Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Graphic Design_Slide

Graphic Design_Slide

Published by Jidapha Yoorubsuk, 2021-10-14 08:02:58

Description: Graphic Design_Slide

Search

Read the Text Version

MEDIA MEDEE PROJECT Graphic Design

MEDIA MEDEE PROJECT Graphic Design ก า ร อ อ ก แ บ บ ก ร า ฟิ ก

MEDIA MEDEE PROJECT Fundamental Basic Graphic Design

กระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ ที่ใช้ความรู้ศิลปะร่วมกับหลัก การออกแบบ และเทคโนโลยี เพื่อผลิตงานชิ้นเยี่ยม ซึ่งงานนั้น สามารถถ่ายทอดและสื่อความหมายไปยังผู้รับสารได้เข้าใจ +ความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ทางศิลปะ + ความรู้ทางเทคโนโลยี =

Value of graphics เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมาย ทำหน้าที่เป็น \"สื่อ\" เกิดการเรียนรู้ ทำให้เกิดความน่าสนใจ น่าเชื่อถือ เกิดความกระตุ้นทางความคิด ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์

Element of 1 Design ความหมายของ เส้น คือ การที่จุดหลาย ๆ จุด ถูกนำมาวางต่อเนื่อง ภาพในงานกราฟิกจะเกิดจาก องค์ประกอบ จนกลายเป็น เส้น ระนาบและรูปทรงต่าง ๆ ขึ้นมา รูปทรงของเส้นที่ ต่างๆ ประกอบกัน ซึ่งจะมีความหมายที่สามารถ จะสื่อออกมาถึงความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไปส่วนใหญ่แล้วเส้นจะ สื่อถึงความรู้สึก และมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป มีอยู่ทุกๆ งานออกแบบ โดยถูกนำไปใช้ร่วมกับองค์ประกอบต่างๆ นักออกแบบจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจ รู้จักที่ จนสื่อถึงอารมณ์ของผลงานออกมาได้ ในแบบที่ต้องการ ดังนั้น การ จะเลือกใช้ให้สอดคล้องกับแนวคิดของงาน เลือกใช้เส้นเข้ามาเป็นส่วนประกอบในงานของเราจึงถือว่าเป็นสิ่งที่ องค์ประกอบหลัก ๆ ในงานกราฟิกจะแบ่งออก ต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรก เป็น 8 ชนิดคือ เส้น, รูปร่าง, รูปทรง, น้ำหนัก, พื้นผิว, ที่ว่าง, สี และตัวอักษร เส้นแนวนอน ให้ความรู้สึกสงบ ราบเรียบ เส้นตรงแนวตั้ง ให้ความรู้สึกมั่นคงแข็งแรง เส้นทแยง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง รวดเร็ว แสดงถึงเคลื่อนไหว เส้นตัดกัน ให้ความรู้สึกประสาน แข็งแกร่ง หนาแน่น เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนช้อย อ่อนน้อม เส้นประ ให้ความรู้สึก โปร่ง ไม่สมบูรณ์ หรือในบางกรณีอาจจะ ใช้เป็นสัญลักษณ์ในการแสดงถึงส่วนที่ถูกซ่อนเอาไว้ เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวไม่มีที่สิ้นสุด เส้นโค้งแบบคลื่น ให้ความรู้สึกถึงการเคลื่อนไหวอย่างนิ่มนวล เส้นซิกแซ็ก ให้ความรู้สึก น่กลัว อันตราย เส้นเล็กและบาง เบา เฉียบคม เส้นหนา หนักแน่น นำสายตา

2 3 รูปร่างเป็นองค์ประกอบต่อเนื่องมาจาก รูปทรงเป็นรูปร่างที่มิติเพิ่มขึ้นมากลาย เส้น เกิดจากการนำเส้นแบบต่าง ๆ มา เป็นงาน 3 มิติคือ มีความลึกเพิ่มเข้ามา ต่อกันจนได้รูปร่าง 2 มิติที่มีความกว้าง ด้วย และความยาว (หรือความสูง) 5 4 ในงานออกแบบกราฟิก พื้นผิวจะเป็นอีก น้ำหนักเป็นส่วนที่มาเสริมให้ดูออกว่า หนึ่งองค์ประกอบที่ช่วยสื่ออารมณ์ของงาน รูปทรงมีน้ำหนักขนาดไหนเบา หรือ ออกมาได้ชัดเจนมากขึ้น เช่น ถ้าเราเลือก หนัก ทึบ หรือโปร่งแสง น้ำหนักจะเกิด พิมพ์งานลงในกระดาษ Glossy ที่งาและ จากการเติมสีและแสงแรเงาลงไปในรูป แวววาว งานนั้นจะสื่อกอกไปได้ทันทีว่า \"หรู ทรงจนได้ผลลัพธ์ออกมาตาม มีระดับ\" หรือ ถ้าเราใส่ลวดลายที่ดูคล้าย ๆ ที่ต้องการ สนิม หรือรอยเปื้ อนลงไปในงานก็จะสื่อได้ ทันทีถึง \"ความเก่า\"

6 7 อาจจะจะเกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจของ สีของงานกราฟิก ถือเป็นหัวใจหลักสำคัญ นักออกแบบก็ได้ ที่ว่างไม่ได้หมายความถึง เลยก็ว่าได้ เพราะการเลือกใช้สีจะแสดงถึง พื้นที่ว่างเปล่าในงานเพียงอย่างเดียว แต่หมาย อารมณ์ที่ต้องการได้ชัดจนมากกว่าส่วน ถึงรวมไปถึงพื้นที่ที่ไม่สำคัญหรือBackground ประกอบอื่น ๆ ทั้งหมด เช่น สี่โทนร้อน ด้วย ในการออกแบบงานกราฟิกที่ว่างจะเป็น สำหรับงานที่ต้องการความตื่นเต้น ท้าทาย ตัวช่วยในงานดูไม่หนักจนเกินไป และถ้า หรือสีโทนเย็นสำหรับงานต้องการให้ดู ควบคุมพื้นที่ว่างนี้ให้ดี ๆ ที่ว่าง สุภาพ สบาย ๆ ก็จะเป็นตัวที่ช่วยเสริมจุดเด่นให้เห็นได้ ชัดเจนมากขึ้น 8 ตัวอักษรเป็นสิ่งสำคัญไม่เป็นรองใครเมื่อต้องทำงานกราฟิกดีไซน์ ในเรื่องงาน กราฟิกที่ดีบางงาน นักออกแบบอาจจะใช้เพียงแค่ตัวอักษรและสีเป็นส่วน ประกอบเพียงสองอย่าง เพื่อสร้างสรรค์งานที่สามารถสื่อความหมายออกมาได้ ในดีไซน์ที่สวยงามดังนั้น เรื่องนี้จะต้องยกไปอธิบายให้ละเอียดมากขึ้นในหัวข้อ ใหญ่ ๆ ต่อไปจากเรื่องสี

Color 1 สีที่เกิดจากแสง เกิดจากการหักเหของแสงผ่านแห่งแก้วปริซึมมี 3 สีคือ สีแดง (Red), สี เขียว (Green) และสีน้ำเงิน (Blue ) เรียกรวมกันว่า RGB นำมาผสมกันจนเกิดเปีนสีสัน ต่าง ๆ มากมาย ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้แหล่งกำเนิดสีแบบนี้ เช่น โทรทัศน์หรือจอคอมฯ ของเรานั่นเอง 2 สีเกิดจากหมึกสีในการพิมพ์ เกิดจากการผสมหมึกพิมพ์ทั้ง 4 สีใน เครื่องพิมพ์คือ สีฟ้า, สีม่วง แดง, สีเหลือง และสีดำ เรียกรวมกันว่า CMYK จนได้ออกมาเปีนสีสันต่ำาง ๆ ตามที่ต้องการในการทำงานกราฟิก ถ้า หากว่าเป็นงานที่นำไปพิมพ์ตามแท่นพิมพ์แล้ว นักออกแบบก็ควรจะเลือก ใช้โหมดสีแบบนี้ทุกครั้ง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ออกมาตรงกับที่เห็นในจอคอมฯ ที่ทำงานอยู่ 3 สีที่เกิดจากธรรมชาติ เป็นสีที่ได้จากธรรมชาติ จากกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ำงิน หลังจากนั้จึงนำมาผสมกันจนเกิดเป็นสีอื่นๆ แหล่ง กำเนิดสีแบบที่เราเรียนกันมาในคลาสศิลปะตั้งแต่เด็กจนโต ที่เรียกกันว่าแม่สีก็คือสี แบบนี้นั่นเอง

Mix Color การผสมสีไว้ใช้งาน จะใช้งานจะใช้วิธีผสมจากสี ที่เกิดจากสีที่เกิดธรรมชาติ โดยเริ่มผสมจากแม่สี หรือสีขั้นที่หนึ่ง ไปจนเป็นสีขั้นที่สองและขั้นที่ สาม ตามลำดับภาพแต่ละสีมีความหมาย อย่างไร?

ให้ความรู้สึกอันตราย เร่าร้อน รุนแรง ให้ความรู้สึกสว่าง เร่าร้อน ฉูดฉาด มั่นคงอุดมสมบูรณ์ ให้ความรู้สึกงอกงาม พักผ่อน สดชื่น ให้ความรู้สึกสว่าง สดใส สดชื่น ระวัง meaning of ให้ความรู้สึกสงบ ผ่อนคลาย สง่างาม ให้ความรู้สึกหนัก สงบ มีเลศนัย color ทีม ให้ความรู้สึกเก่า หนัก สงบเงียบ ให้ความรู้สึกบริสุทธิ์ สะอาด ใหม่ มารู้จักกับจิตวิทยาของสีที่จะมีผลต่ออารมณ์ สดใส ของผู้พบเห็นกันสีอะไรให้ความรู้สึกอย่างไร ให้ความรู้สึกหนัก หดหู่ เศร้าใจ ทึบตัน แสดงถึงความรู้สึกมั่นคง บ้าง เราจะมาดูกันตามรายละเอียดต่อไปนี้ แสดงถึงความนิ่งเฉย สงบ แสดงถึงความสลด รันทดใจชรา แสดงถึงความรู้สึกทางอารมณ์ที่ถูกกดดัน แสดงความรู้สึกกระชุ่มกระชวย แจ่มใส

วรรณะร้อน (Warm Tone Color) ได้แก่ สีเหลืองส้ม สีส้ม สีแดง และ สีม่วงแดง สีกลุ่มนี้เมื่อใช้ในงานจะ รู้สึกอบอุ่น ร้อนแรง สนุกสนาน ToneColor นอกจากแต่ละสีจะสร้างความรู้สึกด้วยตนเองแล้ว เมื่อนำมาใช้ร่วมกันเรายังสามารถแบ่งสีออกเป็น 2 วรรณะ เพื่อสร้างอารมณ์ที่แตกต่างกันออกไปเมื่อใช้งานร่วมกันได้ วรรณะเย็น (Cool Tone Color) ได้แก่ สีเขียว สีฟ้า สีม่วงคราม สีกลุ่มนี้เมื่อใช้งานจะได้ความรู้สึก สดชื่นเย็นสบาย

เป็นการใช้สีที่ไปในโทนเดียวกันทั้งหมด เช่น จุดเด่นเปีนสีแดง สีส่วนที่เหลือก็จะเป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีแดง โดยใช้วิธีลดน้ำ หนักความเข้มของสีแดงลงไป Techniques for สีที่ตัดกันหรือสีตรงกันข้าม เป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี เช่น applying colors สีฟ้าจะตรงข้ามกับสีส้ม หรือสีแดงจะตรงข้ามกับสีเขียว สามารถ นำมาใช้งานได้หลายอย่าง การใช้สีตรงข้ามไม่ควรใช้ในพื้นที่ การเลือกใช้สีในการออกแบบ จะมีอยู่มากมายหลายวิธี แต่ ปริมาณเท่ากันในงาน ควรใช้สีใดสีหนึ่งจำนวน 80% อีกฝ่ายหนึ่ง ทุกวิธีจะชี้ไปที่วัตถุประสงค์เดียวหลัก ๆ คือ ใช้สีเพิ่มความ ต้องเป็น 20% หรือ 70-30 โดยประมาณบนพื้นที่ของงาน จะ โดดเด่นให้กับจุดเด่นในภาพ และใช้สีตกแต่งส่วนอื่น ๆ ของ ทำให้ความตรงข้ามกันของพื้นที่น้อยกลายเป็นจุดเด่นของภาพ ภาพให้ได้ภาพรวมออกมาในอารมณ์ที่ต้องการ เทคนิคการ เลือกสีจะมีสูตรสำร็จให้เลือกใช้งานอยู่บ้าง คือ วิธีโยงความ สัมพันธ์จากวงล้อสีก่อนนะทำงานทุกครั้ง และนำว่าให้เปิด ไฟล์วงล้อสีขึ้นมา แล้วเลือกสีหลัก ๆ

การเลือกสีสามสีที่ระยะห่างเท่ากันเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า มาใช้งาน Techniques for applying colors สีข้างเคียงกัน การเลือกสีใดสีหนี่งขึ้นมาใช้งานพร้อมกับสีที่อยู่ติด กันอีกข้างละสี หรือก็คือสีสามสีอยู่ติดกันในวงจรสีนั่นเอง

Typography 1 Body หลัก ๆ จะประกอบไปด้วยตัว Body เอง และส่วนแขนขา และที่สำคัญที่สุดที่ จะส่งผลถึงการเลือกใช้งาน Font ก็คือส่วนของ \"เชิง\" หรือ \"Serif\"' (ในตัว Body ของ Font อาจจะแยกย่อยได้เป็นตา หรือไหล่ได้อีก และในเบื้องต้นให้รู้จักกันไว้ในชื่อของ Body ก่อน) 2 ส่วน Proportion ของ Font จะหมายถึง ลักษณะการนำไปใช้งาน เช่น ตัวหนา หรือตัว เอียง โดยปกติแล้ว จะมีอยู่ 3 แบบคือ Normal ปกติ, Italic เอียง และ Bold หนา นอกจากทั้ง 3 แบบที่กล่าวมาแล้ว ในบางครั้งอาจจะเจอแบบที่ย่อยลงไปอีก เช่น Bold Italic ที่เป็นตัวหนาและเอียงหรือ Narow ที่มีลักษณะแคบๆ ผอมๆ ก็เป็นไปได้

Example of Typography MEDIA MEDEE PROJECT Serif = เป็นระเบียบ เป็นทางการ เหมาะสำหรับใช้งานที่เป็นทางการ และน่าเชื่อถือ San Serif = อ่านง่าย ดูทันสมัยมากกว่าแบบอื่นเหมาะสำหรับใช้งานที่ไม่เป็นทางการ Antique = เหมาะสำหรับใช้งานที่ต้องการแสดงถึงความชัดเจนของยุดสมัย Script = เหมาะสำหรับใช้งานที่ไม่เป็นทางการ มีความเป็นกันเอง

เริ่มจากซ้ายไปขวา และบนลงล่าง การหาจุดเด่น MEDIA MEDEE PROJECT ไม่ใช้ font หลากหลายไป ธรรมชาติการอ่านของคนไทยจะอ่านจากซ้ายไปขวา และบน จุดเด่นควรจะมีเพียงจุดเดียว หรือพูดง่ายๆ ก็คือ มีตัวอักษรตัว ไม่ควรใช้ Font หลากหลายรูปแบบเกินไปจะทำให้กลายเป็นงา ลงล่าง โดยมีรัศมีการกวาดสายตาตามลำดับ ดังนั้นถ้า ใหญ่ๆ อยู่เพียงชุดเดียวจึงจะเป็นจุดเด่นที่มองเห็นได้ง่าย ไม่ นที่อ่นยากและชวนปวดศรีษะมากกว่าชวนอ่าน ถ้าจริง ๆ อยากให้อ่านง่าย ควรจะวางเรียงลำดับใหดีด้วย ไม่เช่นนั้นจะ สับสนส่วนจุดอื่น ๆ ขนาดควรจะเล็กลงมาตามลำดับความ แนะนำให้ใช้ Font เดิมแต่ไม่ตกแต่งพวกขนาด, ความหนา เป็นการอ่านข้ามไปข้ามมาทำให้เสียความหมายของข้อความ สำคัญ หรือกำหนดให้เอียงบ้าง เพื่อเพิ่มความน่าสนใจไม่ให้งานดู ไป น่าเบื่อ

MEDIA MEDEE PROJECT 1 ความหมายต้องเข้ากัน หมายความว่า ความหมายของคำและ Font ที่เลือกใช้ควรจะ ไปด้วยกันได้ 2 อารมณ์ของฟอนต์และอารมณ์ของงานต้องไปในทิศทางเดียวกัน เช่น งานที่ต้องการ ความน่าเชื่อถือก็จะเลือกใช้

MEDIA MEDEE PROJECT

1 Composition การวางองค์ประกอบ ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร สี รูปภาพ อาจจะวางซ้ำๆ หรือวางในระยะห่างที่เท่ากัน ทำให้เกิด การจัดองค์ประกอบภาพที่ดี จะช่วยให้งานที่ จังหวะที่แตกต่าง เพื่อให้ส่วนที่ต้องการเป็นจุดเด่น ออกแบบไปนั้นมีจุดเด่นอย่างชัดเจน สามารถดึงดูดให้ผู้พบเห็นและสื่อความ 2 หมายได้ตรงตามต้องการ โดยภาพที่รวมของ งานยังคงไปในทิศทางที่ส่งเสริมกัน การสร้างจุดเด่นโดยอาศัยความคล้ายกันขององค์ประกอบ อาจจะทำให้กลมกลืนหรือส่วนที่แตกต่างโดดเด่นออกมา ส่วนที่โดดเด่น ยังดูกลมกลืนกับองค์ประกอบ (Harmony) ส่วนที่โดดเด่น แตกต่างกับองค์ประกอบ (Contrast)

345 1 23 1 2 3 การจัดเรียงตำแหน่งขององค์ประกอบให้เป็นลำดับ สัดส่วนที่แตกต่างกันของจุดเด่นและองค์ประกอบอื่นๆ ที่ การนำองค์ประกอบรองอื่นๆ มารวมกลุ่มไว้ใกล้ๆจุดเด่น (Alignment) จัดให้อ่านง่าย สบายตา รู้ได้ทันทีว่าต้อง ไม่ใช่จุดเด่น ควรจะมีความแตกต่างอย่างชัดเจนในระดับ ควรวางแบบมีลำดับชัดเจน ไม่ว่าจะด้วยขนาดหรือสี เพื่อ หนึ่ง จึงจะเพิ่มความสนใจให้กับจุดเด่น ไม่ให้เกิดจุดเด่นซ้อนกัน) เริ่มอ่าน-จบตรงไหน มีทิศทางการมองที่ชัดเจน

1 เป็นการเลือกองค์ประกอบที่สื่อความหมายไปใน ทิศทางเดียวกัน ดูแล้วเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน 2 แบ่งออก 2 แบบ Balance คือ รูปทรงเหมือนกันทั้งซ้ายทั้ง ขวา และ Balance ด้วยน้ำหนัก ผลงานไม่หนักไปข้างใดข้าง หนึ่ง แต่มองดูแล้วมีน้ำหนักเท่ากัน โดยใช้องค์ประไม่ว่าจะ เป็น สี รูปทรง

345 แบบเน้นจุดสนใจ Point of interest = การวาง การจัดวางตำแหน่งหลักของภาพถ่าย เป็นองค์ประกอบ กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนว ตำแหน่งจุดเด่นลงไป แล้วใช้วิธีต่าง ๆ ให้จุดเด่น หนึ่งที่สามารถทำให้เกิดผลทางด้านแนวความคิด และ นอนก็ตาม หากเราแบ่งภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตาม ความรู้สึกได้ การวางตำแหน่งที่เหมาะสมของจุดสนใจใน แนวตั้งและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเส้น เกิดความน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น ภาพ เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญ และที่นิยมกันโดยทั่วไปคือ จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ กฎสามส่วน เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับการจัดวางวัตถุที่ต้องการ เน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก

MEDIA MEDEE PROJECT Essential Skill Basic Graphic Design

1 ภาพบีบอัดความละเอียดสูง มีขนาดไฟล์ที่เล็ก โหลดไว ใช้งานได้ หลากหลาย File Extension 2 จุดเด่น – ไฟล์ภาพเป็นที่นิยม มีการรองรับเกือบทุกโปรแกรม เเละใช้ 3 พื้นที่จัดเก็บน้อย รูปแบบของไฟล์มีมากมายหลายประเภท ที่มี จุดด้อย – เนื่องจากขนาดไฟล์จำกัด ทำให้ไม่สามารถแก้ไขรูปได้เท่าที่ จุดเด่นแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะ ใจต้องการ เพราะรูปจะเกิดความไม่ชัดหรือภาพเเตกได้ สมของการใช้งาน เป็นรูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้งานบนเว็บไซต์มากที่สุด ไม่เหมาะกับงาน พิมพ์ เพราะไฟล์ PNG ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานแทนไฟล์ GIF จุดเด่น – สามารถบันทึกภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้ ทำให้ง่ายต่อการ ใช้งานเเละรองรับสีได้มากกว่าไฟล์ GIF จุดด้อย – ไม่เหมาะกับการพิมพ์ เป็นไฟล์ที่มีคุณภาพสูงส่วนใหญ่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการพิมพ์งาน ต่างๆ ที่ต้องอาศัยความคมชัดหรือความละเอียดมากๆ จุดเด่น – ไฟล์มีคุณภาพมาก สามารถรองรับการใช้งานผ่านโปรแกรม ได้เกือบหมด เเละทำพื้นหลังให้โปร่งใสได้ด้วย จุดด้อย – ไฟล์มีขนาดใหญ่ ใช้พื้นที่จัดเก็บเยอะ

4 เป็นไฟล์ที่เน้นใช้ทำภาพเคลื่อนไหว มักจะถูกใช้ใน social media และแบนเนอร์เว็บไซต์มากกว่า File Extension 5 จุดเด่น – ขนาดไฟล์เล็กมาก ทำให้โหลดได้รวดเร็ว เเละสามารถทำ 6 พื้นหลังแบบโปร่งใสได้ รูปแบบของไฟล์มีมากมายหลายประเภท ที่มี จุดด้อย – มีความจำกัดเรื่องสีของภาพเเละไม่รองรับ CMYK จุดเด่นแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะ สมของการใช้งาน เป็นไฟล์ที่มาจากโปรแกรม Photoshop สามารถแก้ไขไฟล์ได้อย่าง ยืดหยุ่น ใช้กับงานพิมพ์ได้ จุดเด่น – ปรับแต่งไฟล์ได้อย่างอิสระสามารถใช้ทำงานได้ทั้ง Vector เเละ Raster รองรับพื้นหลังโปร่งใส จุดด้อย – เหมาะสำหรับงานที่มีขนาดใหญ่เนื่องจากมีความละเอียด สูง การใช้งานอาจจะซับซ้อนเกินไป เป็นไฟล์รูปแบบหนึ่งของ Vector มักจะถูกใช้กับพวก Logo หรือ Icon เป็นหลัก จุดเด่น : สามารถใช้ได้ทุกขนาดไม่ว่าจะเล็ก กลาง ใหญ่ โปรแกรม ส่วนใหญ่รองรับ จุดด้อย : โปรแกรมที่สามารถแก้ไขไฟล์นี้ได้ค่อนข้างจำกัด เช่น Illustrator

Resolution หน่วยของ Resolution ความละเอียดในการแสดงผลของภาพบนจอ มีอยู่ 2 แบบ คือ ซึ่งถูกกำหนดหน่วยเป็น Pixel (เม็ดสี) ต่อ 1 1.Pixels/Inches = ความหนาแน่นของ พื้นที่ เม็ดสีต่อพื้นที่ 1 นิ้ว 2.Pixels/cm = ความหนาแน่นของเม็ดสี เช่น ถ้าหากภาพมีค่า Resolution = 300 ต่อพื้นที่ 1 เซนติเมตร Pixels ต่อ 1 in หมายความว่าทุกๆ 1 นิ้วของ ภาพนั้นจะมีเม็ดสีอัดกัน 300 สีนั่นเอง นิยมใช้กันจะเป็น Pixels/Inches หรือที่เรียกกันว่า ppi Resolution ที่เหมาะสมกับงานประเภทต่างๆ ภาพResolution ขนาดต่างๆ ค่าความละเอียด 72 ppi สำหรับแสดงผลบนคอมพิวเตอร์ งานเกี่ยวกับเว็บไซต์ มัลติมีเดีย ค่าความละเอียด 100-250 ppi สำหรับภาพที่พิมพ์ผ่าน Printer ค่าความละเอียด 300-350 ppi สำหรับงานสิ่งพิมพ์ ที่ต้องการความ คมชัดสูง เช่น โปสเตอร์ นิตยสาร งานสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ

1 Bitmap 5 RGB Color Color Mode 2 Grayscale 6 CMYK Color โมเดลสีแบบต่างๆ โดยแต่ละแบบจะมีความ 3 Duotone 7 Lab Color เหมาะสมในการทำงาน ต่างกันไปซึ่ง สามารถ เปลี่ยนรูปภาพที่นำมาตำแต่งให้ไป 4 indexed Color 8 Multichannel เป็นโหมดต่างๆ เพื่อความเหมาะสมในการ ใช้งานได้ตามความต้องการโหมดสีที่นิยมใช้ กันมา มีอยู่ 8 แบบดังนี้

โหมดสีแบบ Bitmap โหมดสีแบบ Bitmap เป็นโหมดสี ที่มีเพียงสีขาวและสีดำ โหมดสีแบบ Grayscale โหมดสีแบบ Grayscale คือ เป็นโหมดสีสำหรับภาพ เท่านั้น ไม่สามารถไล่เฉดสีได้เหมาะสมที่จะใช้งานประเภท วาดภาพหรืองานที่ ขาวดำที่มรการไล่เฉดสีของสีเทา จากเท่าอ่อนไปจนถึงสีเทาแก่ ได้ถึง 256 สี เป็นลายเส้น ไม่ต้องการรายละเอียดของสีอื่นๆ ภาพที่ได้จะมีความละเอียด ภาพที่จากโหมดนี้เหมาะสำหรับภาพนำไปตกแต่งไปใช้งานกับเครื่องพิมพ์ น้อยมาก และก็จะขนาดของไฟล์ ที่เล็กมากตามไปด้วย แบบ ขาว – ดำ ภาพในโหมด Grayscale จะได้ไฟล์ที่มีขนาดเล็ก มีความคมชัด มากกว่าโหมด Bitmap

โหมดสีแบบ Duotone เป็นโหมดสีที่มีการกำหนดโทนสีที่จะใช้งานได้ตั้งแต่ 1- โหมดสีแบบ indexed Color เป็นโหมดสีที่เป็นภาพที่แก้ไขเสร็จแล้วพร้อมจะ 4 โทนสี จะคล้ายกับรูปภาพในโหมด Grayscale แต่จะแตกต่างกันตรงที่จะใช้ นำไปใช้งาน มักจะใช้กับภาพที่จะนำขึ้น เว็บไซต์ สามารถที่จะกำหนดจำนวน งานในรูปภาพได้เอง สามารถใช้โทนสีอื่นได้ เข้ามาเสริมในสีดำ ทำให้ภาพน่า สีที่จะใช้งานำได้ด้วยตนเองตั้งแต่ 1-256 สีไฟล์ภาพมีขนาดเล็กหรือใหญ่ได้ สนใจมากขึ้น ตามความเหมาะสม

โหมดสีแบบ RGB Color เป็นโหมดสีแบบเดียวกันที่ใช้งานอยู่บนจอมอนิเตอร์ โหมดสีแบบ CMYK Color เป็นโหมดสีที่แบ่งออกเป็น 4 Channel คือฟ้า จะแบ่งเป็น3 สี คือ แดง เขียว และ น้ำเงิน สีที่ได้มีความละเอียดสมจริงมากพอ บานเย็น เหลือง และดำ โดยในแต่ละสีจะ มีค่า 8 Bit ทำให้แต่ละ Pixels จะ สมควร เก็บค่าถึง 32 Bit เป็นการแก้ไข้จุดบกพร่อง ของโหมดสี RGB

โหมดสีแบบ Lab Color เป็นโหมดสีที่ให้สีได้เหมือนกันจริงมากที่สุดโดยมีค่า l โหมดสีแบบ Multichannel เป็นโหมดสีที่ใช้เพื่อการพิมพ์ในกรณีพิเศษส่วน (Lighten) แทนความสว่าง ค่า a แทนสีขาวถึงสีแดง และค่า b แทนสีน้ำเงิน มากจะใช้สำหรับการพิมพ์งานที่มีความ ละเอียดมากที่สุด การเปลี่ยนโหมด นิยมใช้กันในการบันทึกภาพเพื่อใช้งานข้ามระบบ เช่น จาก Windows ไปยัง เป็น Multichannel จากแต่ละโหมดจะให้ผลที่ แตกต่างออกไป เช่น ถ้าเปลี่ยน Mac จกโหมด CMYK ก็จะได้ Channel ที่เป็นสีฟ้า บานเย็น เหลือง และดำ เท่านั้น

Program for Graphic MEDIA MEDEE PROJECT โปรแกรมออกแบบโลโก้ ออกแบบภาพ เสริม เติม แต่งภาพ เป็นโปรแกรมในการออกแบบ การแต่งภาพ การใส่เอ็ฟเฟีกยอด โปรแกรมแต่งรูป Canva แก้ไขรูปภาพ ทำกราฟฟิกออนไลน์ ระดับมืออาชีพ มีฟังก์ชันคล้ายกับ Photoshop แต่มีการทำงาน นิยม ด้วยความที่ใช้งานง่ายและมีเครื่องมีในการใช้งนมากมาย ผ่านเว็บไซต์ ใช้งานฟรี มีเครื่องมือครบครัน สามารถใช้สร้างชิ้น ที่เหนือชั้นกว่าในการออกแบบ โปรแกรมนี้อาจต้องลองศึกษา สามารถผลิกแผลงได้สารพัดประโยชน์โดยส่วนใหญ่จะใช้ในการ งานของตัวเองแบบง่ายๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา เพิ่มเติม แต่รับประกันว่าเป็นโปรแกรมที่ออกแบบภาพได้ ตัดต่อภาพ การแต่งภาพให้สวยขึ้น คมชัดขึ้น ขาวขึ้น ดีเยี่ยมโปรแกรมหนึ่ง

MEDIA MEDEE PROJECT Criteria of Design Basic Graphic Design

สื่อ เวิร์ค สื่อ 30% 30% 20% \" สวย เวิร์ค 30% 50% งานออกแบบกราฟิกแบบไหนเป็นงานออกแบบที่ดี ? แบบไหนเป็นงานออกแบบที่ไม่ดี ? สวย เวิร์ค เราจึงต้องมีเกณฑ์หรือบรรทัดฐาน (Criteria) ในงาน 40% 40% ออกแบบขึ้นมาเพื่อเป็นตัววัด บรรทัดฐานในงาน ออกโดยมีหลักอยู่ 3 ข้อ ได้แก่ สื่อ สื่อ 20% 30% 1.เวิร์ค - ประโยชน์ใช้สอยที่ดี 2.สวย - คนส่วนใหญ่ชอบ เวิร์ค 3.สื่อ - เห็นแล้วเข้าใจ 50% สวย 30% สวย 30%

Graphic Design Workflow 1 2 3 4 5 6 Program Conceptual Case Study Preliminary Design Artwork Analysis Design Design

MEDIA MEDEE PROJECT Examples of Graphic Design Usage











MEDIA MEDEE PROJECT \"Thank You Start designing your graphics !


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook