Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการขึ้นทะเบียนและการจัดการระบบความมั่นทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสัตว์น้ำสวยงาม

คู่มือการขึ้นทะเบียนและการจัดการระบบความมั่นทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสัตว์น้ำสวยงาม

Description: คู่มือการขึ้นทะเบียนและการจัดการระบบความมั่นทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสัตว์น้ำสวยงาม

Search

Read the Text Version

บญั ชีแนบท้าย 3 การสุ่มเก็บตัวอยา่ งสตั ว์น้าจากสถานประกอบการเพาะเลียงสัตวน์ ้าเพอ่ื การส่งออก (สอ. 3) ชนดิ โรคท่ตี รวจ ความถ่ีในการสุ่ม (เทคนิคการตรวจโรค) ตวั อยา่ ง/ปี ชนิดสัตว์น้า จา้ นวนตวั อย่าง 67 ตัว 1. SVC (Cell culture) อย่างน้อย 2 ครั้ง 1. ปลาคารพ์ (Cyprinus carpio) 2. ปลาไน (Cyprinus carpio) 67 ตัว 3. ปลาตะเพยี นเทศ (Carassius carassius) 4. ปลาทอง (Carassius auratus) 60 ตวั 5. ปลาล่นิ (Hypophthalmichthys molitrix) 60 ตวั 6. ปลาซง่ (Aristichthys nobilis) 7. ปลาเฉา (Ctenopharyngodon idella) 1 2. IPN (Cell culture) อยา่ งน้อย 2 ครง้ั 1. ปลาคารพ์ (Cyprinus carpio) 2. ปลาไน (Cyprinus carpio) 3. ปลาตะเพยี นเทศ (Carassius carassius) 4. ปลาทอง (Carassius auratus) 5. ปลาลนิ่ (Hypophthalmichthys molitrix) กองวิจัยและพฒั นาสุขภาพสตั ว์น้ำ� 6. ปลาซ่ง (Aristichthys nobilis) กรมประมง 7. ปลาเฉา (Ctenopharyngodon idella) 8. ปลาปอมปาดวั ร์ (Red discus; Symphysodon discus) 3. Aeromonas salmonicida อยา่ งน้อย 2 ครง้ั ปลาทอง (Carassius auratus) (Bacteria isolation) 4. KHV (PCR) อย่างน้อย 2 ครงั้ 1. ปลาคารพ์ (Cyprinus carpio) 2. ปลาไน (Cyprinus carpio) 49

50 5. Megalocytivirus (PCR) อย่างน้อย 2 ครั้ง 1. กลุ่มปลาปอมปาดัวร์ 60 ตัว คมู่ อื การขน้ึ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง 6. RSIV (PCR) อยา่ งน้อย 2 ครั้ง - ปลาปอมปาดวั ร์ (Symphysodon discus) 1. ลกู ปลาอายุ 1-5 วนั ส่มุ ประมาณ 5 กรัม ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม - ปลาปอมปาดัวร์ (Symphysodon 2. ลกู ปลาอายุมากกว่า 5 วนั ส่มุ 60 ตวั aequifasciatus) 2. กลุ่มปลากมิ - ปลากิมแรด (Parosphronemus paludicola) - ปลากิมสี (Trichopsis pumila) - ปลากมิ (Trichopsis vittalus) 3. กลุม่ ปลาสอด ปลาหางนกยงู - ปลาหางนกยงู (Poecilia reticulata) - ปลามอลล่ี (Poecilia shpenops) - ปลาเพลตี (Xiphophorous maculatus) - ปลาสอด (Xiphophorous helleri) - ปลาเซลฟนิ 4. กลุ่มปลากระดี่ (กระดหี่ ม้อ กระดีแ่ คระ กระดีม่ ุก กระดี่ นางฟ้า) 5. กล่มุ ปลาหมอสี 6. ปลาพาราไดซ์ (Macropodus perculari) 7. ปลาเทวดา (Pterophyllm scalare) 8. ปลาออสการ์ (Astronotus ocellatus) 9. ปลาหัวตะกวั่ ปลานอี อน 1. ปลากะพง (Lates calcarifer) 2. ปลาเก๋า (Epinephelus spp.) 2

7. VNN (PCR) อย่างน้อย 2 คร้ัง 1. ปลากะพง (Lates calcarifer) 1. ลกู ปลาอายุ 1-5 วนั สมุ่ ประมาณ 5 กรัม 8. Ranavirus (Cell culture) อย่างน้อย 2 ครงั้ 2. ปลาเก๋า (Epinephelus spp.) 2. ลกู ปลาอายุมากกว่า 5 วนั สุ่ม 60 ตัว 9. Crayfish plague (PCR) 3. ปลานิล (Oreochromis niloticus) 10. WSSV (PCR) กบ (Rana spp.) 67 ตวั 60 ตวั 11. IHHNV (PCR) อยา่ งน้อย 2 ครงั้ กงุ้ Crayfish น้าจืดทุกชนิด 1. ลกู กุง้ PL1 – PL 15 สมุ่ ประมาณ 5 กรมั 12. YHV (PCR) 2. กงุ้ วยั รุ่น – กุ้งโต สมุ่ 60 ตวั 13. TSV (PCR) อยา่ งน้อย 2 คร้งั ก้งุ ปู ทุกชนิด 3. ปู สมุ่ 60 ตัว กองวิจัยและพฒั นาสุขภาพสตั ว์น้ำ� (ก้งุ ปู ทีร่ วบรวม 1. ลูกกุ้ง PL1 – PL 15 ประมาณ 5 กรัม กรมประมง จากธรรมชาติ สมุ่ 2. กุ้งวยั รุ่น – กุ้งโต สุ่ม 60 ตวั 1. ลูกกงุ้ PL1 – PL 15 ประมาณ 5 กรมั 4 ครง้ั /ป)ี 2. ก้งุ วัยรนุ่ – กุง้ โต สุ่ม 60 ตัว อยา่ งน้อย 2 ครง้ั 1. กุ้งขาว (Penaeus vannamei) 1. ลูกกุง้ PL1 – PL 15 สุ่มประมาณ 5 กรมั 2. กงุ้ วัยรนุ่ – กงุ้ โต สมุ่ 60 ตัว 2. กุง้ กุลาด้า (Penaeus monodon) 3. ปู ส่มุ 60 ตัว 3. กงุ้ ก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) อย่างน้อย 2 ครั้ง 1. กุ้งขาว (Penaeus vannamei) 3 2. กงุ้ กุลาด้า (Penaeus monodon) อยา่ งน้อย 2 ครัง้ 1. กุ้งขาว (Penaeus vannamei) 2. กุ้งกุลาดา้ (Penaeus monodon) 3. กุง้ ก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) 51 4. กุง้ ฝอย (Macrobrachium lanchesteri) 5. ปดู า้ (Scylla serata) 6. ปแู ดง (Sesarma mederi)

52 14. IMNV (PCR) อย่างน้อย 2 ครั้ง 1. กุง้ ขาว (Penaeus vannamei) 1. ลกู กุง้ PL1 – PL 15 ประมาณ 5 กรัม คมู่ อื การขน้ึ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง 15. MrNV and XSV (PCR) 2. ก้งุ กลุ าด้า (Penaeus monodon) 2. กงุ้ วัยรนุ่ – กุง้ โต สุ่ม 60 ตัว ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม 1. ลูกกุ้ง PL1 – PL 15 สุ่มประมาณ 5 กรมั อย่างน้อย 2 ครั้ง กุ้งกา้ มกราม (Macrobrachium rosenbergii) 2. กงุ้ วยั ร่นุ – ก้งุ โต สุ่ม 60 ตัว หากมสี ตั ว์น้าหลายชนดิ ใหส้ ุ่ม 6 ชนิด ๆ ละ 16. External parasites (wet อยา่ งน้อย 1 ครั้ง สตั ว์นา้ ทกุ ชนดิ 10 ตวั หากมไี มค่ รบ 6 ชนิด ให้เพ่ิมจ้านวน mount) (ตรวจทกุ ครั้งทส่ี มุ่ สตั ว์นา้ แต่ละชนดิ เพื่อใหไ้ ด้ 60 ตวั 17. Perkinsosis ( PCR, Histopathology) ตวั อย่าง) 60 ตัว 18. Xenohaliotis disease (PCR, อย่างน้อย 2 ครง้ั 1. หอยแครง (Anadara granosa) 60 ตัว Histopathology) 2. หอยตลับ (Meretrix lusoria) 60 ตัว 19. Aabalone herpes virus 3. หอยนางรม (Crassostrea belcheri) disease (PCR) 4. หอยลาย (Paphia undulate) 5. หอยเป๋าฮ้ือ (Haliotis asinine, H. diversicolor) อย่างน้อย 2 ครงั้ หอยเปา๋ ฮ้ือ (Haliotis asinine, H. diversicolor) อย่างน้อย 2 ครง้ั หอยเป๋าฮื้อ (Haliotis asinine, H. diversicolor) 4

20. Vibrio cholerae (Bacteria ฟารม์ จระเข้อย่าง 1. จระเข้ (Crocodylus siamensis) ฟารม์ จระเข้ isolation) นอ้ ย 2 ครง้ั 2. ตะพาบน้า (Pelodiscus sinensis) 1. เก็บตัวอย่างน้าในบอ่ เล้ียง 3 ขวด ฟาร์มตะพาบนา้ 2. เกบ็ ตวั อยา่ งน้าในบ่อพักน้า 1 ขวด อย่างน้อย 4 ครั้ง 3. เก็บอาหารสดของจระเข้ 1 ตัวอยา่ ง 21. Salmonella sp. (Bacteria อย่างน้อย 4 ครง้ั ตะพาบนา้ (Pelodiscus sinensis) ฟารม์ ตะพาบนา้ isolation) อยา่ งน้อย 2 ครั้ง จระเข้ (Crocodylus siamensis) 1. เก็บตวั อยา่ งน้าในบ่อเลี้ยง 4 ขวด อย่างน้อย 2 ครั้ง จระเข้ (Crocodylus siamensis) 2. เก็บตัวอยา่ งน้าในบ่อพักน้า 1 ขวด 22. Crocodile poxvirus (ตรวจ 1. เก็บตวั อย่างน้าในบ่อเลีย้ ง 4 ขวด พินจิ ดว้ ยสายตา) 2. เก็บตัวอย่างนา้ ในบ่อพักนา้ 1 ขวด 23. Clamydiosis (ตรวจพนิ ิจดว้ ย สายตา) - - หมายเหตุ กองวิจัยและพฒั นาสุขภาพสตั ว์น้ำ� 1. หากสถานประกอบการมีบ่อเลย้ี งสัตวน์ ้าชนิดน้นั ๆ 5 บ่อ ข้ึนไป ใหส้ ุม่ ตวั อย่างจาก 5 บ่อ แตห่ ากมนี ้อยกว่า 5 บ่อ ให้สุ่มทุกบ่อ จา้ นวนทสี่ ุ่มจากแต่ละบ่อ ตาม กรมประมง สัดส่วนของสตั วน์ ้าทีม่ ีในบ่อน้ัน ๆ เพ่ือรวมกันให้ได้ตามจา้ นวนทีก่ า้ หนด 2. สตั ว์น้าสวยงามทีเ่ ล้ียงไว้ดูเลน่ หอยน้าจืดสวยงาม ปลาสวยงามที่ไมม่ ีความเสยี่ งต่อโรคระบาดในรายการที่เฝ้าระวงั เช่น ปลากระเบน ปลาอโรวานา ไม่ตอ้ งส่มุ ตวั อยา่ งแตใ่ ห้ตรวจสุขภาพเบื้องตน้ โดยพินจิ ดว้ ยสายตา 53 5

54 บัญชีแนบท้าย 4 คมู่ อื การขน้ึ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม การส่มุ เกบ็ ตัวอยา่ งสตั ว์น้าจากสถานประกอบการรวบรวมสัตวน์ า้ เพอ่ื การสง่ ออก (สอ. 4) ชนิดโรคท่ีตรวจ ความถ่ีในการสุ่มตัวอย่าง/ปี (เทคนคิ การตรวจโรค) ชนิดสตั วน์ ้า จา้ นวนตวั อย่าง 60 ตวั 1. WSSV (PCR) กุง้ ปู ทร่ี วบรวมจากธรรมชาติ กงุ้ ปู ทุกชนิด 60 ตวั สมุ่ อย่างน้อย 4 คร้งั 60 ตวั 2. IHHNV (PCR) กุง้ กา้ มกรามทร่ี วบรวมจาก ก้งุ กา้ มกราม (Macrobrachium rosenbergii) 60 ตัว ธรรมชาติ สมุ่ อยา่ งน้อย 4 ครั้ง 60 ตัว 3. TSV (PCR) กงุ้ ปู ทร่ี วบรวมจากธรรมชาติ 1. กุ้งกา้ มกราม (Macrobrachium rosenbergii) 4. MrNV and XSV (PCR) ส่มุ อย่างน้อย 4 ครง้ั 2. กงุ้ ฝอย (Macrobrachium lanchesteri) 3. ปดู า (Scylla serata) กุ้งก้ามกรามท่รี วบรวมจาก 4. ปแู ดง (Sesarma mederi) ธรรมชาติ ส่มุ อย่างน้อย 4 คร้ัง ก้งุ ก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) 5. Perkinsosis ( PCR, Histopathology) หอยทรี่ วบรวมจากธรรมชาติ 1. หอยแครง (Anadara granosa) สมุ่ อย่างน้อย 2 คร้ัง 2. หอยตลบั (Meretrix lusoria) 3. หอยนางรม (Crassostrea belcheri) 4. หอยลาย (Paphia undulate) 5. หอยเป๋าฮื้อ (Haliotis asinine, H. diversicolor) 1

6. Xenohaliotis disease (PCR, หอยทรี่ วบรวมจากธรรมชาติ หอยเปา๋ ฮื้อ (Haliotis asinine, H. diversicolor) 60 ตัว Histopathology) สมุ่ อยา่ งน้อย 2 ครัง้ 7. Aabalone herpes virus disease หอยที่รวบรวมจากธรรมชาติ หอยเปา๋ ฮื้อ (Haliotis asinine, H. diversicolor) 60 ตวั (PCR) สุ่มอย่างน้อย 2 คร้งั สตั วน์ ้าทุกชนิด หากมสี ตั วน์ า้ หลายชนดิ ใหส้ ุ่ม 8. External parasites (wet mount) อย่างน้อย 1 ครง้ั 6 ชนดิ ๆ ละ 10 ตวั หากมีไม่ ครบ 6 ชนดิ ใหเ้ พม่ิ จานวนสัตว์ (ตรวจทกุ ครั้งท่ีสมุ่ ตัวอย่าง) น้าแต่ละชนดิ เพื่อให้ได้ 60 ตัว หมายเหตุ กองวิจัยและพฒั นาสุขภาพสตั ว์น้ำ� 1. สัตวน์ ้าชนิดท่ีมคี วามเสี่ยงต่อการเกิดโรคตา่ ง ๆ ยกเว้น External parasites ในบัญชีแนบท้าย 2 ให้ตรวจสอบหนงั สอื กากับการจาหน่ายหรือหลักฐานการซือ้ ขาย กรมประมง สตั ว์น้าชนดิ นั้น ๆ วา่ มาจากสถานประกอบการเพาะเลยี้ งสัตวน์ ้าเพอื่ การส่งออก (สอ. 3) 2. สตั วน์ ้าสวยงามทเี่ ล้ยี งไวด้ เู ล่น หอยน้าจืดสวยงาม ปลาสวยงามท่ีไม่มีความเสยี่ งต่อโรคระบาดในรายการทีเ่ ฝ้าระวัง เช่น ปลากระเบน ปลาอโรวานา ไมต่ ้องส่มุ ตวั อย่างแตใ่ ห้ตรวจสขุ ภาพเบื้องตน้ โดยพนิ จิ ดว้ ยสายตา 55 2

56 คมู่ อื การขึ้นทะเบยี น และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม บัญชีแนบท้าย 5 การออกเลขทะเบียนสถานประกอบการส่งออกสตั วน์ ้า เลขทะเบยี นสถานประกอบการสง่ ออกสตั วน์ า้ ขน้ึ ต้นด้วย “TH” แล้วตามดว้ ยตวั เลข 10 หลัก ซึง่ มี ความหมายดงั นี้ TH 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 TH หมายถึง Thailand เลขหลกั ท่ี 1 และ 2 หมายถงึ รหสั จังหวัด (ตารางท่ี 1) เลขหลกั ที่ 3 หมายถงึ ประเภทของสถานประกอบการส่งออกสัตวน์ ้า ก้าหนดดังนี้  เลข 2 หมายถงึ สถานประกอบการเพาะเลี้ยงสัตวน์ า้ เพอื่ การส่งออก (สอ. 3)  เลข 3 หมายถงึ สถานประกอบการรวบรวมสตั วน์ า้ เพ่ือการส่งออก (สอ. 4) เลขหลกั ท่ี 4 หมายถงึ ประเภทของสตั ว์นา้ กา้ หนดดงั น้ี  เลข 1 หมายถงึ ปลาสวยงามรวมทงั้ ลกู พันธ์ุ  เลข 2 หมายถงึ พันธุป์ ลาทุกชนิดยกเวน้ ปลาสวยงามรวมถึงลูกพนั ธ์ุ  เลข 3 หมายถึง พันธก์ุ ุ้งรวมถึงลกู พนั ธุ์  เลข 4 หมายถึง หอย  เลข 5 หมายถึง จระเข้  เลข 6 หมายถึง สตั ว์นา้ อน่ื ๆ ท่ีไม่อย่ใู น 5 ประเภทข้างตน้ เลขหลักที่ 5 และ 6 หมายถงึ ปี ค.ศ. ท่ีจดทะเบยี นสถานประกอบการสง่ ออกสตั ว์น้า คร้ังแรก เลขหลักท่ี 7 8 9 และ 10 หมายถึง เลขที่ของสถานประกอบการ ตัวอย่างที่ 1 TH 1 0 2 1 0 4 0 0 0 1 เลขหลักที่ 1 และ 2 1 0 สถานประกอบการท่ีต้ังและจดทะเบยี นในกรุงเทพ เลขหลกั ที่ 3 2 เป็นสถานประกอบการเพาะเลย้ี งสตั ว์น้าเพอื่ การส่งออก เลขหลกั ท่ี 4 1 ปลาสวยงามรวมทงั้ ลกู พนั ธุ์ เลขหลักที่ 5 6 0 4 จดทะเบียนสถานประกอบการส่งออกสตั ว์น้า ครงั้ แรก ปี ค.ศ. 2004 เลขหลกั ท่ี 7 8 9 10 0 0 0 1 เป็นสถานประกอบการล้าดบั ที่ 1 ในจงั หวดั นัน้ ทจ่ี ดทะเบียนในปี ค.ศ. 2004 1

กองวจิ ยั และพัฒนาสุขภาพสตั วน์ ้ำ� 57 กรมประมง ตัวอย่างท่ี 2 TH 7 0 3 2 0 4 0 0 0 1 เลขหลักที่ 1 และ 2 7 0 สถานประกอบการท่ตี ้งั และจดทะเบยี นในจังหวดั ราชบุรี เลขหลกั ที่ 3 3 เปน็ สถานประกอบการรวบรวมสตั ว์นา้ เพื่อการสง่ ออก เลขหลักท่ี 4 2 ลกู พันธุ์ปลา เช่น ปลากะพงขาว เลขหลกั ท่ี 5 6 0 4 จดทะเบยี นสถานประกอบการส่งออกสัตว์น้า คร้ังแรก ปี ค.ศ. 2004 เลขหลักที่ 7 8 9 10 0 0 0 1 เป็นสถานประกอบการลา้ ดับท่ี 1 ในจังหวดั นัน้ ทีจ่ ดทะเบียนในปี ค.ศ. 2004 ตารางท่ี 1 รหสั จังหวัด รหัส ช่อื จงั หวัด รหสั ชือ่ จงั หวัด รหสั ชื่อจงั หวัด รหสั ช่อื จงั หวดั รหสั ชอื่ จังหวัด 10 กรงุ เทพ 26 นครนายก 45 ร้อยเอ็ด 62 กา้ แพงเพชร 82 พงั งา 11 สมุทรปราการ 27 สระแกว้ 46 กาฬสินธ์ุ 63 ตาก 83 ภูเก็ต 12 นนทบรุ ี 30 นครราชสีมา 47 สกลนคร 64 สโุ ขทัย 84 สรุ าษฎรธ์ านี 13 ปทุมธานี 31 บุรรี ัมย์ 48 นครพนม 65 พิษณุโลก 85 ระนอง 14 อยธุ ยา 32 สรุ ินทร์ 49 มกุ ดาหาร 66 พจิ ิตร 86 ชุมพร 15 อ่างทอง 33 ศรีสะเกษ 50 เชียงใหม่ 67 เพชรบรู ณ์ 90 สงขลา 16 ลพบุรี 34 อบุ ลราชธานี 51 ลา้ พนู 70 ราชบรุ ี 91 สตูล 17 สงิ หบ์ รุ ี 35 ยโสธร 52 ล้าปาง 71 กาญจนบรุ ี 92 ตรงั 18 ชยั นาท 36 ชัยภูมิ 53 อุตรดิตถ์ 72 สพุ รรณบุรี 93 พัทลุง 19 สระบรุ ี 37 อ้านาจเจรญิ 54 แพร่ 73 นครปฐม 94 ปัตตานี 20 ชลบุรี 39 หนองบวั ล้าภู 55 น่าน 74 สมุทรสาคร 95 ยะลา 21 ระยอง 40 ขอนแกน่ 56 พะเยา 75 สมทุ รสงคราม 96 นราธวิ าส 22 จันทบุรี 41 อดุ รธานี 57 เชยี งราย 76 เพชรบรุ ี 97 บึงกาฬ 23 ตราด 42 เลย 58 แม่ฮ่องสอน 77 ประจวบคีรีขันธ์ 24 ฉะเชงิ เทรา 43 หนองคาย 60 นครสวรรค์ 80 นครศรธี รรมราช 25 ปราจนี บรุ ี 44 มหาสารคาม 61 อุทัยธานี 81 กระบี่ 2

58 บญั ชีแนบทา้ ย 6 คมู่ อื การขน้ึ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง ระยะเวลาท่ีกาหนดในการติดตามตรวจสอบสถานประกอบการรวบรวมสัตว์นาเพอื่ การสง่ ออก (สอ. 4) ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม ระยะเวลาที่รับรองสถานประกอบการ เงือ่ นไข สขุ อนามัยฟารม์ สุขภาพสัตวน์ า 1 ปี 1 ปี 1 สถานประกอบการทีม่ ีผลการตรวจประเมินฟารม์ ได้คะแนนรอ้ ยละ 80.0 ขนึ้ ไป และไม่พบการปนเปื้อนของเช้อื โรคใน ตวั อยา่ งสตั ว์น้า 6 เดือน 6 เดือน 2. สถานประกอบการท่ีมีผลการตรวจประเมินฟาร์มได้คะแนนร้อยละ 70.0 - 79.9 และไม่พบการปนเปื้อนของเชอื้ โรค ในตวั อย่างสัตว์น้า 3 เดือน 3 เดอื น 3. สถานประกอบการที่มีผลการตรวจประเมินฟารม์ ได้คะแนนร้อยละ 60.0 - 69.9 และไม่พบการปนเป้ือนของเช้ือโรค ในตัวอยา่ งสตั วน์ า้ ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4. สถานประกอบการที่มีผลการตรวจประเมินฟารม์ ได้คะแนนต้า่ กว่ารอ้ ยละ 60.0 หรือพบการปนเปื้อนของเชื้อโรคใน ตวั อย่างสตั ว์นา้ 5. สถานประกอบการทีร่ วบรวมสัตว์น้ากล่มุ crustacean สวยงามจากธรรมชาติ ขึ้นอยู่กับระดบั คะแนน 3 เดือน ของผลการตรวจ ประเมนิ ฟาร์ม 6. สถานประกอบการที่พบสัตว์นา้ ทป่ี นเป้อื นปรสิตประเภทตวั อ่อนของพยาธใิ บไม้ 3 เดอื น 3 เดอื น

กองวจิ ัยและพฒั นาสุขภาพสตั วน์ ้ำ� 59 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 2 ใบรบั รองมาตรฐานการจดั การฟารม์ เพาะเลยี้ งสตั วน์ ้ำ� สวยงาม

60 คมู่ ือการขึ้นทะเบยี น และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม ภาคผนวกท่ี 3 ตัวอย่างรายละเอียดแหล่งท่ีมาหรือแหล่งผลิตสัตว์น้�ำ บัญชีรายช่ือผู้จ�ำหน่าย สตั วน์ ้ำ� (แหลง่ ท่ีมา) ล�ำดับที่ ช่ือ (บุคคล ฟารม์ ผลิต ที่อยู่ โทร ทะเบยี นฟาร์ม แหลง่ ผลติ หรอื แหล่งรวบรวม)

สัตวน์ ำ้� ท่ีน�ำเขา้ ฟารม์ สัตวน์ �ำ้ ท่ยี า้ ย/ขายออก สตั ว์น�ำ้ ทเี่ หลือ ภาคผนวกท่ี 4 ตวั อยา่ งตารางบนั ทกึ การเคล่อื นยา้ ยของสตั วน์ ้ำ� (การนำ� สตั วน์ ้ำ� เขา้ /ออกในฟารม์ ) ชนดิ สัตว์น้ำ� จำ� นวน (ตวั ) จ�ำนวน จำ� นวนท่ตี าย วนั /เดอื น/ปี กกั ไวท้ โี่ ซน/ วนั /เดือน/ปี จ�ำนวน(ตวั ) ย้าย/ขาย ท่เี หลอื (ตวั ) (ตัว) บ่อ/ตู้ ไปท่ไี หน กองวจิ ยั และพฒั นาสขุ ภาพสัตว์น้ำ� กรมประมง 61

62 คู่มือการข้นึ ทะเบยี น และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม ภาคผนวกท่ี 5 ตวั อย่างบนั ทึกสัตว์น้�ำตาย วนั ทบ่ี นั ทึก ชนดิ สัตว์น�ำ้ จ�ำนวนทัง้ หมด จำ� นวนตาย* สาเหตุการตาย ผู้บนั ทกึ * ในกรณที สี่ ตั วน์ ำ�้ ตายผดิ ปกติ ใหต้ ดิ ตอ่ กองวจิ ยั และพฒั นาสขุ ภาพสตั วน์ ำ้� กรมประมง โทร :0-2597-4122 โทรสาร 0-2561-3993 e-mail : [email protected]

หมโาซยนเล/ขบตอ่ ูส้/ตั ว์ แหลง่ ท่ีมาของ ข้อมลู สัตวน์ �ำ้ ปว่ ย/ตาย การจัดการเบื้องต้น ภาคผนวกท่ี 6 ตัวอย่างตารางบนั ทกึ สตั วน์ ้ำ� ป่ วย/ตาย และการรักษา น้ำ� ทป่ี ่วย สตั วน์ ้ำ� วัน/เดือน/ปี ชนิด การรกั ษา สัตวน์ ้ำ� ปว่ ย (ตามบนัเขทา้ ึก)การน�ำ อาการปว่ ย จำ� นวนที่ป่วย จำ� นวนตาย* (การใช้ยาและสาร ผลการรักษา เคม)ี กองวจิ ยั และพฒั นาสุขภาพสตั ว์น้ำ� กรมประมง * ในกรณที ี่สัตวน์ ้ำ� ตายผดิ ปกติ ให้ติดต่อกองวิจัยและพัฒนาสขุ ภาพสัตวน์ ำ�้ กรมประมง โทรศพั ท:์ 0-2597-4122 โทรสาร: 0-2561-3993 e-mail: [email protected] 63 ขอ้ แนะนำ� : จ�ำนวนปลาตายนำ� ไปหักลดยอดจากจ�ำนวนปลาทเี่ คล่ือนยา้ ยเข้าฟารม์

วนั /เดอื น/ปี เวลาเข้า เวลาออก ช่อื -สกลุ หนว่ ยงาน/ทท่ี �ำงาน วตั ถุประสงค์ในการเข้าเย่ยี มฟารม์ ภาคผนวกท่ี 7 ตวั อยา่ งบันทกึ การเข้าตรวจเย่ยี มของเจ้าหนา้ ท่ีจากกรมประมง 64 คูม่ อื การขนึ้ ทะเบยี น และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสัตว์น้ำ� สวยงาม ขอ้ แนะน�ำ: ให้ฟาร์มจัดเตรียมแบบฟอร์มนี้ และต้องให้เจา้ หน้าทจี ากกรมประมงท่เี ขา้ ตรวจเย่ยี มลงนามทุกคร้งั

กองวิจยั และพัฒนาสขุ ภาพสตั ว์น้ำ� 65 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 8 รายช่ือโรคสตั วน์ ้�ำตามพระราชบญั ญตั โิ รคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๔๗ ง หน้า ๑๐ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เร่ือง กําหนดโรคระบาดสัตวเ์ พม่ิ เตมิ ตามพระราชบญั ญัตโิ รคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ อาศัยอาํ นาจตามความในคํานิยามคําว่า “โรคระบาด” ตามมาตรา ๔ ประกอบมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศฉบบั น้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ตงั้ แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป ข้อ ๒ ให้เพ่ิมโรคดังต่อไปน้ีเป็นโรคระบาดตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ก. โรคระบาดในสตั วป์ ีก (๑) โรคอหิวาต์สตั วป์ ีก (fowl cholera) (๒) โรคหลอดลมอกั เสบตดิ เชอื้ ในสตั ว์ปกี (avian infectious bronchitis) (๓) โรคกลอ่ งเสียงและหลอดลมอักเสบติดเช้ือในสัตว์ปีก (avian infectious laryngotracheitis) (๔) โรคไวรัสตับอักเสบในเปด็ (duck viral hepatitis) (๕) โรคกมั โบโร (Gumboro disease หรือ infectious bursal disease) (๖) โรคโพรงจมูกหลอดลมอักเสบในไกง่ วง (turkey rhinotracheitis) (๗) โรคมาเรก (Marek’s disease) (๘) กลุ่มอาการไข่ลด (egg drop syndrome) (๙) โรคโลหิตจางติดตอ่ ในไก่ (chicken infectious anaemia) (๑๐) โรคพาร์โวไวรสั ในห่านและเป็ดเทศ (infection with parvovirus in goose and Muscovy duck) ข. โรคระบาดในสัตว์เคี้ยวเออื้ ง (๑) โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบติดต่อในโคและกระบือ (contagious bovine pleuropneumonia) (๒) โรคบวี ีดี (bovine viral diarrhoea) หรือโรคเอม็ ดี (mucosal disease) (๓) โรคทริโคโมแนส (trichomonosis) (๔) โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในโค (enzootic bovine leukosis) (๕) โรคลมั ปี สกิน (lumpy skin disease) (๖) โรคไขส้ ามวนั (bovine ephemeral fever)

66 ค่มู อื การข้ึนทะเบยี น และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสัตว์น้ำ� สวยงาม เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๔๗ ง หน้า ๑๑ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๕๘ ราชกิจจานุเบกษา (๗) โรคไข้มาลกิ แนนตแ์ คทารร์ ัลในโค (bovine malignant catarrhal fever) (๘) โรคโพรงจมูกและหลอดลมอักเสบติดเชื้อในโค (infectious bovine rhinotracheitis) (๙) โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบติดต่อในแพะ (contagious caprine pleuropneumonia) (๑๐) โรคสมองฟา่ มในแกะ หรอื โรคสเครพี (Scrapie หรือ transmissible spongiform encephalopathies) (๑๑) โรคไขเ้ ห็บ (bovine babesiosis) (๑๒) โรคแอนาพลาสมา (bovine anaplasmosis) (๑๓) โรคไทเลเรยี (theileriasis หรอื theileriosis) (๑๔) โรคชมัลเลนแบร์ก (Schmallenberg) (๑๕) โรคอะคะบะเนะ (Akabane disease) (๑๖) โรคแบลก็ เลก หรือโรคไข้ขาดาํ (blackleg) (๑๗) โรคข้อและสมองอักเสบในแพะ (ซีเออี) [caprine arthritis encephalitis (CAE)] (๑๘) โรคปากอักเสบพพุ อง (contagious ecthyma หรอื orf) (๑๙) โรคเมดิ - วิสนา (Maedi-visna) (๒๐) กาฬโรคสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก (พีพีอาร์) [peste des petits ruminants (PPR)] (๒๑) โรคไข้ควิ (Q fever) (๒๒) วณั โรคเทียม (pseudotuberculosis) (๒๓) โรคมะเร็งปอดชนิดเซลล์ต่อมในแกะ (ovine pulmonary adenocarcinoma) หรอื โรคจากซกิ เต (jaagsiekte) (๒๔) โรคบีอารเ์ อสวี (infection with bovine respiratory syncytial virus) (๒๕) โรคพไี อ - ๓ (infection with parainfluenza-3 virus) ค. โรคระบาดในสัตวก์ ระเพาะเด่ยี ว (๑) กลุ่มอาการระบบสืบพันธ์ุและทางเดินหายใจในสุกร (พีอาร์อาร์เอส) [porcine reproductive and respiratory syndrome (PRRS)] (๒) กาฬโรคแอฟริกาในม้า (African horse plague หรือ African horse sickness) (๓) โรคไขเ้ หบ็ ม้า (equine piroplasmosis) (๔) โรคมดลกู อักเสบติดต่อในม้า (contagious equine metritis)

กองวจิ ัยและพัฒนาสุขภาพสตั วน์ ้ำ� 67 กรมประมง เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๔๗ ง หน้า ๑๒ ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๕๘ ราชกจิ จานุเบกษา (๕) โรคเร้อื นมา้ (horse mange) (๖) โรคหลอดเลอื ดแดงอักเสบในม้า (อวี ีเอ) [equine viral arteritis (EVA)] (๗) โรคสมองและไขสันหลังอักเสบในม้า (equine encephalomyelitis) (๘) โรคสมองและไขสันหลังอักเสบเวเนซูเอลาในม้า (Venezuelan equine encephalomyelitis) (๙) โรคดูรนี (dourine) (๑๐) โรคอหวิ าตแ์ อฟรกิ าในสกุ ร (African swine fever) (๑๑) โรคกระเพาะลําไส้อักเสบตดิ ตอ่ (transmissible gastroenteritis) (๑๒) โรคสมองไขสันหลังอักเสบเหตุเอนเทอโรไวรัส (enterovirus encephalomyelitis) หรือ โรคเทสเชน (Teschen disease) (๑๓) โรคท้องร่วงระบาดในสกุ ร (porcine epidemic diarrhoea) (๑๔) โรคโพรงจมกู และปอดอกั เสบในมา้ (equine rhinopneumonitis) (๑๕) โรคหลอดนํา้ เหลอื งอักเสบระบาด (epizootic lymphangitis) (๑๖) โรคมงคล่อพิษ (glanders) (๑๗) โรคพยาธิเม็ดสาคู (cysticercosis) (๑๘) โรคเซอร์โคไวรัสในสุกร (พีซีวีดี) [porcine circovirus disease (PCVD)] ง. โรคระบาดในผง้ึ (๑) โรคอเมริกันฟาล์วบรูด (American foul brood disease หรือ American foulbrood disease) (๒) โรคยูโรเปียนฟาล์วบรูด (European foul brood disease หรือ European foulbrood disease) (๓) โรคอัมพาตของผงึ้ (black disease) (๔) โรคอะคารนิ (acarapisosis หรือ acarine disease) (๕) โรควาร์รัว (varroosis) (๖) โรคโทรพลิ ีแลปส์ (Tropilaelaps disease) (๗) โรคโนซมี า (nosemosis) (๘) โรคชอลก์ บรดู (chalkbrood disease) (๙) โรคแซกบรูด (sacbrood disease) (๑๐) โรคเบราลา (braula disease) (๑๑) การติดโรคปรสิตดว้ งรงั ผึ้ง (infestation of Aethina tumida)

68 คมู่ ือการข้นึ ทะเบยี น และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสัตว์น้ำ� สวยงาม เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๔๗ ง หน้า ๑๓ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ราชกจิ จานุเบกษา จ. โรคระบาดในสัตว์หลายชนิด (๑) โรคไวรสั อีโบลา (Ebola virus disease) (๒) โรคไมโคพลาสมา (mycoplasmosis) (๓) โรคฝดี าษ (pox) (๔) โรคคลามิเดีย (chlamydiosis) (๕) โรคเมลอิ อยด์ หรือโรคมงคลอ่ เทียม (melioidosis) (๖) โรคไข้หวัดใหญ่ชนดิ เอ (influenza virus type A) (๗) โรคบาดทะยกั (tetanus) (๘) โรคทรพิ าโนโซมา (trypanosomiasis) (๙) โรคทอกโซพลาสมา (toxoplasmosis) (๑๐) โรคสเตรปโทค็อกคัส (streptococcosis) (๑๑) โรคแคมพิโลแบกเตอร์ (campylobacteriosis) (๑๒) โรคบลทู งั ก์ (bluetongue) (๑๓) โรคพิษสนุ ัขบ้าเทยี ม (pseudorabies หรือ Aujeszky's disease) (๑๔) โรคสมองอกั เสบญ่ปี ุ่น (Japanese encephalitis) (๑๕) โรคท้องเสยี เรื้อรงั (paratuberculosis) (๑๖) โรคไข้รฟิ ตแ์ วลลีย์ (Rift valley fever) (๑๗) โรคปากอักเสบพุพอง (vesicular stomatitis) (๑๘) โรคเวสต์ไนล์ (west Nile fever) (๑๙) โรคเฮนดรา (infection with Hendra virus infectious disease) (๒๐) กล่มุ อาการทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (เมอร์ส - โควี) [Middle East respiratory syndrome (MERS - CoV)] (๒๑) โรคเฮอรพ์ สี ์ (herpes virus infectious disease) ฉ. โรคระบาดในสัตว์นา้ํ (๑) โรคเครฟชิ เพลก (crayfish plague) (๒) โรคเคเอชวี (KHV disease หรอื koi herpesvirus disease) (๓) โรคไคทริดฟังกัส (chytrid fungus disease หรือ infection with Batrachochytrium dendrobatidis) (๔) โรคไจโรแด็กทีโลซิส (gyrodactylosis หรือ infection with Gyrodactylus salaris) (๕) โรคซีโนฮาลิโอทิส (xenohaliotis disease หรือ infection with Xenohaliotis californiensis)

กองวิจยั และพัฒนาสุขภาพสัตวน์ ้ำ� 69 กรมประมง เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๓๔๗ ง หน้า ๑๔ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ราชกจิ จานุเบกษา (๖) โรคติดเชื้อซาลโมนิด แอลฟาไวรัส (infection with salmonid alphavirus) (๗) โรคตวั แดงดวงขาว (white spot disease) (๘) โรคทีเอส (TS หรือ Taura syndrome) (๙) โรคเททระฮดี รลั แบคูโลไวรัส (tetrahedral baculovirosis) (๑๐) โรคโบนาเมยี (bonamiosis) (๑๑) โรคฝีดาษจระเข้ (poxvirus in crocodile) (๑๒) โรคเพอร์คนิ ซสั (perkinsosis) (๑๓) โรคฟูรงั คูโลซสี (furunculosis) (๑๔) โรคเมกาโลไซติไวรสั (megalocytivirus disease) (๑๕) โรคมาร์ทีเลยี (infection with Marteilia refringens) (๑๖) โรครานาไวรสั (infection with ranavirus) (๑๗) โรควีเอชเอส (VHS หรือ viral haemorrhagic septicaemia) (๑๘) โรควีเอน็ เอน็ (VNN หรอื viral nervous necrosis) (๑๙) โรคหัวเหลือง (infection with yellow head virus) (๒๐) โรคหางขาว (white tail disease) (๒๑) โรคอาร์เอสไอวี (RSIV disease หรือ red sea bream iridoviral disease) (๒๒) โรคอยี ูเอส (EUS หรือ epizootic ulcerative syndrome) (๒๓) โรคอเี อชเอน็ (EHN หรอื epizootic haematopoietic necrosis) (๒๔) โรคเอเอชพีเอ็นดี (AHPND หรือ acute hepatopancreatic necrosis disease) (๒๕) โรคเอชพีวี (HPV disease หรือ hepatopancreatic parvovirus disease) (๒๖) โรคเอสวซี ี (SVC หรือ spring viraemia of carp) (๒๗) โรคเอ็นเอชพี (NHP หรือ necrotising hepatopancreatitis) (๒๘) โรคเอม็ บวี ี (MBV disease หรอื spherical baculovirosis) (๒๙) โรคแอบาโลนเี ฮอรพ์ ีสไวรสั (infection with abalone herpesvirus) (๓๐) โรคไอพีเอน็ (IPN หรือ infectious pancreatic necrosis) (๓๑) โรคไอเอชเอชเอ็น (IHHN หรือ infectious hypodermal and haematopoietic necrosis) (๓๒) โรคไอเอชเอน็ (IHN หรอื infectious haematopoietic necrosis)

70 คู่มือการขึ้นทะเบยี น และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสัตว์น้ำ� สวยงาม เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๔๗ ง หนา้ ๑๕ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ราชกจิ จานุเบกษา anaemia virus) (๓๓) โรคไอเอม็ เอ็น (IMN หรอื infectious myonecrosis) (๓๔) โรคไอเอสเอ (ISA หรือ infection with infectious salmon ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พลเอก ฉตั รชยั สารกิ ลั ยะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กองวจิ ัยและพัฒนาสขุ ภาพสัตวน์ ้ำ� 71 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 9 รายช่ือสตั ว์น้�ำตามบญั ชีรายช่ือโรคของ OIE CHAPTER 1.3. DISEASES LISTED BY THE OIE Preamble: The following diseases are listed by the OIE in accordance with the criteria for listing an aquatic animal disease (see Article 1.2.2.). In case of modifications of this list of aquatic animal diseases adopted by the World Assembly of Delegates, the new list comes into force on 1 January of the following year. Article 1.3.1. The following diseases of fish are listed by the OIE: – Epizootic haematopoietic necrosis disease – Infection with Aphanomyces invadans (epizootic ulcerative syndrome) – Infection with Gyrodactylus salaris – Infection with HPR-deleted or HPR0 infectious salmon anaemia virus – Infection with salmonid alphavirus – Infectious haematopoietic necrosis – Koi herpesvirus disease – Red sea bream iridoviral disease – Spring viraemia of carp – Viral haemorrhagic septicaemia. Article 1.3.2. The following diseases of molluscs are listed by the OIE: – Infection with abalone herpesvirus – Infection with Bonamia ostreae – Infection with Bonamia exitiosa – Infection with Marteilia refringens – Infection with Perkinsus marinus – Infection with Perkinsus olseni – Infection with Xenohaliotis californiensis. Article 1.3.3. 1 The following diseases of crustaceans are listed by the OIE: – Acute hepatopancreatic necrosis disease – Infection with Aphanomyces astaci (crayfish plague) – Infection with Hepatobacter penaei (necrotising hepatopancreatitis) – Infection with infectious hypodermal and haematopoietic necrosis virus – Infection with infectious myonecrosis virus – Infection with Macrobrachium rosenbergii nodavirus (white tail disease) – Infection with Taura syndrome virus – Infection with white spot syndrome virus – Infection with yellow head virus genotype 1. 2017 © OIE - Aquatic Animal Health Code - 4/07/2017

72 ค่มู ือการขนึ้ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม Chapter 1.3.- Diseases listed by the OIE Article 1.3.4. The following diseases of amphibians are listed by the OIE: – Infection with Batrachochytrium dendrobatidis – Infection with Batrachochytrium salamandrivorans – Infection with Ranavirus species NB: FIRST ADOPTED IN 1995; MOST RECENT UPDATE ADOPTED IN 2017.

กองวจิ ัยและพฒั นาสขุ ภาพสตั วน์ ้ำ� 73 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 10 ตัวอยา่ งแบบคมู่ อื การบรหิ ารจดั การสถานประกอบการ หรือคู่มอื ประจำ� ฟารม์ ปกหน้า คู่มอื ประจำ� ฟาร์ม ส�ำหรับภาพถา่ ยของฟารม์ ชื่อฟาร์ม ทะเบยี นฟารม์ เลขที่

74 คู่มอื การขึน้ ทะเบียน และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสัตวน์ ้ำ� สวยงาม เอกสารฉบบั นี้ เปน็ เอกสารคมู่ อื เกษตรกรท่อี ธบิ ายวธิ ีการเพาะเลี้ยง/รวบรวมสัตวน์ ้�ำ ซึ่งเกษตรกรใชใ้ น การจัดการฟาร์ม โดยจัดหมวดหมู่และอธิบายตามการปฏิบัติท่ีดีทางการเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำที่ดีเพ่ือให้ง่ายต่อการ ทำ� ความเข้าใจในระหวา่ งการตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลย้ี ง/รวบรวมสัตวน์ ำ้� เพือ่ การส่งออก ข้อมลู สถานที่เพาะเล้ยี ง/รวบรวมสตั วน์ ำ�้ เพ่อื การสง่ ออก ชือ่ ฟารม์ ช่ือ-นามสกุล อายุ ปี เลขประจ�ำตัวประชาชน ทต่ี ้ังฟารม์ หมู่บา้ น ต�ำบล อำ� เภอ จงั หวดั รหสั ไปรษณยี ์ โทรศพั ท์ โทรสาร พกิ ดั ทางภมู ศิ าสตร์ เลขทะเบยี นฟารม์ ทบ. เลขทะเบียนฟาร์ม สอ.3 เลขทะเบียนฟารม์ สอ.4 ทอี่ ยูท่ สี่ ามารถติดต่อได้ เลขที่ หมู่บา้ น ต�ำบล อำ� เภอ จงั หวดั รหสั ไปรษณยี ์ โทรศพั ท์ โทรสาร E-mail วันที่ผลติ คูม่ อื ) ลายมือช่อื เจ้าของสถานประกอบการ (

กองวิจัยและพัฒนาสขุ ภาพสตั วน์ ้ำ� 75 กรมประมง 1. สภาพแวดล้อมทั่วไปของสถานประกอบการ สถานท่แี ละการข้นึ ทะเบยี นฟาร์ม การใชป้ ระโยชนพ์ ื้นท่ีในฟารม์ พ้นื ท่ีฟาร์มท้ังหมด ไร่ / ตารางเมตร พ้ืนทน่ี ำ�้ ไร่ ประกอบดว้ ย (1) บ่อพกั น้ำ� จ�ำนวน บอ่ คิดเปน็ พน้ื ที่ ไร่ ไร่ (2) บ่อเล้ยี งสัตว์นำ�้ จำ� นวน บ่อ คิดเปน็ พืน้ ที่ ไร่ ไร่ (3) บอ่ บ�ำบัดนำ้� จ�ำนวน บ่อ คดิ เป็นพน้ื ท่ี (4) คนู ำ้� ทง้ิ ในบรเิ วณฟารม์ ยาว เมตร คิดเป็นพื้นท่ี เกษตรกรได้ขึ้นทะเบียนผู้ปะกอบการไว้กบั กรมประมงแล้ว ทะเบยี น ทบ.1/ทบ.2 เลขท ่ี คอื หน่วยงาน ทะเบยี น สอ.3. เลขท ่ี คือ หนว่ ยงาน ทะเบียน สอ.4 เลขท ี่ คือ หนว่ ยงาน การครอบครองท่ีดินทเ่ี ลย้ี งสตั ว์นำ้� (ใหท้ �ำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งสเี่ หลย่ี ม) มเี อกสารสิทธิ์ หรือเอกสารแสดงสทิ ธ์ใิ นการใช้ทีด่ นิ (ระบุ ) เชา่ ระยะเวลาเช่า ปี เรมิ่ ต้น / / ครบกำ� หนดเชา่ / / 2. แหล่งน้�ำสำ� หรบั การเพาะเลีย้ ง/การจัดการฟารม์ ประเภทของแหล่งนำ้� เช่น น้ำ� ประปา บาดาล แมน่ ำ้� คลอง อา่ นเก็บน�้ำ เปน็ ต้น การจดั การระบบน�้ำ (อธบิ ายขั้นตอนโดยละเอยี ด) เชน่ การพกั น้�ำ (พักนำ้� ในบ่อขนาด เป็นระยะเวลา วนั ) การบ�ำบดั น้�ำ (ระบุวธิ ี เช่น บ�ำบัดด้วยวธิ ีและใชส้ ารเคมใี ด) การเปล่ยี นถา่ ยน้ำ� (ความถ่ใี นการเปลีย่ นถ่ายน�ำ้ ปริมาณน�้ำทเ่ี ปล่ยี นถา่ ย)

76 คมู่ ือการขนึ้ ทะเบียน และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม ระบบฆ่าเชอ้ื ก่อนน�ำนำ้� เข้าฟารม์ มีรายละเอียด ดงั นี้ ยา/สารเคมที ี่ใช้ (ระบชุ นิด) (อตั ราการใช)้ การตรวจสุขภาพสตั ว์นำ�้ ในฟาร์มอย่างสม�ำ่ เสมอ (ระบกุ ารตรวจอย่างละเอียด) เช่น ตรวจสุขภาพปลาทั่วไปทุกวนั ตรวจปรสิตภายนอกทกุ สัปดาห์ การตรวจโรค ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร สง่ ตรวจทไ่ี หน (กรณสี ง่ ตรวจหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารในหนว่ ยงานอน่ื ทม่ี ใิ ช่ กรมประมง หรอื หอ้ งปฏิบัตกิ ารของเอกชนให้ระบวุ ิธีการตรวจ) มาตรการในการปอ้ งกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคสตั วน์ ำ�้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดย (ระบวุ ธิ กี าร จดั การ/การใช้ยา/สารเคมี) 3. การจัดการบ่อเพาะเล้ยี งสตั ว์น้ำ� การแยกโซนตามชนดิ ของสัตว์นำ�้ การจดั การโซนกกั กนั สตั ว์น�้ำที่น�ำเข้ามาใหมใ่ นฟาร์ม การดแู ลสัตวน์ ำ้� การใหอ้ าหาร การใหอ้ ากาศ แผนผังฟาร์มโดยสงั เขป แผนผงั โครงสรา้ งฟารม์ เลย้ี งสัตวน์ �ำ้ ประกอบด้วย แหล่งน�้ำใกล้เคียงบอ่ เลย้ี งสัตว์นำ้� บ่อบ�ำบัดนำ้� คูน�้ำ ทิ้ง สถานท่ีเกบ็ อุปกรณ์ อาหาร และอ่นื ๆ

กองวจิ ยั และพัฒนาสขุ ภาพสัตวน์ ้ำ� 77 กรมประมง 4. การจดั การอปุ กรณ์ท่ีใช้ในกิจกรรมเพาะเลี้ยงสัตวน์ �ำ้ ระบุวธิ ีการดแู ลรกั ษา การท�ำความสะอาด การจัดเก็บอุปกรณ์ 5. การจัดการด้านอาหาร การใชย้ าสตั ว์ สารเคมีทีใ่ ชใ้ นการเลยี้ งสตั ว์น้�ำ การจดั การดา้ นอาหารใหร้ ะบชุ นดิ ของอาหาร การจดั เกบ็ อาหารในสถานทท่ี เี่ หมาะสม วธิ แี ละปรมิ าณ การให้อาหาร การใชย้ าและสารเคมี จะตอ้ งใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและระมดั ระวงั ตามวธิ กี ารใชย้ าและสารเคมอี ยา่ งเครง่ ครดั โดยจะยึดถือแนวทางปฏิบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี การจดั การเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ และควบคมุ คณุ ภาพนำ้� ในชว่ งทไ่ี มม่ ปี ญั หาโรคและสง่ิ แวดลอ้ มเนน้ การระมดั ระวงั ในการให้อาหารและรักษาสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงสัตว์น้�ำ และพ้ืนก้นบ่อให้อยู่ในสภาพดี ไม่มีการ หมักหมม กรณที สี่ ัตวป์ ว่ ย ควรส่งเขา้ ห้องปฏิบตั กิ ารเพ่ือตรวจวินิจฉัยโรคกอ่ นตัดสินใจใชย้ าหรือสารเคมี ส�ำหรับการใช้ยาและสารเคมีท่ีมีผลกระทบรุนแรงและอาจจะตกค้างในบ่อเลี้ยงน้ันจะตัดสินใจใช้เฉพาะ ยาที่มที ะเบยี นมฉี ลากอธิบายวิธใี ช้ และสว่ นผสมทถี่ กู ตอ้ งตามระเบียบทถี่ ือปฏิบัติก�ำหนดโดยหน่วยงาน ท่รี บั ผิดชอบ จดั เกบ็ ยาและสารเคมใี นสถานทที่ เ่ี หมาะสม ชน้ื แฉะ และปลอดภยั จากบคุ คลทไ่ี มเ่ กยี่ วขอ้ ง เดก็ และสตั ว์ เล้ยี ง ชนดิ ของยาและสารเคมที ่ใี ช้ในสถานประกอบการ ควรระบุรายละเอียดดงั น้ี รายช่ือยาและสารเคมี ระยะเวลาทีใ่ ช้ตดิ ตอ่ กัน (วัน) ระยะเวลาหยดุ ยา กอ่ นจับผลผลติ (วนั )

78 คู่มอื การข้นึ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสัตว์น้ำ� สวยงาม การจดั การบอ่ เลย้ี ง นำ้� และภาชนะทบ่ี รรจหุ รอื ปนเปอ้ื นและสารเคมหี ลงั จากการใช้ มแี นวทางปฏบิ ตั งิ าน ดงั นี้ 6. การจัดการระบบน�้ำทิง้ 7. การบรรจุสัตว์น้�ำเพ่ือการจ�ำหน่าย หรือการเคล่ือนย้าย ระบุวิธีการพักน้�ำ การเตรียมน�้ำก่อน การบรรจุ วิธีการบรรจุ 8. สขุ อนามยั ภายในฟารม์ การจัดเกบ็ ขยะ (ให้ทำ� เครอื่ งหมาย ในช่องสี่เหล่ียม) ไมม่ ีภาชนะ มีภาชนะรองรับและฝาปดิ มิดชดิ มีระบบกำ� จดั ขยะ หรอื การก�ำจัดสัตวน์ �้ำป่วย/ตาย (ใหท้ ำ� เครอ่ื งหมาย ในช่องส่เี หล่ยี ม) มี ไมม่ ี ฝังกลบ เผา อืน่ ๆ ระบุ การป้องกันสัตวอ์ ่ืนท่ีมิใช่สัตวน์ ำ้� โดยวธิ กี าร ดังนี้

กองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ� 79 กรมประมง สถานทเี่ กบ็ รกั ษาปจั จยั การผลติ วสั ดแุ ละอปุ กรณต์ า่ งๆ ในลกั ษณะทด่ี ไี มใ่ หเ้ ปน็ แหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ของสตั ว์ ทเ่ี ป็นพาหะนำ� โรค มหี อ้ งน้ำ� /หอ้ งสุขาที่ถูกหลักสุขอนามยั ไม่ปลอ่ ยสัตว์เลีย้ งอ่ืนเข้าไปในบริเวณบอ่ เล้ยี งสตั วน์ �้ำ 9. การจัดการระบบการบันทกึ ข้อมูล มีการบันทึกปฏิบัติงานพร้อมลงลายมือผู้ปฏิบัติทุกครั้ง เพ่ือความสะดวกในการตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์ม ดงั รายการต่อไปน้ี (ใหท้ �ำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งส่เี หลีย่ ม) บันทกึ การเคล่ือนย้ายสัตว์น�ำ้ แหลง่ ท่มี าของสตั วน์ ำ�้ ตอ้ งมาจากฟารม์ ท่ขี ้ึนทะเบียนกบั กรมประมง บนั ทกึ การซือ้ ขาย/ย้ายสตั วน์ ้�ำ และสามารถตรวจสอบประวัติและจ�ำนวนสัตวน์ �้ำย้อนกลบั ได้ บันทึกสขุ ภาพสัตว์นำ้� การป่วยการตาย และจ�ำนวนคงเหลอื บันทกึ การใชย้ าและสารเคมีในการฆ่าเชื้อ และรกั ษาโรคสัตวน์ ำ้� ปว่ ยในฟารม์ บนั ทกึ การเขา้ ตรวจเยีย่ มของเจา้ หน้าทีข่ องกรมประมง บันทึกข้อมูลปรมิ าณการใหอ้ าหาร บนั ทกึ ผลการวเิ คราะห์คณุ ภาพน้ำ� ในบอ่ เลย้ี งสตั ว์น�้ำ บันทึกขอ้ มลู การปอ้ งกนั พาหะ ศัตรู และโรค บนั ทึกข้อมูลการตรวจสขุ ภาพสัตวน์ �ำ้ บนั ทึกข้อมลู การวินจิ ฉยั วิเคราะหห์ าสาเหตขุ องโรค และการแก้ไข บนั ทึกขอ้ มลู ระยะหยดุ การใช้ยาสตั ว์ หรอื สารเคมี บนั ทึกผลการวิเคราะหค์ ณุ ภาพน้ำ� ทงิ้ บันทกึ ขอ้ มูลการบำ� บดั หรือควบคมุ น�้ำก่อนปลอ่ ยออกจากฟาร์ม บันทึกข้อมลู การจา้ งแรงงาน อืน่ ๆ 10. แรงงานและสวสั ดกิ าร คนตา่ งด้าว คน เชอื้ ชาติ จ�ำนวนแรงงาน มใี บอนญุ าตทำ� งานของคนตา่ งดา้ ว และไมม่ กี ารใชแ้ รงงานเดก็ คา่ จ้างแรงงานขน้ั ต�่ำวนั ละ บาท จา่ ยจริงวนั ละ บาท (เงนิ เดอื นต�ำ่ สุด บาท ค่าตอบแทน บาท อ่ืนๆ บาท)

80 คู่มือการขน้ึ ทะเบยี น และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม สวสั ดกิ ารท่จี ดั ให้ (ใหท้ �ำเครื่องหมาย ในช่องส่ีเหลย่ี ม)   ที่พัก   อาหาร   หอ้ งน้�ำ-ห้องสุขา   นำ�้ ดื่ม   ยาสามญั ประจ�ำบา้ น   ประกนั สงั คม   อนื่ ๆ อปุ กรณท์ ี่มี (ใหท้ ำ� เครือ่ งหมาย ในชอ่ งส่เี หลีย่ ม)   ไฟฉาย   รองเทา้ บู๊ท   ถงุ มือ   เสอ้ื กนั ฝน   แวน่ ตากันฝุ่น/สารเคมี   อนื่ ๆ มีการอบรมคนงานเกีย่ วกบั ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน (ระบุความถี)่ ครง้ั /ปี โดย (ให้ทำ� เครอ่ื งหมาย ในชอ่ งส่ีเหลย่ี ม)   วิทยากรภายในฟาร์ม   วิทยากรภายนอกฟาร์ม 11 แผนฉุกเฉินรองรับเม่อื พบปญั หาสตั วน์ ำ�้ ป่วยหรอื ตาย เม่ือพบสัตว์น้�ำป่วยหรือตายโดยไม่ทราบสาเหตุ ทางฟาร์มติดต่อเจ้าหน้าที่ของกองวิจัยและพัฒนา สุขภาพสตั ว์นำ้� หมายเลขโทรศัพท์ 0-2579-4211, 0-2579-6803 หรือเจ้าหน้าทีข่ องหน่วยงานกรมประมง ใกลเ้ คียงทันที

กองวจิ ยั และพฒั นาสขุ ภาพสตั ว์น้ำ� 81 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 11 เกณฑค์ ุณภาพน้ำ� ท่เี หมาะสมต่อการด�ำรงชีวิตของสัตวน์ ้�ำ ดัชนีคุณภาพน้ำ� ระดับความเขม้ ข้นท่เี หมาะสม อณุ หภมู ิ 23-32 °C ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 5-9 (เปล่ียนแปลงในรอบวัน ไมค่ วรเกนิ กว่า 2.0 หนว่ ย) ออกซเิ จนละลาย (DO) ต�่ำสดุ 3 มก./ล. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สงู สุด 30 มก./ล. ความกระดา้ ง (Hardness) 75-300 มก./ล. ความโปร่งใส 30-60 ซม.

82 คูม่ ือการข้นึ ทะเบียน และการจดั การระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสตั ว์น้ำ� สวยงาม ภาคผนวกท่ี 12 ตารางตัวอย่างสารเคมที ่ใี ช้ฆา่ เชื้อในการเพาะเลย้ี งสตั ว์น้�ำ ชอ่ื ยา/สารเคมี วตั ถุประสงค์ ความเขม้ ขน้ ระยะเวลา คลอรนี ฆา่ เชอ้ื และพาหะต่างๆในน�ำ้ ฆ่าเช้ือภาชนะและอุปกรณ์ 10-30 กรมั ตอ่ น�้ำ แช่นาน 1 คนื ฟอรม์ าลนี ท�ำความสะอาดพื้นโรงเรือน 1 ลูกบาศก์เมตร (ppm) โพวโิ ดนไอโอดีน ฆ่าเช้อื ภาชนะและอุปกรณ์ ฆา่ เชอื้ ภาชนะและอุปกรณ์ 30 กรัมต่อนำ้� แช่ 3 ชั่วโมง บเี คซี 1 ลูกบาศกเ์ มตร (ppm) แล้วล้างออก ด่างทับทมิ ฆา่ เชือ้ ภาชนะและอปุ กรณ์ 150 กรัมตอ่ น�้ำ สาดให้ท่วั ทงิ้ ไวค้ รง่ึ ช่ัวโมง ฆา่ เชือ้ ภาชนะและอุปกรณ์ 1 ลูกบาศกเ์ มตร (ppm) แล้วลา้ งออก 100-200 มลิ ลิลติ รตอ่ นำ�้ 1 30 นาท-ี 1 ชั่วโมง ลกู บาศก์เมตร (ppm) 0.1 มลิ ลิลติ รตอ่ น้�ำ 1 นาที แลว้ ลา้ งออก 1 ลกู บาศกเ์ มตร (ppm) เข้มขน้ 50%ใช้ 1ช่ัวโมง 0.8-1.0 มลิ ลิลติ รตอ่ น้�ำ 1 ลูกบาศกเ์ มตร (ppm) เขม้ ข้น 80% ใช้ 0.5-0.8 มลิ ลิลติ รตอ่ น้�ำ 1 ลูกบาศก์เมตร (ppm)) 20-25 กรัมตอ่ น�ำ้ แชน่ าน 1 คนื 1 ลกู บาศกเ์ มตร (ppm)

กองวจิ ัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์น้ำ� 83 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 13 การฆ่าเชื้อในน้�ำดว้ ยโอโซนและยูวี การฆ่าเชือ้ ในน้�ำด้วยโอโซน (Ozone) โอโซนใช้ในการฆ่าเช้ือเช่นเดียวกับคลอรีน การออกฤทธิ์ข้ึนกับความเข้มข้นและระยะเวลาใน การสมั ผสั (contact time, CT) โอโซนมปี ระสทิ ธิภาพและค่าใชจ้ า่ ยสูงกวา่ คลอรนี น้�ำทนี่ �ำมาผ่านโอโซน ตอ้ งมคี วามขุ่นนอ้ ยกวา่ 20 nephalometric turbidity units (NTU) น�ำ้ ท่สี ัมผสั โอโซนนาน 10 นาที จะมโี อโซนตกค้าง อยู่ 0.5 มิลลกิ รมั ต่อลติ ร จงึ ตอ้ งก�ำจดั โอโซนทต่ี กค้างให้เหลือต่�ำกวา่ 0.002 มลิ ลิกรัม ต่อลติ ร เพ่อื มใิ ห้เกิดความเปน็ พษิ กบั สัตว์นำ�้ โดยการให้น�้ำผ่านถา่ นกัมมันต์ หรอื โซเดยี มไธโอซัลเฟต การฆา่ เชอื้ ในน�้ำดว้ ยรังสีอลั ตรา้ ไวโอเลต (UV) รงั สอี ลั ตรา้ ไวโอเลตทใี่ ชใ้ นการฆา่ เชอื้ ทปี่ นเปอ้ื นในนำ้� ตอ้ งมคี วามยาวชว่ งคลน่ื อยใู่ นชว่ ง 255–266 นาโนเมตร และนำ้� ทน่ี ำ� มาผา่ นรงั สอี ลั ตรา้ ไวโอเลต ตอ้ งมคี วามขนุ่ นอ้ ยกวา่ 20 nephalometric turbidity units (NTU) ดังนั้นน้�ำควรผ่านการกรองตะกอนมาผ่านรังสีอัลตร้าไวโอเลตเพ่ือให้รังสีอัลตร้าไวโอเลต มปี ระสทิ ธภิ าพในการฆา่ เชอ้ื อยา่ งสมบรู ณ์ โดยชว่ งการสมั ผสั รงั สอี ลั ตรา้ ไวโอเลตตำ�่ สดุ ประมาณ 30,000 วตั ต์ วนิ าทีต่อตารางเซนติเมตร (W sec/cm2)

84 ค่มู ือการขน้ึ ทะเบยี น และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม ภาคผนวกท่ี 14 หลกั การเลือกซ้ืออาหารสำ� เรจ็ รูป 1. เลือกอาหารใหถ้ กู ต้องกับชนิดสตั ว์น้�ำที่เลีย้ ง อาหารสำ� เร็จรูปทีผ่ ลิตออกขายในทอ้ งตลาด แบ่งออกเปน็ 8 กล่มุ ไดแ้ ก่ อาหารปลาดกุ อาหารปลาน้�ำจดื กินพชื อาหารปลานำ้� จืดกินเนอ้ื อาหารปลาทะเลกินเนอ้ื อาหารกงุ้ ทะเล อาหารกุ้งนำ�้ จดื อาหารกบ อาหาร ตะพาบน�้ำ อาหารแต่ละชนิดท�ำจากวัตถุดิบท่ีแตกต่างกัน และมีองค์ประกอบทางเคมีท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้ เหมาะสมกบั ชนดิ และขนาดของสตั ว์น้�ำ ดังน้นั ผู้เลี้ยงจึงควรเลอื กอาหารใหเ้ หมาะสมกับชนดิ สัตว์นำ้� ท่ีเลีย้ ง 2. เลือกขนาดและรปู แบบของอาหารใหเ้ หมาะสมกับขนาดสัตวน์ ้�ำ ขนาดของอาหารมีความส�ำคัญมาก เพราะขนาดของอาหารจะข้ึนกับชนิดและอายุของสัตว์น�้ำ ถ้าอาหาร มขี นาดเลก็ เกนิ สตั วน์ ำ�้ จะจบั กนิ ไดย้ าก แตถ่ า้ อาหารมขี นาดใหญเ่ กนิ ไปสตั วน์ ำ�้ กนิ ไมไ่ ดแ้ ละอาหารทเี่ หลอื อยู่ ในบอ่ จะมผี ลเสยี ตอ่ คณุ ภาพนำ�้ ผเู้ ลย้ี งจงึ ควรเลอื กอาหารใหเ้ หมาะสมกบั ขนาดสตั วน์ ำ�้ ทเ่ี ลยี้ ง โดยดฉู ลากอาหาร ซง่ึ จะระบใุ ห้เหมาะสมกบั สตั ว์นำ้� ชนดิ และขนาด 3. พจิ ารณาวัตถุดิบที่ใชเ้ ปน็ องคป์ ระกอบของอาหารสตั ว์น้ำ� วตั ถดุ ิบหลกั ทใี่ ช้ในอาหารสตั วน์ ้ำ� ได้แก่ ปลาปน่ กากถั่วเหลือง ร�ำข้าว แป้งสาลี และอื่นๆ ซง่ึ บนฉลากอาหาร สัตว์น�้ำจะมีรายชื่อของวัตถุดิบที่เป็นส่วนผสมของอาหารอยู่ ชนิดของวัตถุดิบสามารถบอกถึงคุณภาพของ อาหารนน้ั ไดอ้ ยา่ งครา่ วๆ เชน่ การทปี่ ลาปน่ เปน็ สว่ นประกอบยอ่ มดกี วา่ มเี นอื้ ปลา กระดกู ปน่ เปน็ องคป์ ระกอบ 4. กล่ิน อาหารที่ดีควรมีกลิ่นหอมเพ่ือดึงดูดให้สัตว์น้�ำเข้ามากินอาหารได้มากขึ้น ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีกลิ่น เหม็นหืน เพราะจะท�ำให้รสชาติของอาหารเสียคุณค่าทางอาหารลดลง และยังเป็นอันตรายต่อสุขภาพของ สัตว์นำ�้ โดยตรง 5. สี อาหารสัตว์น�้ำควรมีสีสม่�ำเสมอกันตลอดท้ังถุง ความแตกต่างของสีในเม็ดอาหารแสดงว่าวัตถุดิบไม่ได้รับ การผสมผสานอย่างทวั่ ถงึ หรอื เกิดจากความสุกของเม็ดอาหารไม่เทา่ กนั 6. ความสดของอาหาร อาหารสัตวน์ �้ำทบี่ รรจุในถุงกระสอบควรมอี ายุการเก็บไม่เกิน 3 เดือน เพราะคุณค่าทางอาหารจะลดลง และ อาจมีเชือ้ ราเกดิ ข้ึนได้ ในกรณีที่ผซู้ ้ือพบเชอื้ ราในถงุ อาหารสตั วน์ ้�ำให้นำ� สง่ คนื รา้ นคา้ หรือผู้ขายทนั ที 7 สงิ่ ปะปน อาหารสัตว์น�้ำที่ดีไม่ควรมีส่ิงอ่ืนปะปนอยู่ เช่น แมลง หรือหนอน ก้อนกรวด หิน ทราย เปลือกหอย ปู และอื่นๆ การมีสิ่งปะปนแสดงว่าการเก็บรักษาวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตไม่ถูกต้องและอาหารที่ผลิตไม่ได้รับ การควบคมุ คณุ ภาพก่อนบรรจุ

กองวจิ ยั และพฒั นาสขุ ภาพสัตว์น้ำ� 85 กรมประมง 8. ฝนุ่ อาหารทม่ี ฝี นุ่ มากจะทำ� ให้อาหารสญู เสียไปในน้ำ� และท�ำให้นำ้� เสีย อาหารท่ีดีควรมฝี ุ่นไม่เกินรอ้ ยละ 2 9. ความคงทนของอาหารในน้�ำ อาหารสตั วน์ ้�ำจะต้องมีความคงทนอยใู่ นน�้ำไดน้ านพอสมควร ตามลักษณะการกนิ อาหารของสตั วน์ �้ำ เพื่อให้ คุณค่าทางอาหารยังอยู่ครบถ้วนไม่ละลายน�้ำไปก่อนที่สัตว์น้�ำจะกิน อาหารกุ้งควรมีความคงทนในน�้ำ ไมต่ ่ำ� กวา่ 2 ชวั่ โมง ส่วนอาหารปลามีความคงทนในน้�ำไม่ตำ่� กว่า 15 นาที – 1 ชัว่ โมง ข้ึนอย่กู ับชนิดของปลา 10. อาหารสัตว์น้�ำท่มี ีทะเบียน ควรซ้ืออาหารสัตว์น�้ำที่ขึ้นทะเบียนกับกรมประมง หรือกรมปศุสัตว์ถูกต้องแล้ว โดยสังเกตที่ฉลากต้องมี เลขทะเบยี นอาหารสตั ว์ โดยอาหารสตั วน์ ำ้� ทข่ี นึ้ ทะเบยี นกบั กรมประมงจะมเี ลขทะเบยี นอาหารสตั ว์ ประกอบดว้ ย อักษร “ป” และตามด้วยรหัสตวั เลข 10 ตัว เช่น ป. 01 01 43 9000 สว่ นอาหารสตั ว์นำ�้ ท่ีขน้ึ ทะเบียนกับ กรมปศสุ ัตว์จะมเี ฉพาะรหัสตัวเลข 10 ตัว 01 02 45 9999 นอกจากนคี้ วรสงั เกตว่าฉลากตอ้ งมชี อื่ ผผู้ ลติ และ สถานทผ่ี ลติ ท่ีแน่นอนด้วย 11. อาหารที่ยงั ไมห่ มดอายุ โดยดวู ัน เดอื น ปี ท่ผี ลิต และวัน เดือน ปี ทห่ี มดอายไุ ด้จากฉลากอาหารสัตว์นำ้� ภาชนะบรรจุอาหารตอ้ งอยู่ ในสภาพใหมเ่ รยี บร้อย ไมช่ �ำรุดฉีกขาดเปียกชื้นหรอื เกิดสนมิ และไมม่ รี อยถูกเปิด

86 คูม่ ือการขนึ้ ทะเบยี น และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการสง่ ออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม ภาคผนวกท่ี 15 การเกบ็ รกั ษาอาหารสตั ว์น้�ำ การเก็บรักษาอาหารสัตว์น�้ำเป็นสิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่งที่ผู้เล้ียงควรเอาใจใส่ หากมีการเก็บ อาหารทไ่ี มถ่ กู สขุ ลกั ษณะจะทำ� ใหค้ ณุ ภาพของอาหารลดลง หรอื มสี ารพษิ ทเ่ี ปน็ อนั ตรายกบั สตั วน์ ำ้� เกดิ ขนึ้ ได้ สถานท่เี กบ็ อาหารสตั ว์นำ้� ควรมีลกั ษณะ ดงั น้ี 1. เปน็ โรงเรอื นโปร่ง อากาศถ่ายเทได้ดี ไม่ควรมีความร้อนและความชื้นสงู เพอื่ ปอ้ งกันการเกดิ เช้ือรา 2. ปราศจากหนูและแมลงซงึ่ เป็นพาหะน�ำโรคและสารพิษมาปนเปื้อนอาหารได้ 3. มหี ลังคาคลุม ป้องกันอาหารถูกแสงแดดโดยตรง ซ่ึงจะทำ� ให้วิตามนิ ในอาหารถูกทำ� ลายและ ป้องกันไม่ให้อาหารเปียกน�้ำเวลาฝนตก ไม่ควรวางอาหารบนพ้ืนโดยตรง ควรท�ำชั้นวางเพื่อ ปอ้ งกนั ความชืน้ 4. เกษตรกรควรปิดถุงหรือภาชนะอาหารสัตว์น้�ำให้สนิทหลังเปิดใช้แล้ว และควรปฏิบัติความ ขอ้ ควรระวังหรือคำ� เตือนทร่ี ะบุไว้บนฉลาก

กองวิจยั และพัฒนาสขุ ภาพสัตว์น้ำ� 87 กรมประมง ภาคผนวกท่ี 16 หน่วยความเข้มขน้ ของยาและสารเคมีท่ใี ช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำ 1 สว่ นในลา้ นส่วน (ppm) = ปริมาณของยาหรือสารเคมี 1 มิลลิกรัม ตอ่ ปรมิ าตรน�้ำ 1 ลิตร = ปริมาณของยาหรือสารเคมี 1 กรัม หรือ 1,000 มลิ ลิกรัม ตอ่ นำ้� 1 ลูกบาศกเ์ มตร หรอื 1,000 ลิตร หรอื 1 ตัน 1 ส่วนในพนั ส่วน (ppt) = ปรมิ าณของยาหรอื สารเคมี 0.1 กรมั หรอื 0.1 มลิ ลิกรมั ตอ่ ปริมาตรน�ำ้ 100 มิลลิลิตร = ปริมาณของยาและสารเคมี 1 กรัม หรอื 1 มลิ ลิลติ รตอ่ น�ำ้ 1 ลติ ร 1 เปอรเ์ ซ็นต์ (%) = 10,000 สว่ นในล้านส่วน (ppm) = ปริมาณของยาหรอื สารเคมี 10 กรัม หรอื 10 มลิ ลิลติ ร ตอ่ นำ�้ ปริมาตร 1 ลิตร = ปริมาณของยาหรือสารเคมี 1 กรัม หรือ 1 มิลลิลติ ร ต่อปรมิ าตรนำ�้ 100 มิลลลิ ติ ร หมายเหต ุ หน่วยเทียบเดยี วกนั 1 มิลลิลิตร = 1 ซีซี 1 กรัม = 1,000 มลิ ลิกรมั 1 ขดี = 100 กรมั 1 กโิ ลกรมั = 10 ขีด 1 กิโลกรัม = 1,000 กรัม

88 คูม่ อื การขนึ้ ทะเบียน และการจัดการระบบความม่นั คง ทางชีวภาพสถานประกอบการส่งออกสตั วน์ ้ำ� สวยงาม บรรณานุกรม ระเบยี บกรมประมงวา่ ดว้ ยการขน้ึ ทะเบยี นเกษตรกรผเู้ พาะเลยี้ งสตั วน์ ำ�้ และผปู้ ระกอบการดา้ นการประมง พ.ศ. 2556 ระเบยี บกรมประมงว่าดว้ ยการขึ้นทะเบยี นสถานประกอบการส่งออกสัตวน์ ้�ำ พ.ศ. 2557 ระเบยี บกรมประมง เรอื่ ง การออกใบรบั รองมาตรฐานการจดั การฟารม์ เพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้� สวยงาม พ.ศ. 2558 สถาบันวจิ ัยสขุ ภาพสัตวน์ ำ�้ จืด กรมประมง 2554. การขึ้นทะเบยี นสถานที่เพาะเลีย้ งและสถานทีร่ วบรวม สตั วน์ ำ้� เพ่อื การส่งออก (ค่มู ือส�ำหรับผปู้ ระกอบการ). 50 หนา้ . สถาบนั วจิ ยั อาหารสตั วน์ ำ้� จดื กรมประมง 2547. ขอ้ มลู เผยแพรh่ ttp://fisheries.go.th/if-inland__feed/ distribute/index.html ส�ำนักวิจัยและพัฒนาประมงน�้ำจืด กรมประมง 2530. เกณฑ์คุณภาพน้�ำเพ่ือการคุ้มครองทรัพยากร สัตวน์ �้ำจดื . เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 75. World Organization for Animal Health (OIE) 2017. Aquatic Animal Health Code. สบื คน้ เมื่อวันท่ี 9 เมษายน 2561. จาก http://www.oie.int/standard-setting/aquatic-code/ access-online/ World Organization for Animal Health (OIE) 2018. Manual of Diagnostic Tests for Aquatic Animals. สืบค้นเมื่อวันท่ี 19 เมษายน 2561. จาก http://www.oie.int/international- standard-setting/aquatic-manual/access-online/