Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการติดต่อขอรับงานบริการด้านยุติธรรม สำหรับประชาชน

คู่มือการติดต่อขอรับงานบริการด้านยุติธรรม สำหรับประชาชน

Description: คู่มือการติดต่อขอรับงานบริการด้านยุติธรรม สำหรับประชาชน

Search

Read the Text Version

กลมุ่ งานประชาสมั พนั ธ ์ กองกลาง สำานักงานปลดั กระทรวงยุติธรรม ศูนย์ร�ชก�รเฉลิมพระเกยี รต ิ อ�ค�รร�ชบรุ ดี เิ รกฤทธิ์ ถนนแจ้งวฒั นะ เขตหลักส่ี กรงุ เทพมห�นคร 10210 ส�ยดว่ น 1111 กด 77 www.moj.go.th Facebook : ประช�สัมพนั ธ ์ กระทรวงยุติธรรม

กระทรวงยตุ ธิ รรม Ministry of Justice คู่มือการติดต่อขอรบั งานบริการดานยุตธิ รรม สาำ หรับประชาชน พมิ พค์ รง้ั ท ่ี 1 จำ�นวน 10,000 เล่ม ปที ผี่ ลิต เดอื นกมุ ภ�พนั ธ ์ พ.ศ. 2561

สารบญั หนา้ 6 โครงสร�้ งกระทรวงยุตธิ รรม 8 วสิ ยั ทศั น์ 8 ค่�นิยมร่วมองคก์ ร 9 พันธกจิ 9 อ�ำ น�จหน้�ท่ีกระทรวงยตุ ธิ รรม 10 สญั ลักษณ์ประจำ�กระทรวงยุตธิ รรม 10 ดอกไม้ประจำ�กระทรวงยุติธรรม 10 ตน้ ไมป้ ระจำ�กระทรวงยุตธิ รรม ภารกิจและงานบริการของสว่ นราชการในสงั กดั กระทรวงยตุ ิธรรม สำานกั งานรัฐมนตร ี 12 Offi ce of The Minister 13 สำานักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม 14 Offi ce of The Permanent Secretary 30 กรมคมุ ประพฤต ิ 51 Department of Probation 67 กรมค้มุ ครองสิทธแิ ละเสรีภาพ Rights and Liberties Protection Department กรมบงั คับคด ี Legal Execution Department กรมพนิ จิ และคุ้มครองเดก็ และเยาวชน Department of Juvenile Observation and Protection

สารบญั ห7น0า้ 74 กรมราชทัณฑ ์ 81 Department of Corrections 126 กรมสอบสวนคดพี ิเศษ 132 Department of Special Investigation 146 สาำ นักงานกจิ การยตุ ิธรรม 154 Offi ce of Justice Affairs สถาบันนติ ิวทิ ยาศาสตร์ Central Institute of Forensic Science Thailand สาำ นกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามยาเสพติด Offi ce of The Narcotics Control Board ศนู ยบ์ รกิ ารร่วมกระทรวงยุตธิ รรม Justice Service Link สำานกั งานกองทนุ ยตุ ธิ รรม Justice Fund Offi ce

โครงสร้างกระทรวงยตุ ิธรรม 6 คู่มือการติดต่อขอรบั งานบริการด้านยตุ ิธรรม สำาหรบั ประชาชน

Structure of the Ministry of Justice คมู่ อื การตดิ ตอ่ ขอรับงานบริการดา้ นยตุ ิธรรม 7 สาำ หรบั ประชาชน

วิสยั ทศั น์ “หลักประกนั คว�มยุติธรรม ต�มม�ตรฐ�นส�กล” ค่านยิ มขององคก์ ร “ยตุ ธิ รรมถ้วนหน้� ประช�มีสว่ นรว่ ม” 8 คูม่ ือการติดตอ่ ขอรับงานบริการดา้ นยุตธิ รรม สำาหรับประชาชน

พนั ธกจิ 1. พัฒน�ระบบก�รให้บริก�รประช�ชนเพ่ือให้เข้�ถึงคว�มยุติธรรม อย่�งเท่�เทยี มกนั 2. พัฒน�ระบบง�นยุติธรรมและก�รบังคับใช้กฎหม�ยให้เป็นไปต�ม หลักส�กล 3. พฒั น�ประสทิ ธภิ �พก�รบรหิ �รคว�มยตุ ธิ รรมและก�รบงั คบั ใชก้ ฎหม�ย ให้มธี รรม�ภบิ �ล 4. พฒั น�ระบบปอ้ งกนั อ�ชญ�กรรมเพอื่ สร้�งคว�มปลอดภยั ในสงั คม อาำ นาจหนาทก่ี ระทรวงยตุ ิธรรม ม�ตร� 32 แห่งพระร�ชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซ่ึง กำ�หนดอำ�น�จหน้�ที่ของกระทรวงยุติธรรมไว้ว่� “ให้มี อำ�น�จหน้�ที่เกี่ยวกับก�รบริห�รจัดก�รกระบวนก�รยุติธรรม เสริมสร้�ง และอำ�นวยคว�มยุติธรรมในสังคม และร�ชก�รอ่ืนต�มท่ีมีกฎหม�ย ก�ำ หนดใหเ้ ปน็ อ�ำ น�จหน�้ ทขี่ องกระทรวงยตุ ธิ รรมหรอื สว่ นร�ชก�รทส่ี งั กดั กระทรวงยุติธรรม” คมู่ ือการตดิ ตอ่ ขอรับงานบริการด้านยุตธิ รรม 9 สำาหรบั ประชาชน

สัญลกั ษณ์ประจาำ กระทรวงยตุ ิธรรม กระทรวงยุติธรรมมีต้นไม้และดอกไม้ประจำ�กระทรวง ประกอบด้วย ต้นสนฉัตรและดอกบัวข�ว โดยมีที่ม�จ�กวันก่อต้ังกระทรวงยุติธรรม คือ วนั พุธที่ 25 มนี �คม พ.ศ. 2434 ซ่งึ มี “ต้นสนฉัตร เป็นต้นไม้ประจำาวันพุธ” และม ี “ดอกบวั เปน็ ดอกไมป้ ระจาำ วนั พธุ ” ประกอบกบั สปี ระจ�ำ กระทรวงยตุ ธิ รรม คือสีข�ว จึงได้กำ�หนดให้ต้นไม้ประจำ�กระทรวงยุติธรรม คือ ต้นสนฉัตร และดอกไม้ประจำ�กระทรวงยุตธิ รรม คือ ดอกบวั ข�ว ดอกไม ประจำากระทรวงยตุ ิธรรม “ดอกบัวขาว” เปรียบเสมือนสญั ลกั ษณ์ แหง่ ความบรสิ ุทธิ์ ตนไม ประจำากระทรวงยตุ ธิ รรม “ตน สนฉตั ร” สัญลักษณ์แหง่ ความยุติธรรม ทีเ่ ปน็ แกนหลักแห่งความคดิ ในการยนื หยัด ในหนา้ ที่ทีจ่ ะอำานวยความยุตธิ รรม อย่างไมเ่ ปลี่ยนแปลง 10 คูม่ อื การติดต่อขอรับงานบริการด้านยตุ ธิ รรม สำาหรบั ประชาชน

ภารกิจและงานบรกิ าร ของส่วนราชการในสงั กัด กระทรวงยตุ ิธรรม

สาำ นกั งานรฐั มนตรี Office of The Minister ดำ�เนินก�รรวบรวมข้อมูลและวิเคร�ะห์ กลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอ รัฐมนตรี รวมทั้งเสนอคว�มเห็นประกอบก�รวินิจฉัยสั่งก�รของรัฐมนตรี สนับสนุนก�รทำ�ง�นของรัฐมนตรีในก�รดำ�เนินง�นท�งก�รเมืองระหว่�ง รัฐมนตรี รัฐสภ� และประช�ชน ประส�นง�นก�รตอบกระทู้ ชี้แจงญัตติ ร่�งพระร�ชบัญญัติและกิจก�รอื่นท�งก�รเมือง ดำ�เนินก�รพิจ�รณ�เร่ือง ร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือร้องขอคว�มช่วยเหลือต่อรัฐมนตรี ปฏิบัติก�ร อนื่ ใดต�มทก่ี ฎหม�ยก�ำ หนดใหเ้ ปน็ อ�ำ น�จหน�้ ทขี่ องส�ำ นกั ง�นรฐั มนตรหี รอื ต�มที่รฐั มนตรหี รือคณะรัฐมนตรมี อบหม�ย โทรศัพท์ 0 2141 6435 โทรสาร 0 2143 9883 เวบ็ ไซต์ www.moj.go.th/th/home-om 12 ค่มู อื การติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารด้านยตุ ิธรรม สาำ หรบั ประชาชน

สาำ นกั งานปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม Office of The Permanent Secretary ดำ�เนนิ ก�รด้�นก�รพฒั น�ยุทธศ�สตร์ ศึกษ� วิเคร�ะห์ จดั ทำ�ข้อมลู เพ่ือใช้ในก�รกำ�หนดนโยบ�ย เป้�หม�ย และผลสัมฤทธ์ิของกระทรวง แปลงนโยบ�ยของรัฐบ�ลและนโยบ�ยของรัฐมนตรีเป็นแนวท�งและ แผนปฏิบัติก�รของกระทรวง กำ�กับ เร่งรัด ติดต�ม ประเมินผล รวมทั้ง ประส�นก�รปฏิบัติร�ชก�รของหน่วยง�นในสังกัดกระทรวง และพัฒน� ระบบเทคโนโลยีส�รสนเทศเพื่อใช้ในก�รบริห�รง�นและก�รบริก�รของ หน่วยง�น ดูแลง�นประช�สัมพันธ์ ก�รต่�งประเทศ พัฒน�กฎหม�ย ที่เก่ียวข้องและเผยแพร่กิจกรรมข่�วของกระทรวง สนับสนุนก�รพัฒน� บุคล�กร จัดสรรและบริห�รทรัพย�กรให้เกิดก�รประหยัดและคุ้มค่� ดำ�เนินก�รต�มกฎหม�ยว่�ดว้ ยกองทุนยตุ ิธรรม และกฎหม�ยอ่นื ที่เกีย่ วข้อง รวมทั้งบูรณ�ก�รและขับเคล่ือนแผนก�รป้องกันและปร�บปร�มก�รทุจริต และก�รส่งเสรมิ คมุ้ ครองจริยธรรมในกระทรวง โทรศพั ท ์ 0 2141 5100 โทรสาร 0 2143 8289 - 90, 0 2143 8242 เว็บไซต ์ www.moj.go.th/th/home-ops คมู่ อื การตดิ ตอ่ ขอรบั งานบริการดา้ นยุติธรรม 13 สำาหรับประชาชน

กรมคมุ ประพฤติ Department of Probation ดำ�เนินก�รเกี่ยวกับก�รควบคุม ดูแล และแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำ�ผิด ในชุมชน และติดต�มช่วยเหลือสงเคร�ะห์ให้กลับคืนเป็นพลเมืองดี ของสังคม รวมท้ังเสริมสร้�งก�รมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และ ภ�คีเครือข�่ ยในก�รดแู ลและแก้ไขฟื้นฟผู ู้กระทำ�ผดิ 14 คมู่ อื การติดต่อขอรบั งานบริการดา้ นยุตธิ รรม สาำ หรบั ประชาชน

 ชอ่ งทางในการติดต่อขอรบั บริการของประชาชน สถานทตี่ ดิ ตอ่ กรมคมุ ประพฤต ิ ชนั้ 4 ศนู ยร์ �ชก�รเฉลมิ พระเกยี รต ิ ฯ อ�ค�รร�ชบุรีดเิ รกฤทธ์ิ ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลกั ส ่ี กรงุ เทพมห�นคร 10210 โทรศัพท ์ 0 2141 4749 สายดว่ น 1111 กด 78 เว็บไซต์ www.probation.go.th อเี มล [email protected] สือ่ สังคมออนไลน ์ Facebook : กรมคมุ ประพฤต ิ Department of Probation, Twitter/ YouTube : กรมคมุ ประพฤติ ทางไปรษณยี ์ ต ู้ ปณ. 29 ปณฝ. ศนู ยร์ �ชก�รเฉลมิ พระเกยี รต ิ 80 พรรษ� 5 ธนั ว�คม 2550 กรงุ เทพมห�นคร 10215 หน่วยงานภายในกรมคมุ ประพฤตแิ ละสาำ นกั งานคุมประพฤติ จังหวัดทกุ แห่งทว่ั ประเทศ คู่มอื การตดิ ตอ่ ขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยุติธรรม 15 สำาหรบั ประชาชน

 งานบริการประชาชน งานสบื เสาะและพนิ ิจ (จำ�เลย) • หน่วยงานให้บรกิ าร สำ�นกั งานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร/จังหวดั /สาขาทว่ั ประเทศ • ขัน้ ตอนในการใหบ้ ริการ จ�ำ เลยทถี่ ูกศาลสง่ั ใหส้ บื เสาะและพินจิ 1. ไปพบธุรการคดียนื่ คำ�สง่ั ศาลใหส้ ืบเสาะและพนิ จิ - ธุรการคดีลงทะเบียนรับคดีและถ่ายรูปตัวจำ�เลย พร้อมแนบ แบบบนั ทึกถ้อยคำ� (คป.3) ให้พนักงานคุมประพฤติด�ำ เนินการ 2. พนักงานคุมประพฤติต้องชี้แจงทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับคำ�สั่ง ให้สืบเสาะและพินิจ รวมทั้งข้ันตอนการสืบเสาะ และพนักงานคุมประพฤติ สอบปากคำ�เบ้อื งตน้ หรอื นัดมาในวนั อ่ืนๆ - วาดแผนทีบ่ ้าน - เก็บปัสสาวะ (ถา้ เปน็ คดยี าเสพตดิ ) 3. ไปพบพนกั งานคมุ ประพฤติตามกำ�หนด - นัดเพื่อสอบปากคำ�เพ่ิมเตมิ • เอกสารที่ตอ้ งใช้ในการตดิ ต่อขอรบั บรกิ าร 1. ค�ำ ส่งั ศาลท่ีสัง่ ให้สบื เสาะและพินิจ จำ�นวน 1 ฉบับ 2. บตั รประจำ�ตวั ประชาชน พรอ้ มส�ำ เนา จำ�นวน 1 ฉบับ 3. ทะเบยี นบ้าน พร้อมส�ำ เนา จ�ำ นวน 1 ฉบบั 16 คู่มอื การติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารด้านยตุ ิธรรม สำ�หรบั ประชาชน

• ชอ่ งทางในการตดิ ต่อขอรับบรกิ าร 1. เวบ็ ไซต์กรมคมุ ประพฤติ www.probation.go.th 2. โทรศพั ท์ 0 2141 4749 3. สายดว่ น 1111 กด 78 4. ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ งานสืบเสาะและพนิ จิ (พยาน) • หน่วยงานให้บรกิ าร สำ�นักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาท่ัวประเทศ • ข้ันตอนในการใหบ้ รกิ าร ผเู้ ก่ียวขอ้ งในคดี (พยาน) ในฐานะเปน็ - ผ้เู สียหาย - บคุ คลในครอบครวั หรอื บุคคลใกลช้ ิดจำ�เลย เช่น เพ่อื น นายจา้ ง ครู ผ้นู ำ�ชมุ ชน เป็นตน้ - ผรู้ เู้ หน็ เหตกุ ารณก์ ระท�ำ ผดิ ของจ�ำ เลย (พยานในเหตกุ ารณ)์ ทพ่ี นกั งาน คุมประพฤติมีหนังสือเรียกพยานบุคคล (คป.6) ให้ไปพบ หรือ โทรศพั ทน์ ดั ใหไ้ ปพบเพอ่ื สอบปากค�ำ (มสี ทิ ธไ์ิ ดร้ บั คา่ เบย้ี เลย้ี งพยาน 100 บาท) • เอกสารท่ตี อ้ งใช้ในการติดต่อขอรบั บรกิ าร บตั รประจำ�ตัวประชาชน พรอ้ มส�ำ เนา จ�ำ นวน 1 ฉบบั คู่มอื การติดต่อขอรับงานบริการดา้ นยตุ ธิ รรม 17 สำ�หรับประชาชน

• ชอ่ งทางในการติดต่อขอรบั บริการ 1. เวบ็ ไซต์กรมคุมประพฤติ www.probation.go.th 2. โทรศัพท์ 0 2141 4749 3. สายดว่ น 1111 กด 78 4. ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ งานคมุ ประพฤติ • หนว่ ยงานใหบ้ ริการ สำ�นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จังหวัด/สาขาทัว่ ประเทศ • ข้ันตอนในการให้บริการ 1. การปฐมนิเทศและช้ีแจงเงอ่ื นไขการคุมความประพฤติ - ผูถ้ กู คมุ ความประพฤติพบพนกั งานคมุ ประพฤติ พร้อมเอกสาร ประจำ�ตัวผูถ้ ูกคุมความประพฤติ - พนักงานคุมประพฤติดำ�เนินการปฐมนิเทศและช้ีแจงเง่ือนไข การคมุ ความประพฤติ 2. การสอบปากค�ำ และบันทกึ ขอ้ มลู ผู้ถกู คมุ ความประพฤติ - ผูถ้ ูกคุมความประพฤตพิ บพนกั งานคมุ ประพฤติ พร้อมเอกสาร ประจำ�ตวั ผู้ถูกคุมความประพฤติ - พนกั งานคุมประพฤติด�ำ เนนิ การสอบปากคำ� - พนักงานคุมประพฤติจัดทำ�เอกสาร/สมุดข้อกำ�หนดเง่ือนไข เพื่อคุมความประพฤติ และมอบต้นฉบับให้ผู้ถูกคุมประพฤติ พร้อมแจ้งก�ำ หนดการนัดมารายงานตัว 18 ค่มู อื การติดต่อขอรบั งานบริการดา้ นยตุ ธิ รรม สำ�หรบั ประชาชน

3. การรบั รายงานตวั /การแก้ไขฟ้นื ฟู - ผู้ถูกคุมความประพฤติย่ืนเอกสาร/สมุดข้อกำ�หนดเงื่อนไข เพอ่ื คมุ ความประพฤติ - พนกั งานคมุ ประพฤตริ บั รายงานตวั ตามกระบวนการคมุ ประพฤติ - พนักงานคุมประพฤติกำ�ชับผู้ถูกคุมความประพฤติให้มา รายงานตวั ตามกำ�หนดนัดในคร้ังต่อไปจนครบตามทก่ี ำ�หนด - ผถู้ กู คมุ ความประพฤตอิ าจไดร้ บั การแกไ้ ขฟนื้ ฟู โดยการเขา้ รว่ ม กิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ตามสภาพปัญหาความจำ�เป็น และความตอ้ งการของผถู้ ูกคุมความประพฤติแตล่ ะราย หมายเหตุ : เปน็ การด�ำ เนนิ การเฉพาะราย จึงไมส่ ามารถก�ำ หนดเวลา ทีแ่ นน่ อนได้ • เอกสารทตี่ อ้ งใช้ในการตดิ ต่อขอรบั บริการ 1. เอกสารประจำ�ตัวผู้ถูกคุมความประพฤติ เช่น บัตรประจำ�ตัว ประชาชน ทะเบียนบ้าน ใบอนญุ าตขับขี่ 2. สมดุ ขอ้ กำ�หนดเง่ือนไขการคุมความประพฤติ • ชอ่ งทางในการติดต่อขอรบั บริการ 1. เวบ็ ไซตก์ รมคมุ ประพฤต ิ www.probation.go.th 2. โทรศัพท์ 0 2141 4749 3. สายด่วน 1111 กด 78 4. ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ คูม่ ือการติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารดา้ นยตุ ิธรรม 19 สำ�หรับประชาชน

งานสงเคราะห์ผู้กระท�ำ ผิด • หน่วยงานใหบ้ รกิ าร สำ�นักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร/จังหวดั /สาขาทว่ั ประเทศ • ขน้ั ตอนในการใหบ้ ริการ 1. ผู้กระทำ�ผิดกรอกคำ�ร้องขอรับการสงเคราะห์ตามแบบที่ กรมคุมประพฤตกิ ำ�หนด 2. พนกั งานคมุ ประพฤตพิ จิ ารณาและตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ พรอ้ มท�ำ ความเห็น - การสง่ เสรมิ การมงี านท�ำ หรือส่งเสริมด้านการหางาน - การสง่ เสริมด้านการฝึกวิชาชีพ - การส่งเสริมด้านการศกึ ษา - การสง่ เสรมิ ดา้ นทนุ ประกอบอาชีพ - การสงเคราะห์ดา้ นการรักษาพยาบาล - การสงเคราะหค์ า่ อาหาร - การสงเคราะห์ค่าพาหนะ - การสงเคราะห์คา่ ยงั ชีพ - การสงเคราะหด์ ้านที่พักอาศยั 3. เจา้ หนา้ ทธ่ี รุ การตรวจสอบรายละเอยี ดของเอกสาร พรอ้ มใบเสรจ็ รับเงิน/ใบสำ�คัญรับเงิน (ถ้ามี) งบประมาณท่ีจะให้การสงเคราะห์ พร้อมทำ� ความเหน็ เสนอผอู้ ำ�นวยการสำ�นักงานฯ 4. ผู้อ�ำ นวยการส�ำ นกั งานฯ พจิ ารณาให้ความเห็นตามเกณฑท์ ไ่ี ดร้ ับ แจ้งจากกรมบญั ชีกลางและแนวทางของกรมคมุ ประพฤติ 5. กรณผี ้อู �ำ นวยการสำ�นกั งานฯ อนุมตั ิ เจา้ หน้าทีธ่ รุ การจ่ายเงนิ ให ้ ผไู้ ดร้ บั การสงเคราะห์ 20 ค่มู ือการติดตอ่ ขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยตุ ธิ รรม ส�ำ หรบั ประชาชน

6. กรณีไม่ได้รับก�รอนุมัติ พนักง�นคุมประพฤติชี้แจงเหตุผล/ เสนอท�งเลือกอน่ื /ประส�นหน่วยง�นหรือองคก์ รอ่ืนต�มคว�มเหม�ะสม นอกจ�กน ้ี ยงั มบี รกิ �รใหค้ �ำ ปรกึ ษ�แนะน�ำ ใหค้ ว�มรแู้ ละก�รฝกึ อบรม ด้�นทักษะชีวิตตลอดจนก�รให้คว�มช่วยเหลือในด้�นอื่นๆ ท่ีจำ�เป็นต่อ ก�รด�ำ รงชวี ิต • เอกสารท่ตี อ้ งใช้ในการตดิ ต่อขอรบั บริการ 1. ค�ำ รอ้ งขอรบั ก�รสงเคร�ะห์ 2. ส�ำ เน�ใบเสรจ็ รับเงนิ /บลิ เงินสด 3. สำ�เน�ใบบรสิ ุทธิ/์ หลักฐ�นก�รปล่อยตัว 4. กรณขี อรบั ก�รสงเคร�ะหท์ นุ ประกอบอ�ชพี ตอ้ งแนบร�ยละเอยี ด ก�รน�ำ เงินไปใช้จ�่ ย • ช่องทางในการติดตอ่ ขอรบั บรกิ าร 1. เวบ็ ไซตก์ รมคุมประพฤติ www.probation.go.th 2. โทรศพั ท์ 0 2141 4881 3. ส�ยด่วน 1111 กด 78 4. ส�ำ นกั ง�นคมุ ประพฤต ิ กรงุ เทพมห�นคร/จงั หวดั /ส�ข�ทวั่ ประเทศ คู่มือการติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารดา้ นยตุ ิธรรม 21 สาำ หรับประชาชน

งานตรวจพสิ ูจน์ • ห น่วยงานให้บริการ ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จังหวดั /สาขาท่วั ประเทศ • ขั้นตอนในการให้บรกิ าร 1. ช้ีแจงเงื่อนไข/สิทธิประโยชน์ท่ีจะได้รับตามพระราชบัญญัติฟื้นฟู สมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด พ.ศ. 2545 2. สอบปากคำ�ผูเ้ ขา้ รบั การตรวจพสิ จู น์ 3. ตรวจสอบประวตั กิ ารกระท�ำ ความผิดและการบ�ำ บัดรักษา 4. สอบปากคำ�บุคคลในครอบครวั หรอื บคุ คลใกลช้ ิด 5. สบื เสาะสภาพแวดล้อมทีพ่ ักอาศยั ของผู้เขา้ รับการตรวจพสิ จู น์ 6. สอบปากค�ำ ผเู้ ขา้ รบั การตรวจพสิ ูจนเ์ พิม่ เติม 7. รวบรวมข้อมูลและจัดทำ�รายงานเสนอคณะอนุกรรมการฟื้นฟู สมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพตดิ พจิ ารณาวนิ ิจฉยั แผนการฟื้นฟู 8. แจ้งผลการตรวจพสิ ูจน์ หมายเหตุ : ขน้ั ตอนการด�ำ เนนิ งานรวมกนั แล้วไมเ่ กิน 15 วนั ยกเว้น กรณจี �ำ เปน็ ทค่ี ณะอนกุ รรมการอาจมีคำ�ส่งั ขยายเวลาออกไปอกี ไม่เกิน 30 วนั • เอกสารท่ตี ้องใช้ในการติดต่อขอรับบริการ 1. บัตรประจำ�ตวั ประชาชน พรอ้ มสำ�เนา จำ�นวน 1 ฉบบั 2. ทะเบียนบ้าน พร้อมส�ำ เนา จำ�นวน 1 ฉบบั 3. ประวตั ิการรักษาโรค จำ�นวน 1 ฉบับ 4. หลกั ฐานการศึกษา จ�ำ นวน 1 ฉบับ 22 คู่มอื การตดิ ตอ่ ขอรับงานบริการดา้ นยุตธิ รรม สำ�หรับประชาชน

• ชอ่ งทางในการตดิ ต่อขอรับบริการ 1. เว็บไซตก์ รมคมุ ประพฤติ www.probation.go.th 2. โทรศัพท์ 0 2141 4749 3. สายด่วน 1111 กด 78 4. ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ งานฟื้นฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด • หน่วยงานให้บริการ ส�ำ นักงานคมุ ประพฤติ กรุงเทพมหานคร/จังหวดั /สาขาทัว่ ประเทศ • ขน้ั ตอนในการใหบ้ รกิ าร 1. ชแ้ี จงเงอ่ื นไข/สทิ ธปิ ระโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั ตามพระราชบญั ญตั ฟิ นื้ ฟู สมรรถภาพผตู้ ิดยาเสพติด พ.ศ. 2545 2. แจ้งนัดหมายให้มาพบพนักงานเจ้าหน้าท่ี/รับตัวไปส่งสถานที่ ฟื้นฟูสมรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 3. ดำ�เนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามแผนการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด 4. ประเมนิ ผลระหวา่ งการฟนื้ ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ (90 วนั ) 5. ประเมนิ ผลเมอ่ื ครบระยะเวลาการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผตู้ ดิ ยาเสพตดิ (120 วัน) 6. เสนอผลการฟื้นฟูฯ ต่อคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 7. ออกใบนัดให้มารับหนังสือรับรองผลการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ผตู้ ิดยาเสพตดิ /ใบยนิ ยอมให้ติดตามผลการฟืน้ ฟูฯ คู่มอื การติดต่อขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยุตธิ รรม 23 ส�ำ หรับประชาชน

• เอกสารทตี่ อ้ งใช้ในการติดต่อขอรับบรกิ าร บตั รประจำ�ตวั ประชาชน พรอ้ มสำ�เนา จ�ำ นวน 1 ฉบับ • ช่องทางในการติดตอ่ ขอรบั บริการ 1. เวบ็ ไซต์กรมคมุ ประพฤติ www.probation.go.th 2. โทรศัพท์ 0 2141 4749 3. สายดว่ น 1111 กด 78 4. ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ การรบั รายงานตวั /ยา้ ยสถานทร่ี ายงานตวั /รายงานตวั ไมต่ รงวนั ทีก่ �ำ หนด • หน่วยงานให้บรกิ าร สำ�นกั งานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร/จังหวัด/สาขาทัว่ ประเทศ • ข้นั ตอนในการให้บริการ ผู้ถูกคุมความประพฤติที่ต้องมารายงานตัวกับพนักงานคุมประพฤติ ต้องนำ�เอกสารประจำ�ตัวผู้ถูกคุมความประพฤติและต้องมารายงานตัว ตามกำ�หนดนัด หากต้องเล่ือนนัดหมายขอให้ติดต่อโดยตรงที่สำ�นักงาน คมุ ประพฤติ หรอื สอบถามทางโทรศพั ทต์ ามหมายเลขทรี่ ะบใุ นบตั รก�ำ หนดนดั รายงานตวั ของท่านในวนั และเวลาราชการ • เอกสารท่ตี อ้ งใช้ในการติดต่อขอรบั บริการ 1. บัตรประจำ�ตวั ประชาชน พร้อมสำ�เนา 2. ทะเบยี นบา้ น พรอ้ มส�ำ เนา 3. ใบอนญุ าตขับขี่ พร้อมส�ำ เนา 4. สมดุ ข้อกำ�หนดเงอ่ื นไขการคมุ ความประพฤติ 24 ค่มู อื การติดต่อขอรับงานบรกิ ารดา้ นยุติธรรม สำ�หรบั ประชาชน

• ชอ่ งทางในการตดิ ตอ่ ขอรับบริการ 1. ส�ำ นกั งานคมุ ประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ 2. สายด่วน โทร. 1111 กด 78 การปล่อยช่วั คราวในระหว่างการตรวจพสิ จู น์ • หนว่ ยงานให้บรกิ าร ส�ำ นักงานคมุ ประพฤติเจ้าของคดขี องท่าน • ขัน้ ตอนในการให้บริการ 1. ผู้มีสิทธิร้องขอปล่อยชั่วคราว ได้แก่ ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ บดิ า มารดา สามี ภรยิ า บุตร ญาตพิ นี่ ้อง หรือผู้มีประโยชนเ์ กย่ี วขอ้ ง 2. หลักประกันที่สามารถใช้ในการปล่อยช่ัวคราว มี 3 ชนิด คือ เงินสด หรือหลักทรัพย์อ่ืนๆ เช่น โฉนดท่ีดิน หรือบุคคลคํ้าประกันอย่างใด อย่างหนงึ่ โดยตดิ ตอ่ ย่นื เรื่องท่สี ำ�นักงานคุมประพฤติเจา้ ของคดีของทา่ น • เอกสารทีต่ อ้ งใช้ในการติดตอ่ ขอรบั บรกิ าร 1. บตั รประจำ�ตวั ประชาชน พร้อมส�ำ เนา 2. ทะเบยี นบา้ น พรอ้ มส�ำ เนา • ชอ่ งทางในการตดิ ต่อขอรบั บรกิ าร สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ตามหมายเลขโทรศัพท์ท่ีอยู่ ในบัตรกำ�หนดนัดรายงานตัวของสำ�นักงานคุมประพฤติของท่านได้ในวันและ เวลาราชการ คมู่ ือการตดิ ตอ่ ขอรับงานบริการด้านยตุ ิธรรม 25 ส�ำ หรับประชาชน

การท�ำ งานบริการสังคมแทนค่าปรบั • หนว่ ยงานให้บรกิ าร สำ�นักงานคุมประพฤติ กรงุ เทพมหานคร/จงั หวดั /สาขาทว่ั ประเทศ • ขั้นตอนในการให้บริการ ผู้กระทำ�ผิดที่ถูกศาลพิพากษาลงโทษ แต่ไม่มีเงินชำ�ระค่าปรับ (ซึ่งโดยปกติต้องถูกนำ�ตัวไปกักขังแทนค่าปรับ) ผู้ต้องโทษปรับนั้นสามารถ ทำ�งานบริการสังคมหรือทำ�งานสาธารณประโยชน์แทนค่าปรับได้ โดยการ ทำ�งานบริการสังคม 1 วัน จะเท่ากับเงินค่าปรับ 500 บาท ท่านที่ต้องการ ท�ำ งานบริการสังคมแทนค่าปรับควรดำ�เนินการตามขั้นตอน ดังน้ี 1. แจง้ ความประสงคต์ อ่ เจา้ หนา้ ทศี่ าลเพอ่ื ขอท�ำ งานบรกิ ารสงั คมแทน คา่ ปรับ 2. เขียนคำ�ร้องตามแบบ บส.1 และกรอกประวัติส่วนตัวลงใน แบบประวตั จิ �ำ เลยตามแบบ บส.2 3. ย่นื ค�ำ รอ้ งตอ่ ศาลและรอฟังค�ำ สัง่ ศาล 4. หากศาลมีคำ�ส่ังอนุญาต ผู้ประสงค์ทำ�งานบริการสังคมแทน ค่าปรับต้องไปรายงานตัวท่ีสำ�นักงานคุมประพฤติตามที่ศาลสั่ง พร้อมสำ�เนา บส.1 และ บส.2 5. เรมิ่ ทำ�งานบรกิ ารสงั คมจนครบก�ำ หนด (ภายในระยะเวลา 1-2 ป ี นบั แตว่ นั เริ่มท�ำ งานตามท่ศี าลก�ำ หนด) - กรณีถ้ามีเงินจ่ายค่าปรับและไม่ประสงค์ทำ�งานบริการสังคม แทนค่าปรับต่อไป สามารถยื่นคำ�ร้องต่อศาลเพ่ือขอยุติการทำ�งานได้ ซ่ึงศาล จะมีคำ�ส่ังอนุญาต โดยจะคำ�นวณวันที่ได้ทำ�งานแทนค่าปรับเป็นจำ�นวนเงิน แลว้ หักออกจากคา่ ปรับท่ศี าลก�ำ หนดไว้ในตอนตน้ 26 คมู่ ือการติดต่อขอรบั งานบริการดา้ นยุติธรรม สำ�หรับประชาชน

- กรณีไม่ทำ�ง�น หรือปร�กฏว่�มีเงินจ่�ยแต่ให้ข้อมูลอันเป็น เท็จต่อศ�ล อ�จถูกดำ�เนินคดีท�งอ�ญ� และศ�ลส�ม�รถเพิกถอนคำ�สั่ง อนุญ�ตให้ทำ�ง�นบริก�รสังคมแทนค่�ปรับ และให้ปรับหรือกักขังแทน ค่�ปรับได้ ต�มแต่กรณี ประเภทของงานทจ่ี ัดให้ทาำ งานบริการสังคม 1. ก�รทำ�ง�นช่วยเหลือดูแลอำ�นวยคว�มสะดวกหรือให้คว�ม บนั เทงิ แกค่ นพกิ �ร คนชร� เดก็ ก�ำ พร�้ หรอื ผปู้ ว่ ยในสถ�นสงเคร�ะหห์ รอื สถ�นพย�บ�ล 2. ก�รท�ำ ง�นวชิ �ก�รหรอื ง�นบรกิ �รด�้ นก�รศกึ ษ� เชน่ ก�รสอน หนงั สือ ก�รคน้ คว�้ วจิ ัย หรอื ก�รแปลเอกส�ร เปน็ ตน้ 3. ก�รทำ�ง�นท่ีต้องใช้คว�มรู้คว�มเช่ียวช�ญ เช่น ง�นช่�งฝีมือ เครือ่ งยนต ์ กอ่ สร้�ง คอมพิวเตอร์ หรือวิช�ชีพอย�่ งอ่ืน เปน็ ตน้ 4. ก�รทำ�ง�นบรกิ �รสงั คมนอกจ�กทก่ี �ำ หนดไว ้ เช่น ง�นท�ำ คว�ม สะอ�ดหรือพัฒน�สถ�นท่ีส�ธ�รณะ ง�นปลูกป่�หรือดูแลสวนป่�หรือ สวนส�ธ�รณะ • เอกสารท่ตี อ้ งใช้ในการตดิ ต่อขอรบั บริการ เปน็ ไปต�มท่ีศ�ลก�ำ หนด • ช่องทางในการตดิ ตอ่ ขอรับบรกิ าร สำ�นกั ง�นคุมประพฤต ิ กรงุ เทพมห�นคร/จังหวัด/ส�ข�ทวั่ ประเทศ คูม่ ือการติดตอ่ ขอรบั งานบรกิ ารด้านยุตธิ รรม 27 สำาหรบั ประชาชน

ศูนย์ขอ้ มูลขา่ วสารกรมคมุ ประพฤติ • หน่วยงานใหบ้ รกิ าร งานประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานเลขานุการกรม : ศูนย์ราชการ เฉลมิ พระเกยี รติฯ อาคารราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ ชั้น 4 เลขที่ 120 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพมหานคร 10210 • ขั้นตอนในการให้บรกิ าร 1. ประชาชนมาติดต่อด้วยตนเองกรอกแบบคำ�ขอข้อมูลข่าวสาร โดยระบขุ อ้ มลู ทตี่ อ้ งการใหช้ ดั เจน ทง้ั นเ้ี จา้ หนา้ ทแ่ี นะน�ำ ใหป้ ระชาชนตรวจสอบ ข้อมูลเบ้ืองต้นจากดัชนีท่ีศูนย์ข้อมูลข่าวสารได้จัดเตรียมไว้เพ่ือค้นหาข้อมูล ข่าวสารตามทีต่ ้องการ 2. ยน่ื แบบค�ำ ขอพรอ้ มเอกสารตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี 3. เจ้าหน้าที่พิจารณาแบบคำ�ขอที่ได้รับ และจัดเตรียมเอกสาร ให้ผู้ย่ืนคำ�ขอ (กรณีที่ผู้ขอไม่สะดวกเข้ารับเอกสารด้วยตนเอง สามารถให้ บคุ คลอน่ื มารับเอกสารแทนได้) • เอกสารทตี่ อ้ งใช้ในการตดิ ตอ่ ขอรบั บริการ 1. แบบค�ำ ขอขอ้ มลู ขา่ วสาร จ�ำ นวน 1 ฉบบั 2. ส�ำ เนาบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชน หรอื ส�ำ เนาทะเบยี นบา้ น จ�ำ นวน 1 ฉบับ 3. หนงั สือมอบอ�ำ นาจใหด้ �ำ เนนิ การแทน จำ�นวน 1 ฉบบั 28 ค่มู อื การตดิ ต่อขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยตุ ิธรรม ส�ำ หรบั ประชาชน

หมายเหตุ : ต้องเสียค่�ธรรมเนียมก�รทำ�สำ�เน� ขน�ดกระด�ษ A4 หน้�ละไม่เกิน 1 บ�ท กรณีผู้ขอทำ�สำ�เน�เป็นผู้มีร�ยได้น้อย จะพิจ�รณ� ยกเว้นค�่ ธรรมเนียม • ชอ่ งทางในการตดิ ตอ่ ขอรบั บรกิ าร 1. เวบ็ ไซต์กรมคมุ ประพฤติ www.probation.go.th หรอื www.oic.go.th/infocenter2/229 2. โทรศัพท ์ 0 2141 4740 3. ส�ำ นกั ง�นคมุ ประพฤต ิ กรงุ เทพมห�นคร/จงั หวดั /ส�ข�ทวั่ ประเทศ คู่มือการตดิ ต่อขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยุติธรรม 29 สาำ หรบั ประชาชน

กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ Rights and Liberties Protection Department เป็นหน่วยง�นในก�รส่งเสริม คุ้มครอง และสร้�งหลักประกันสิทธิ และเสรีภ�พต�มหลักสิทธิมนุษยชน และให้ประช�ชนได้รับคว�มช่วยเหลือ ท�งกฎหม�ย โดยประช�ชนส�ม�รถขอรบั คว�มชว่ ยเหลอื จ�กกรมคมุ้ ครอง สิทธิและเสรีภ�พในเรื่องต่�งๆ อ�ทิ กรณีตกเป็นผู้เสียห�ยหรือจำ�เลยใน คดีอ�ญ� ถูกยงิ ถูกแทง ถกู ฆ�่ ถกู ระเบิด ถกู ขม่ ขืน หรือถกู ท�ำ ร้�ยร่�งก�ย โดยที่ตัวเองไม่มีส่วนเก่ียวข้องในก�รกระทำ�คว�มผิดต�มพระร�ชบัญญัติ ค่�ตอบแทนผู้เสียห�ย และค่�ทดแทนและค่�ใช้จ่�ยแก่จำ�เลยในคดีอ�ญ� พ.ศ. 2544 (และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท ่ี 2) พ.ศ. 2559) ก�รรบั เรอ่ื งร�วรอ้ งทกุ ข ์ ก�รให้คำ�ปรึกษ�ท�งกฎหม�ย ก�รส่งเสริมสิทธิผู้ต้องห�ในช้ันสอบสวนคดี อ�ญ� ประมวลกฎหม�ยวธิ พี จิ �รณ�คว�มอ�ญ� ม�ตร� 134/1 ก�รไกลเ่ กลยี่ ขอ้ พิพ�ท ก�รคุ้มครองพย�นในคดอี �ญ�ต�มพระร�ชบญั ญัตคิ ุ้มครองพย�น ในคดอี �ญ� พ.ศ. 2546 และก�รสง่ เสรมิ สทิ ธแิ ละเสรภี �พและสทิ ธมิ นษุ ยชน 30 คู่มอื การตดิ ต่อขอรบั งานบริการด้านยุตธิ รรม สำาหรบั ประชาชน

 ชอ่ งทางในการตดิ ตอ่ ขอรบั บรกิ ารของประชาชน สถานที่ติดต่อ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภ�พ ชั้น 6 ศูนย์ร�ชก�ร เฉลิมพระเกียรติฯ อ�ค�รร�ชบุรีดิเรกฤทธ์ิ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักส่ี กรุงเทพมห�นคร 10210 สายด่วน 1111 กด 77 เวบ็ ไซต ์ www.rlpd.go.th  งานบรกิ ารประชาชน สาำ นกั งานคมุ้ ครองพยาน มีอำ�น�จหน้�ท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับก�รคุ้มครองพย�นต�มม�ตรก�ร ทวั่ ไปและม�ตรก�รพเิ ศษ ก�รปฏบิ ตั ทิ เ่ี หม�ะสม รวมทงั้ ประส�นก�รปฏบิ ตั งิ �น และข้อมูลกับหน่วยง�นท่ีเก่ียวข้อง ท้ังภ�ครัฐและภ�คเอกชน เพื่อประโยชน์ ในก�รคุ้มครองคว�มปลอดภัยแก่พย�นต�มพระร�ชบัญญัติคุ้มครองพย�น ในคดีอ�ญ� พ.ศ. 2546 กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ คู่มอื การติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารด้านยตุ ิธรรม 31 สาำ หรบั ประชาชน

ค�ำ ร้องขอใช้มาตรการทว่ั ไปและมาตรการพเิ ศษ ในการคุ้มครองพยาน • หน่วยงานใหบ้ ริการ 1. ส�ำ นกั งานคุ้มครองพยาน กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ โทรศัพท์ 0 2141 2947 2. ส�ำ นกั งานคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ พน้ื ที่ 1 จ.พระนครศรอี ยธุ ยา โทรศพั ท์ 0 3524 6958-9 3. ส�ำ นกั งานคุ้มครองสิทธแิ ละเสรีภาพ พ้นื ท่ี 2 จ.ขอนแก่น โทรศพั ท ์ 0 4324 5611-2 4. สำ�นกั งานคุ้มครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ พ้ืนที่ 3 จ.เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0 5321 7104 5. สำ�นกั งานคมุ้ ครองสทิ ธิและเสรภี าพ พืน้ ท่ี 4 จ.สงขลา โทรศัพท์ 0 7433 3311-2 6. สำ�นักงานยุตธิ รรมจงั หวดั ทว่ั ประเทศ 7. สถานตี �ำ รวจทว่ั ประเทศ • ข้ันตอนในการใหบ้ ริการ 1. มาตรการทว่ั ไปในการคุ้มครองพยานในคดอี าญา การยนื่ ค�ำ รอ้ ง กรณพี ยานในคดอี าญาไดร้ บั การขม่ ขคู่ กุ คาม พนกั งาน ผู้มีอำ�นาจสืบสวนสอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอำ�นาจฟ้องคดีอาญา ศาล หรอื หนว่ ยงานอนื่ พยานหรอื บคุ คลอนื่ ใดซงึ่ มปี ระโยชนเ์ กยี่ วขอ้ ง สามารถ ร้องขอใช้มาตรการท่ัวไปในการคุ้มครองพยานตามกฎหมายคุ้มครองพยาน ในคดอี าญา พ.ศ. 2546 32 คมู่ อื การติดตอ่ ขอรบั งานบรกิ ารด้านยุติธรรม สำ�หรับประชาชน

การสั่งใชม้ าตรการทว่ั ไป - กรณีประสานการส่งต่อให้สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติหรือ หน่วยงานอื่น การดำ�เนินการใดๆ ให้เป็นไปตามระเบียบของ หน่วยงานน้ันๆ โดยสำ�นักงานคุ้มครองพยานจะสนับสนุน งบประมาณและประสานการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งใกล้ชิด - กรณีสำ�นักงานคุ้มครองพยานดำ�เนินการเอง อธิบดีกรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ มีอำ�นาจสั่งใช้หรือไม่ใช้มาตรการทั่วไปในการ คมุ้ ครองพยาน การดำ�เนินการคุ้มครองพยาน กรณีอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพสั่งใช้มาตรการท่ัวไป สำ�นักงานคุ้มครองพยานจะกำ�หนดมาตรการ การคุ้มครองพยานตามความเหมาะสมแก่สถานภาพของพยานและลักษณะ ความรา้ ยแรงของคดี โดยมาตรการการคมุ้ ครองพยานทดี่ �ำ เนนิ การในปจั จบุ นั อาทิ การจัดเจ้าหน้าท่ีคุ้มครอง การนำ�พยานไปอยู่ที่ปลอดภัย การย้ายท่ีอยู่ เป็นต้น การอุทธรณ์ กรณีอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มีคำ�ส่ัง ไมอ่ นมุ ตั คิ �ำ รอ้ ง หากผไู้ ดร้ บั ค�ำ สง่ั ไมพ่ อใจกม็ สี ทิ ธอิ ทุ ธรณค์ �ำ สง่ั นน้ั โดยยน่ื อทุ ธรณ์ ได้ที่ศาลยุตธิ รรมช้ันตน้ ภายใน 30 วนั นับแต่วนั ทไี่ ดร้ บั แจง้ ค�ำ สง่ั 2. มาตรการพิเศษในการคมุ้ ครองพยานในคดอี าญา มาตรการพิเศษในการคุ้มครองพยาน เป็นมาตรการคุ้มครองท่ี ยกระดับความสำ�คัญของการคุ้มครองความปลอดภัยให้กับพยาน โดยคดี ที่จะร้องขอรับการคุ้มครองจะต้องเป็นคดีตามที่กฎหมายคุ้มครองพยาน กำ�หนดไว้และต้องพิจารณาถึงความร้ายแรงแห่งคดีและการกระทำ�ผิด ทมี่ ลี กั ษณะเชอื่ มโยงเปน็ เครอื ข่ายอาชญากรรม กระทบตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย และความม่ันคงแห่งรฐั คู่มือการติดต่อขอรับงานบริการดา้ นยุตธิ รรม 33 สำ�หรบั ประชาชน

การยนื่ ค�ำ รอ้ ง กรณปี รากฏแนช่ ดั หรอื มเี หตสุ งสยั วา่ พยานในคดอี าญา จะไมไ่ ด้รบั ความปลอดภัย บุคคลดังตอ่ ไปนี้ สามารถยนื่ คำ�รอ้ งขอใช้มาตรการ พเิ ศษในการคมุ้ ครองพยาน - พยานหรอื ผรู้ บั มอบอำ�นาจจากพยาน - บุคคลซ่งึ มปี ระโยชน์เก่ยี วข้องกบั พยาน - พนกั งานผู้มีอำ�นาจสืบสวนคดอี าญา - พนักงานผู้มีอำ�นาจสอบสวนคดอี าญา - พนกั งานผ้มู ีอำ�นาจฟอ้ งคดีอาญา การสั่งใช้มาตรการพิเศษ เม่ือคำ�ร้องขอรับการคุ้มครองพยาน ตามมาตรการพิเศษได้ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องแล้ว รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรมหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย มีอำ�นาจสั่งการให้ใช้หรือไม่ให้ใช้ มาตรการพเิ ศษในการค้มุ ครองพยาน การดำ�เนินการคุ้มครองพยาน สำ�นักงานคุ้มครองพยานหรือ หน่วยงานท่ีร้องขอจะกำ�หนดมาตรการคุ้มครองพยานภายใต้ความเหมาะสม แก่สถานภาพของพยาน ลักษณะและความร้ายแรงของคดี โดยกำ�หนด มาตรการคมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื เชน่ การจดั เจา้ หนา้ ทค่ี มุ้ ครอง การยา้ ยทอ่ี ยู่ การจา่ ยค่าเลย้ี งชีพ เปน็ ต้น การอุทธรณ์ กรณีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม หรือผู้ที่ได้ รับมอบหมายมีคำ�ส่ังไม่อนุมัติคำ�ร้อง หากผู้ได้รับคำ�สั่งไม่พอใจคำ�ส่ังก็มีสิทธิ อุทธรณ์คำ�ส่ังน้ัน โดยย่ืนได้ท่ีศาลยุติธรรมช้ันต้น หรือศาลทหารชั้นต้นที่มี เขตอำ�นาจเหนือคดี หรือที่บุคคลนั้นมีที่อยู่ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้ รับแจ้งค�ำ ส่งั 34 คู่มอื การติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารด้านยุตธิ รรม ส�ำ หรับประชาชน

คดีอาญาท่พี ยานสามารถรอ้ งขอรับการคุม้ ครอง ตามมาตรการพิเศษ • คดคี วามผดิ ตามกฎหมายเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ • คดีตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปราบปรามการฟอกเงิน • คดตี ามกฎหมายว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต • คดีตามกฎหมายว่าดว้ ยศลุ กากร • คดีเกยี่ วกับความมั่นคงแหง่ ราชอาณาจกั ร • คดีความผิดเก่ยี วกบั เพศ • คดีความผดิ เกี่ยวกบั องคก์ รอาชญากรรม • คดีความผิดท่ีมีอัตราโทษอย่างต่ําให้จำ�คุกต้ังแต่สิบปีข้ึนไป หรอื โทษสถานท่ีหนักกว่านัน้ • คดีที่สำ�นกั งานคุ้มครองพยานเห็นสมควรใหค้ วามคมุ้ ครอง • เอกสารที่ใช้ในการติดตอ่ ขอรับบรกิ าร 1. ส�ำ เนาบัตรประชาชน/บัตรประจำ�ตวั เจ้าหน้าทข่ี องรฐั 2. สำ�เนาทะเบียนบา้ น 3. เอกสารหลกั ฐานแสดงการเปน็ พยาน 4. เอกสารหลกั ฐานแสดงความเสยี หาย เชน่ ใบรบั รองแพทย์ ภาพถา่ ย บนั ทกึ ประจ�ำ วนั ของสถานีตำ�รวจ 5. เอกสารอ่ืนๆ ที่มีประโยชน์ในการยื่นค�ำ ร้องขอคมุ้ ครองพยาน ค่มู อื การตดิ ตอ่ ขอรับงานบริการดา้ นยตุ ธิ รรม 35 สำ�หรบั ประชาชน

• ช่องทางการตดิ ต่อขอรบั บรกิ าร 1. สำ�นักง�นคุ้มครองพย�น กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภ�พ กระทรวงยุตธิ รรม 2. โทรศัพท์ 0 2141 2947 3. โทรส�ร 0 2143 9673 4. ส�ยดว่ น 1111 กด 77 5. เวบ็ ไซต ์ www.rlpd.moj.go.th, www.moj.go.th หมายเหตุ : - ย่นื คำ�ร้องขอคุ้มครองพย�นโดยตนเอง - ในกรณเี รง่ ดว่ นไมอ่ �จยนื่ ดว้ ยตนเองได ้ ใหท้ �ำ เปน็ หนงั สอื หรือจดหม�ย หรอื ท�งเครื่องมอื ส่ือส�รอน่ื - กรณไี มไ่ ดย้ น่ื ต�มแบบ ใหผ้ ขู้ อรบี ด�ำ เนนิ ก�รต�มแบบทนั ที ที่ส�ม�รถกระทำ�ได้ 36 คู่มอื การตดิ ต่อขอรับงานบรกิ ารดา้ นยตุ ิธรรม สาำ หรบั ประชาชน

กองพทิ ักษ์สทิ ธิและเสรภี าพ มีภ�รกิจในก�รช่วยเหลือประช�ชนท�งกฎหม�ย โดยได้จัดต้ัง “คลินิกยุติธรรม” เพื่อเป็นหน่วยบริก�รช่วยเหลือประช�ชนท�งกฎหม�ย และก�รคุ้มครองสิทธิเสรีภ�พ โดยให้บริก�รคำ�ปรึกษ�ท�งกฎหม�ย ก�รรับเร่ืองร�วร้องทุกข์ ก�รขอรับเงินช่วยเหลือแก่ผู้เสียห�ยและจำ�เลย ในคดีอ�ญ� ก�รรับคำ�ร้องขอก�รคุ้มครองคว�มปลอดภัยพย�นในคดีอ�ญ� ก�รรับเรื่องก�รไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพ�ท ก�รส่งเสริมสิทธิแก่ผู้ต้องห� ต�มประมวลกฎหม�ยวิธีพิจ�รณ�คว�มอ�ญ�ม�ตร� 134/1 และ ก�รจ่�ยค่�ป่วยก�รแก่ท่ีปรึกษ�กฎหม�ยในช้ันสอบสวนคดีเย�วชน และครอบครัว ต�มพระร�ชบัญญัติศ�ลเย�วชนและครอบครัวและ วิธีพิจ�รณ�คดีเย�วชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท ่ี 5) พ.ศ. 2559 ม�ตร� 75 คูม่ ือการติดต่อขอรบั งานบรกิ ารด้านยุติธรรม 37 สำาหรับประชาชน

การให้คำ�ปรึกษากฎหมาย • หนว่ ยงานใหบ้ ริการ 1. กองพิทกั ษส์ ิทธิและเสรภี าพ กรมคุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพ 2. คลินิกยุติธรรมประจำ�สำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พื้นท่ี 1-4 (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเชียงใหม่ จงั หวัดสงขลา) 3. คลินิกยุติธรรมประจำ�สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด และสาขา ทว่ั ประเทศ • ขน้ั ตอนในการให้บรกิ าร 1. การใหค้ �ำ ปรกึ ษาทางกฎหมาย กองพทิ กั ษส์ ทิ ธแิ ละเสรภี าพ - ลงทะเบียนรบั ค�ำ ปรึกษากฎหมาย - สอบถามขอ้ เท็จจรงิ และให้คำ�ปรึกษากฎหมาย 2. การขอรับคำ�ปรกึ ษากฎหมายทาง Video Call - เปิดแอปพลิเคชนั Line - เพมิ่ เพอื่ นดว้ ย Line ID : rlpdconsultation - กดวดิ ีโอคอลเพ่ือขอรบั คำ�ปรึกษาทางกฎหมาย หมายเหตุ : ใหบ้ รกิ ารวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 07.30 - 17.30 น. • เอกสารท่ีใช้ในการตดิ ต่อขอรับบรกิ าร ข้อมลู พน้ื ฐานบคุ คล หรอื เลขท่บี ัตรประชาชน 38 คมู่ อื การติดตอ่ ขอรบั งานบรกิ ารด้านยตุ ธิ รรม สำ�หรับประชาชน

• ชอ่ งทางในการตดิ ต่อขอรบั บรกิ าร 1. กองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม 2. โทรสาร 0 2143 9669 3. สายด่วนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 4. คลินิกยตุ ิธรรม E-justice ทางเวบ็ ไซต์ www.rlpd.go.th 5. สำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พ้ืนท่ี 1-4 (จังหวัด พระนครศรีอยุธยา จังหวดั ขอนแกน่ จังหวดั เชียงใหม่ จงั หวัดสงขลา) 6. ส�ำ นักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั และสาขาทว่ั ประเทศ 7. VDO Consultation ทาง Line ID : rlpdconsultation 8. ไปรษณยี ท์ ี่ตงั้ หนว่ ยงานนัน้ ๆ สายด่วนคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 • หน่วยงานให้บรกิ าร กองพทิ กั ษ์สิทธแิ ละเสรีภาพ กรมคุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพ • ขนั้ ตอนในการใหบ้ รกิ าร 1. การรบั เรือ่ งสอบถามข้อมลู (5 นาท)ี 2. คัดแยกประเภทเรื่องที่รับบริการ และประสานส่งต่อหน่วยงาน ทีเ่ กยี่ วข้อง (5-30 นาที) 3. การประเมินผลความพึงพอใจ (10 นาท)ี • เอกสารท่ีใช้ในการตดิ ตอ่ ขอรบั บรกิ าร ข้อมลู พื้นฐานบคุ คล หรือเลขท่ีบตั รประชาชน • ช่องทางในการติดตอ่ ขอรบั บริการ สายด่วนคุม้ ครองสิทธิและเสรภี าพ 1111 กด 77 ค่มู ือการตดิ ตอ่ ขอรบั งานบรกิ ารด้านยตุ ธิ รรม 39 ส�ำ หรับประชาชน

การจดั การเรอื่ งราวร้องทกุ ข์ • หนว่ ยงานให้บรกิ าร 1. กองพิทกั ษ์สิทธแิ ละเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรภี าพ 2. คลินิกยุติธรรมประจำ�สำ�นักงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ พ้ืนท่ี 1-4 (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเชียงใหม่ จงั หวัดสงขลา) 3. คลินิกยุติธรรมประจำ�สำ�นักงานยุติธรรมจังหวัด และยุติธรรม จังหวัดสาขาทว่ั ประเทศ • ข้นั ตอนในการใหบ้ รกิ ารประชาชน 1. รบั คำ�รอ้ งและตรวจสอบเอกสาร (2 วันทำ�การ) - รับเรอ่ื งราวรอ้ งทุกขผ์ า่ นระบบ - ตรวจสอบความนา่ เช่อื ถอื ของค�ำ ร้องทุกข์ 2. พิจารณาเรื่องร้องทกุ ข์ (10 วนั ทำ�การ) - ตรวจสอบคำ�ร้องทกุ ขเ์ บอื้ งต้น - แสวงหาข้อเทจ็ จรงิ /ลงพื้นท่ี 3. ดำ�เนินการใหค้ วามชว่ ยเหลือ (16 วันท�ำ การ) - ด�ำ เนนิ การให้ความชว่ ยเหลอื - ตดิ ตามการดำ�เนินการ 4. แจ้งผล/รายงานผลการดำ�เนนิ งาน (7 วันท�ำ การ) - แจ้งผล/รายงานผลการดำ�เนินงาน 40 คมู่ อื การตดิ ตอ่ ขอรับงานบริการดา้ นยตุ ิธรรม ส�ำ หรับประชาชน

• เอกสารที่ใช้ในการตดิ ตอ่ ขอรบั บริการ 1. บตั รประจำ�ตัวประชาชน/สำ�เนาทะเบียนบ้าน 2. เอกสารเฉพาะทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั เรือ่ งทจี่ ะรอ้ งทกุ ข์ เชน่ • ส�ำ เนาบันทกึ ประจ�ำ วนั • หมายอายดั คดี • คำ�สง่ั จากหนว่ ยงานภาครฐั ทก่ี ระทบสทิ ธิของผรู้ อ้ งทกุ ข์ - หลักฐานต่างๆ ท่ีแสดงถึงการได้รับความเสียหายหรือ ความเสยี หายทเี่ กดิ ขึ้น - เอกสารสิทธิเก่ียวกับที่ดิน เช่น โฉนดท่ีดิน หรือหนังสือ แสดงสทิ ธใิ นที่ดิน - เอกสารสญั ญา เชน่ สญั ญาเชา่ ซอื้ - เชา่ ทรพั ย์ ขายฝาก จ�ำ น�ำ จำ�นอง - เอกสารหลักฐานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวกับการได้รับความเดือดร้อน เช่น ภาพประกอบ คำ�ส่ัง/ประกาศท่ีเป็นเหตุให้กระทบ สิทธิของผู้ร้อง/กลุ่มผู้ร้อง หรือพยานหลักฐานอ่ืนๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง • ช่องทางในการติดตอ่ ขอรบั บริการ 1. กองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยตุ ิธรรม 2. โทรสาร 0 2143 9669 3. สายดว่ นค้มุ ครองสทิ ธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 4. เว็บไซต์ www.rlpd.go.th 5. สำ�นกั งานคมุ้ ครองสิทธิและเสรีภาพ พ้นื ที่ 1 - 4 (จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดขอนแก่น จงั หวัดเชยี งใหม่ จังหวัดสงขลา) คู่มือการตดิ ต่อขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยตุ ธิ รรม 41 สำ�หรบั ประชาชน

6. สำ�นกั งานยตุ ิธรรมจังหวดั และสาขาท่ัวประเทศ 7. VDO Consultation ทาง Line ID : rlpdconsultation 8. ไปรษณยี ท์ ตี่ ้ังหน่วยงานนั้นๆ การส่งเสริมสทิ ธผิ ้ตู อ้ งหาในการสอบสวนคดอี าญา • หนว่ ยงานใหบ้ ริการ 1. กองพทิ กั ษส์ ทิ ธแิ ละเสรภี าพ กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ 2. ส�ำ นกั งานยุติธรรมจังหวัด และสาขาท่ัวประเทศ (สว่ นภูมภิ าค) • ข้นั ตอนในการใหบ้ รกิ าร 1. รบั คำ�ขอและตรวจสอบเอกสาร (1 วนั ทำ�การ) 2. ทำ�ความเหน็ เสนอผ้มู ีอ�ำ นาจพจิ ารณา (11 วนั ท�ำ การ) 3. อธบิ ด/ี ยุติธรรมจังหวัด พิจารณาอนมุ ตั ิ/ไม่อนมุ ัติ - กรณอี นมุ ัติ ผมู้ ีอำ�นาจพจิ ารณาลงนามอนุมัติ - กรณีไม่อนุมัติ ผู้มีอำ�นาจพิจารณา หากมีข้อสงสัยสามารถ สอบถามเพ่ือขอเอกสารหรือข้อมูลเพ่ิมเติมหรือระงับการ จา่ ยเงินได้ (1 วนั ทำ�การ) 4. เบกิ จ่ายเงินรางวัลและแจ้งผล - เจา้ หนา้ ทแ่ี จง้ ผลการพจิ ารณาอนมุ ตั /ิ ไมอ่ นมุ ตั ิ ใหท้ นายความทราบ - กรณีอนุมัติ เจ้าหน้าท่ีการเงินดำ�เนินการเบิกจ่ายเงินรางวัล ใหแ้ กท่ นายความ (17 วนั ทำ�การ) 42 คมู่ ือการตดิ ต่อขอรับงานบริการดา้ นยุตธิ รรม สำ�หรบั ประชาชน

• เอกสารที่ใช้ในการตดิ ต่อขอรับบริการ 1. สำ�เนาบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชนของผยู้ น่ื 2. ส�ำ เนาบตั รประจ�ำ ตัวทนายความ 3. ส�ำ เนาหนงั สอื รบั รองการเปน็ ทนายความทม่ี ชี อ่ื อยใู่ นบญั ชรี ายชอ่ื ทนายความที่รัฐจัดหาให้ผู้ต้องหาในคดีอาญาตามประมวลกฎหมายวิธี พจิ ารณาความอาญา มาตรา 134/1 4. สำ�เนาเอกสารที่แสดงประเภทคดีที่มีสิทธิรับเงินรางวัล เช่น สำ�เนาบันทกึ คำ�ให้การผู้ตอ้ งหา 5. แบบคำ�ขอรับเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายตามระเบียบกระทรวง ยุติธรรมว่าด้วยการจ่ายเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายแก่ทนายความท่ีรัฐจัดหา ให้ผตู้ ้องหาในคดีอาญา พ.ศ. 2550 (แบบ ยธ 091) 6. คู่ฉบับหรือส�ำ เนาหนงั สอื แต่งตั้งทนายความ (แบบ ยธ 092) 7. หนงั สอื รบั รองการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องทนายความทร่ี ฐั จดั หาใหผ้ ตู้ อ้ งหา ในคดีอาญา (แบบ ยธ 093) หรือเอกสารอ่ืนที่แสดงให้เห็นว่าทนายความ ได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ หแ้ กผ่ ู้ต้องหา 8. แบบรายงานการเดนิ ทางไปปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ ว่ มกบั พนกั งานสอบสวน นอกเขตอำ�เภออันเป็นที่ตั้งของพนักงานสอบสวนซ่ึงพนักงานสอบสวน (แบบ ยธ 094) (ถา้ มี) 9. ส�ำ เนาสมุดบญั ชธี นาคารของทนายความทย่ี ่ืนคำ�ขอ • ช่องทางในการตดิ ตอ่ ขอรบั บรกิ าร 1. กองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 2. โทรสาร 0 2143 9669 3. สายดว่ นค้มุ ครองสทิ ธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 4. ส�ำ นกั งานยตุ ิธรรมจังหวัด และสาขาทว่ั ประเทศ 5. VDO Consultation ทาง Line ID : rlpdconsultation คู่มอื การติดตอ่ ขอรับงานบรกิ ารด้านยตุ ิธรรม 43 ส�ำ หรับประชาชน

การจา่ ยคา่ ปว่ ยการแกท่ ป่ี รกึ ษากฎหมายในช้ันสอบสวนคดี เยาวชนและครอบครัว • หน่วยงานให้บรกิ าร 1. กองพิทักษส์ ิทธแิ ละเสรภี าพ กรมคุม้ ครองสิทธแิ ละเสรภี าพ 2. สำ�นกั งานยุติธรรมจงั หวดั และสาขาทั่วประเทศ • ขั้นตอนในการให้บริการ 1. รบั ค�ำ ขอและตรวจสอบเอกสาร (1 วนั ท�ำ การ) 2. ท�ำ ความเหน็ เสนอผู้มีอ�ำ นาจพิจารณา (11 วันท�ำ การ) 3. อธิบดี/ยุติธรรมจังหวดั พจิ ารณาอนมุ ัติ/ไม่อนมุ ัติ - กรณีอนมุ ัติ ผู้มีอำ�นาจพจิ ารณาลงนามอนุมัติ - กรณีไม่อนุมัติ ผู้มีอำ�นาจพิจารณา หากมีข้อสงสัยสามารถ สอบถามเพ่ือขอเอกสารหรือข้อมูลเพ่ิมเติม หรือระงับการ จ่ายเงินได้ (1 วนั ทำ�การ) 4. แจง้ ผลและเบกิ จ่ายค่าป่วยการ (17 วันท�ำ การ) - เจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาให้ท่ีปรึกษากฎหมายทราบ ภายใน 1 วนั - กรณีอนุมัติ เจ้าหน้าท่ีการเงินดำ�เนินการเบิกจ่ายและโอนเงิน คา่ ปว่ ยการใหท้ ่ปี รกึ ษากฎหมาย ภายใน 15 วนั - เจ้าหน้าท่ีการเงินมีหนังสือแจ้งผลการโอนเงินให้ท่ีปรึกษา กฎหมายทราบ ภายใน 1 วนั 44 คูม่ ือการติดต่อขอรับงานบริการดา้ นยตุ ิธรรม ส�ำ หรบั ประชาชน

• เอกสารที่ใช้ในการตดิ ต่อขอรบั บรกิ าร 1. แบบคำ�ขอรับเงนิ คา่ ป่วยการท่ปี รึกษากฎหมาย 2. หนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษากฎหมาย ในช้ันสอบสวนคดีเยาวชนและครอบครัว ตามมาตรา 75 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน และครอบครวั พ.ศ. 2553 3. แบบรับรองตนของผู้ปฏิบัติหน้าที่ของที่ปรึกษากฎหมาย ในช้ันสอบสวนคดีเยาวชนและครอบครัว ตามมาตรา 75 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน และครอบครวั พ.ศ. 2553 4. สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวท่ีปรึกษากฎหมายที่ศาลเยาวชนและ ครอบครวั ออกให้ 5. ส�ำ เนาสมดุ บญั ชีธนาคารของทปี่ รกึ ษากฎหมายท่ยี น่ื คำ�ขอ 6. สำ�เนาเอกสารอ่ืนท่ีจำ�เป็น เช่น หนังสือมอบอำ�นาจ หรือ ส�ำ เนาเอกสารทางคดี เป็นต้น 7. ใบรบั รองการย่นื คำ�ขอ (แบบ กพส. - 92 - 00) 8. หนังสือรายงานการปฏบิ ตั หิ น้าที่ท่ปี รกึ ษากฎหมาย (แบบ กพส.- 93-00) • ชอ่ งทางในการตดิ ตอ่ ขอรบั บรกิ าร 1. กองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม 2. โทรสาร 0 2143 9669 3. สายด่วนคมุ้ ครองสทิ ธิและเสรีภาพ 1111 กด 77 4. สำ�นักงานยตุ ธิ รรมจังหวดั และสาขาท่ัวประเทศ 5. VDO Consultation ทาง Line ID : rlpdconsultation คู่มอื การตดิ ต่อขอรบั งานบรกิ ารดา้ นยุติธรรม 45 ส�ำ หรบั ประชาชน

ส�ำ นกั งานชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แกผ่ เู้ สยี หายและจ�ำ เลยในคดอี าญา 1. ปฏบิ ตั งิ านธรุ การของคณะกรรมการพจิ ารณาคา่ ตอบแทนผเู้ สยี หาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดีอาญา และคณะอนุกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลย ในคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ �ำ เลยในคดอี าญา พ.ศ. 2544 (และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559) 2. รับคำ�ขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรือค่าใช้จ่าย พร้อมท้ัง ทำ�ความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนผู้เสียหาย และ คา่ ทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ �ำ เลยในคดอี าญา หรอื คณะอนกุ รรมการพจิ ารณา คา่ ตอบแทนผเู้ สียหาย และค่าทดแทนและคา่ ใชจ้ ่ายแกจ่ �ำ เลยในคดีอาญา 3. ประสานงานกบั หนว่ ยงานราชการอน่ื หรอื บคุ คลใดๆ เพอ่ื ขอทราบ ข้อเท็จจริง หรือความเห็นเกี่ยวกับการขอรับค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรือ ค่าใช้จ่ายตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และ คา่ ใชจ้ า่ ยแกจ่ ำ�เลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 (และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2559) 4. เก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวการจ่ายค่าตอบแทน ค่าทดแทน หรือค่าใช้จ่ายตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และ ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำ�เลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 (และที่แก้ไข เพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2559) 5. กระท�ำ กจิ การตามทร่ี ฐั มนตรีคณะกรรมการฯหรอื คณะอนกุ รรมการฯ มอบหมาย 46 คมู่ อื การติดต่อขอรับงานบริการด้านยตุ ิธรรม สำ�หรับประชาชน

• การช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำาเลยในคดี อาญา ตามพระราชบญั ญตั คิ ่าตอบแทนผเู้ สยี หาย และคา่ ทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จำาเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 (และท่ีแก้ไข เพม่ิ เตมิ (ฉบับท ี่ 2) พ.ศ. 2559) • สำานักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำาเลย ในคดีอาญา กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรภี าพ คมู่ ือการตดิ ตอ่ ขอรับงานบรกิ ารดา้ นยตุ ธิ รรม 47 สาำ หรับประชาชน

• ขนั้ ตอนในการให้บริการ กรณีผ้เู สยี หาย 1. การรบั ค�ำ ขอ (ระยะเวลาการปฏิบตั ิ 1 วนั ) - จดั ท�ำ ค�ำ ขอตามแบบ สชง.1/01 หรอื สชง.1/03 (กรณผี เู้ สยี หาย) - สอบปากคำ� - ตรวจสอบเอกสารประกอบค�ำ ขอ - ลงระบบ 2. การพิจารณา (ระยะเวลาการปฏบิ ตั ิ 44 วนั ) - รวบรวมข้อมลู เพ่ิมเติม - สรุปขอ้ เท็จจริง ขอ้ กฎหมาย และวิเคราะหข์ อ้ มูล - สรปุ /ทำ�ความเห็นเสนอเลขานุการคณะอนกุ รรมการฯ หรอื คณะกรรมการเพอื่ จัดท�ำ ความเห็น - ประชมุ คณะอนกุ รรมการฯ หรอื คณะกรรมการฯ เพอ่ื พจิ ารณา มคี ำ�วนิ ิจฉยั 3. คำ�วินิจฉัย (ระยะเวลาการปฏิบัติ 7 วนั ) - จดั ทำ�คำ�วนิ ิจฉัยตามมตทิ ่ปี ระชมุ คณะอนกุ รรมการฯ หรือ คณะกรรมการฯ - เสนอผ้มู ีอ�ำ นาจลงนาม กรณจี �ำ เลย 1. การรับคำ�ขอ (ระยะเวลาการปฏิบตั ิ 1 วัน) - จัดทำ�ค�ำ ขอตามแบบ สชง.1/02 หรือ สชง.1/04 (กรณจี ำ�เลย) - สอบปากค�ำ - ตรวจสอบเอกสารประกอบค�ำ ขอ - ลงระบบ 48 ค่มู ือการตดิ ตอ่ ขอรับงานบรกิ ารด้านยตุ ิธรรม สำ�หรบั ประชาชน

2. การพิจารณา (ระยะเวลาการปฏบิ ตั ิ 55 วนั ) - รวบรวมขอ้ มลู เพม่ิ เติม - สรุปข้อเท็จจริง ขอ้ กฎหมาย และวิเคราะห์ขอ้ มูล - สรุป/ทำ�ความเห็นเสนอเลขานุการคณะอนุกรรมการฯ เพ่ือจัดทำ�ความเห็น - ประชุมคณะอนุกรรมการฯ เพื่อพิจารณากล่ันกรองเสนอ คณะกรรมการ - ประชมุ คณะกรรมการฯ เพ่อื พิจารณามคี ำ�วนิ ิจฉยั 3. คำ�วนิ ิจฉยั (ระยะเวลาการปฏบิ ัติ 7 วัน) - จัดทำ�คำ�วินิจฉัยตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการฯ - เสนอผู้มอี ำ�นาจลงนาม • เอกสารทตี่ อ้ งใช้ในการติดตอ่ ขอรับบรกิ าร 1. ส�ำ เนาบตั รประจ�ำ ตวั ประชาชนและสำ�เนาทะเบยี นบา้ น 2. สำ�เนาใบเปลีย่ นช่ือตวั – ชื่อสกุล (ถ้าม)ี 3. หนังสือมอบอ�ำ นาจ (ถา้ ม)ี 4. หนงั สอื ใหค้ วามยนิ ยอม (กรณที ายาทหลายคน) 5. หลกั ฐานค่าใชจ้ ่ายในการรกั ษาพยาบาล 6. หลกั ฐานค่าใชจ้ ่ายในการฟ้นื ฟสู มรรถภาพ 7. ใบมรณบัตร (กรณีเสยี ชีวติ ) 8. รายงานประจำ�วนั เกี่ยวกับคดี 9. หนังสือความเห็นแพทย/์ ใบรบั รองแพทย์ (ถา้ มี) 10. ส�ำ เนารายงานการชันสตู รพลิกศพ (กรณีเสียชีวิต) 11. สำ�เนารายงานการชนั สตู รบาดแผลของแพทย์ (กรณบี าดเจบ็ ) 12. หนงั สือรบั รองรายได้ (ถ้ามี) คูม่ ือการตดิ ต่อขอรับงานบริการด้านยุตธิ รรม 49 ส�ำ หรับประชาชน