Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการด้านอาหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสัตว์น้ำ

คู่มือการจัดการด้านอาหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสัตว์น้ำ

Description: คู่มือการจัดการด้านอาหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสัตว์น้ำ

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การจดั การดา้ นอาหารเพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การผลติ และคณุ ภาพสตั วน์ าํ้ พศิ มยั สมสบื กองวิจัยและพฒั นาอาหารสตั วน ้ำ กรมประมง โทร.02-5798033 [email protected] สารบญั

เร่อื ง หนา คำนำ 1 บทนำ 2 แนวทางการจดั การดานอาหารเพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลติ และคณุ ภาพสัตวน้ำและปจ จยั ท่ีเก่ียวของ 2 แนวทางการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ลดตน ทนุ และปจ จยั ท่ีเก่ียวขอ งดา นอาหารสตั วน ้ำ 4 4 การลดอตั ราปลอ ยสตั วนำ้ 4 การเลยี้ งสัตวน ำ้ แบบผสมผสาน 5 การเสริมสรา งอาหารธรรมชาติในบอเล้ยี งเพ่ือลดการใชอาหาร 8 การเพม่ิ อตั รารอดของลกู ปลาและปลาทเ่ี ลย้ี ง 12 การเพ่มิ อัตรารอดของลูกสัตวนำ้ โดยการใชส ารเสริมในอาหาร 13 การจดั การดา นอาหารท่ีเกีย่ วของกับการจัดการดา นเพาะเล้ียงสตั วน ้ำ 23 แนวทางการปรับปรงุ คณุ ภาพอาหารมีชวี ิตเพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ สตั วน้ำ 24 การเพิม่ เปอรเซ็นตฟ ก ไขอารท เี มีย การเพาะเลย้ี งและเสรมิ คณุ ภาพ 26 แนวทางการเพิม่ คณุ ภาพอาหารมชี ีวติ หรอื อาหารสด 27 แนวทางการใชส ารเสริมเพอ่ื เพมิ่ คณุ ภาพและมลู คา ของสัตวนำ้ 29 การผลิตอาหารปลาอยางงา ยและสตู รอาหารใชเ ลย้ี งสตั วนำ้ 32 แนวทางการเลี้ยงปลารูปแบบตางๆ รวมกับการจัดการดา นอาหารสตั วน ำ้ 33 การเล้ยี งปลานลิ ในบอ พลาสติกบนทสี่ ูง (บนดอย) 37 การเพ่มิ อัตรารอดและประสิทธิภาพการเลี้ยงกุงทะเลดว ยการใชส ารเสรมิ ในอาหารสัตวนำ้ 39 การเลยี้ งปลาหนาแนนดวยอาหารสำเรจ็ รปู รวมกบั การปลกู ผกั ในระบบปด (Aquaponic) 45 เอกสารอางองิ

1 คำนำ คูมือ การจัดการดานอาหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพสัตวน้ำและปจจัยที่เกี่ยวของ ที่จัดทำขึ้นน้ี เปนการรวบรวมขอมูลจากการวิจัยในระดับพื้นที่ (on farm) และขอมูลจากการสังเคราะหเอกสารวิชาการและวิเคราะห ขอมูลดานอาหารสัตวน ้ำ รวมทั้งเอกสารขอมูลทีใ่ ชในการอบรมใหความรูแ กเ จาหนาที่กรมประมงและเกษตรกร เพื่อใชเปน แนวทางในการทำงานหรอื สงเสรมิ แกเ กษตรกรดา นการเพาะเลย้ี งสตั วน้ำ เพ่ิมผลผลติ อยา งมปี ระสิทธิภาพจากการจดั การดา น อาหารสตั วน้ำทเี่ หมาะสม ใหคำแนะนำเพ่อื วางแผนการเล้ียงและประมาณการตนทนุ คา อาหารตอรอบการเลยี้ ง และแนวทาง การเลย้ี งแบบตน ทนุ ต่ำสำหรบั เกษตรกรรายเล็กไดอยางถูกตองตามหลักวิชาการ ขอขอบคุณ เกษตรกรและเจาหนาที่ที่เขารวมและเก็บรวบรวมขอมูลโครงการเลี้ยงสัตวน้ำแบบตนทุนต่ำและแบบ อินทรีย ป 2555 และ 2556 ในพื้นที่จังหวดั ตางๆ ไดแก เชียงราย นาน เพชรบูรณ หนองคาย สกลนคร กาฬสินธุ เจาหนาที่ หนวยทหารพัฒนาจังหวัดสกลนคร เพชรบูรณ เชียงราย ตลอดจนเจา หนาท่ีและทมี ผูบริหารของไรกำนันจุลในความรว มมือ การเขารวมโครงการและการเก็บขอมลู ตา งๆ รวมทัง้ เจา หนาที่กองวิจัยและพัฒนาอาหารสตั วน ำ้ ที่เกยี่ วขอ งทุกทานในการชวย ทำหนา ที่สงเสรมิ ใหความรู รวบรวมและวิเคราะหข อ มูลในโครงการ และการจัดพิมพร ูปเลม เอกสารจนสำเร็จดวยดี ผูเขียนหวงั เปนอยางยิ่งวาเอกสารเลมนีจ้ ะเปนประโยชนแก นักวิชาการ ผูปฏิบัติงาน เพื่อจะสามารถนำไปใชใ นการ ปฏิบัติงานและสงเสริมใหความรูแกเกษตรกร รวมถึงผูที่สนใจสามารถนำไปใชในการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต และลดตน ทนุ ดา นการเพาะเล้ียงสตั วนำ้ ตอไป พศิ มัย สมสืบ ผอู ำนวยการกองวิจยั และพฒั นาอาหารสตั วนำ้ พฤศจิกายน 2562

2 บทนำ แนวทางการจดั การดานอาหารเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคณุ ภาพสตั วน ้ำและปจจยั ทเ่ี กย่ี วขอ ง ท่ีจัดทำข้ึนน้ี เพื่อใชเปนแนวทางในการทำงานหรือสงเสริมแกเกษตรกรดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ อนุบาลและเลี้ยงสัตวน้ำใหมีผลผลิต เพิ่มขึ้น การประมาณการปริมาณอาหารและตนทนุ คาอาหารตอการเลี้ยงสัตวนำ้ 1 กระชัง 1 ไร หรือ 1 รอบการเลี้ยง เพ่ือ วางแผนจดั การดานอาหารที่เหมาะสมกับการเพาะเลย้ี ง การควบคุมการใหอาหารทถี่ ูกตองเพื่อใหสตั วนำ้ ไดรับอาหารท่ีใหกิน จริง มีการเจริญเติบโตดี ปองกันอาหารเหลือคาง เพื่อลดการสูญเสียของอาหารในบอ ใหสงผลเสียตอสิ่งแวดลอมนอ ยที่สดุ นอกจากน้ี แนวทางการเลีย้ งแบบพึง่ พาอาหารธรรมชาติยังสงผลใหไ ดส ัตวน ำ้ ทม่ี คี ุณภาพดีตอ สขุ ภาพของผูบ ริโภค จากรายงาน การศกึ ษาวิจัยพบวา ปลาท่ีเลย้ี งแบบสรางเสรมิ อาหารธรรมชาตจิ ะมกี ารสะสมของกรดไขมนั ในเน้ือปลาที่สำคญั 2 ชนิดคอื กรด ไขมัน EPA (สารตั้งตนในการสรางฮอรโมนและระบบภูมิคุมกัน) และ DHA ที่มีความสำคัญในหญิงมีครรภ เนื่องจากพบใน น้ำนมแม และมีผลมากตอเดก็ จนถึงอายุ 3 ปแรก เนื่องจากจะมีผลตอความสามารถของสมองหรือ (IQ) ที่ดี นอกจากนี้ยังมี การสกัดกรดไขมนั EPA ที่มีมากในปลาทะเลในรูปของแคปซลู (high EPA) เพื่อปองกันรักษาโรคไขมันอุดตันในเสน เลอื ดและ สมอง ปอ งกันการเปนโรคหวั ใจและโรครูมาตอยดในตา งประเทศ หากเกษตรกรรวมกลุม กันเลีย้ งและวางแผนการตลาดใหม ีการผลิตสมำ่ เสมอจะสามารถสรางมลู คาเพ่ิมของสัตวน้ำที มีคุณภาพเนื้อที่ดีตอสุขภาพได ซึ่งขอมูลและความรูนี้สามารถนำไปสงเสริมใหคำแนะนำแกเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิตอยางมี ประสิทธภิ าพและลดตนทนุ ได โดยเฉพาะเกษตรกรขนาดเล็กหรือรายยอยสามารถเล้ยี งสัตวนำ้ ดว ยแนวทางการเลีย้ งตนทุนต่ำ หรือสำหรบั ผูท่ีเลีย้ งเพือ่ การบริโภคในครวั เรือน ไดม สี ัตวนำ้ ท่ีมีคุณภาพดีตอสขุ ภาพเพือ่ การบรโิ ภค รวมท้งั ขอมูลและความรูใน การเลี้ยงสัตวน ำ้ ตนทุนต่ำ การเลยี้ งเพื่อเปน อาชพี เสริม หรือจดั การการเลย้ี งสตั วนำ้ ไดอ ยา งเหมาะสมตอไป แนวทางการจัดการดา นอาหารเพ่อื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลติ และคณุ ภาพสัตวน ้ำและปจจัยที่เกย่ี วของ อาหารสัตวน้ำเปนปจจัยหลักของตนทุนการเลี้ยงสัตวน้ำมากกวา 60% ยังสงผลตอผลผลิตและและสิ่งแวดลอมได ดังนั้น ผูเลี้ยงสัตวน้ำจึงควรมีการจัดการดานอาหารสัตวน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตวน้ำ การเลือกใชอาหารที่ เหมาะสมยงั สามารถทำใหส ตั วน ้ำมคี ณุ ภาพดีหรอื มีมลู คาสูงข้นึ ได จะเห็นวา มปี จจยั ทเ่ี กีย่ วของหลายประการ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตวน้ำ จะตองมีการจัดการดานอาหารรวมกับการจัดการเลี้ยงที่เหมาะสม ตวั อยางเชน ประสทิ ธภิ าพและการใชป ระโยชนไดจากอาหารมปี จจัยทเี่ กีย่ วของท่สี ำคญั ดานอาหารสตั วน ำ้ คอื อณุ หภูมิของน้ำ และปริมาณออกซเิ จนในนำ้ รวมทั้งจะสงผลโดยออ มตอ ตนทุนไดเชนกัน โดยหากอุณหภูมิของน้ำไมเหมาะสม เชน ต่ำเกินใน หนาหนาวหรอื ฝนตก หรือรอ นเกนิ ในชว งหนารอ นจะสงผลใหปลาหยดุ กินอาหารโดยอตั โนมัติ เนอื่ งจากสง ผลตอการยอยและ ใชประโยชนไดจ ากอาหารลดลงเมอื่ ไมเหมาะสม สว นปรมิ าณออกซิเจนในน้ำเชน กนั หากมีคา ต่ำกวาความตองการ สัตวน้ำจะ หยุดกินอาหารเนื่องจากตองใชออกซิเจนในขบวนการยอยอาหาร ดังนั้นจึงสงผลใหอาหารเหลือทนอกจากทำใหน้ำในบอเนา เสยี แลวยงั สงผลใหต น ทุนเพิ่มข้นึ เนื่องจากอาหารเหลือปลาไมไดก นิ หรือปจ จัยจากขนาดของอาหารไมเหมาะสมกับขนาดสตั ว น้ำหรือกุงปลาที่เลี้ยงจะสงผลใหมีอาหารเหลือ สัตวน้ำไดรับอาหารไมเพียงพอตอความตองการ เกิดการกินกันเองรวมทั้ง อาหารที่เล็กเกินไปหรือมากเกนิ ไปสามารถสง ผลใหคุณภาพน้ำและสิ่งแวดลอ มเสียหายได ปจ จัยตางๆดา นอาหารท่ีสง ผลตอกำไรจากการเลีย้ ง ดงั นี้ • ปริมาณอาหารที่ให เกษตรกรจะตองควบคมุ ปริมาณอาหารท่ีใหอ ยา งเหมาะสม ลดการสญู เสยี จากการทไี่ มไดกนิ จรงิ หรอื ท่ลี ะลายน้ำ • คุณภาพอาหาร ซงึ่ จะสง ผลตอ : การเจริญเตบิ โตของสัตวน้ำ เชน วตั ถดุ ิบหรอื สวนผสมบดไมล ะเอยี ดทำใหส ตั วน ้ำยอยไดไมดี หรือ เกาเก็บ-ไมส ดหรือมี สารอาหารคณุ ภาพไมด แี ละปรมิ าณไมเ หมาะเพียงพอกับปลาสงผลใหม ีการเจรญิ เติบโตชา ได : ระยะเวลาการเลี้ยง จะยาวนานขึ้นถาคุณภาพและปริมาณอาหารไมเหมาะสม เชน การเลี้ยงปลาใหไดขนาดตลาด 600 กรัม ถาใชอาหารคุณภาพดีไมควรนานเกิน 6 เดือน แตถามีการใชอาหารโปรตีนต่ำหรอื คณุ ภาพอาหารไมดีอาจใชเวลา 12 เดือนหรือมากกวา เปน ตน

3 : อตั รารอด เปน ผลจากการ ขาดสารอาหารหรอื ไดร บั ปริมาณอาหารไมเพียงพอทำใหออนแอติดเชื้อโรคงา ย หรือกนิ กันเอง : คุณภาพน้ำไมเหมาะสม ซึ่งเกิดจากการใหอาหารเหลือมากเกินความตองการ หรือปลอยสัตวน้ำหนาแนนเกินไป สงผลใหคา แอมโมเนียและคาความเปนกรด-ดา งไมเ หมาะสม ทำใหส ัตวนำ้ กนิ อาหารนอ ย ออนแอ ตดิ เชอ้ื งาย • ตนทุนคาอาหารและราคาสัตวน้ำทีข่ ายได หากรวมกลุมกันผลิตอาหารจะลดตน ทุนไดรวมทั้งวางแผนการปลอยและจบั ปลา มีผลผลติ ทแี่ นน อนจะชวยใหสามารถตอรองราคาปลาทเ่ี หมาะสม ตัวอยาง การเลี้ยงปลานิลขุนจนไดขนาดตลาด (50 ก.-500 ก.) ซึ่งนิยมเลี้ยงทั้งในกระชัง และบอดิน สามารถใชท้ัง อาหารชนิดเม็ดลอยน้ำและจมน้ำ แตชนิดเม็ดจมน้ำควรใชถาดใหอาหารเพื่อลดการสูญเสีย และควรสรางเสริมอาหาร ธรรมชาติในบอดิน เพื่อลดปริมาณอาหารที่ใชเล้ียงปลา การควบคุมปริมาณอาหารที่ใหโดยการคำนวณและจัดทำตาราง อาหาร (ตัวอยาง หัวขอการจัดการดานอาหาร) เพื่อควบคุมปริมาณอาหารและตนทุน มีการตรวจสอบการเจริญเติบโตของ ปลาทุก 2- 4 สัปดาห เพื่อตดิ ตามแกปญ หาไดทันเหตกุ ารณ เชน นำ้ หนกั ปลาตำ่ กวา เกณฑ อาหารตอ วนั ทใ่ี หเ หลอื เปนตน ขนาด การเลยี้ ง อาหาร 1 ซม.-1 ก. (7-10 วนั ) กระชงั บอซีเมนต (4-6 คร้ัง/วนั ) โปรตนี 40% (ผง-ปน กอน) 1-30/50 ก. (40-45 วนั ) กระชงั บอ ซีเมนต บอดนิ โปรตีน 32-35% (3-4 ครัง้ /วัน) (เกล็ด-เม็ดลอย/จมน้ำ) 50-500 ก. (80-90 วนั ) กระชัง บอ ดนิ (2 ครัง้ /วนั ) โปรตีน 28-32% (เม็ดลอยน้ำ หรอื จมน้ำ) 50-500 ก. (5-6เดือน ) บอดิน (1-2 ครงั้ /วัน) โปรตีน 25-28% (เมด็ ลอยนำ้ หรอื จมน้ำ) (สรางเสริมอาหารธรรมชาติเพื่อลด ปรมิ าณและตน ทุนคา อาหาร) ตัวอยางปลานิลเลีย้ งชนิดเดยี วกับการปลอ ยรวมปลาอ่ืน (ใหอาหารเสริม 0.5-1%) ทใ่ี หอ าหารปลา อาหารปลาขนาดตา งๆ ควรเลอื กใหเ หมาะกบั ขนาดปลาทีเ่ ลี้ยง

4 แนวทางการเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลติ ลดตนทุนและปจจัยทีเ่ กี่ยวของดานอาหารสตั วน ้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดตนทุนและปจจัยที่เกี่ยวของดานอาหารสัตวน้ำ แนวทางการจัดการ ไดแก การเพิ่ม อัตรารอดและผลผลิตของปลา การลดอตั ราการปลอยสัตวนำ้ ซึ่งตองมีการควบคมุ การใหอาหารท่เี หมาะสมและดูแลจดั การ ดานคุณภาพน้ำที่เกี่ยวของกับการยอยและใชประโยชนไดจากอาหาร มีการตรวจสอบการเจริญเติบโตของสัตวน้ำและการ จัดการบอ ท่ีดีเพื่อปองกันการสูญเสยี ของอาหารและสัตวน ้ำ การลดการใหอ าหารรว มกับการสรางเสริมอาหารธรรมชาติในบอ โดยเฉพาะอยางยิ่งเกษตรกรรายยอยที่มีบอขนาดเล็กสามารถเลี้ยงแบบพึ่งพาและสรางเสริมอาหารธรรมชาติในบอแตตองมี การดแู ลจดั การบอและการเลยี้ งที่ดีสมำ่ เสมอจะชวยใหไ ดผลผลติ ทด่ี ีอยางตอ เน่ือง หลักการ 1. ลดตนทนุ เพ่ือลดการใชปจจัยภายนอก อาหาร ยา สารเคมี - ลดอัตราความหนาแนนของสัตวนำ้ ท่ปี ลอ ยในบอ - เลย้ี งสัตวน ำ้ แบบผสมผสานหรอื ปลอยปลา 2-3 ชนิดที่กนิ อาหารแตกตา งกันใน หวงโซอาหารธรรมชาติ ในอัตราที่เหมาะสมเปนการใชประโยชนของบออยางมี ประสิทธิภาพ - เนน เสริมสรางอาหารธรรมชาติในบอ เปนอาหารหลกั - ลดการใชอ าหารในการเล้ียง โดยใชอ าหารสำเร็จรูปลอยน้ำหรอื ผลิตใชเองเปน อาหารเสรมิ กำหนดปรมิ าณที่ให เชน ให 2-3 วันตอสปั ดาห ( ไมเ กิน 0.5-1% นำ้ หนกั ตวั ) 2. การจดั การทด่ี แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพ - เตรียมบอเล้ียง ตากบอแหง หรอื จบั ปลาเดมิ ออกใหหมดหรือมากที่สุด - ปอ งกันโดยการกำจัดศัตรูปลาเพ่อื เพมิ่ อัตรารอดของสตั วน ำ้ โดยทำการกำจัดวัชพืช หญา ใน-รอบบอ ตลอดชว งการเลยี้ ง - สรา งเสริมอาหารธรรมชาตใิ นบอ ในอัตราที่กำหนดและสม่ำเสมอทุกเดือน เพื่อใหมอี าหารเพยี งพอสำหรับปลาที่เล้ยี ง การลดอัตราปลอยสัตวน้ำ เพื่อลดตนทุนคาพันธุสัตวน้ำ และสามารถชวยลดคาอาหารทางออมไดรวมกับการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเลี้ยงและการจัดการที่ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงสัตวน้ำแบบไมหนาแนน เชน ปลานิล อัตราปลอยจาก 5,000-10,000 ตัวตอ ไร ลดลงเหลือ 2,000 -3,000 ตวั ตอ ไร ขึน้ กบั ขนาดทปี่ ลอ ยหากมขี นาดใหญ 10-30 กรัม สามารถปลอ ยนอยลงได การเลีย้ งสัตวน ำ้ แบบผสมผสาน ปลอยปลา 2-3 ชนดิ รวมกนั ในบอ อตั ราปลอยสตั วน้ำ (บอ 1 ไร) ดงั น้ี นลิ 1,000- 2,000 ตัว + เลง หรือ สวาย หรอื ย่ีสกเทศ 200 ตวั + ตะเพยี น 300 ตวั (ขนาด 3-5 ซม.) หากปลอ ยปลานลิ ขนาด 10-20 กรัม สามารถลดอัตราปลอ ยเหลอื 800-1,200 ตัวไดและจะชว ยเพิ่มอัตรารอดของปลาไดม ากขึ้น

5 นอกจากนี้ ความสามารถในการยอยใชประโยชนจากอาหารตามความแตกตา งของระบบยอยอาหารและลำไสท่ียาวแตกตาง กัน เชน ปลากินแพลงคตอนบางชนดิ จะมีลำไสยาวมากกวา ความยาวถึง 10 เทาของความยาวตวั ทำใหเพิม่ พื้นท่กี ารยอ ยและ ใชเวลานานเพือ่ ยอ ยเซลลูโลสหรือเปลือกแข็งผนังเซลลพ ชื ไดดขี ึน้ ดังตวั อยางในภาพแสดงความยาวลำไสปลาชนิดตางๆ การเสริมสรางอาหารธรรมชาติ ใสฟาง มูลสัตว รำ กากน้ำตาล ตามอัตราที่กำหนด ทำตอเนือ่ งทุกเดือนตลอดชว งการเล้ียง อัตราที่ใชต อบอ 1 ไร 1. ฟางแหง : มลู สตั วแ หง (ไก วัว) = 80-100 กก.: 80-100 กก. ปลา โดยใสฟ างสลบั ชน้ั กบั มูลสตั วแหง และปก ไม โดยรอบจะชวยปอ งกนั ไมใหฟางกระจายตวั ระดบั นำ้ 50-80 ซม.หรอื 1-1.2 ม.เทา ระดบั ทเี่ ลยี้ งปลาปกติ 2. ฟางแหง :รำ:กากน้ำตาล = 50 กก.: 5 กก. : 1 ลิตร โดยใสฟ างในบอ แลว โรยรำหรอื มนั บดดา นบนกองฟางจึงใส กากนำ้ ตาลละลายนำ้ ราดใหทัว่ กองฟาง ระดบั น้ำ 50-80 ซม.หรอื เตมิ น้ำระดบั ท่เี ลยี้ งปลา

6 ฟางหมักรำกากน้ำตาลในบอ ฟางหมกั มูลไกแหง ในบอ ฟางหมกั รำกากน้ำตาล ในแปลงนาขา ว หากเกษตรกรไมสามารถทำฟางหมักได อาจใชวิธีหาไมไผขนาดเล็กปกในบอจำนวนมากแบบในรูป ซึ่งมีการวิจัยใน ตา งประเทศเพอ่ื เล้ยี งปลานิลโดยไมมกี ารใหอ าหาร หรอื อาจตดั ตน ไผค รึ่งตนทงิ้ ใหแหง และสลดั ใบทง้ิ นำมาใสในบอเพื่อ เปนแหลงอาหาร โดยเฉพาะบอที่เลี้ยงกุงกามกรามหรือกุงฝอยนอกจากเปนที่หลบซอนชวงลอกคราบแลว ยังเปน แหลง ใหอาหาร ซ่ึงจากเอกสารรายงานระบุวา ก่งิ ไผหรือฟางขาวมีคาของ C:N ratio เหมาะสมกบั การเจริญเติบโตของ แบคทีเรียและกระตุนใหเกิดหวงโซอาหารธรรมชาติ (food chain) ซึ่งไดมีการทดสอบในหลายพื้นที่ ตัวอยางเชน ศูนยเพาะเลี้ยงสัตวน้ำชายฝงนราธิวาส ไดนำตนไผมามัดรวมเปนกองใหญในทะเลหนาศูนยฯ หลายๆ กอง พบวามีลกู ปลากระบอกมาเขา อยเู ปน จำนวนมาก หรือการนำกิ่งไผม ัดรวมกนั หลายๆกองเพอื่ นำไปเลี้ยงกุง ฝอยหรือใสในบอปลาบู ที่มีกุงฝอย จะชวยใหกุงเพิ่มจำนวนและเปนอาหารปลาบู รูปแบบนี้จึงเปนแนวทางในการลดตนทุนใหเกษตรกรราย ยอยที่เลี้ยงแบบยังชีพมีการปลอยสัตวน้ำ (นิล จีน ตะเพียน) แบบไมหนาแนน หรือเตรียมความพรอมในการสราง แหลงหลบซอนและอยูอาศัยเพื่อเพิ่มอัตรารอดในแหลงน้ำเปดหรือแหลงน้ำสาธารณะเพื่อปลอยปลาหรือสัตวน้ำ เชน กิ่งไผในบอเลีย้ งปลานลิ ปลานวลจนั ทรในบอ ฟางหมกั ท่ี ศพช.สตูล ตน ไผแ หง มดั รวมเปน กอใหญ ที่ ศพช.นราธวิ าส

7 ลดการใชอาหารในบอเล้ียง โดยใชอ าหารสำเรจ็ รปู ลอยน้ำหรือผลิตใชเองเปนอาหารเสรมิ โดยให 2-3 วนั ตอสัปดาห ดงั นี้ โดยปลอยปลาในอัตราที่กำหนดคือ นิล 2,000 ตัว+เลง 200 +ตะเพียน 300 ตัว และใหอาหารสำเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน้ำเปน อาหารเสรมิ 3 วนั ตอ สปั ดาห เดอื นที่ 1 ใหอาหารโปรตนี 40% (0.5 กก./วัน/บอ 1 ไร) เดอื นที่ 2-3 ใหอาหารโปรตนี 32% (1-2 กก./วัน/บอ 1 ไร) เดือนท่ี 4-5 ใหอ าหารโปรตีน 32% (3-4 กก./วัน/บอ 1 ไร) เดอื นท่ี 6-8 ใหอาหารโปรตนี 28% (4-5 กก./วัน/บอ 1 ไร) ขนาดปลาทปี่ ลอ ย ตัวอยาง ผลการเลี้ยงปลาแบบสรางเสริมอาหารธรรมชาติและใหอาหาร 3 วันตอ สปั ดาห โครงการป 2556 สมุ ช่ังวดั ปลาเลยี้ งนาน 4 เดอื น ผลจับปลา: รวม 468.1 กก/ไร ผลจับปลา: รวม 991 กก/ไร ระยะเวลา 7 เดือน ระยะเวลา 6 เดอื นคร่ึง ไรกำนลั จุล ป 2555 คร่งึ ไรก ำนัลจุล ป 2556 ขนาดปลาท่จี ับ ไดปลานลิ 511 ตวั (26 %) 151.6 กก. ปลาจีน 1.2-1.4 กก. ปลานลิ 0.2-0.4 กก. ตะเพยี น 223 ตวั (74 %) 51 กก. ปลายส่ี กเทศ 1.2-1.5 กก. (ลกู ปลาบออนุบาล จีน 162 ตวั (81 %) 118.5 กก. ปลาท่ที ำการทดสอบคางบอ +นลิ ทำใหป ลา ลกู ปลานลิ 4,704 ตวั 147 กก. หนาแนนเกนิ จึงไดป ลานิลตกไซด) ใหอ าหารเสรมิ ้

8 ตัวอยา ง บอ ทดสอบใหอาหารเสรมิ 3 วันตอ สปั ดาห ผลจับปลา: หนว ยทหาร นปค. จ.เพชรบรู ณ รวม 255 กก./ 2 ไร ระยะเวลา 7 เดอื น ป 2556 ขนาดปลาที่จับ ปลาจีน 1-1.2 กก. ปลานิล 0.3-0.4 กก. ปลาตะเพยี น 0.2-0.35 กก. จับออกบางสว นเนอ่ื งจากหนา ฝน ระดับน้ำลกึ มาก สบู นำ้ แหงยาก ผลจบั ปลา: ศูนยว จิ ยั ขาว อ.พาน จ.เชยี งราย ระยะเวลา 7 เดือน ป 2556 ขนาดปลาทจี่ บั ปลาจีน 1.2-1.5 กก. ปลานลิ 0.4-0.5 กก. การเพิม่ อตั รารอดของลกู ปลาและปลาท่ีเลี้ยง ซึ่งจะชวยใหมีผลผลติ เพิม่ สูงขนึ้ ได ดงั นี้ 1.1 สรางเสริมอาหารธรรมชาติและการจดั การบอที่ดี เพื่อใหมอี าหารธรรมชาติสมำ่ เสมอตลอดการเลี้ยง ตากบอ เล้ียงใหแ หง กอนบอแหง ใสปูนขาว 20 กก.ตอไร ขณะท่ยี ังมีน้ำประมาณ 5 ซม. ทำฟางหมกั และนำน้ำเขา บอเลย้ี งกอนปลอย ลูกปลาไมเกิน 2 วนั (หากเกนิ กวาน้จี ะเส่ยี งตอการเกิดแมลงศัตรู เชน ตัวออนแมลงปอจะกัดกินลูกปลาได) ดแู ลไมใหมีพืชน้ำ ในบอและตดั หญารอบบอสม่ำเสมอเพ่อื ปองกนั ศัตรูปลา เชน งู ตะพาบนำ้ เพื่อเพ่มิ อตั รารอดของลกู ปลา ตวั อยา ง การอนุบาลลูกปลาดกุ สามารถทำกองฟางเล็กๆ รอบบอ และนำไรแดงมาปลอ ยรอบกองฟางกอ นปลอ ยลกู ปลา ประมาณ 2 วัน ควรปอ งกนั ไมใ หม พี ชื นำ้ ในบอ และรอบบอ อนุบาลลกู ปลาดกุ อายุ 5-7 วัน เปน เวลา 2 สปั ดาหไดลูกปลา กิ่งไผข นาดเลก็ ฟางขาวและมลู ไกแ หง ขนาด 2-5 กรมั (1-2 นวิ้ ) หนอนแดง ไรแดง ทีไ่ ดจ ากรอบกองฟาง ฟางหมกั อัตราที่ใช ฟางขา วและมลู สตั วแหง (ไก วัวฯ ) อยา งละ 80-100 กก./ไร/ เดอื น หรือฟางขา ว 50 กก.+รำ 5 กก.+กากน้ำตาล 1 ลติ ร ตอ ไร/ เดือน

9 ตัวอยา งผลจากการเตรยี มฟางหมกั ในการอนบุ าลลูกปลา ขอดี คือ ลกู ปลามอี าหารธรรมชาตเิ สริมกนิ ตลอดเวลา ชว ยใหป ลา มีการเจรญิ เติบโตดแี ละมอี ัตรารอดสงู ขึน้ ปลานิล บอละ 100,000 ตัว/ไร ปลาจนี บอ ละ ปลาจีนอนุบาล 34 วนั 100,000 ตวั /ไร ตัวอยา ง ผลจากการเล้ียงปลาแบบสรา งเสรมิ อาหารธรรมชาติแบบอินทรยี  ปลานิลอนบุ าล 33 วนั หรอื ออรแ กนนิค (organic) ไมม กี ารใหอาหารเสรมิ ผลผลิต 347.7 กก.ตอ ไร ปลาเรม่ิ ปลอยอัตรา ระยะเวลาการเล้ียง 6.5 เดอื น ปลอ ย (บอ 1 ไร) (ไรกำนนั จุล ป 2555) นิล 2,000 ตวั เลง 200 ตวั ตะเพยี น 300 ตวั (ฟางขาว 50 กก.+ รำ 5 กก.+ กากน้ำตาล 1 ลติ ร ตอ ไร/ เดือน) ระยะเวลาการเล้ยี ง 6 เดอื น ป 2555 ผลผลติ 355 กก.ตอไร นน. ปลา เฉล่ีย 229 ก. (405-480-340-310-330 -135- 125- 105-85 ก.) ไดข าวเปลอื ก 129 กก.

ขนาดปลาทจี่ บั บอ 1 ป 2556 10 ระยะเวลาเลี้ยงปลา 70 วัน ปลอ ยนลิ 1,200 ตัว 10 ก. ขนาดปลาทจี่ บั ตะเพียน 300 ตวั 70-100 ก. บอ 2 ป 2556 ผลผลติ รวม 166.11 กก./ไร ระยะเวลาเลยี้ งปลา 70 วัน ปลอ ยปลานลิ 800 ตวั 10 ก. ปลาสลดิ 400 ตัว 60 ก. ผลผลติ รวม 116.74 กก./ไร 400 นลิ ผลการวิเคราะหไ ขมันและกรดไขมันจำเปน (%) 300 สลดิ ในเนื้อปลาที่เล้ียงแบบอนิ ทรีย 200 100 นลิ ไขมนั % Linolenic อพี เี อ ดเี อชเอ ตะเพยี น (18:3n3) (EPA= (DHA= 0 เลง่ 20:5n3) 22:6n3) 2.6 28.5 1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 8.7 24.9 1.7 1.8 3.3 4.1 2.1 2.2 1.8 2.0 ขอดีของการเลี้ยงสัตวน้ำแบบอินทรีย คือ เนื้อสัตวน้ำจะมีการสะสมไขมันและกรดไขมันที่มีประโยชนตอสุขภาพ คือ กรดไขมันที่ไมอิ่มตัวที่มีหวงโซยาว ซึ่งเปนประโยชนดานสุขภาพกับผูบริโภค คือกรดไขมันอีพีเอ (EPA) และกรดไข มันดีเอชเอ (DHA) จากรายงานวิจัยระบวุ า ชวยปองกันไขมันมันอุดตนั ในหลอดเลือด การเปนโรคหัวใจฯ และกรดไข มันดีเอชเอยังชวยเสริมใหสายตาดีในคนสูงอายุและเด็ก รวมทั้งทำใหมีความสามารถของสมองเด็ก (ไอคิว) ดี ซึ่ง สำคัญมากและตองไดรับในเด็กตั้งแตอยูในครรภจนถงึ อายุ 3 ป เพื่อปองกันการเปนโรคความสามารถและพัฒนาการ ทางสมองต่ำ จึงควรสงเสริมสนับสนุนวิธีการเลี้ยงแบบอินทรียเพื่อเปนผลดีตอผูบริโภค และยังเปนแนวทางในการ ่้ ่ ผลจับปลา : บอศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเชียงราย ป 2556 ผลผลิตรวมปลาทั้งหมด 238.98 กก.ตอบอ หรือ ต1ัว1อ3.ย4า 6งกกกา.ร/สไรรา ปงอลาาหนาิลรแธดรรงม5ช0า2ติแตลัวะ=เต1รยี4ม2.บ3อ2เพกือ่กอ. น(เุบฉาลลี่ยล2กู 8ป3ล.า5หกมรอัมไทตยอตัว) อัตรารอด 50% และปลานวลจันทรเทศ 123 ตัว = 12.16 กก. (เฉล่ีย 98.86 กรัมตอ ตัว) อัตรารอด 6% ปลาชอ น 84.5 กก. ปรมิ าณขา วทส่ี ีเปนขาวสาร 185 กก.ตอ บอ

11

12 1.2 การเพ่ิมอตั รารอดของลูกปลาและสตั วน้ำ โดยการใชสารเสรมิ ในอาหารเพอ่ื เพม่ิ อตั รารอดและภมู ติ านทานใหกับลูก ปลา เน่อื งจากปลาจะเครยี ดจากการจับหรือขนยา ย ควรมีการคลกุ เคลอื บเสรมิ วติ ามินซรี ว มกับยสี ตขนมปงในอาหารใหป ลา กนิ ติดตอกนั อยา งนอย 3-5 วันหลงั ปลอ ยปลาและเสรมิ ทกุ 2 สัปดาห (จากงานวิจยั ไมต อ งใสท กุ วนั ) สำหรบั สตั วนำ้ ทเ่ี ลย้ี งแบบ หนาแนนเพ่ือเพ่ิมอตั รารอดและผลผลติ ไดแ ก การเลี้ยง ปลาดุก ปลาชอน กบ กงุ กา มกรามหรือกุงทะเล หรอื เล้ียงปลาในกระชงั ทัง้ นีจ้ ากรายงานวิจยั ระบุวาวติ ามนิ ซชี ว ยเสรมิ ใหเ มด็ เลือดแดงแข็งแรงและลดฮอรโมนทท่ี ำใหเ ครยี ด และเกย่ี วขอ งกบั ขนวน การการสรางกระดกู ออน สวนยสี ตข นมปง นอกจากใหโ ปรตีน 45% มกี รดอะมโิ นกระตนุ ความอยากกนิ อาหาร และทส่ี ำคญั คอื มีสารเสริมภมู ติ านทานมากกวา 1 ชนดิ การเตรียมสารเสริมเพื่อคลกุ เคลอื บอาหาร อาหาร 1 กก. อตั ราท่ีใช คอื วิตามนิ ซี 1-2 เม็ด (100 มก./เม็ด) + ยสี ตขนมปง 5-10 กรัม + สารเหนยี ว (อัลฟา สตาชท 10 กรัม หรอื แปง ขาวโพด หรอื แปง มัน = 2 ชอ นแกง) โดยนำยสี ตแ ละวิตามนิ ซีมาบด/ตำใหล ะเอียดกอ นนำมาผสมเขยา ใหเ ขากันดจี ึงนำมาคลกุ เคลือบกบั อาหารเมด็ สำเรจ็ รูปท่พี รมน้ำพอหมาด ผ่ึงลมไว 15-20 นาที จึงนำไปใหสตั วน ำ้ กิน (อลั ฟา สตาชท ;alpha starch จะมปี ระสทิ ธภิ าพดี ทสี่ ุดในการชว ยยดึ ตดิ สารที่คลกุ เคลอื บกับเมด็ อาหาร) ยีสตขนมปง (Saccharomyces serivisae) วติ ามนิ ซี วธิ ีการคลุกเคลือบสารเสรมิ ในอาหาร สารเหนยี ว วติ ามินซี/ยีสต เขยา วติ ามนิ ซ/ี ยีสต กบั สารเหนียวใหเ ขา กนั ดี นำสว นผสมของสารเหนยี วกบั วิตามนิ ซี/ยีสตม าคลุก พรมน้ำบนอาหารเม็ดพอหมาดดว ยสเปรยฉ ดี เคลอื บท่ผี ิวเมด็ อาหารใหทว่ั ผึ่งลมใหแ หง 20-30 นาที กอ นนำไปใหปลากนิ

13 การจดั การดา นอาหารท่เี ก่ียวของกับการจดั การดา นเพาะเลีย้ งสัตวน ้ำ ในการใหอาหารแกสัตวน้ำเพื่อใหสัตวน้ำไดกินจริง มีสารอาหารเพียงพอ ลดการสูญเสียอาหาร โดยใหอาหารที่มี ขนาดเหมาะสมกับสัตวน้ำแตละชว งอายุ มีการควบคุมปริมาณอาหารที่ใหห รือควบคุมคาอัตราแลกเนื้อ (FCR) เพื่อใหมีการ ใชอาหารไดเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ และมปี ระสิทธภิ าพ และเพม่ิ ผลผลติ สัตวนำ้ ดังน้ี 1. ลดการสูญเสียจากการใหอาหารที่ปลาหรอื กุงกนิ ไมไ ด จากการจมพนื้ บอ หรอื ขนาดเลก็ เกนิ ไป อาหารชนดิ จมนำ้ หรือปนกอ นท่ีผลติ เองใหป ลากนิ ควรมีถาดใสอาหารเพือ่ ลดการสญู เสยี โดยเฉพาะการเลย้ี งกุง ชว ง 30-45 วันแรกไมควรหวา น พ้ืนโดยตรงควรวางใสถาดอาหารทจี่ ะเลยี้ งกงุ รอบบอจะชว ยลดการเนา เสยี จากอาหารเหลอื ที่พ้นื กนบอ ได ตวั อยา งอาหารสำหรบั กุง ทะเล 12-30 กรมั ของ 2 บริษัท จะมีขนาด อาหารเลก็ -กลาง ปะปนมาในปริมาณทีแ่ ตกตา งกนั หากมขี นาดเล็กมาก ขณะทกี่ ุง ในบอสว นใหญมขี นาดใหญ 25-30 กรัม จะเกดิ การสญู เสยี เน่อื งจากกงุ กินอาหารไมไ ด 2. ลดการสูญเสยี ทเ่ี ปน ผลจากขนาดของอาหารไมเหมาะสม การใหอาหารขนาดใหญเ กินขนาดปากปลา สง ผลให ปลากนิ ไมไ ดท ำใหอ าหารซมึ น้ำนุมลง อาหารและสารอาหาร สญู เสียไปกับการละลายน้ำ ขณะท่ีขนาดอาหารเลก็ เกินไป ทำ ใหปลาสูญเสียพลังงานในการวายน้ำเปนเวลานานเพื่อไดกินอาหารใหอิ่ม/เพียงพอ สงผลใหพลังงานเหลือนอยปลาจะ เจริญเติบโตชา เกิดการสูญเสยี สารอาหารทใ่ี ชประโยชนไ ด ทำใหส้ินเปลอื งอาหาร

14 การทำใหอ าหารมีขนาดเล็กลงเหมาะสมขนาดของปลา/กุง โดยการนำอาหารมาบด/ตำ รอนดวยตะแกรงขนาดตางๆ ดงั รปู 3. ลดการสูญเสียทีเ่ ปนผลจากอาหารละลายน้ำเร็ว อาหารทีไ่ มไ ดใชสารเหนียวหรือสารที่ชวยใหอาหารยึดเกาะตัวกนั หรือใชปริมาณไมเหมาะสมทำใหใหอาหารละลายน้ำเร็วกอนปลามากิน สงผลใหน้ำเสยี และยังเปนการเพ่ิมตนทุนคาอาหารแต ปลาเตบิ โตชา บอเลย้ี งปลาดุกอาหารปนกอนจากรายงาน สารเหนียว 5 10 15% ที่เวลา 30 นาที การวิจยั พบวา มากกวา 50-70% ของอาหาร (alpha starch) ของอาหารสญู เสยี ไปกับการละลายน้ำ เปน มนั สำปะหลงั (มันเสน) ตนทนุ อาหารทสี่ ญู เสียไปและปลาไมเติบโต 15% นำไปตม /นง่ึ ใหสุก ใชแทนสารเหนยี วในสตู ร ตวั อยาง เชน สญู เสยี 30% อาหารได หรอื กลวยน้ำวา สกุ แทนสารเหนยี วไดเ ชนกนั ใหอ าหาร 100 กก. กิน 70 กก. ไมไ ดกนิ (ละลายนำ้ ) 30 กก.ตอ วนั = 30 กก. x 10 บาท/กก. (300 บาท/วนั ) = 9,000 บาท / 30 วัน

15 4. ปจจัยดานคุณภาพน้ำทีเ่ กี่ยวของกับการกนิ อาหารของสัตวน้ำ ปจจัยท่ีสำคัญคือปริมาณออกซิเจนและอุณหภูมิของ น้ำ ถาปริมาณออกซิเจนในน้ำไมเพียงพอเหมาะสม (4 มก./ลิตร) ปลาจะหยุดกินอาหารโดยอัตโนมัติเนื่องจากออกซิเจน เกีย่ วของกับขบวนการยอ ยอาหาร หรือถา อุณหภูมขิ องน้ำไมเหมาะสม รอ นหรอื เย็นเกินไปจะสงผลตอ ขบวนการยอยอาหารจึง สงผลใหสัตวน้ำไมกินอาหารเชนกนั ดังนั้นวิธีการวัดหาปริมาณออกซิเจนในน้ำแบบงายโดยการใชแผน ขาวดำ (sacchi disk) ซึง่ ดีกวาการใชม ือจุม นำ้ วัดและไดค าถูกตองกวา นอกจากนี้ปริมาณแพลงกตอนยังสง ผลตอ ปริมาณออกเจนในบอ สรปุ ไดว า 1. ถาน้ำเขียวมาก (แพลงกตอนมาก) ความแตกตางของปริมาณออกซิเจนในรอบวันสูงมาก จะสงผลลบตอ ปลา/กงุ ในบอ 2. คา ความโปรงใสของน้ำในบอควรใชว ธิ วี ัดดวยแผนขาวดำ (sacchi disk) สามารถดัดแปลงทำเองได ใชไม ทาสีและใชนอตถวงน้ำหนักดานลาง มัดปมเชือกหรือทาสีทุกระยะ 10 ซม. (วิธีวัด ปลอยแผนขาวดำทีม่ ีเชือกลงในบอ ประมาณ 1 ม. คอยๆดึงเชือกขึ้นจนเริ่มมองเห็นสีขาวใหหยุดและอานคาที่ปมเชือก เชน ไดคา 40 ซม. คาออกซิเจน เทากบั 4 มก./ลิตร ) 3. คาความโปรงใสหรือความเขม สีน้ำ นอกจากชี้บอกปริมาณแพลงคตอนหรืออาหารธรรมชาติแลว ยังบอก คาปริมาณออกซเิ จน (D.O.) ในบอ ได

16 นอกจากนี้ ผเู ล้ยี งสตั วน ำ้ สามารถใชคา ของออกซเิ จนทว่ี ัดไดเ พ่ือประมาณการปรมิ าณออกซิเจนในบอในชวงกลางคืน โดยเฉพาะผเู ลีย้ งกงุ ควรทำการวดั คา ของออกซิเจน 2 คร้งั ในชว งกลางวัน ดังแผนภาพ จะทำใหท ราบวา ปริมาณออกซิเจนใน บอ ชว งกลางคืนถงึ หกโมงเชามคี า ประมาณเทา ไร เพื่อเปดเคร่ืองเติมอากาศในเวลาทีเ่ หมาะสมจะชว ยลดตน ทุนคา ไฟฟา ได ดังนั้น ผูเลี้ยงกุง ควรมีการตรวจสอบปริมาณออกซิเจนอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหมีเพียงพอเหมาะสม สงผลใหกุงสามารถ นำไปใชในการยอยอาหารและใชในขบวนการขนสงสารอาหารในรางกายและเพอื่ การเจรญิ เตบิ โตท่ีดี ปจ จยั ดา นคณุ ภาพนำ้ อน่ื ๆ ท่สี ง ผลตอการกินและประสทิ ธภิ าพของอาหารตอปลา

17 ประสทิ ธภิ าพและความคุม คาของอาหาร ควรมกี ารคำนึงถึง เนอ่ื งจากการใชค ุณภาพไมเ หมาะสมเพียงพอสำหรบั สัตวน้ำ หรือ ผลติ ใชเ องโดยขาดการปรบั ปรงุ คุณภาพและประสทิ ธภิ าพเพอ่ื ใหยอ ยงา ย คงทนในนำ้ ไดนานพอ ไมละลายนำ้ กอนสัตวนำ้ ไดกิน การคำนงึ ถงึ แตราคาอาหารทถี่ ูกเพียงอยางเดยี วสามารถสงผลใหขาดทนุ จากการเล้ยี งสัตวน ้ำได เนื่องจากคณุ ภาพอาหารไมดี หรือเพียงพอจะสงผลใหสัตวน้ำออนแอ มีภูมิตานทานลดลง กินกันเองและอัตรารอดต่ำ และทำใหผลผลิตสัตวน้ำตอบอต่ำ เชน กนั ตวั อยางเชน ใหอ าหาร 3 กก. ตอ วนั นาน 120 วัน อาหารกก.ละ 8 บาท = 2,880 บาท (อาหาร กก.ละ 20 บาท = 7,200 บาท) ถาจับปลา ได 100 กก. x 25 บาท = 2,500 บาท (ขายปลาได กก.ละ 25 บาท) ถาจับปลา ได 50 กก . x 25 บาท = 1,250 บาท ถาจบั ปลา ได 200 กก. x 25 บาท = 5,000 บาท จะเห็นวา เกษตรกรรายยอยหรอื บอขนาดเลก็ เลี้ยงปลาแบบผสมผสานหรือไมหนาแนน โอกาสไดผลผลิตปลามากกวา 100 กก.ตอไร มไี มมากนัก หากมกี ารจดั การการเลี้ยงท่ีไมมปี ระสิทธภิ าพ และไมมกี ารสรางเสรมิ อาหารธรรมชาติในบอ จะเสย่ี ง ตอ การขาดทนุ ไดมากหากใชอ าหารเลยี้ งปลาอยางเดยี วแมวาอาหารราคาถูกก็ตาม และอาหารราคาถกู เส่ียงตอคณุ ภาพตำ่ และ ขาดประสทิ ธภิ าพทีด่ ี กรณี ใชอาหารแหง เลยี้ งปลา จะเห็นไดว า ถา ควบคมุ การใหอาหารไมด ี ทำใหคาอัตราแลกเน้ือเทากบั 2 ตน ทนุ คา อาหารเทา กบั 24 บาท ขายปลาได 18-21 บาท ตอตวั นน่ั คือ ขาดทนุ จากการใหอาหารมากเกนิ ไป ถาควบคุมการใหอ าหารดขี นึ้ ทำใหคา อตั ราแลกเน้ือเทากับ 1.5 ตนทุนคาอาหารเทากับ 18 บาท ขายปลาได 18-21 บาท ตอ ตัว น่ันคอื โอกาสขาดทุนมนี อยลง ข้ึนกบั ราคาปลาท่ีขายได กรณี ใชอาหารเปยก/สดเลยี้ งปลา จะเหน็ ไดวา ถาควบคุมการใหอาหารไมดี ทำใหคาอัตราแลกเนื้อเทา กับ 5-10 ตนทุนคาอาหารเทากับ 30-60 บาท ขายปลา ได 18- 21 บาทตอตวั น่ันคือ ขาดทุนจากการใหอาหารมากเกินไป หรืออาหารละลายนำ้ เน่ืองจากไมมีการใชสารเหนียว หรือปลาอมิ่ น้ำเนื่องจากอาหารมีความช้ืนสูง อาหารใชอนบุ าลลกู ปลาขนาดตา งๆ อาหารทม่ี ี การบด วัตถดุ บิ ไม ละเอียด ไมม ี สารเหนยี วจะ ละลายนำ้ เร็ว

18 จะเหน็ วา ขนาดของกระเพาะปลาสามารถขยายไดในปรมิ าณจำกัด ดังนน้ั อาหารเปยกในปริมาณที่เทากันดังรูป เมอ่ื ใหป ลากิน จะไดสารอาหารนอ ยกวา อาหารแหงในปริมาณทีเ่ ทากัน เมอ่ื ปลากนิ ทำใหอ ่ิมน้ำ ไมส ามารถกินเพ่มิ ไดอกี อยา งไรก็ตาม มปี จจัยทเี่ กี่ยวขอ งกบั ประสทิ ธภิ าพการผลิตและตน ทนุ เนือ่ งจากอาหารทใี่ หแ ละราคาอาหาร ดงั นี้

19 จะเห็นไดวา ตน ทนุ คาอาหารและกำไรจากการเลยี้ งปลา 1 กระชงั จะเก่ียวขอ งกบั ปจจยั ตางๆ ดงั นคี้ อื 1. ราคาอาหารท่ีใชเล้ียงปลาตอกก. 2. คาอตั ราแลกเน้อื 3. ราคาปลาท่ีขายได ถาราคาปลาที่ขายเทากัน ดังนั้น สิ่งที่ตองควบคุมคือคาอัตราแลกเนื้อ ซึ่งสามารถทำไดจากการจัดการการเลี้ยงโดยใหอาหาร ตามตารางการเจริญเติบโตที่คาดการณ และเลือกใชอาหารที่เหมาะสมเพื่อใหปลามีการเจริญเติบโตดี เชน ระดับโปรตีนใน อาหารในชวงปลานิลเล็กถึงวัยรุน ควรใชอาหารที่มีโปรตีนสูง (35-40%) เนื่องจากปลากินปริมาณนอยควรเรงใหปลามีการ เจริญเติบโตอยางรวดเร็วและไดรับสารอาหารท่ีดีเพียงพอ อาหารท่ีมีคุณภาพดีเหมาะสมกับขนาดและอายุของปลาจะชวยให คา อัตราแลกเนอ้ื ต่ำ (1-1.2) ทำใหต นทุนคา อาหารไมแพงแมวาราคาอาหารอาจแพงกวา ดังแสดงการคำนวณทผี่ า นมา

20

21 ตวั อยาง การคำนวณการใชอาหารและตน ทุนคาอาหารในการเลยี้ งปลาดุกในกระชัง ขนาดปลา 2-3 นว้ิ อตั ราปลอ ย 2,000 ตวั ตอ กระชัง โดยมีคา อตั ราแลกเนือ้ ตางกนั เดือนที่ 1 เดอื นท่ี 2-3 อตั รารอด 40-50% 60-80% จำนวนปลาที่เหลือ(ตัว/กระชัง) 800-1,000 600-800 ระยะเวลาการเล้ียง 1 เดือน 2 เดอื น ขนาดปลา (ก. /ตวั ) 50 250-300 นำ้ หนกั ปลาตอ กระชงั (กก.) 40-50 150-240 ปริมาณอาหารทใ่ี ช/ ราย/กระชงั ถา อัตราแลกเนอ้ื (FCR= 1.5) 60-75 225-360 (1,800-2,250 บ.) (5,625-9,000 บ.) ถา อตั ราแลกเนอ้ื (FCR= 1.2) 48-60 187.5-288 (1,440-1,800 บ.) (4,500-7,200 บ.) ขายปลาได (กก. ละ 45 บาท) 6,750-10,800 (150-240 x 45) 1,800-2,250 5,625-9,000 รวมคา อาหาร 3 เดอื น 7,425-11,250 2. คา FCR = 1.2 คา อาหารตอ กระชงั 1,440-1,800 4,500-7,200 รวมคาอาหาร 3 เดือน 5,940-9,000 หมายเหต:ุ อาหารเดือนที่ 1 โปรตนี 35-40% เฉลีย่ 30 บาท/กก. อาหารเดอื นที่ 2-3 โปรตีน 25-30% เฉลีย่ 25 บาท/กก. จากตาราง จะเห็นวา มี 2 กรณเี พอ่ื พิจารณา คอื คาอตั ราแลกเนอ้ื ทีแ่ ตกตางกัน 1.5 และ 1.2 หากไมมกี ารควบคุมการใหอาหารปลาดกุ ใหอ าหารมากเกินไดคา FCR = 1.5 เสยี่ งท่จี ะขาดทุนเนื่องจากคา อาหาร สงู กวา ราคาปลาท่ีขายได (ขายปลาได กก. ละ 45 บาท) หากมีการควบคุมการใหอาหารปลาดกุ เชน ทำตารางอาหาร ใหอ าหารไดค า FCR = 1.2 มโี อกาสไดกำไรจากการ เลี้ยงได เมือ่ ขายปลาดกุ กก. ละ 45 บาท ดังนั้น หากเกษตรกรขายปลาไดราคามากกวา 45 บาท เชน 50 บาทตอ กก.จะขายปลาได 7,500-12,000 บาท จึง จะมโี อกาสไดก ำไร จะเหน็ วา การคำนวณยงั ไมร วมคาลกู พันธแุ ละคาแรง ดังนน้ั เกษตรกรหรือผเู ลีย้ งสัตวน ้ำจะตองมกี ารควบคุมการให อาหาร ควบคกู ับการตรวจสอบการเจรญิ เตบิ โตของสตั วน ้ำ 5-6 ตวั /กก. 12-16 ตัว/กก.

22 ตัวอยางการคำนวณ การใหอาหารและประมาณการการเจริญเติบโตของปลานิล ปลอยปลาขนาด 50 ก. จำนวน 1,000 ตัว ตอ กระชัง ขนาด 3*4 ม. ตอ งใหอ าหารดังนี้ โดยคิดอตั รารอดปลา 70-80% ดังนั้น เหลือปลา 700-800 ตัว/กระชงั ระยะเวลา น้ำหนกั ปลา ปริมาณอาหาร รวม %โปรตีนในอาหาร รวม การเลย้ี ง ตอ ตัว ที่ใหตอวัน อาหารตอ ที่ให (กรัม) (กก.) สปั ดาห สัปดาหท ี่ 1 50-80 2 14 สตู ร 1 โปรตนี 40% สตู ร 1 = 14+17.5+21 สปั ดาหท ี่ 2 80-110 2.5 17.5 ,, = 52.5 สัปดาหท ่ี 3 110-150 3 21 ,, (52.5 กก.x35 บาท = 1,837.50 บาท) สัปดาหท ี่ 4 150-180 3.5 24.5 สูตร 2 โปรตีน 32% สัปดาหท่ี 5 180-220 4 28 ,, สัปดาหท ่ี 6 220-260 4.5 31.5 ,, สัปดาหท ่ี 7 260-300 5 35 สปั ดาหที่ 8 300-340 6 42 สตู ร 2= 399 กก สัปดาหท่ี 9 340-380 7 49 ,, สัปดาหท่ี 10 380-430 8 56 ,, สปั ดาหที่ 11 430-480 9 63 ,, สปั ดาหท ่ี 12 480-530 10 70 ,, ขนาดปลาเมื่อจับ 530-580 (539 กก.x30 บาท = 11,970) รวมท้งั หมด สตู ร 1 + สตู ร 2 1,837.50+11,970 = 13,807.50 บาท รวมตนทนุ คา อาหาร 13,807.50 ขายปลาได (45 บ./กก, กำไร = 2,842.50 - 370-464 กก./กระชงั ;) 16,650 - 20,880 7,072.50 บาท (ไมร วมคาพันธุปลาและอืน่ ๆ) หมายเหตุ: หากคา อัตรารอดต่ำกวา น้ี ขายปลาไดราคาตำ่ กวา 45 บาท หรอื ราคาอาหารสูงกวา นี้ จะมีความเสี่ยงตอ การขาดทนุ ได

23 แนวทางการปรบั ปรุงคุณภาพอาหารมีชวี ิตเพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลิตสตั วน้ำ อาหารสัตวน ำ้ มีชีวติ ไดแ ก อารทเี มียแรกฟกหรอื ตวั โตเตม็ วยั ไรแดง หนอนนก ไสเ ดอื นนำ้ เปน อาหาร สัตวน้ำที่ยังมีการใชในการเลี้ยงสัตวน้ำวัยออนทั้งน้ำจืดและทะเล รวมทั้งสัตวน้ำสวยงาม แมวาจะมีอาหาร สำเร็จรูปคุณภาพดีผลติ ขายในทองตลาด แตอาจมีขอจำกัดในหลายประการ เชน การยอมรับอาหารของสัตว น้ำวัยออนในชวงปรับเปลี่ยนอาหารมีชีวิตเปนสำเร็จรูป พบวาสัตวน้ำยังมีอัตรารอดต่ำ ซึ่งควรตองมีการเสริม คุณภาพของตัวอาหารมีชีวิตนั้นๆ ใหดีขึ้นเพื่อเพิ่มอัตรารอด โดยการเสริมสารอาหารในอาหารมีชีวิตเพื่อเปน ตัวสงผานสารอาหาร เชน กรดไขมันจำเปน EPA และ DHA ในน้ำมันปลาทะเลที่มีผลตอสายตาหรือการ มองเห็นอาหาร สารสรางฮอรโมนและภูมิคุมกันที่สงผลตออัตรารอดของลูกปลา การเสริมวิตามินซีและอีใน อาหารเพื่อเพิ่มอัตรารอดและเสรมิ ภูมติ านทาน นอกจากนี้รูปแบบอาหารหรือเทคนคิ การเสริมคุณภาพเปนอีก ปจ จัยทค่ี วรคำนงึ ถึง เชน การนำไรแดงมาเสริมสารอาหารท่ีจำเปน และใสวุน (พสิ มัย และคณะ,2546) เพื่อปรับ ลักษณะทางกายภาพของไรแดงแทนไรแดงแชแข็งใหอยูตวั ไมเกิดการแตกของเซลลและน้ำเลอื ดออกมาจากตัว ไรแดงเมื่อนำออกมาจากการแชแข็งมาละลายกอนใหลูกปลาหรือสัตวน้ำกิน ซึ่งการละลายดังกลาวทำใหเกิด การสูญเสียสารอาหารได เทคนิคนี้สามารถนำไปปรับใชไดกับอาหารมีชีวิตอื่นๆ หรือการนำอาหารสดหรือมี ชีวิตใหสัตวน้ำกินโดยตรงโดยเฉพาะกลุมปลาสวยงามหรือปลาจับจากธรรมชาติ เชน หนอนนก ไสเดือน ตับ สด ปลาทะเลสด เนื้อปลาสด ซึ่งนอกจากผานขั้นตอนการฆาเชื้อโรคแลว ควรมีการเสริมสารอาหารเพิ่มเติม เชน วิตามินซีและยีสตข นมปงเพือ่ เพิ่มความแข็งแรงของเซลลเม็ดเลือดแดงและภมู ิตานทาน โดยเฉพาะพอแม พันธุปลาควรมีการเสริมสารอาหารที่จำเปนตอการบำรุงพันธุ เพื่อใหมีความดกไขและน้ำเชื้อแข็งแรงดี คา เปอรเ ซน็ ตฟกไขด ี ลูกปลาแข็งแรงมอี ตั รารอดสูง ซ่งึ จะไดมีตวั อยางเพ่อื นำไปใชห รอื ดดั แปลงใชตอไป ไรแดงแชแ ข็ง วุน ไรแดง+สารอาหาร

24 การเพิม่ เปอรเ ซ็นตฟกและการแยกตัวอารทีเมียจากเปลือกไข จากการไดพ บกลมุ เกษตรกรเล้ยี งปลาสวยงาม พบวามปี ญหาการเพาะฟกอารทีเมีย และมบี างรายยงั ขาดเทคนิคการ แยกตวั ออกจากเปลอื กไขอ ารทีเมียอยางเหมาะสม ทำใหเ กิดสญู เสยี และไดประสทิ ธิภาพลดลง การเพ่ิมเปอรเซน็ ตฟ ก โดยเลือกใชต ามความเค็มน้ำทร่ี ะบุบนฉลากบรรจุ อารทเี มยี ทขี่ ายในทอ งตลาดจะมี 2 กลุม หลักคือ กลมุ ที่ใชน ำ้ ความเค็มไมสงู มากเพาะฟก 25-35 พีพที ี กบั กลมุ ท่ตี อ งการความเคม็ สงู 35-40 พพี ีที ดงั น้ันเมอื่ จะทำการ เพาะฟกตองอานรายละเอียดขา งภาชนะบรรจุ เนื่องจากสายพันธุแ ละแหลง ที่มาตา งกัน ใหใชความเคม็ น้ำตามที่แจงบนฉลาก ไมค วรใชตามความเคยชนิ นอกจากน้ี การเพิ่มเปอรเซน็ ตฟก ยังสามารถใชวิธีฟอกเปลือกไขดว ยน้ำยาคลอรอ็ ก ไฮโปคลอไรท หรอื คลอรนี (0.5 ก./อารท ีเมยี 1 กรัม) ลางแชไขอารทเี มยี กอนฟก ประมาณ 10-15 นาทีแลว ลา งใหส ะอาดกอนนำไปเพาะฟก ในตางประเทศมีการนำไขอารทีเมียที่ลอกเปลือกนำมาใหลูกปลากินโดยตรง โดยนำมาเพาะฟก 12-15 ชม.เพื่อใหเปลือกไข หลุด (และตัวออนมีการเจริญเติบโตไปไดระยะหนึ่ง) แลวนำมาลางใหสะอาดเพื่อนำไปใหเปนอาหารลูกปลาวัยออนที่มีปาก ขนาดเล็กมากไมสามารถกินอารทีเมียแรกฟกได ทั้งนี้การนำเปลือกไขออกจะชวยใหลูกปลาสามารถยอยงาย และมีรายงาน ระบุวา จะไดสารอาหารเพมิ่ ข้นึ ดีกวา การใชไขอ ารท ีเมียทล่ี อกเปลือกแตไมเ พาะฟก 12-15 ชม. ข้นั ตอน การเพาะฟกและแยกเปลอื กไขอารท เี มยี ออกจากตวั ออ น

25 จากการทดลองเลี้ยงที่ความเค็ม 2 ระดับ (น้ำจากนาเกลือ) คือ 25 และ 35 พีพีที และ 2 อัตราความหนาแนน พบวา การเลยี้ งดวยนำ้ เคม็ 35 พพี ที ี ใหอ ตั รารอดดกี วาและสีตัวอารท เี มยี เขมกวาการเล้ียงดวยนำ้ เกลือ (เกลอื เมด็ ละลาย นำ้ ) ทัง้ 2 ระดับความหนาแนน (2,500 และ 5,000 ตวั ตอ ลิตร)ในระยะเวลาการเลยี้ ง 10 วัน (พสิ มยั และคณะ,2552)

26 แนวทางการเพมิ่ คณุ ภาพอาหารมีชวี ติ หรอื อาหารสด

27 ตวั อยางการใชสารเสริมเพื่อเพม่ิ คุณภาพและมูลคาของสัตวนำ้ เชน สตั วน ้ำสวยงาม (ปลากัด ปลาคารพ ปลาหมอสี เปน ตน) มีสีสวยเขมขึ้นและเกล็ดแวววาว เปนการเพิ่มมูลคาปลาที่มีสีสันไมสวยใหมีคุณภาพดีขายไดราคาสูงขึ้น หรือเพิ่ม คุณภาพพอ แมพ ันธเุ พอื่ ใหมีน้ำเช้อื และไขด ี มีความดกไขด ี เปอรเ ซน็ ตฟกและอตั รารอดสงู ขน้ึ ตัวอยาง การใชส ารเสรมิ ในอาหารเพื่อใหป ลากัดทม่ี ีสีไมสวย ตกเกรด มี สีสันสวยงามขึ้น โดยใหปลากินอาหารกุงที่คลุกเคลือบสารเสริม (สาหรายสไปรูไลนาและแคลเซียมแลคเตทเพื่อใหมีสีเขมสวยและเกล็ด เปนเงาแวววาว รวมทั้งวิตามินซีและยีสตขนมปง) ระยะเวลาการกิน สารเสริม 6-8 สัปดาห สงผลใหปลามีสีเชมและเกล็ดแววาวสวยงาม แตกตา งชัดเจนจากทเ่ี รมิ่ เลย้ี ง อาหารกงุ กุลาดำ (เกลด็ ) ผสมสารเสรมิ เปน อาหาร เลีย้ งปลากัด

28

29 การผลติ อาหารปลาอยางงายใชเล้ียงสัตวน้ำ การผลิตอาหารใชเองของเกษตรกร จะพบปญหาการหาซื้อวัตถุดิบในปริมาณนอยไดยากและมีราคาแพง จึงไดหา แนวทางในการทำอาหารราคาถูกอยางงาย เพื่อแกปญหาและลดตนทุนการเลี้ยง หรือใชเลี้ยงสัตวน้ำชวงที่ราคาตกตองการ รักษาสภาพน้ำหนักปลารอการจบั ขาย หรือสำหรับเกษตรกรรายเล็กท่ีตองการใชอาหารเพ่ือเปนอาหารเสริมหรือสมทบ หรือ สำหรับกลุมผเู ลยี้ งปลาสวยงามซ่ึงใชอาหารปริมาณนอ ย สามารถผลิตอาหารแบบงายใชเ อง ดังน้ี 1.อาหารสำหรับใชเปนอาหารเสริมเลี้ยงปลาทั่วไป ไดแก ปลานิล ตะเพียน สวาย จีน เปนตน โดยนำอาหาร สำเร็จรูปทีม่ ีโปรตีนคอนขางสูง มาผสมวัตถุดิบกลุมแปง หรอื ไขมันเพื่อเพิ่มพลังงานในสูตรอาหาร ซ่ึงจะชวยลดความตองการ โปรตีนไดระดับหนึ่ง สำหรับแหลงแปง เชน มันสำปะหลัง ปลายขาวหรือรำไมสกัดน้ำมัน ควรนำไปตมหรือนึ่งใหสุกกอนจะ ชว ยทำใหสตั วน ้ำยอยและใชป ระโยชนจากอาหารไดด ชี ึน้ แนะนำใหใ ชมนั สำปะหลงั เนือ่ งจากใชในปรมิ าณ 12-14% ขึ้นไปเม่ือ นำไปทำใหส ุกจะมคี ณุ สมบตั ิเปนสารเหนียวทีด่ แี ละเปน แหลง แปงทีม่ รี าคาถกู วิธีทำอาหารอยางงา ย บด/ทบุ อาหารเมด็ ใหม ขี นาดเล็กลง นำไปชั่งนำ้ หนกั ตามสตู รทีแ่ นะนำเพื่อใหไดโ ปรตีนตามทตี่ องการ นำสว นผสมทีเ่ ปน แหลง แปง เชน มันสำปะหลงั ชงั่ น้ำหนกั ตามสดั สว น นำไปทำใหส ุก (อาจเสริมนำ้ มนั พืช/ปลา วิตามนิ แรธ าตุ สารเสรมิ ฯ) อบที่ 110 องศาเซลเซียส 10-15 นาที ลดลงเหลอื ทีร่ ะดบั 50-60 นาน 30 นาที หรอื จนกวาจะแหง ผสม/คลกุ เคลา ใหเขากนั ดี ทำใหแ หง + นำ้ สะอาด 10-20% ทำใหม ขี นาดเล็กลง รอนผา นตะแกรงขนาดตา งๆ ผสมคลุกเคลาใหทัว่ ถึง ปน กอน/อดั เม็ด ไมโครเวฟ 2 นาทหี รอื จนกวาจะแหง สไปรไู ลนาหรอื แหลงสอี ืน่ ควรนำมาทำใหด ว ยพัดลม หลงั ไมโครเวฟ 2 นาที) เก็บใสภ่ าชนะใส่ตเู้ ย็น (เกบ็ ไดน้ าน 1-3 เดือนขึน้ กบั ความชนื้ อาหาร)

30 สูตรอาหารสำหรบั ปลาอยางงาย 1 โปรตีน 25% วตั ถุดิบ อาหาร 10 กก. อาหาร 1 กก. อาหารปลาดกุ /นิล โปรตีน 32% 8.1 กก. 810 กรัม มนั สำปะหลงั (ช่งั นน.แหง แลว นำไปตม /นงึ่ ใหสุก) 1.6 กก. 160 กรัม น้ำมันปาลม 0.3 กก. 30 กรมั วติ ามินและแรธ าตรุ วม 0.01-0.02 กก. 1-2 กรมั รวม (กก.) 10 กก. 1 กก. สตู รอาหารสำหรบั ปลาอยา งงาย 2 โปรตนี 8% ไขมนั 7% ใชเปนอาหารเสริมหรอื สมทบเทาน้ัน วัตถุดบิ สูตร 1 สูตร 2 5 กก. รำขาวจากโรงสี 1 กก. 3.2 กก. 6.3 มนั สำปะหลงั (ช่งั นน.แหง แลวนำไปตม/น่งึ ใหสุก) 1.7 กก. แหง แหง แบง ไปน่ึง/ตม 100 กรมั 0.01-0.02 กก. กากน้ำตาล 10 กก. วิตามินและแรธาตุรวม 6.6 กลวยนำ้ วา สุก รวม (กก.) ราคา(บาท/กก.) สูตรอาหารสำหรบั ปลาอยางงาย 3 โดยนำอาหารปลาหรือกุงมาผสมกับสว นผสมอน่ื ปน กอ นหรอื อดั เมด็ ใหมเ พือ่ เลย้ี งปลา ทม่ี โี ปรตีน โปรตีน 15 , 26 และ 28% แตจ ะมีปริมาณไขมนั สูงกวา อาหารทีข่ ายในทองตลาดจะสามารถชว ยลดความตองการโปรตีนของปลาได สวนผสม อาหารปลา อาหารกุง โปรตีน 15% โปรตนี 26% โปรตนี 28% ไขมนั 6.3% ไขมนั 6.3% ไขมนั 8.4% 1.อาหารสำเรจ็ รูป - อาหารปลานลิ (25%โปรตนี ) 35 - - - อาหารกงุ (40% โปรตนี ) 35 40 2.กากถ่ัวเหลอื ง 27 27 27 3. มนั สำปะหลังแหง /มนั เสน 35 35 35 - บดละเอยี ด 20 20 20 - บด/ไมบ ด นำไปตม /นง่ึ สุกเพ่อื เปน สารเหนยี ว 15 15 15 4. ยีสตขนมปง 0.5 0.5 0.5 5. สาหรายสไปรูไลนา -- 0.1 6. นำ้ มันถ่ัวเหลือง/ปาลม 33 3 รวม 100 100 100 หมายเหตุ: มนั สำปะหลัง 20% สามารถเปลย่ี นเปนรำขา วได ถาเปนรำจากโรงสีตมสกุ จะชวยใหป ลายอ ยใชประโยชนไดดี ขน้ึ กวา ทไ่ี มผ า นการตมสุก

31 2. การผลติ อาหารสำหรับใชเลี้ยงปลาสวยงามหรือปลาขนาดเล็กในตู ซ่งึ จะใชในปรมิ าณนอยการผลิต เก็บไวนานจะทำใหเสื่อมสภาพได นอกจากนี้สามารถใชสารเสริมเพื่อเพิ่มความสวยงาม ทำใหสีสวย เชน ฟา สม แดง เหลอื ง (สไปรูไลนา) หรือเกลด็ เงาแวววาว (แคลเซียมแลคเตท) ควรเสริมอยางนอย 6 สัปดาหเพื่อใหส ีเขม สวย ตัวอยา งอาหารอยา งงาย 4 (โปรตีน 32% ไขมนั 8% (40 บ. /กก) สำหรบั เลีย้ งปลาตูขนาดเลก็ /ปลาสวยงาม ฯลฯ วัตถดุ บิ /ราคา % ในสตู ร (100 กก.) 1 กก. 1.อาหารกุง (โปรตนี 42% ไขมัน 4%) 60 600 กรมั 2.ยสี ตข นมปง 4 40 กรมั 3.แคลเซียมแลคเตท (+วติ ามนิ แรธ าตรุ วม 0.2-0.5 กรัม) 2-3 20-30 กรัม 4.สาหรา ยสไปรไู ลนา 1-3 10-30 5.แปงสาลี 13-19 130-190 กรัม 6.น้ำมนั ปลา+พชื (นำ้ มันปลา 1+ถ่ัวเหลือง 1+ ปาลม 3) 5 50 กรมั (10+10+30) 7. สารเหนียว (alpha starch) 6 60 กรัม 100 1000 กรมั (1 กก.) รวม ตวั อยา งอาหารอยา งงา ย 5 (โปรตนี 32% ไขมนั 3 % (40 บ./กก)/ สำหรับ เล้ียงปลาตูขนาดเลก็ /ปลาสวยงาม ฯลฯ วัตถดุ ิบ/ราคา % ในสตู ร (100 กก.) 1 กก. 1.อาหารกุง (โปรตนี 42% ไขมนั 4 %) 65 0.6 กก. 2.ยสี ตขนมปง 5 50 กรัม 3.แคลเซยี มแลคเตท (/วิตามินแรธาตรุ วม ) 1 50 กรัม 4.สาหรา ยสไปรไู ลนา 1-5 50-250 5.แปง สาลี 13-16 130-160 กรัม 6.นำ้ มนั ปลา+พชื (นำ้ มนั ปลาถั่วเหลือง ) 5 50 กรมั (10+10+30) 7. สารเหนยี ว (alpha starch) 8 80 กรัม รวม 100 10 3. การผลิตสารเสริมอาหารสำหรบั ใชเล้ียงพอแมพ ันธปุ ลาทั่วไปและปลาสวสวยงาม เนอ่ื งจากอาหาร สำเรจ็ รูปทีข่ ายในทองตลาดมีราคาแพง สวนใหญจะใชอ าหารปลาเล้ียงท่วั ไปและการผลิตอาหารพอ แมพันธุ ใชเ องไม สะดวก ดงั นัน้ จึงไดม กี ารทดสอบผลิตอาหารเสรมิ เพ่อื ใชคลกุ เคลอื บกับอาหารสำเรจ็ รปู และนำไปใชก ับหนวยงานในกรม ประมงและฟารม เอกชนหลายแหง ชวยใหไดผลผลิตลกู ปลาสูงขน้ึ และมอี ตั รารอดดี

32 แนวทางการเลี้ยงปลารูปแบบตางๆ รวมกับการจดั การดานอาหารสตั วนำ้ ผลจากการเลี้ยงในโครงการทดสอบเพื่อเปนแนวทางในการนำไปใชในการเลี้ยงสัตวน้ำรูปแบบตางๆ ซึ่งมีปจจัยที่ เกี่ยวของหลายปจจัย อยางไรก็ตามการจัดการดานอาหารเปน ปจจยั ท่ีสำคัญที่สงผลตอตน ทุน อัตรารอด การเจริญเติบโต ของ สตั วน ำ้ รูปแบบมีดังนี้ 1. การเลี้ยงปลานิลในบอพลาสติกบนดอย เนื่องจากโครงการเลี้ยงปลาบนดอยจะใชรูปแบบการเลี้ยงปลาในบอ พลาสติก ซึ่งมีความลึกของน้ำเพียง 30 ซม. ซึ่งไมเหมาะสมกับการเลี้ยงปลานิลจึงไดมีคำแนะนำใหเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ โครงการปรับบอเลี้ยงท่ปี ูพลาสติกใหม คี วามลึกของน้ำอยา งนอ ย 80-100 ซม. และมกี ารปรบั วิธกี ารใหอาหาร 6 วันตอสัปดาห โดยการชงั่ นำ้ หนักใสถงุ จนส้นิ สุดระยะเวลาการเลยี้ ง โดยนำไปใหเกษตรกรทุกเดอื นเพือ่ เปนตน แบบซึง่ เดิมจะใหเปนกระสอบทำ ใหเส่ยี งกบั การใหอาหารมากเกนิ นำ้ เนาและปลาตาย นอกจากนมี้ ีการทำฟางหมักเพื่อสรา งอาหารธรรมชาตเิ สริมในบอ 2. การเลี้ยงกุงขาวดวยการใชสารเสริมในอาหาร จากปญหาการเลีย้ งกุงขาวและพบวามกี ารตรวจพบยาตกคางในกงุ สงผลตอการสง ออกและตีกลบั สนิ คากงุ เน่อื งจากเกษตรกรประสบปญหาโรคขีข้ าว ติดเชื้อตายหรือผลผลิตไมไดตามเปาหมาย จึงไดมีการทดสอบการใชสารเสริมในอาหารเพื่อเปนทางเลือกในการแกปญหาและเพิ่มอัตรารอดของกุงที่เลี้ยงโดยใชทดแทน การใชยาและสารเคมีในอาหาร ซึ่งทางกองวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวน้ำไดมีการทดสอบการใชสารเสริมในหลายพื้นท่ี และ แกปญหายาตกคางในเนื้อกุง ทั้งนี้ ไดทำการทดสอบรวมกับฟารมเกษตรกรที่ จ.สตูล 3 รายโดยมีเจาหนาที่ของศูนยวิจัยและ พัฒนาสัตวน้ำชายฝง จ.สตูล เปนพี่เลี้ยงและติดตามผลเปนระยะตอเน่ืองตลอดการเลีย้ ง ผลจากใชสารเสริมในอาหารที่ กพอ. เตรียมใหใชเสรมิ ในอาหารทุก 7-10 วัน และไดสงตารางการใหอาหารที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงกุงตั้งแตเ ร่ิมตนจนกระทั่งจบั เพอ่ื ควบคมุ การใหอ าหารไมใ หเหลอื หรือมากเกินพอและเสี่ยงตอการขาดทุน 3. การเลี้ยงปลารวมกับการปลูกผักในระบบปดแบบ aquaponics มี 3 ตนแบบ ที่แตกตางกันตามขนาดของระบบ เล้ยี ง เพือ่ เปน แนวทางในการเลย้ี งสตั วน้ำแบบหนาแนน ในระบบน้ำหมนุ เวยี น การจดั การดานอาหารหรอื การใหอาหารในอัตรา ที่เหมาะสมจะเปนการควบคุมการใหอาหารและใชอาหารอยางเต็มประสิทธิภาพจะเปนแนวทางในการลดตนทุนการเลี้ยงได นอกจากนี้จากปญหาภาวะโลกรอนที่สงผลกระทบตอปริมาณน้ำฝนที่มีความแปรปรวนทำใหเกษตรกรที่เลี้ยงปลาไดรับ ผลกระทบทั้งการเลี้ยงแบบหนาแนนในกระชังเมื่อฤดูน้ำหลากและเมื่อภาวะฝนทิ้งชวงทำใหเกิดการขาดแคลนน้ำที่จะใชเลี้ยง ปลาทั้งในกระชังและบอดิน เนื่องจากระบบน้ำหมุนเวียนเปนการเลี้ยงปลาแบบประหยัดน้ำและใชพื้นที่และทรัพยากรอยางมี ประสิทธภิ าพ แตจ ะตองมีการเลือกใชต ัวกรองและบำบดั น้ำทีเ่ หมาะสม จงึ จะมีประสทิ ธภิ าพในการบำบดั นำ้ ท่ีออกจากบอเลี้ยง ปลาท่ีมีท้งั ปริมาณของเสแียจนากวอทาหาางรกทาีใ่ หร เแลละ้ยี สงง่ิ ปขับลถาา ยนจลิ ากใตนวั บปลอ าพทั้งลในารสปู ขตอกิ งแบขน็งแดลอะขยองเหลว (แอมโมเนีย) ซึ่งมีปริมาณ มากในระบบการเลี้ยงแบบหนาแนน ซึ่งการเล้ียงในระบบการเลี้ยงแบบหนาแนน ในพนื้ ที่จำกัดท่ีเหมาะสม เชน บอซีเมนตหรือ ถังจะชวยใหปลาสามารถกินอาหารที่ใหและเกิดการสูญเสียนอยมากเมื่อเทียบกับการเลี้ยงในกระชังหรือบอ ดิน อีกทั้งในระบบ หมุนเวียนท่ีมีตัวกรองที่เหมาะสมจะชว ยกระตุน ใหเกิดแบคทีเรียในระบบโดยแบคทีเรียบางชนิดสามารถเปล่ียนแอมโมเนียเปน อาหารและเพิ่มจำนวนได ซึง่ ระบบดงั กลาวมกี ารเลี้ยงปลาไดหลายชนิด เชน ปลาดกุ (catfish) ปลานลิ กงุ ปลากะพงขาว ฯลฯ ในหลายประเทศ เชน อเมริกา แคนาดา อิสราเอล และทางกลุมสหภาพยุโรป และจากรายงานในตางประเทศระบุวา พบ แบคทีเรียปริมาณมากเกาะอยูที่ถังหรือภาชนะเลี้ยงปลาและในระบบกรอง ปลาจึงไดรับอาหารเสริมจากการกินแบคทีเรียซึ่งมี โปรตีนสูง 45-65% โดยวัสดุกรองจะตองเปนชนิดที่สามารถเพิ่มพื้นที่และเปนท่ีอยูของแบคทีเรียไดจึงจะมีประสิทธิภาพสูงใน การบำบัด และปลอยปลาแบบหนาแนนได จากขอมูลการเลี้ยงระบบปดดังกลาวสามารถทำเปนรูปแบบชุดการเลี้ยงปลาท่ี สามารถนำไปสงเสริมใหมีการเลี้ยงระดับครัวเรือน ระดับโรงเรียนโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีปญหาเรื่องน้ำที่มีปริมาณนอยหรือ สามารถเตรียมความพรอมรับมือกับภัยพิบัติที่อาจเกิดการขาดแคลนดานอาหาร ทำใหสามารถมีปลาและผักที่ปลอดภัยเพื่อ บริโภคในครวั เรือนและในชุมชน เนื่องจากระบบปด เปน การชวยประหยดั การใชนำ้ (ไมตองเปลี่ยนถายน้ำ) สามารถปลอยปลา แบบหนาแนน ลดการใชพื้นที่แตใหผลตอบแทนและผลผลิตสูง รวมทั้งไดคุณภาพเนื้อปลาที่สะอาดไมมีกลิ่นโคลนจะเปนการ ยกระดับคุณภาพของปลาที่จะสงออกไดในอนาคต หากเกษตรกรสามารถรวมกลุมกันเลี้ยงจะมีปริมาณเพียงพอที่จะผลิตเชิง พาณิชยและอุตสาหกรรมได ซึ่งผลที่ไดจากโครงการฯ จะเปนขอมูลที่จะชวยสรางความเขมแข็งใหเกษตรกรสามารถนำไป ขยายผลไดทันทที ้งั ในระดบั ชุมชนและระดบั ประเทศตอ ไป

33 แนวทางการเลย้ี งปลานิลในบอพลาสติกในพ้ืนทส่ี งู ตัวอยา งผลการเลี้ยงปลานิลบนดอย

34

35 ตาราง แสดงคา เฉลีย่ นน.ปลา คา ตำ่ สุดและสงู สดุ ของปลารายบอ และจำนวนเกษตรกรท่ีสามารถบรโิ ภคปลา หนึง่ หรอื สองตัวตอสปั ดาห ในระยะเวลา 2-3 เดือน โครงการบานรักษน้ำ จ. เชียงราย ป 2556 อตั ราความ นำ้ หนกั เฉล่ยี คาตำ่ สดุ - เกษตรกรทีจ่ ะมี เกษตรกรทจ่ี ะมี เกษตรกรท่จี ะมี หนาแนน ปลาเมื่อจบั สูงสุด ปลาบรโิ ภค 2-3 ปลาบรโิ ภค 2-3 ปลาบริโภค 2-3 (ตัวตอ ของ นน.ปลา ด. เมอ่ื จบั 1 ตัว ด. เมื่อจับ 2 ตวั ตรม.) (ก.) ในบอ ด. จบั ได ตอ สปั ดาห ตอ สัปดาห มากกวา 2 ตัว ตอสปั ดาห นาสี 7 119.7 45-205 / ไอคะ 17 171.0 95-250 / นาวากู 5 168.2 50-295 / นาตา 5 210 105-280 / จะเบาะ 5 162.9 85-235 / อาซา 25 127.9 40-245 / นพกร 25 131.2 35-280 / อาบอื 25 111.9 60-160 / อารินทร 25 103.6 50-175 / ศิริรตั น 25 68.5 20-135 / รวม 3 ราย 4 ราย 3 ราย เกษตรกรจำนวน 10 ราย ทำการเลี้ยงปลานิลในบอพลาสติก อัตราปลอย 5-25 ตัวตอตรม. นน.ปลา เฉลี่ย 4.5-10.5 กรัม ความลึกของน้ำในบอ 60-80 ซม. เปนเวลา 114-115 วัน โดยใหอาหารที่มีระดับ โปรตีน 32% จำนวน 6 วันตอสัปดาห จัดการการเลี้ยงตามขอกำหนดขางตน พบวามีเกษตรกรที่เลี้ยง ปลานิลไดปลาที่มีนน.ปลามากกวา 100 กรัม จำนวน 8 ราย จากทั้งหมด 10 ราย และจากกราฟแสดง น้ำหนักปลารายบอจะเห็นวา ไดก ลมุ ปลาขนาดใหญในแตล ะรายจำนวนมาก แสดงใหเ หน็ วา ปลาที่เล้ียง สวนใหญมกี ารเจริญเติบโตคอนขา งดี และบางรายสามารถเลย้ี งไดน้ำหนักปลาสูงกวา เมื่อเทียบกับรายงาน ของปรีชาและคณะ ( 2531) ระบุวาทำการเลี้ยงปลานิลแดง ในบอดินขนาด 200 ตรม. ในอัตรา 10 ตัว ตอตร.ม. เปนเวลา 6 เดอื น พบวาไดปลาทีม่ นี ้ำหนักเฉลยี่ 147.7 กรมั ตอตัว หากกำหนดระยะเวลาเพื่อใหมีปลาบริโภค 2-3 เดือน จะเห็นวา มีจำนวน 3 ราย ที่จะมีปลาบริโภคหรือ สามารถจับกินได 1 ตัว หรือ 2 ตัวตอสัปดาห จำนวน 3 และ 4 ราย ตามลำดับ และจับกินไดมากกวา 2 ตัวตอสัปดาหจำนวน 3 ราย เปนขอสังเกตวา เกษตรกรที่ใหความสนใจและปฏิบัติตามคำแนะนำของ เจา หนาทีจ่ ะไดผ ลผลิตปลาดี ดงั นั้น หากมกี ารประชาสัมพันธสรางความเขา ใจหรือเห็นตัวอยางของรายที่ ประสบผลสำเร็จก็จะเปนแนวทางในการสงเสริมได จะเห็นวาหากตองการใหมีปลาบริโภค 1 ตัวตอ สัปดาหตลอดทั้งป จะตองเลี้ยงปลาอยางนอย 70 ตัวตอราย (อัตรารอด 60-70%) ผลจากการเลี้ยงปลา ของกลุมรกั ษน้ำฯแสดงใหเห็นวา หากปฎบิ ตั ติ ามขอกำหนดที่ใหเกษตรกรจะไดปลานิลขนาดใหญมากกวา 100 กรมั ตอตวั เพื่อบริโภคหรอื เปนแนวทางในการสงเสริมการเลีย้ งปลารายเล็กตอ ไป

36 สรุปไดวา การสงเสริมการเลี้ยงปลานิลในบอพลาสติกบนดอย ควรปลอยปลาในอัตราไมมากกวา 25 ตัวตอตาราง เมตรเพื่อใหไดปลามีขนาดใหญเมือ่ จบั ควรมีระดับความลึกของน้ำในบออยางนอย 80 ซม. มีการกำหนดปริมาณ อาหารทีใ่ หป ลาเปน มือ้ หรอื รายวันเพือ่ ปอ งกันการใหอ าหารมากเกินไปทจี่ ะสง ผลทำใหนำ้ เขยี วหรอื เนา เสยี จากอาหาร เหลือหรือมากเกินและปลาตายในเวลาตอมา นอกจากนี้ การทำฟางหมักเสริมเปนการเพิ่มอาหารธรรมชาติในบอ สงเสรมิ ใหป ลามอี าหารกนิ ไดตลอดเวลาชว ยเสรมิ สรางการเจริญเตบิ โตของปลาและลดการใหอ าหารสำเร็จรูปได

37

38 ตวั อยา ง มาตรฐานอาหารอาหารกงุ ทะเลท่ีขน้ึ ทะเบียนกับกรมประมง กลุมขนาดอาหารทเ่ี หมาะสมกบั การ เล้ียงกุง : เล็กไมควรมากกวา 20 % : กลาง 60 % : ใหญ 20 %

39

40

41

42

43

44 จากผลการเลย้ี ง สรปุ ไดว า ควรปลอยปลาในระบบ Aquaponics ท่ีความหนาแนน 80 ตวั ตอ ลบ.ม. จะได ผลผลิตดีท่สี ุด ขนาดปลาทป่ี ลอ ย 50 กรมั ระยะเวลาการเลยี้ ง 70 วัน

45 จากโครงการเล้ียงทั้ง 3 ตนแบบ จะเห็นวา หากเกษตรกรเลีย้ งในถังขนาดเลก็ ตนทุนไมสูงมากและมีผักบริโภค ในครัวเรือน ทั้งนี้ตนทุนไมส ูงมากโดยไดม ีการคำนวณและคำนึงถึงตน ทุนคาไฟ โดยถังขนาด 300 ลิตรเชื่อมระบบตอกนั 3 ใบ ใชปม นำ้ ขนาด 12 วัตต และปม ลมขนาดเล็ก ซง่ึ จะตอ งมกี ารคำนวณอัตราไหลของน้ำ ความสงู ของระยะท่ีปมตอง สูบน้ำขึ้นแปลงปลูกผักที่เหมาะสม รายงานตางประเทศระบุวา พื้นที่ที่ปลูกผักได 10 เทาของพื้นท่ีเลี้ยงปลา หาก เกษตรกรตองการเลี้ยงขายอาจตอระบบเปนชุด 5 ถังหรือมากกวา เพื่อวางแผนการเลี้ยงและจับปลาขาย เนื่องจาก ระบบเลย้ี งในพ้นื ทจี่ ำกัดจะมคี าอัตรารอดของปลาสูงและใชอ าหารนอยหรือคา FCR ตำ่ แตผ ูเ ลยี้ งตอ งระวังในชวงแรกท่ี พืชผกั ยังเจรญิ เติบโตไมม ากจะมีตัวชว ยดดู ซับเปลยี่ นรปู ของเสียในระบบไดน อ ยจากปลาทีป่ ลอ ยหนาแนน เอกสารอา งอิง พศิ มยั สมสบื , ศราวธุ คเชนทองสุวรรณ และสธุ วี ฒั น สมสบื . 2538. ผลของการเพ่มิ ไขมนั และการเก็บรักษาตอ การเปลย่ี นแปลงของกรดไขมนั ใน อารท ีเมยี การประชมุ ทางวิชาการของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร คร้ังที่ 33 30 มกราคม – 1 กมุ ภาพนั ธ 2538 หนา 139-147. พศิ มัย สมสืบ, นชุ นรี ทองศรี, ศริ ิพร บุญเต็ม และสหัสษา อตุ สาหะ. 2546 อทิ ธพิ ลการเกบ็ รกั ษาไรแดง 3 วธิ ี ที่มีตอ การยอมรับอาหารของปลา 2 ชนิด ประชมุ วชิ าการสำนกั วจิ ยั ประมงนำ้ จดื ป 2546 และประชมุ วิชาการกรมประมง (ภาคโปสเตอร) 7-9 กรกฎาคม 2546. พิศมยั สมสบื , อบุ ลรัตน ลิ้มทิพยส ุนทร, คฑาวธุ ปานบุญ และประมุข แกว มา. 2558. การสงเสริมเชิงสาธิตรูปแบบการเล้ยี งปลาตนทุนต่ำ การ ประชุมวิชาการประมง ประจำป 2558 9-10 มถิ ุนายน 2558 หนา 325-343. พศิ มยั สมสบื , คฑาวธุ ปานบญุ , ธวชั ชยั หลาสม และวิสตู ท ตยุ ดง. 2558. การเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตสัตวน้ำโดยใชเทคโนโลยกี ารเลยี้ งปลา รวมกบั การปลูกผัก (Aquaponics) การประชมุ วิชาการประมง ประจำป 2558 9-10 มิถุนายน 2558 หนา 365-378.