ วุ ยโรคเลือดหรือมีความผิดปกติของระบบแขง็ ตัวของเลือดหรอื ผู้ปวุ ยทร่ี ับประทานยากัน เลือดแข็งตัว 2.ผู้ปุวยท่ีเปน็ โรคตดิ ต่ออันตราย เชน่ วณั โรคระยะตดิ ตอ่ เอดส์ 3.ผูป้ วุ ยโรคมะเร็ง ท่ียงั ไมไ่ ดร้ บั การรักษา โรคทต่ี ้องรักษาดว้ ยการผ่าตดั 4.สตรที ี่อยรู่ ะหว่างการต้ังครรภ์ 5.ผู้ปวุ ยโรคหวั ใจท่ใี สเ่ ครอื่ งกระตนุ้ การเต้นของหัวใจ(PACEMAKER)

14 กรณศี กึ ษา 1.ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ผู้รับบริการเป็นเพศหญิง รูปร่างผอมสูง อายุ 55 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ การศึกษาจบระดับปรญิ ญาโท มีอาชีพรับราชการ มีรายได้อยู่ในชว่ ง 40,000-45,000 บาท แต่งงานแล้วมีบุตร 2 คน บุตรคนโตศึกษาในระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน บุตรคนท่ีสองศึกษามัธยมปลาย สามีเสียชีวิต ดว้ ยโรคความดันโลหิตสูง เป็นมารดาเล้ียงเดีย่ วมาต้ังแต่ปี 2554 ปจั จุบันอาศัยอยู่กับบิดามารดาในกรุงเทพซึ่ง เม่ือก่อนมีอาชีพค้าขายข้าวแกงปัจจุบันไม่ได้ขายแล้วและรับจ้างทาขนมขายเพียงเล็กน้อย ภูมิลาเนาเดิมเป็น คนอุบลราชธานี ภายหลังแต่งงานแล้วจึงย้ายมาอยู่กับสามีในกรุงเทพและสอบบรรจุเข้ารับราชการได้จึงย้าย ตามสามีมาทางานอยใู่ นกรุงเทพ บ้านที่อาศัยเปน็ บ้านสองชน้ั ปลูกเอง มคี า่ ใช้จ่ายทส่ี าคญั คอื คา่ ใช้จ่ายจากการ กู้ยืมธนาคาร นอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาทางาน ค่าเล่าเรียนของบุตร ค่าน้าค่าไฟ ค่าบัตร เครดิต ส่วนค่ารักษาพยาบาล บิดามารดาและบุตรใช้สิทธิเบิกค่ารักษาจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลาง ปัจจุบันทั้ง บดิ าและมารดามีปญั หาโรคความดันโลหิตสูง และน้าตาลในเลือดสูง ตอ้ งดูแลด้านการรับประทานอาหารและ เรือ่ งการออกกาลงั กายรวมท้งั ต้องพาไปหาหมอตามนดั ทกุ เดือน งานทท่ี าในปัจจบุ นั มีลักษณะท้ังงานยืนนาน ๆ และนั่งอยู่กับโตะ๊ คอมพิวเตอร์เปน็ เวลานาน 3 – 4 ชั่วโมงต่อวัน ไม่มีการเปลี่ยนอริ ิยาบถ คลายหรือยืดเหยียด กล้ามเนอ้ื นอกจากน้เี วลาไปจา่ ยตลาดทกุ วนั มกั หิ้วของหนักเปน็ เวลานาน ๆ การวินิจฉัยโรคแรกรับ (First diagnosis) : : anxiety c myofascial pain syndrome ( วิตกกังวลและ อาการปวดกลา้ มเน้อื เรือ้ รงั บรเิ วณ คอ บา่ ไหล่ ใบหนา้ ขมับ ) การวินจิ ฉัยโรคในปจั จุบนั : migraine / office syndrome (ปวดศีรษะข้างเดยี วจากภาวะออฟฟิตซนิ โดรม) การผา่ ตดั : เคยผ่าตดั ไส้ติ่ง (Appendectomy) เม่อื ปี 2558 2.ขอ้ มูลพนื้ ฐานเกย่ี วกบั สขุ ภาพของผรู้ บั บรกิ าร ผปู้ ุวยหญงิ รายนม้ี ีการเขา้ รบั การตรวจสุขภาพเป็นประจาทกุ ปี ไม่มีปญั หาเร่ืองปอด และเร่ืองหัวใจ สาหรับการตรวจสุขภาพภายในจะตรวจปีเว้นปี เนื่องจากไม่พบปัญหาที่เก่ียวข้องกับมะเร็งปากมดลูก แต่มักมี ปัญหาเรื่องการปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ คอ บ่า ไหล่ ไปพบแพทย์เพื่อขอยาแก้ปวด รวมท้ังได้รับคาแนะนาให้

15 เปล่ียนอิริยาบถ ออกกาลังกาย บางครั้งแพทย์แนะนาให้ไปทากายภาพบาบัด โดยการ อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound) และ การกระตนุ้ ไฟฟาู (Electrical stimulation) และ คลื่นสั้น (Short wave) ช่วงแรกก็จะมี อาการดีข้ึน แต่ภายหลังก็กลับมาปวดอีกเหมือนเดิม จึงไม่อยากเข้ารับการทากายภาพบาบัด เน่ืองจากต้อง เสยี เวลาและเสยี ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพ่ิมขึ้น อาการสาคัญที่มาโรงพยาบาล : มีอาการปวดศีรษะ ตงึ คอ บา่ ไหล่ ลงแขนขวาและมีอาการตาพร่า ร่วมดว้ ย ประวัตกิ ารเจ็บป่วยในปัจจุบัน : ปัจจุบันมีปัญหาไขมันในเลือดสูง เป็นมา 1 ปี รับประทานยา มาโดย ตลอด 10 วันก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มอาการปวดตึงคอ บ่าไหล่จึงใช้ความร้อนประคบอาการดขี ้ึนเล็กน้อย แต่ ยงั ปวดตึงขมบั 3 วันก่อนมา เร่ิมมีอาการปวดศีรษะ คอ บา่ ไหล่มากข้ึนและร้าวลงแขนขวา จึงมาพบแพทย์ แพทย์บอกว่าเกิดจากความตึงเครียดจากการทางาน และใช้คอมพิวเตอร์มาก แพทย์ให้ยามารับประทาน อาการปวดดีข้นึ เล็กนอ้ ย แตไ่ มห่ าย บางคร้ังมองเหน็ แสงระยิบระยบั ประวตั กิ ารเจ็บป่วยในอดตี - ไม่เคยมปี ระวัติการเจ็บปุวยท่รี า้ ยแรง มีแต่อาการปวดตึงบริเวณ กล้ามเนือ้ คอ บ่าไหลแ่ ละแขนขวา เปน็ ๆหายๆมานานกว่า 5 ปี - ไม่เคยไดร้ บั อบุ ัตเิ หตรุ า้ ยแรง แตท่ ผ่ี า่ นมาเคยเข้ารับการผา่ ตดั ไส้ติง่ โดย มอี าการปวดท้องมาก มีไข้ คลน่ื ไส้อาเจียน เขา้ รับการตรวจในโรงพยาบาลพบว่าเป็นไส้ติ่งอักเสบหมอจงึ ทา การผ่าตดั ให้ ไมม่ อี าการไสต้ ่ิงแตก ไม่เคยแพ้ยา หรือแพอ้ าหาร ประวตั ิการเจบ็ ปว่ ยในครอบครวั สมาชกิ ในบ้านได้แก่ บิดา และมารดา มีโรคประจาตัวได้แก่ โรคความดนั โลหิตสูง น้าตาลใน เลือดสูง มีอาการปวดข้อเข่า และปวดเมื่อยกล้ามเน้ือจากการทางาน น้องชาย(น้าชาย)คนท่ี 1 ทางานรับจ้าง น้องชาย (น้าชาย) คนที่2 เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ บุตรสองคนสุขภาพแข็งแรงดี มีอาการปุวยเป็น ไข้หวัดบ้างเล็กน้อย ได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ของโรงเรียน ส่วนสามีเสียชีวิตด้วยภาวะความดันโลหิต สูง บิดาของสามีเสียชีวิตจากโรคมะเร็งตับ มารดาสามีไม่ทราบว่ามีประวัติโรคตดิ ต่อร้ายแรงอะไรหรือไม่ แต่ ปจั จุบนั เสยี ชวี ิตแล้วทง้ั คู่

16 แผนภมู ทิ ี่ ๑ ผังแสดงความสัมพันธ์ของครอบครัว ผชู้ าย ผู้หญิง เสียชวี ิต 3.การตรวจรา่ งกายทุกระบบ - ผิวหนัง : สีผิวปกติ ไมซ่ ีด ไมม่ ีอาการโรคผิวหนงั - เลบ็ มอื /เทา้ : ปกติ ไมม่ ีดอกเลบ็ - ฟัน : ไม่มีฟันผุ - การหายใจ : ปกติ 20 ครง้ั /นาที ไม่มเี สยี งว้ดี ในลาคอ -ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ชีพจร 78 คร้งั /นาที , บางคร้งั มีอาการเวียนหวั บ้านหมนุ ซึง่ หมอจะใหย้ า แกเ้ วยี นศีรษะมาให้ไวท้ านเวลามอี าการ ไดแ้ ก่ Merislon 2 เม็ด เวลามีอาการเวียนศรี ษะบ้านหมุน - ความดันโลหติ : 130 / 70 มม.ปรอท - ตา : ไม่เหลอื ง ไม่มอี าการตาแดง การมองเหน็ ไม่คอ่ ยชดั มปี ญั หาสายตายาวและ จะมอี าการตาพรา่ และมองเห็นแสงระยิบระยับเมอ่ื มอี าการปวดศรี ษะและปวดตงึ คอ - กล้ามเนอ้ื คอ บ่า ไหล่ : มอี าการปวดตึงตน้ คอ บา่ ไหล่และสะบกั ลักษณะการปวดแบบ รา้ วลงแขนขวา กล้ามเน้ือคอมีอาการแข็งตึง การเอียงคอทาได้นอ้ ย ยกแขนชดิ หไู ม่ได้ - มือ/นว้ิ มือ : ไม่มอี าการปลายมอื ปลายเท้าเขยี ว มีอาการชาทนี่ วิ้ ช้ี และนวิ้ กลางข้างขวา - ระบบกระดูกและกล้ามเน้ือ : อาการปวดกล้ามเนื้อที่บ่า เวลาเอียงคอซ้าย ขวา จะมีอาการปวด ไม่มี ภาวะกลา้ มเน้ืออ่อนแรง การเคลอ่ื นไหวและการทรงตัวปกติ - แขน : ปวด คอ บ่า ไหล่ และปวดขน้ึ ศรี ษะ รา้ วลงแขนข้างขวา ตอนกลางคืนจะเป็นมากขึ้น จนนอนไมค่ อ่ ยหลบั

17 4.การวินจิ ฉยั ทางการพยาบาล - ปวดศีระไมเกรนจากภาวะ Office syndrome ร่วมกบั อาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ และสายตา พรา่ มัวจากการใชส้ ายตาเป็นเวลานาน 5.ขอ้ มูลแบบแผนสขุ ภาพของกอร์ดอน แบบแผนการประเมนิ สขุ ภาพ (Functional health pattern) เปน็ กรอบแนวคดิ ท่ี มารจ์ อรยี ์ กอร์ ดอน ( Marjory Gordon ) ใช้เปน็ แนวทางในการประเมนิ ภาวะสุขภาพของบคุ คลในช่วงระยะเวลาหนง่ึ และมี ผลตอ่ สขุ ภาพ โดยพฤตกิ รรมของบคุ คลแบง่ ออกเปน็ พฤติกรรมภายในและภายนอก โดยจะพบวา่ ทฤษฎแี บบ แผนสขุ ภาพของกอว์ดอน ท้ัง 11 แบบแผน มที ั้งจดุ เด่นและจดุ ดอ้ ย คอื จุดเด่น 1) เปน็ แบบแผนท่ีกวา้ งและยดื หยนุ่ ใชไ้ ดท้ ้งั ประเมนิ บคุ คล ครอบครวั ชุมชน 2) แบบแผนท้ัง 11 แบบแผนเป็นการมองถึงภาวะสุขภาพหรือพฤตกิ รรมทพ่ี บเห็นไดท้ ่วั ไป เข้าใจงา่ ย 3) สามารถนาไปใช้ในการกาหนดข้อวนิ ิจฉัยการพยาบาลรูปแบบของ NANDA (North America Nursing Diagnosis Association) จดุ ดอ้ ย 1) แบบแผนบางแบบแผนมีขอบเขตทีก่ วา้ งมาก ซึ่งอาจทาให้การประเมนิ ทาได้ไม่ครอบคลมุ ทั้งแบบ แผนการประเมินผปู้ ุวยไดไ้ มค่ รบถ้วน 2) บางแบบแผนมีความซา้ ซ้อนกนั เชน่ แบบแผนการรับรตู้ นเองและอตั มโนทัศน์ ,แบบแผน บทบาทและสมั พันธภาพ ,แบบแผนเพศและการเจริญพนั ธ์, แบบแผนการปรบั ตัวและการทนต่อความเครยี ด ผู้วิจยั ได้ขอ้ มลู จากแหล่งข้อมูลปฐมภมู แิ ละทตุ ิยภมู ิ (จากแฟูมประวตั ิ และการสมั ภาษณ์ผู้ปุวย) รายนี้ สามารถสรปุ แบบแผนการประเมนิ สุขภาพตามแนวคิดทฤษฎขี องกอร์ดอน ทส่ี าคญั ได้ทงั้ 11 แบบแผน ดังนี้  แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ ( Health perception – Health management Pattern ) : ในความคิดของผู้ปวุ ยรายนี้ คิดว่าอาการปวดศีรษะไมเกรนจากภาวะตงึ เครียด จากการทางานเป็นเร่ืองท่ีเกิดขึ้นได้กับทุกคน ปัญหาสาคัญที่กระทบต่อการทางานคือ มีอาการปวดศีรษะร้าว ลงแขนขวา แต่ก็คิดว่าเป็นเพราะการทางาน ในเวลาเมื่อรู้สึกปวดก็จะใช้ยาหม่องทานวดบริเวณกล้ามเน้ือท่ี ปวด ถ้าปวดตงึ คอบา่ ไหล่มากก็จะไปนวดแผนไทย เมอื่ เป็นมากขึน้ จะไปหาหมอเพ่ือรบั ยามาทานเปน็ ประจา  แบบแผนท่ี 2 โภชนาการและการเผาผลาญอาหาร ( Nutritional metabolic pattern) : ผปู้ วุ ยรายน้ี ยอมรบั ว่า เรื่องโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร เป็นเรื่องท่ีไม่ค่อยให้ความสาคัญ นักในชว่ งเวลาท่ีผ่านมา เนื่องจากต้องทางาน ช่วยพ่อแม่ทาอาหารขายและเล้ียงลูกด้วย การกินอาหารจึงต้อง รีบเร่ง และมักกินอาหารจานเดียว เช่น ข้าวกระเพราไข่ดาว ข้าวขาหมู แกงไก่ พะแนงราดข้าว ซ่ึงตนเองก็ไม่

18 ทราบข้อมูลน้ีมากนัก จนกระทั่งไปตรวจสุขภาพประจาปีของหน่วยงาน จึงพบว่ามีปัญหาไขมันในเส้นเลือดสูง หมอจึงให้ควบคุมอาหาร เชน่ อาหารทีม่ ีไขมนั สงู หา้ มดื่มแอลกอฮอล์ ลดขา้ ว แปงู นา้ ตาล ชากาแฟ น้าอัดลม ลงบ้าง รวมท้ังให้ควบคุมน้าหนักตัว ในปัจจุบันน้าหนักตัวเพ่ิมขึ้นเป็น 50.5 กก. วัดค่าBMI ได้เท่ากับ 19.24 kg/m2 ( นน.จากเดมิ 49 กก. เม่อื 6 เดือนทีแ่ ลว้ ค่าBMI ไดเ้ ท่ากบั 18.67 kg/m2 )  แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย (Elimination Pattern ) : ปสั สาวะ สีปกติ ไม่มีอาการแสบ ขดั เวลาถ่าย การขับถ่ายอุจจาระ ขับถ่ายปกติทุกวัน จะมีอาการท้องผูกบา้ งบางคร้ัง ทานยาระบาย Senokot กอ่ นนอน 2 เม็ด กจ็ ะดขี น้ึ ไมม่ ปี ญั หาทางด้านริดสดี วงทวาร  แบบแผนท่ี 4 กิจวัตรประจาวันและการออกกาลังกาย ( Activity –exercise Pattern) : มีการออกกาลังกายแบบโยคะเพ่ือลดอาการปวด คอ บ่า ไหล่ แต่ไม่ประจาทุกวัน โดยรับทราบจากข้อมูล ข่าวสารช่องทางต่างๆ ว่าการออกาลังกายจะช่วยลดอาการและความเจ็บปุวยต่างๆได้ แต่ไม่ได้ไปออกกาลัง กายตามสวนสาธารณะสกั เท่าไหร่ เพราะคดิ ว่าการทางานบา้ น ก็เท่ากับการออกกาลังกายแล้ว รวมทั้งการช่วย ทาขนมขายก็เป็นการออกกาลังกายเช่นกัน แต่ก็ยอมรับว่าการน่ังทางานก่อให้เกิดอาการปวดเม่ือยได้เช่นกัน ซึ่งแพทย์ท่ีตรวจสุขภาพและวินิจฉัยว่ามีปญั หาไขมันในเลือดสูงก็แนะนาให้ออกกาลังกายสม่าเสมอ สัปดาห์ละ 3 วนั ๆละ ครึง่ ชม และสั่งใหท้ าน ยาลดไขมนั ในเลอื ด วันละ 1 เม็ด กอ่ นนอน และนดั ตรวจสขุ ภาพเจาะเลอื ด  แบบแผนท่ี 5 การพักผ่อนนอนหลับ (Sleep-rest Pattern) : ผู้ปวุ ยรายนี้ มีปญั หาเร่ือง การนอนหลับ ไม่สนิท ตื่นนอนเช้าเวลา 05..00 น. และเข้านอนเวลา 22.30 น. เป็นประจาทุกวัน จะมีบางวัน บา้ งที่มีการพักผ่อนท่เี ปลยี่ นแปลงไป เน่ืองจากภาระงานที่บา้ นและท่ีทางาน ทาให้พกั ผ่อนไดน้ ้อยหรือมีอาการ เพลยี บ้างเวลามาทางาน จะด่ืมชาสมนุ ไพร และสดู ดมยาดมทาให้ร่างกายสดช่ืนกระปร้ีกระเปร่ารู้สึกผ่อนคลาย วิธีช่วยใหน้ อนหลบั ง่ายข้นึ คือการสวดมนตก์ อ่ นนอน  แบบแผนท่ี 6 สติปัญญาและการรับรู้ ( Cognitive-perceptual Pattern) : การรับรู้ของ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวสัมผัส ปกตดิ ีทุกอย่าง จะมีบางครั้งที่มีอาการปวดตา ตาพร่า จาก อาการไมเกรน ทาให้มีอาการหูอื้อ คล้ายคนจะเป็นลมร่วมด้วย ไม่มีปัญหาการได้ยินและการมองเห็นแต่จะมี ปญั หาเรือ่ งสายตายาวเนื่องจากอายุมากขึ้น ปัจจุบันใส่แวน่ สายตายาวท่ี +2.5 ไม่มีประวัติการผ่าตัดต้อกระจก ตอ้ หิน แต่มปี ัญหาเรอ่ื งตาแห้งมไี ขมนั อุดตันทีข่ นตา หมอสง่ั นา้ ตาเทียมให้หยอดทกุ 2 ชม.  แบบแผนท่ี 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perception – self concept Pattern) : ผู้ปุวยหญิงรายนี้ไม่มีร่างกายผิดปกตหิ รือพิการ มีความรู้สึกท่ีดตี ่อตนเองและภาคภูมิใจตอ่ การเป็น ข้าราชการเน่ืองจากสามารถเบิกค่าใช้จ่ายเช่น ค่ารักษาพยาบาลได้ รวมถึงบิดา มารดา แต่ด้วยข้อจากัดด้าน ภาระของครอบครัวที่ต้องทาหน้าที่ท้ังบิดาและมารดาในเวลาเดียวกันให้กับบุตรท่ียังศึกษาอยู่ภายหลังสามี เสียชีวิต ทาให้มีความรู้สึกอ้างว้างเหมือนอยู่คนเดียวและไม่มีคนให้คาปรึกษาหรือพูดคุยกันเวลามีความทุกข์ แต่เมื่อเวลาผ่านมาหลายปี อาการดังกล่าวลดน้อยลงเนื่องจากมีบุตรท้ังสองที่ต้องดูแลและเหมือนเป็นตวั แทน ของสามจี ึงมีกาลงั ใจในการทางานตอ่ ไป  แบบแผนท่ี 8 บทบาทและสัมพันธภาพ (Role- relationship Pattern) : จากการ สัมภาษณ์ผู้ปุวยรายน้ี จะพบว่าผู้ปุวยต้องดูแลสมาชิกในบ้านเพ่ิมข้ึน และใช้เวลาในการทางานเพิ่มขึ้น จึงมี

19 ปญั หาในการพบปะเพ่ือนน้อยลง แต่เนื่องจากปจั จุบันมีอินเตอร์เน็ต มีสมาร์ทโฟน มีไลน์ จึงสามารถตดิ ต่อกับ เพื่อนๆได้และยังสามารถค้นหาความรู้จากโทรศัพท์มือถือได้ แต่ก็ยอมรับว่าลูกๆ ก็มักจะใช้เวลาในการเล่น เกมส์บ้าง แต่ยังมีการพูดคุยและมีสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันในครอบครัวที่มีผู้สูงอายุอยู่ด้วย ลูกๆมีความเคารพ และเชอ่ื ฟงั ผู้ใหญ่ โดยคณุ ตาและคุณยายให้ความรกั อบรมส่ังสอนมาต้ังแตเ่ ดก็ ๆ ทาให้บตุ รทัง้ สองมีความรักคณุ ตาและคณุ ยาย เวลาเจ็บปุวยกจ็ ะช่วยดูแลซงึ่ กันและกัน  แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธ์ (Sexuality-reproductive Pattern) : ภายหลัง คลอดบุตรคนท่ี 2 ก็ทาหมันเลย ไม่เคยมีปัญหาด้านโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ ส่วนการตรวจภายในและมะเร็ง เต้านมจะไดร้ ับการตรวจสุขภาพประจาปที กุ ปี ไมม่ ปี ญั หาก้อนเน้ือทเี่ ต้านม ผลตรวจมะเรง็ ปากมดลูก ปกติ  แบบแผนท่ี 10 การปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด (Coping –stress tolerance Pattern) : ภายหลังจากที่สามีเสียชีวิต ผู้ปุวยหญิงรายน้ีก็มีความทุกข์ใจมาก และมีความกลัวว่าจะไม่ สามารถเลี้ยงบุตรทั้งสองได้ เกิดความเครียดและนอนไม่หลับ โดยเฉพาะท่ีตนเองต้องเปลี่ยนบทบาทจากแม่ เป็นแม่เล้ียงเด่ียวทาให้เธอเกิดความไม่ม่ันใจ บางคร้ังก็ท้อแท้ แต่มีบิดาและมารดา คอยให้กาลังใจและ ช่วยเหลือดูแลบตุ รทั้งสองร่วมด้วย นอกจากนั้นยังหารายไดโ้ ดยการทาขนมขายด้วย ถึงแม้บิดามารดาจะมีโรค ประจาตัวทั้งคู่ แต่ก็แสดงความอดทนต่อความเป็นอยู่ของครอบครัว ทาให้ผู้ปุวยหญิงมีกาลังใจในการอดทนที่ จะดแู ลบตุ รและครอบครัวต่อไป  แบบแผนท่ี 11 ความเชื่อ ( Value believe Pattern ) : ผู้ปวุ ยหญิง มีความเลื่อมใสและ ศรัทธาในพุทธศาสนา มีการทาบุญใส่บาตรทุกวันเสาร์หรืออาทิตย์โดยจะเตรียมของใส่บาตรให้พอ่ หรือแม่เป็น คนใส่บาตรเน่ืองจากจะมีพระมาเดินบิณฑบาตแถวบา้ นทุกวัน และในช่วงฌาปนกิจสามีก็ให้ลูกทั้งสองบวชหน้า ไฟให้ด้วย โดยเชื่อว่าสามีของเธอจะได้ข้ึนสวรรค์ และลูกๆจะได้รับผลบุญด้วยเช่นกัน นอกจากนั้นเธอยังสอน ให้ลูกสวดมนต์ก่อนนอนทุกคืน เพราะเช่ือว่าคนทาดีมักได้รับผลดีตอบแทน ถึงแม้ว่าผลดีจะไม่ใช่ตัวเงินก็ ตามแต่ผลดีจะช่วยให้ลูกของเธอประสบความสาเร็จในชีวิตได้ และจะทาให้เธอประสบแต่ความสุขถึงแม้ว่า ร่างกายจะเจ็บปุวยตามสังขารก็ตาม ก็ต้องดูแลร่างกายให้ดีท่ีสุดจนสุดความสามารถ ถึงแม้ว่ามีบางครั้งที่รู้สึก ท้อแทไ้ มม่ ีกาลงั ใจและไม่อยากมีชวี ติ อยู่ในโลกนี้ก็ตาม แตเ่ ธอบอกวา่ เธอผ่านวิกฤตินี้มาได้ก็เพราะแม่ของเธอท่ี พาเธอไปวัดทาบุญ สะเดาะห์เคราะห์ และฟังเทศน์โดยเช่ือว่าการทาร้ายตัวเองเป็นบาปอย่างมากและถ้าขาด เธอไปลูกทั้งสองก็จะต้องลาบากเพราะพ่อแม่แก่แล้วและมีโรคประจาตัวด้วย เธอจึงไปหาหมอขอยาคลาย เครียดและยานอนหลับมากิน ซ่ึงอาการดังกล่าวทุเลาและหายไปแล้ว เธอจึงเช่ือว่าการทาดีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ย่อม เหน็ ความดีและช่วยเหลอื ไม่ทางใดกท็ างหน่ึง ๖. สรุปสภาวะผปู้ ่วยในปัจจบุ ัน ผู้ปุวยหญิงไทย ให้ประวัติวา่ มีอาการปวด คอ บ่าไหล่ สะบกั ร้าวลงแขนขวา และปวดขึ้นศีรษะตุ๊บๆ มีอาการตาพร่า มีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วม ไปหาหมอ ได้รับยาแก้ปวดไมเกรน ซูมาทริปแทน (Sumatriptan)ขนาด 50 mg จานวน 20 เมด็ โดยให้รับประทานพร้อมอาหารเช้าวันละ 1 เม็ด ยาคลายความ วิตกกังวลและรักษาอาการปวดจากเส้นประสาท Pregabalin (BRILLIOR) Cap –NX จานวน 30 แคปซูล

20 โดยให้รับประทาน ครั้งละ 1 – 2 แคปซูล ก่อนนอน และยาคลายกล้ามเน้ือ MYONAL (Eperisone) sc tab 50 mg. – NX 30 Tab โดยให้รับประทานครั้งละ 1 เม็ด ก่อนนอน ทานได้ 3 วัน อาการปวดศีรษะทุเลาลง แต่ยังมีอาการปวดกล้ามเน้ือ คอ บ่า ไหล่ อยู่ จึงตัดสินใจเข้ารับการรักษาด้วยการฝังเข็มในคลินิกการแพทย์ ทางเลอื กของกระทรวงสาธารณสขุ โดยได้รับการฝงั เข็ม สปั ดาหล์ ะ 1-2 ครง้ั ตามแพทย์นดั ๗. ผลการตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารและการตรวจพเิ ศษตา่ งๆ 1) ผลการตรวจพิเศษ - มะเร็งปากมดลกู : ปกติ / ไมม่ ีเนื้อเย่อื ผิดปกติ - X-rays ปอด : ปกติ /ไมม่ ีจุดดาท่ปี อด ๒) ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ จากการเจาะเลือด เมอ่ื วนั ท่ี 17 มถิ ุนายน 2563 Test / Description Result unit Reference Range Glucose (Clotted Blood) Cholesterol 86 mg/dl 70-110 Triglyceride HDL - Cholesterol 223 H mg/dl <200 LDL - Cholesterol BUN 123 mg/dl <150 Creatinine 55 mg/dl >45 Creatinine. eGFR 144 H mg/dl <130 Test / Description Alkaline phosphatase 13 mg/dl 6-20 SGOT(AST) SGPT(ALT) 0.77 mg/dl 0.51-0.95 Vitamin D (OH) 87.2 Ml/min Result unit Reference Range 72 35-104 16 U/L <32 16 U/L <33 33.58 U/L >30 ng/ml

21 ๘. การรกั ษาของแพทย์ Order for one day Order for continous วนั เดือน ปี ฝังเข็ม + การกระตุ้นไฟฟูา รมควันด้วยโคมความร้อน 18 สค.64 ฝงั เข็ม + การกระตนุ้ ไฟฟูา ๒๕ สค.64 ฝังเขม็ + การกระตนุ้ ไฟฟูา หรอื การครอบแกว้ 30 ส.ค.64 ฝังเข็ม + การกระตนุ้ ไฟฟูา ๓ ก.ย. ๖๔ ฝงั เข็ม + การกระตนุ้ ไฟฟูา ๑๐ ก.ย. ๖๔ ฝังเข็ม + การกระตนุ้ ไฟฟาู ๒๐ ก.ย. ๖๔ ฝังเข็ม + การกระตุ้นไฟฟาู 28 ก.ย.64 แนวเสน้ และจุดในการฝังเขม็ การให้บริการฝังเข็ม ของคลินิกบริการด้านการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก จะมีการให้ผู้รับบริการเข้ามารับบริการฝังเข็มอย่างต่อเน่ือง เพ่ือผลลัพธ์การรักษาที่มี ประสิทธิภาพ จึงได้นัดผู้รับบริการให้มารับบริการฝังเข็ม อย่างน้อย 5-10 ครั้ง ห่างกันประมาณ 1 สัปดาห์ โดยการฝงั เขม็ มีการฝังในจุดทส่ี าคญั 3 จุด และเสน้ ลมปราณ 3 เสน้ ตามหลักการทฤษฎีการฝังเข็ม คือ การเลือกจุดใกล้ การเลือกจุดไกล และการเลือกจุดตามอาการ โดยจุดท่ีใช้ในการฝังเข็มคือ 风池(GB-20, Fngchí) 、太阳(EX-HN5,Tàiyáng) 、率谷(GB- 8,Shuàig) 、太冲(LR-3, Tàichng) 、百会(GV-20, Bihuì) 、合谷(LI-4, hég) 、头维 (ST- 8,Tóuwéi)、足三里(ST-36,Zúsnl)、阿是穴(Ashìxué) 和丰隆(ST-,Fénglóng) และเส้น ลมปราณท่ใี ช้ในการรักษาคอื เส้นลมปราณถุงน้าดี เส้นลมปราณลา ไสใ้ หญ่ และสุดท้ายเสน้ ลมปราณตับ การเลอื กใชจ้ ุดฝังเข็ม ขึ้นกับสาเหตุ อาการ และสภาวะของผู้ปุวย ดงั น้ันการเลือกใช้จุดฝังเข็มของ แพทย์ อาจมีความแตกตา่ งกันบา้ งตามดุยพินิจและประสบการณ์การรักษาของแพทย์ ข้อห้ามในการฝังเขม็ 1. ผู้ปวุ ยโรคเลือดหรือมีความผิดปกติของระบบแข็งตัวของเลอื ดหรอื ผู้ปุวยท่รี ับประทานยากัน

22 เลือดแขง็ ตวั 2.ผปู้ วุ ยท่ีเปน็ โรคติดตอ่ อันตราย เช่น วณั โรคระยะตดิ ตอ่ เอดส์ 3.ผปู้ ุวยโรคมะเรง็ ทีย่ ังไม่ไดร้ บั การรักษา โรคที่ตอ้ งรกั ษาดว้ ยการผา่ ตัด 4.สตรีทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งการตง้ั ครรภ์ 5.ผปู้ วุ ยโรคหัวใจทใ่ี ส่เครอื่ งกระตุ้นการเต้นของหวั ใจ(PACEMAKER) 6.โรคทีย่ ังไม่ทราบการวินจิ ฉยั แนน่ อน ๙. การวางแผนการพยาบาล ข้อวินจิ ฉัยทางการพยาบาลที่ 1 เส่ยี งต่อการเกิดกลุ่มอาการบาดเจบ็ ต่อระบบโครงสร้างของร่างกาย จาก ออฟฟศิ ซนิ โดรมเนือ่ งจากขาดความตระหนกั ในการดูแลตนเอง ข้อมลู สนบั สนนุ S : 1 “ไม่คดิ ว่าออฟฟศิ ซนิ โดรมเป็นปญั หาสาหรับตน” 2. “มีอาการปวดจนกระทบต่อการใชช้ วี ติ ประจาวนั ปวดจนนอนไมห่ ลับ” O : 1. การน่งั ทางานหน้าคอมพวิ เตอรต์ ลอดเวลาโดยไมล่ กุ จากทีน่ ง่ั จนปวดตึงบา่ ไหล่ คอ และ ปวดศีรษะ และใช้นิ้วมอื ในการพิมพค์ อมพิวเตอรจ์ นปวดตงึ การตรวจวัดสัญญาณชีพ คร้ังท่ี 1 (18 สค.64) อุณหภูมิ = 36.5 oc ความดันโลหิต = 100/80 mm.Hg ชีพจร =90 ครัง้ /นาที อัตราการหายใจ = 24 ครง้ั /นาที น้าหนกั ตัว = 49.5 กก. สว่ นสูง =162 ซม. ครง้ั ที่ 4 (30 ส.ค.64) อณุ หภมู ิ = 36.3 oc ความดนั โลหติ = 102/67 mm.Hg ชพี จร =86 ครง้ั /นาที อัตราการหายใจ = 22 คร้งั /นาที นา้ หนักตัว = 50.7 กก. สว่ นสูง =162 ซม. ครัง้ ที่ 7 (28 ก.ย.64) อณุ หภูมิ = 36.4 oc ความดันโลหิต = 120/67 mm.Hg ชีพจร =79 ครงั้ /นาที อตั ราการหายใจ = 20 คร้ัง/นาที นา้ หนักตวั = 50.5 กก. ส่วนสงู =162 ซม.

23 2. ประเมินความปวด คร้งั ที่ 1 ความปวดอยู่ในระดบั 8 รว่ มกับอาการชาท่ีนวิ้ ชีแ้ ละน้วิ กลางข้างขวา คร้งั ท่ี 2ความปวดอย่ใู นระดับ 7 รว่ มกบั อาการชาที่นิว้ ชีแ้ ละน้ิวกลางข้างขวา คร้ังท่ี 3ความปวดอยใู่ นระดับ 7 ร่วมกับอาการชาท่ีนว้ิ ชี้และนิ้วกลางข้างขวา ครั้งที่ 4 ความปวดอยใู่ นระดบั 6 รว่ มกับอาการชาท่ีนว้ิ ชี้และน้ิวกลางขา้ งขวาเล็กน้อย คร้งั ที่ 5ความปวดอย่ใู นระดับ 5 รว่ มกบั อาการชาท่ีนิ้วชีแ้ ละนิว้ กลางขา้ งขวาเล็กนอ้ ย ครง้ั ท่ี 6ความปวดอยู่ในระดับ 4 รว่ มกับอาการชาทีน่ ้ิวชี้และนิ้วกลางข้างขวาเลก็ นอ้ ย ครงั้ ท่ี 7 ความปวดอยใู่ นระดับ 2 ไมม่ อี าการชาทน่ี วิ้ ชี้และนวิ้ กลางขา้ งขวา วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผรู้ บั บรกิ ารมีความตระหนกั ในการดแู ลสุขภาพตนเองตอ่ การเกดิ กล่มุ อาการบาดเจ็บ ของ กลา้ มเน้ือ คอ บ่า ไหล่ และปวดศีรษะไมเกรนจากออฟฟิศ ซนิ โดรม และอาการปวดลดลงอยูใ่ นระดบั ท่ีไม่ ส่งผลกระทบตอ่ การใช้ชวี ติ ประจาวนั เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. ตดิ ตามการรักษาตามแผนการรักษาอยา่ งต่อเน่ืองตามนัด จดุ บริเวณทแ่ี พทยฝ์ งั เข็ม ท่มี าของภาพ : หัวเฉยี วแพทย์แผนจนี 2. ระดบั ความปวด (PAIN SCORE) ลดลง 3. การใช้ชวี ติ ประจาวนั เป็นไปไดต้ ามปกติ กิจกรรมการพยาบาล 1. สร้างสมั พันธภาพโดยการพดู คยุ และแสดงทา่ ทที ี่เป็นกันเอง เพอื่ ใหเ้ กิดความไว้วางใจ 2. ใหค้ าแนะนาในการปฏบิ ัติตวั โดยการปรับทีพ่ ฤติกรรมการทางานและให้พกั สายตาจากหนา้ คอมพิวเตอร์ทุก 30 นาที

24 • ปรบั และจดั ท่าทางการทางานใหเ้ หมาะสม • ยืดกลา้ มเน้อื • ออกกาลงั กายเพิม่ ความแข็งแรง • ดม่ื นา้ ใหเ้ พียงพอ • รบั ประทานอาหารที่มปี ระโยชน์ • พักผอ่ นให้เพียงพอ • ฝึกผ่อนคลายความเครียด 3. ประเมินความปวด โดยแบบประเมนิ pain score 4. ร่วมกนั ค้นหาสาเหตุ ปญั หาสขุ ภาพ โดยการพูดคยุ ใหผ้ ู้รับบริการเลา่ ถงึ กจิ กรรมการใช้ ชีวิตประจาวัน วเิ คราะห์ หาสาเหตขุ องปญั หาเพื่อให้ผ้รู บั บรกิ ารทราบสาเหตุปัญหาสขุ ภาพของตนเอง และ รว่ มกันหาแนวทางในการแกไ้ ขท่ีเหมาะสมตอ่ ไป 5. ใหข้ ้อมลู เกีย่ วกบั ภาวะสุขภาพและปัญหาสขุ ภาพทีต่ รวจพบเพือ่ ให้ผ้รู ับบริการทราบสุขภาพของ ตนเองรวมถึงสร้างความตระหนักในปัญหาสขุ ภาพ โดยให้ความรเู้ กย่ี วกบั โรคออฟฟศิ ซนิ โดรมและกล่มุ อาการ ทีเ่ กิดขึ้นจากการปฏิบัตงิ าน 6. สรา้ งแรงจงู ใจและความมั่นใจต่อการมาใชบ้ รกิ าร รวมทง้ั เปดิ โอกาสให้ซักถามปัญหาและ สอบถามความเขา้ ใจในปัญหาสุขภาพ ขอ้ ตกลงทตี่ ้องนาไปปฏบิ ตั ิ และนัดตดิ ตามประเมนิ ผลต่อเนื่อง ขอ้ ควรวะวังในการดูแลตนเองของผู้ปว่ ยฝงั เข็ม การพยาบาลโดยใหค้ าแนะนาผ้ปู ุวย •ใหผ้ ู้ปวุ ยดม่ื นา้ อนุ่ หรอื น้าธรรมดา หลังการฝังเขม็ •สารวจรา่ งกายผปู้ ุวยหลังถอนเขม็ ว่ามสี งิ่ ผิดปกติ เช่นมเี ลอื ดออก มีรอยบวม หรือผู้ปุวยยงั มีความรู้สกึ เจบ็ ปวดอยู่ หากยงั มอี าการดังกลา่ วต้องรายงานให้แพทยท์ ราบ •ไมค่ วรขบั ขี่ ยวดยานพาหนะทนั ทหี ลังการฝังเข็ม เพราะอาจเกิดการงว่ งนอน •งดอาบนา้ 2 ช่ัวโมงหลงั การฝังเขม็ •หลังฝงั เข็มควรนอนพักผอ่ นและงดกจิ กรรมที่ใชแ้ รงมากเช่น การออกกาลงั กายท่หี กั โหม การเต้นแอ โรบิค หรือว่ายน้าเปน็ ต้น •หากมไี ขใ้ หร้ บั ประทานยาลดไข้ และนอนพักผอ่ น อาการจะหายไปภายใน 24 ช่วั โมง หากหลงั 24 ชัว่ โมงอาการไขไ้ ม่ลดลง และมีอาการปวดบวมแดงรอ้ นบรเิ วณทฝ่ี ังเข็มร่วมด้วย ให้รีบกลับมาพบแพทยท์ ันที การประเมินผล 1. มารับบรกิ ารตามแผนการรักษาตามนดั 1 – 2 ครั้งต่อสัปดาห์ อย่างต่อเนื่อง 2. อาการปวดลดลง จากครงั้ แรกอยู่ที่ ระดบั 8 ลดลงมาจนเหลอื ระดบั 2 3. จากการพูดคุย ซักถาม พบว่าการใชช้ ีวิตประจาวันเปน็ ไปไดต้ ามปกติ นอนหลับดขี ึ้น

25 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลท่ี 2 มีพฤติกรรมการปูองกันการเกิดกลุ่มอาการออฟฟิศ ซินโดรมที่ไม่ถูกต้อง และไม่เหมาะสมในดา้ นการน่งั ทางานไม่เหมาะสม นงั่ หลังงอ นงั่ โดยไมเ่ ปลย่ี นอิริยาบถ และมีพฤติกรรมการหิว ของหนัก เน่ืองจากขาดความรูด้ ้านการปรบั เปลี่ยนอิริยาบถ ยืดเหยยี ดกลา้ มเนื้อ ไม่พักสายตา ข้อมูลสนับสนนุ S : 1.“เมือ่ นัง่ ทางานแลว้ ไม่อยากลุกไปไหน อยากทางานให้เสรจ็ ” 2. ไม่ชอบเคลือ่ นไหวหรอื ออกกาลงั กาย 3. พมิ พค์ อมพวิ เตอร์ น่ังอยู่ในทา่ เดียวนาน ๆ และชอบใช้นว้ิ หว้ิ ของหนักเชน่ กบั ข้าว O : สามารถปรับทา่ ทางและบรหิ ารไดถ้ ูกตอ้ ง วตั ถปุ ระสงค์ ๑.เพ่อื ให้ผรู้ ับบรกิ ารมีความรแู้ ละมพี ฤตกิ รรมการปอู งกันการเกิดกลมุ่ อาการออฟฟศิ ซินโดรมที่ถกู ตอ้ ง และเหมาะสม ๒. เพื่อลดอาการปวดตึงกลา้ มเน้อื คอบา่ ไหล่ และตาพร่ามัว เกณฑ์การประเมิน 1. ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรู้และการปฏบิ ัตติ ัวดขี ึ้นจากการสอบถาม เช่น การปรบั ท่าทางในการนง่ั โต๊ะ ทางานให้เหมาะสมหลงั ตึงไมง่ อ การพักสายตาทกุ ๆ 30 นาที การลุกยดื กลา้ มเนื้อ การผอ่ นคลาย ความตึงเครยี ดทุกๆ 1-2 ชว่ั โมง 2. วดั อาการปวดศีรษะตุ๊บๆ จากการใช้ pain score ได้คา่ คะแนนจากอาการปวดลดลงจากเดมิ 3. สามารถสาธติ ยอ้ นกลับท่ากายบริหาร และโยคะไดถ้ กู ตอ้ งและครบถว้ น 4. การนาไปฝกึ ปฏิบัตทิ บี่ า้ นเป็นประจา กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินความรูเ้ รอ่ื งพฤติกรรมการปูองกนั การเกดิ กลมุ่ อาการออฟฟศิ ซนิ โดรม ใหค้ าแนะนาใน ขอ้ ท่ตี อบไม่ถกู 2. รว่ มกันคน้ หาสาเหตุพฤตกิ รรมและการจดั การในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่ วธิ ีปฏบิ ตั ใิ นการน่งั ทางานท่ี ถูกต้อง การจัดการสิ่งแวดลอ้ มทเี่ ออื้ ต่อการทางาน การใช้อปุ กรณป์ อู งกัน เช่น หมอนรองหลงั การใชร้ ถเขน็ แทนการหว้ิ ของหนัก และการดแู ลตนเอง เช่น การกาหนดเวลาในการเปลย่ี นอริ ิยาบถ ไม่นั่งอยกู่ ับที่นาน ๆ 3. สาธิตทา่ กายบรหิ ารกลา้ มเนอ้ื ระหวา่ งทางานให้ผ้รู บั บรกิ ารฝกึ ปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. การบริหารกลา้ มเนื้อคอ เร่ิมจากนามือข้างซ้ายอ้อมไปจบั ศรี ษะด้านขวา ดึงทาง ด้านซ้ายจนร้สู กึ ตงึ นับ 1-10 สลบั ใชม้ ือข้างขวา นบั 1-10เชน่ เดียวกนั จากนั้นประสานมอื บริเวณท้ายทอย ดัน ไปดา้ นหนา้ จนร้สู ึกตึง นับ 1-10 2. การบรหิ ารกลา้ มเนอื้ หวั ไหล่ สาหรับผูท้ ี่มีปญั หาเรอ่ื งของการปวดไหล่เปน็ ประจา โดยยกไหลข่ ้ึนไปจนสุด แล้วเกร็งค้างไว้ นบั 1-10 การกดไหล่ลงไปใหส้ ดุ แลว้ เกร็งค้างไว้ นับ 1-10

26 3. การบริหารกล้ามเนอื้ ดา้ นหน้าอก และแกป้ ญั หาไหล่หอ่ ใหล้ กุ ข้ึนยืน จากน้ันนามือ ประสานกันดา้ นหลงั คอ่ ยๆ ยกขนึ้ มาจนถงึ ระดบั ทเ่ี รารสู้ กึ ว่าตงึ นับ 1-10การยืดดา้ นหลงั โดยการกอดตวั เอง ใหแ้ นน่ ทส่ี ดุ ใหม้ อื ไขวก้ ันเยอะทส่ี ุด โดยเอามอื โอบด้านหลังของตัวเองใหม้ ากทส่ี ุด นับ 1-10 4. การบริหารกล้ามเน้อื ดา้ นข้าง ใหย้ ดื มือขึน้ บนสุดประกบกนั จากนน้ั เอนตวั ทาง ด้านซ้าย นบั 1 -10 และเอนตัวมาดา้ นขวา นับ 1-10 ท่าบรหิ ารดังกล่าวควรทาบอ่ ยๆ ประมาณ 1-2 ชั่วโมง ต่อครง้ั เพื่อเป็นการยืดกล้ามเนื้อมัดหลักๆ ในรา่ งกาย ใช้เวลาประมาณ 3-5 นาที 5. การบริหารกลา้ มเน้อื ตา มองขึ้นบน เกรง็ กลา้ มเน้อื ตาค้างไว้ 5 วนิ าที แลว้ ผ่อนคลาย มองลงลา่ ง เกร็งกล้ามเนอ้ื ตาคา้ งไว้ 5 วินาที แลว้ ผอ่ นคลาย มองทางซ้าย เกรง็ กล้ามเนื้อตาค้างไว้ 5 วินาที แล้วผอ่ นคลาย มองทางขวา เกร็งกล้ามเนอ้ื ตาค้างไว้ 5 วินาที แล้วผอ่ นคลาย มองทางซ้าย เฉยี งข้นึ บน เกรง็ กล้ามเนื้อตาค้างไว้ 5 วินาที แลว้ ผอ่ นคลาย มองทางขวา เฉียงลงลา่ ง เกรง็ กล้ามเน้ือตาค้างไว้ 5 วนิ าที แลว้ ผอ่ นคลาย มองทางขวา เฉียงข้นึ บน เกรง็ กล้ามเนื้อตาค้างไว้ 5 วนิ าที แล้วผอ่ นคลาย มองทางซา้ ย เฉยี งลงลา่ ง เกร็งกลา้ มเนื้อตาค้างไว้ 5 วินาที แล้วผอ่ นคลาย กรอกตา วนไปรอบ ๆ เริม่ ทางซา้ ย 3 รอบ แล้วกรอกตา วนไปทางขวาอีก 3 รอบช้าๆ 4.ใหผ้ รู้ บั บริการสาธติ ยอ้ นกลบั ท่ากายบรหิ ารแบบโยคะ โดยการฝกึ หัดทา ท่างู ทา่ กระตา่ ย ทา่ แมว ที่บา้ นหลังกลับจากทางานหรือวนั หยุด ท่างู ทา่ เด็กหรอื ทา่ กระต่ายหมอบ ทา่ แมว

27 5. ให้ผู้รับบริการซักถามถงึ ประเดน็ ที่ยังสงสยั อธบิ ายเพิม่ เตมิ 6. แจกเอกสารแผ่นพบั เรื่องท่ากายบรหิ ารแบบโยคะ เพอื่ ใหผ้ รู้ ับบริการนาไปปฏบิ ตั ิทบี่ า้ น 7. นดั หมายติดตามประเมินผล โดยการสอบถามอาการปวดและการบรหิ ารแบบโยคะ 8. ดแู ลให้ผู้ปวุ ยได้รับการรักษาจากการฝงั เข็ม ดว้ ยการจดั ทา่ นอนทีถ่ กู ต้อง 9. ใชค้ าแนะนาตวั ขณะทไี่ ด้รับการฝงั เขม็ และภายหลังได้รับการฝังเข็มแล้ว อธิบายวิธกี ารดูแล ตนเอง 10. พดู คยุ ใหผ้ รู้ ับบริการลดอาการตื่นเต้น ผ่อนคลายกลา้ มเนอ้ื ไมอ่ อกแรงตา้ นขณะแพทย์ทาการ ฝงั เข็ม 11. สมั ผสั ผ้ปู ุวยเบาๆเพ่ือให้ผูป้ ุวยผ่อนคลายและลดความตึงเครยี ดลง ควรเตรยี มผูป้ ุวยประมาณ 3-5 นาทกี ่อนใหแ้ พทย์ทาการฝังเขม็ 12. สังเกตสีหน้าและการหายใจและรอจนผูป้ วุ ยจะผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดและลดความวิตก กังวลลง การประเมนิ ผล 1. ผู้รบั บรกิ ารมคี วามรเู้ พ่ิมขึ้นหลงั รับบริการ (ตอบคาถามได้ถูกตอ้ ง) 2. อาการปวดปวดศีรษะ และกล้ามเนอ้ื คอบา่ ไหล่ของผรู้ ับบริการลดลง 3. ผูร้ บั บริการบอกวา่ “การใชช้ วี ติ ประจาวันดขี ึ้น สบายตัวขึ้น นอนหลับได้ดขี ึ้น ไม่ตนื่ กลางดึก” 4. มกี ารบริหารแบบโยคะ 30 – 45 นาที อยา่ งนอ้ ย 3-5 วนั ต่อสปั ดาห์ 5. มีการเคลอื่ นไหวรา่ งกายในชวี ิตประจาวันเพิ่มขึ้น 6. มกี ารใชอ้ ปุ กรณ์ ได้แก่ รถเข็นเวลาไปจ่ายตลาด ขอ้ วินจิ ฉยั ทางการพยาบาลท่ี 3 การทากิจวัตรประจาวันน้อยลง จากอาการปวดตงึ คอ บา่ ไหล่ ข้อมูลสนบั สนนุ S : ผ้รู บั บริการมีการปวดตึงศรี ษะ ตาลายเวลาหนั คอ ศีรษะ และมอี าการคลื่นไส้ ตาพร่า O : ผู้รบั บริการสามารถทากจิ วัตรประจาวันได้มากขนึ้ อาการปวดกล้ามเนอ้ื บริเวณ คอ บา่ ไหล่ และศีรษะนอ้ ยลง ตาพรา่ นอ้ ยลง วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้ผปู้ วุ ยเคลอื่ นไหวศีรษะได้ เอย้ี วคอได้มากขึ้น สามารถทากจิ กรรมประจาวนั ได้ ไมม่ ี อาการปวดคอ เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ผู้ปวุ ยสามารถเคลอื่ นไหวศีรษะได้ เอี้ยวคอได้มากข้นึ ปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวันได้ตามปกติ ลด อาการปวดศรี ษะ และคอ ตาพร่ามวั ลดลง

28 กิจกรรมการพยาบาล 1. แนะนาให้ผปู้ ุวยเข้านอนแต่หวั ค่า ไมน่ อนดึก เพื่อการพกั ผ่อนท่ีเพียงพอ 2. เมอ่ื แพทย์ทาการฝังเขม็ พยาบาลตอ้ งคอยดแู ลไม่ให้ผปู้ วุ ยเกร็งกลา้ มเน้อื เพราะอาจทาให้ เกดิ อาการชาหรือเปน็ ตะครวิ ได้ หากเม่ือยอาจขยับได้เล็กน้อย แตไ่ มค่ วรเคล่ือนไหวร่างกาย 3. เม่อื แพทยฝ์ ังเข็มและรอระยะเวลาการฝงั เข็มไว้ โดยในขณะทเี่ ข็มยังอยูบ่ นรา่ งกายหากมี อาการผดิ ปกติ หรือเจ็บปวด บริเวณท่ฝี งั เข็มมากข้ึน หรือมอี าการหนา้ มดื เปน็ ลมขณะเข็มยงั ฝงั อยบู่ นร่างกาย ใหผ้ ปู้ ุวยเรยี กพยาบาลทันที 4. เมอื่ อาการปวดศีรษะดขี ึ้น ให้ผูป้ ุวยเอยี งคอซา้ ยขวาเบาๆ เพ่อื ดูวา่ อาการเคล่อื นไหวศีรษะดขี ึ้น มากนอ้ ยเพียงใด 5. ใหค้ าแนะนาตัวภายหลังกลับบ้านแลว้ เชน่ การพักผ่อนที่เพียงพอ ไมอ่ อกกาลังกายท่ีหกั โหม สามารถทากิจกรรมต่างๆ ดว้ ยตนเอง เช่น ล้างหน้า อาบน้า การรับประทานอาหารทมี ปี ระโยชน์ เป็นตน้ 6. สรา้ งสมั พนั ธภาพโดยการพูดคยุ และแสดงทา่ ทเี ปน็ กนั เอง ใช้นา้ เสยี งและกริ ิยาทสี่ ุภาพ สอบถามถงึ ความรูส้ กึ ของการมารับบริการ 7.เปดิ โอกาสใหผ้ รู้ บั บรกิ ารแสดงความรู้สึกถึงความประทบั ใจตอ่ การรกั ษาด้วยการฝงั เขม็ การประเมนิ ผล สามารถกม้ เงยคอ เอยี งศรี ษะซ้าย ขวา ได้มากขน้ึ อาการปวดศีรษะดขี ้ึน อาการตาพรา่ เม่อื ยตา ดีขน้ึ ข้อวินิจฉยั ทางการพยาบาลท่ี 4 ความรู้สกึ วิตกกงั วลเก่ยี วกบั กระบวนการรักษาแบบฝังเขม็ ท่ีเกรงว่าจะทา ให้ไม่หายจากอาการไมเกรน ขอ้ มูลสนับสนนุ S : ผรู้ บั บริการบน่ ว่า กลวั ฝังเขม็ กลัวไม่หาย กลวั เจบ็ O : ผรู้ ับบริการรสู้ กึ ผ่อนคลายความวติ กกงั วลลงและบอกวา่ ตนเองสมคั รใจเข้ารับการรกั ษาแบบ ทางเลอื ก เพ่ือให้อาการท่ีเป็นอยทู่ เุ ลาลง ภายหลงั จากพดู คุยกับพยาบาลแลว้ วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารลดความวิตกกงั วล คลายอาการปวดกลา้ มเนอ้ื คอ บ่าไหล่ ปวดศีรษะ สามารถทางาน และใช้ชีวิตประจาวันไดด้ ขี ้นึ หลังจากการฝังเขม็ เกณฑ์การประเมนิ ผล อาการปวดศรี ษะเปรียบเทียบกอ่ น-หลัง มารบั การรักษาทเุ ลาลง โดยประเมนิ จาก pain score จาก 8 คะแนนเหลอื ๒ คะแนน

29 กจิ กรรมการพยาบาล ๑. ใหค้ าแนะนาผปู้ ุวย กอ่ นมารบั บรกิ ารฝงั เขม็ ดงั น้ี - ให้ผปู้ ุวยพักผ่อนนอนหลบั ให้เต็มที่ ไมค่ วรอดนอนก่อนมารบั การฝงั เข็ม - ควรรับประทานอาหารให้อม่ิ พอดี ไม่อ่มิ เกนิ ไปและไม่งดอาหารกอ่ นมาฝงั เข็ม - สวมเสอ้ื ผา้ หลวมๆ สบายๆ เพอื่ ความสะดวกในการฝังเข็ม - ผ้ปู ุวยทม่ี ีร่างกายออ่ นแอ มโี รคประจาตัว ผ้สู ูงอายุ หรอื เดินไม่สะดวก ควรมีญาติมาดว้ ย ๒. หากผปู้ ุวยมีอาการตื่นเตน้ กลวั เขม็ ใหแ้ นะนาวิธีลดอาการตน่ื เต้นโดยให้ผ้ปู ุวยหายใจเข้าทางจมูก และผ่อนลมออกทางปากชา้ ๆ คดิ ถึงส่งิ สวยงามท้องฟูาทะเล ผ่อนคลายกล้ามเนอ้ื ไม่ออกแรงตา้ นขณะแพทย์ ทาการฝังเข็ม ๓. สมั ผสั ผู้ปุวยเบาๆเพือ่ ให้ผู้ปวุ ยผอ่ นคลายและลดความตงึ เครียดลง วิธีการนคี้ วรเตรยี มผปู้ ุวย ประมาณ 3-5 นาทกี อ่ นใหแ้ พทยท์ าการฝังเขม็ หม่นั สงั เกตสหี น้าและการหายใจ และรอจน ผปู้ ุวยจะผอ่ นคลาย ความตงึ เครยี ดและลดความวิตกกังวลลง 4. เมือ่ แพทยท์ าการฝังเข็ม พยาบาลต้องคอยดูแลไมใ่ หผ้ ปู้ ุวยเกร็งกลา้ มเน้อื เพราะอาจทาให้ เกดิ อาการชาหรอื เป็นตะครวิ ได้ หากเมอ่ื ยอาจขยับไดเ้ ลก็ น้อย แตไ่ ม่ควรเคลอื่ นไหวร่างกาย 5. เมอ่ื แพทยฝ์ งั เขม็ และรอระยะเวลาการฝังเขม็ ไว้ โดยในขณะทเี่ ขม็ ยงั อยู่บนรา่ งกายหากมีอาการ ผิดปกติ หรอื เจบ็ ปวด บรเิ วณทฝ่ี งั เข็มมากขน้ึ หรือมอี าการหน้ามืดเปน็ ลมขณะเขม็ ยังฝังอยบู่ นร่างกายให้ ผู้ปวุ ยเรยี กพยาบาลทนั ที 6. ดแู ลแนะนาให้ผปู้ ุวยระมัดระวังการเปลีย่ นท่าจากนอนเป็นนง่ั หรือยืน เพราะการทา่ อย่างรวดเรว็ อาจทาให้ความดนั โลหิตเปล่ยี นแปลงและเกดิ อบุ ตั เิ หตุได้ 7. ตดิ ตามประเมินอาการภายหลงั จากการฝงั เขม็ การประเมนิ ผล 1. ผู้รับบรกิ าร มีอาการปวดศรี ษะน้อยลงมาก สามารถพูดคยุ กบั ญาตทิ ่มี าดว้ ยทา่ ทางทีไ่ มม่ ี อาการปวดศรี ษะเหมอื นก่อนมา 2. สงั เกตสง่ิ ผดิ ปกติ เชน่ การมเี ลอื ดออก มรี อยบวม หรอื ผ้ปู วุ ยมคี วามรู้สึกเจ็บปวดอยู่ หากยงั มอี าการดงั กลา่ วตอ้ งรายงานใหแ้ พทย์ทราบ 3. ผู้รับบรกิ ารสามารถลุกจากเตยี งทีใ่ หบ้ ริการฝงั เข็มดว้ ยตัวเองและลกุ เดินไปหอ้ งนา้ เองได้ 4. ผรู้ ับบริการกลา่ วขอบคุณหมอฝังเข็มและพยาบาลทใี่ ห้การดแู ละตลอดระยะเวลาทฝ่ี งั เขม็ ด้วยท่าทท่ี สี่ ุภาพ และพยาบาลเชญิ มาน่งั ท่โี ตะ๊ ให้คาแนะนาและใหบ้ ริการน้าดื่มอุ่นๆภายหลังฝังเข็ม 10.การติดตามและการนัดมารับบรกิ าร การให้บรกิ ารฝังเขม็ ของคลินิกบรกิ ารดา้ นการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลอื ก จะมกี ารนัดตดิ ตามอาการและใหผ้ รู้ บั บริการเข้ามารบั บรกิ ารฝังเข็มอยา่ งตอ่ เน่อื งเพ่อื ผลลัพธ์การรกั ษาท่ีมีประสิทธภิ าพ จงึ ได้นัดผู้รบั บริการให้มารบั บรกิ ารฝงั เข็ม อยา่ งนอ้ ย 5-10 คร้ัง หา่ งกนั ครั้ง ละ 1 สปั ดาห์ หากมีการเลือ่ นนัดขอใหผ้ ูป้ วุ ยโทรแจง้ เลอื่ นนดั ใหเ้ จา้ หน้าที่ทราบกอ่ นวันนดั 1 วนั

30 11. คาแนะนากอ่ นกลับบา้ น  ไมค่ วรขับข่ี ยวดยานพาหนะทันทหี ลังการฝงั เขม็ เพราะอาจเกดิ การงว่ งนอน  งดอาบนา้ 2 ช่วั โมงหลงั การฝงั เข็ม  หลงั ฝงั เขม็ ควรนอนพกั ผ่อนและงดกจิ กรรมที่ใช้แรงมากเช่น การออกกาลังกายท่ีหักโหม การ เตน้ แอโรบคิ หรือว่ายน้า เป็นตน้  หากมีไขใ้ หร้ ับประทานยาลดไข้ และนอนพกั ผ่อน อาการจะหายไปภายใน 24 ช่วั โมง หาก หลงั 24 ช่วั โมงอาการไข้ไมล่ ดลง และมอี าการปวดบวมแดงร้อนบรเิ วณท่ฝี ังเขม็ ร่วมด้วย ใหร้ ีบกลับมาพบ แพทย์ทนั ที  ผปู้ วุ ยไมเกรน ท่มี ีอาการเตือนล่วงหน้า เมอ่ื จะเกดิ อาการขึ้น ต้องเรียนร้วู ิธกี ารใช้ยาเพ่ือ บรรเทาอาการ การดูแลตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองเพอ่ื ควบคุมอาการปวดศรี ษะ ได้แก่ การออกกาลังกายอยา่ งสมา่ เสมอ การพักผอ่ นหย่อนใจ สนั ทนาการตา่ งๆ  มีสมุดบันทกึ อาการปวดศรี ษะประจาวัน เพื่อชว่ ยในการวินิจฉยั และรกั ษาโรคไดร้ วดเรว็ สงิ่ ท่ี ตอ้ งการบันทกึ คือ สาเหตุสง่ เสริมใหเ้ กิดอาการปวดศีรษะว่า เกิดจากอาหารหรือสงิ่ แวดลอ้ ม (แสงสวา่ งจา้ )  ควรมาตรวจตามนดั ของแพทยท์ กุ ครงั้ 12. สรปุ กรณศี กึ ษา ผู้ปุวยหญิง อายุ 55 ปี มีอาการปวดกล้ามเน้ือ คอ บ่า ไหล่ และปวดศีรษะร่วมด้วย มีอาการ คล่ืนไส้ ตาพร่า มีอาการชาที่น้ิวชี้ และน้ิวกลาง ได้รับการรักษาจากแพทย์ท่ัวไป ได้รับยา Pregabalin (BRILLIOR) Cap –NX 30 แคปซูล รับประทานคร้ังละ 1 – 2 Cap ก่อนนอน และ MYONAL (Eperisone) sc tab 50 mg. –NX 30 Tab 1 tab ก่อนนอน รับประทานยาแล้วอาการปวดศีรษะลดลง แตย่ ังคงมีอาการ ปวด คอ บ่า ไหล่ จึงมารบั การรักษาโดยการฝงั เขม็ ตลอดระยะเวลาท่ีทากรณศี ึกษา 1 เดอื น พบวา่ มปี ัญหาทางการพยาบาล คือ ขาดความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพตนเองต่อการเกิดกลุ่มอาการบาดเจ็บระบบโครงสร้างของร่างกายจากออฟฟิศซินโดรม ความวิตกกังวลจากการรักษาด้วยการฝังเข็ม รวมทั้งมีพฤติกรรมการปูองกันการเกิดกลุ่มอาการออฟฟิศซินโด รม ท่ีไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมในด้านการยืนหลังงอ การน่ังทางานไม่เหมาะสม นั่งหลังงอ น่ังนาน ๆ โดยไม่ เปล่ียนอิริยาบถ และมีพฤติกรรมการยกของหนัก เนื่องจากขาดความรู้ด้านการยืดเหยียดกล้ามเน้ือ ผู้เขียนจึง ได้ให้การพยาบาลโดยให้คาแนะนาเก่ียวกับออฟฟิตซินโดรม การปฏิบัติตัวท่ีเหมาะสมในการดูแลสุขภาพ อาการนาที่สาคัญ การปูองกันก่อนการเกิดอาการไมเกรน การรับประมานอาหารท่ีเหมาะสม ลดการด่ืมชา กาแฟ แอลกอฮอล์ ระมัดระวงั เรื่องการรับประทานยาแก้ปวดชนิดตา่ งๆ ออกกาลังกายตามสมควรและต้องมี การยดื เหยียดกล้ามเนอ้ื ทุกวันอย่างสมา่ เสมอ ทาสมาธิและสวดมนตเ์ พือ่ ลดความกังวล นอกจากน้ียังไดต้ ิดตาม สอบถามอาการทุกสัปดาห์ๆละ 2 ครั้ง เพื่อติดตามพฤติกรรมการปฏิบัติตัวหลังจากได้รับคาแนะนาไปแล้ว ประเมินผลการพยาบาลพบว่า ผู้ปุวยมีอาการ ปวดตน้ คอ บ่า และสะบัก ลดลง ไม่มีอาการปวดศีรษะ ตาพร่า สามารถทากจิ วัตรประจาวันได้ปกติ

31 13. วจิ ารณ/์ เสนอแนะ วิจารณ์ ควรมกี ารศกึ ษาและตดิ ตามอาการผ้ปู ุวยทีไ่ ด้รับการรกั ษาจากการฝงั เข็มไปแล้ว วา่ มกี ารเกดิ การ อาการกลบั ซา้ อกี หรอื ไม่ และมกี ารปฏบิ ตั ิตนได้ตามท่ใี หค้ าแนะนาไปแลว้ มากน้อยเพยี งใด รวมทั้งปญั หา อปุ สรรคในการดูแลสขุ ภาพ เสนอแนะ 1. ผู้ปุวยท่ีเป็นออฟฟิตซินโดรม ยังขาดความเช่ือมโยงและความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเอง การ ปอู งกันอาการปวดเม่ือยกล้ามเน้ือจากการทางาน ซ่ึงการดูแลตวั ผู้ปุวยเองเป็นเร่ืองสาคัญ ผู้ปวุ ยจึงจาเปน็ ตอ้ ง เรยี นรเู้ รอ่ื งการดแู ลตนเอง 2. ควรให้ความรู้กับคนในครอบครัวร่วมด้วย เพราะความเหน็ดเหนื่อยจากการทางานด้วยอิริยาบถท่ี ไมถ่ กู ต้อง จะสง่ ผลต่อการเกิดปัญหาออฟฟติ ซินโดรม ตามมาได้ทกุ คน 3. ควรจัดทาบันทึกกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอ และหม่ันสังเกตุอาการของตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อคน้ หาปจั จัยเสย่ี งและแนวทางปูองกัน ที่ไมใ่ หก้ ลับเปน็ ซ้า ******************************

32 เอกสารอา้ งอิง 1. วรวัฒน์ เอ่ียวสนิ พานิช. , ศูนยเ์ วชศาสตร์ฟ้ืนฟู รพ.สุขมุ วิท, รายการอุ่นใจใกลห้ มอ MCOT HD ตอน ความรเู้ รอ่ื งออฟฟติ ซินโดรม : ออกอากาศ 20 กรกฎาคม 2563. https://www.sukumvithospital.com/healthcontent.php?id=3495 2. https://kinrehab.com/news/view/78/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8 %9F%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E 0%B8%94-office-syndrome 3. สานักโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ้ ม : ดร.พญ.ฉนั ทนา ผดงุ ทศ ผ้อู านวยการสานกั โรค จากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดลอ้ ม ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 2 เมษายน – มิถนุ ายน 2560, จลุ สาร Env.Occ http://envocc.ddc.moph.go.th 4. โกวิท คัมภรี ภาพ.ทฤษฎีพ้นื ฐานการแพทย์แผนจีน.พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1.กรงุ เทพมหานคร, 2546 5. ตาราการฝงั เข็มรมยา เล่ม 4 .พมิ พ์ลกั ษณ์ กรงุ เทพ, 2555 พมิ พ์คร้งั ที่ 1 6. สมภพ สูอาพนั และโชตกิ า แกว้ เกษ. รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง “การศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของการฝงั เข็มต่อ การรกั ษาโรคไมเกรน”. ศนู ยก์ ารแพทย์กาญจนาภเิ ษก มหาวิทยาลยั มหดิ ล,2557 7. นภษร แสงศวิ ะฤทธ.ิ์ รายงานการวจิ ยั เรื่อง “ การเลือกจดุ ฝงั เขม็ และเสน้ ลมปราณทใี่ ชใ้ นการรกั ษา โรคไมเกรน ”.คณะการแพทยแ์ ผนจนี มหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รต,ิ 2557 8. ฟารดิ า อิบราฮมิ . พยาบาลวชิ าชพี กับการวนิ ิจฉัยทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์ , 2528 9. สจุ ิตรา เหลอื งอมรเลิศ .การวนิ จิ ฉัยการพยาบาล ; ทกั ษะท่ตี อ้ งการของพยาบาลวชิ าชีพ.วารสารคณะ พยาบาลศาสตร์ ,2527 10. https://www.bangpakokhospital.com/care_blog/content/Migraine ( สบื คน้ เม่อื 24 ธนั วาคม 2564 ) 11. ออฟฟิศซนิ โดรม ทาสมองรบั ออกซิเจนไม่เพียงพอ เครยี ด ไมเกรน https://mgonline.com:สขุ ภาพ : 3 สงิ หาคม 2561 (สืบคน้ เมอ่ื 24 ธนั วาคม 2564) 12. การฝงั เขม็ ศรษี ะรักษาไมเกรน : https://www.huachiewtcm.com/ ( สบื ค้นเมอ่ื 24 ธันวาคม 2564 ) 13. Travell & Simons’ Myofascial Pain and Dysfunction: Trigger Point Manual 2nd edition, 1999. 14. Christina M Whitney. New Headache Classification : Implications for Neurosurgical nurse : 1990, p. 386. 15. https://www.healthcarethai.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8 16. https://www.thonburihospital.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8% A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0 %B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%99.html