Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2563 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

รายงานประจำปี 2563 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

Published by Soraya Trangan, 2021-01-13 10:25:03

Description: รายงานประจำปี 2563 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

Search

Read the Text Version

รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 Regional Medical Sciences Center 7 Khonkaen ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

2

3

4

นางเลขา ปราสาททอง ผูอ้ านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 7 ขอนแก่น ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น ให้บริการ ท ด ส อ บ แ ล ะ วิ จั ย ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ การแพทย์ แก่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนรวมทั้ง ประชาชน โดยนาระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 และ ระบบบริหาร PMQA มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกับ ระบบบริหารคุณภาพห้องปฏิบัติการ ISO/IEC17025:2017, ISO15189:2012 และ ISO15190:2003 เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับ องค์ความรู้ เทคโนโลยี บริการการตรวจวิเคราะห์และข้อมูลที่ ถูกต้อง มีคุณภาพและตอบสนองต่อสถาน- การณ์ต่าง ๆ อย่างทันเหตุการณ์ ด้วยระบบห้องปฏิบัติการท่ีเป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิง และเป็นศูนย์กลาง ข้อมูลอ้างอิง สารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ สนับสนุนการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพและความม่ันคง ม่ัง คงั่ และยง่ั ยนื ด้านสุขภาพของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 7 5

สารบญั 8 วิสัยทศั น์ ค่านิยม พนั ธกิจ 9 ประวัติความเป็นมา 10 โครงสร้างผ้บู ริหาร 11 กรรมการบริหาร 12 โครงสร้างหน่วยงาน 13 โครงสรา้ งการบริหาร 16 งบประมาณ 18 รายได้จากการใหบ้ รกิ าร 19 โครงการสาคัญ 23 โครงการอื่น ๆ 35 งานบรกิ าร 47 ดา้ นคณุ ภาพ 6

สารบญั (ต่อ) 49 การเผยแพร่ผลงาน 50 รางวลั แห่งความสาเรจ็ 51 ข้อมูลบุคลากร 53 การพฒั นาทรัพยากรบคุ คล 57 การประสานความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอ่นื 63 กจิ กรรมภายในหน่วยงาน 68 กจิ กรรมรว่ มกับหน่วยงานอ่นื 72 คณะผจู้ ดั ทา 73 แผนทต่ี ้งั หน่วยงาน 7

วสิ ยั ทศั น์ “เป็นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอา้ งอิงด้านวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ท่มี คี วามเปน็ เลศิ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ” คา่ นยิ ม “มุง่ มั่นพัฒนา คณุ ภาพบริการ มาตรฐานสากล” พนั ธกจิ 1. ศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือให้ได้องค์ความรู้ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสขุ 2. เฝ้าระวัง ประเมิน สื่อสารแจ้งเตือนภัย และกาหนดมาตรการ การจดั การความเสีย่ งจากโรคและภยั สขุ ภาพ 3. บริการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์ การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ในพื้นท่รี บั ผิดชอบ 4. พัฒนาและกาหนดมาตรการสนับสนุนการป้องกันและแก้ไข ปญั หายาเสพตดิ 8 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

ประวตั คิ วามเปน็ มา พ.ศ. 2522 จดั ตัง้ ศนู ยฯ์ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบนทจ่ี ังหวดั ขอนแก่น โดย ดัดแปลงสานักงานเดิมชั้นล่างของตึกสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ขอนแกน่ ถนนศรจี นั ทร์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น พ.ศ. 2530-2531 ไดร้ ับงบประมาณกอ่ สร้างอาคารในท่ีดนิ ราชพสั ดุ จานวน ๑ ไร่ ๗๗ ตารางวา เลขท่ี ๔๐๐/๒ ถนนหน้าศูนย์ราชการ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น พื้นทใี่ ชง้ าน ๑,๔๕๓.๕๒ ตารางเมตร พ.ศ. 2556-2558 ก่อสร้างอาคารสานักงานแห่งใหม่ เลขท่ี ๓๙๔ หมู่ ๑๙ ถนนสีหราช เดโชไชย ตาบลศิลา อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พ้ืนท่ีใช้งาน ๔,๓๑๗ ตารางเมตร โดยกาหนดให้ใช้ช่ือ ศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ท่ี ๗ ขอนแกน่ พื้นทรี่ บั ผิดชอบ 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น กาฬสนิ ธุ์ มหาสารคาม และรอ้ ยเอ็ด พ.ศ. 2561 ห้องปฏิบัตกิ ารทง้ั หมดของศูนย์ฯ ได้ย้ายมา ณ อาคารท่ีทาการแห่ง ใหม่ทั้งหมด เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรและการทดสอบทาง ห้องปฏิบัตกิ ารใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แกผ่ ู้ใชบ้ ริการ พ.ศ. 2562-2563 มีการปรับปรุงอาคาร เพื่อปรับปรุงระบบระบายอากาศ ลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า และปรับปรุงศูนย์รวมบริการของศูนย์ฯ เพื่ออานวย ความสะดวกใหแ้ กผ่ ู้ใชบ้ รกิ าร รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 9 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่

โครงสรา้ งผูบ้ ริหาร นางเลขา ปราสาททอง ผูอ้ านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น นางวาทณิ ี ดรบุญล้น นางเพียงใจ วงษ์สุวรรณ นางสาวดาราวรรณ เวียงยศ รองผู้อานวยการ (ดา้ นวชิ าการ) รองผ้อู านวยการ (ดา้ นบริหาร) รองผอู้ านวยการ (ดา้ นบริการ) 10 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 7 ขอนแกน่

คณะกรรมการบริหาร นางเลขา ปราสาททอง ผู้อานวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่ นางเพียงใจ วงศส์ วุ รรณ นางวาทนิ ี ดรบุญล้น นางสาวดาราวรรณ เวยี งยศ หัวหน้าหอ้ งปฏิบัตกิ ารเคมี ดา้ นอาหาร หวั หนา้ ห้องปฏบิ ตั กิ ารเคมี ดา้ น หวั หน้ากล่มุ พัฒนาคณุ ภาพ ยา เครอ่ื งสาอาง และสมนุ ไพร พษิ วทิ ยาและยาเสพตดิ และวชิ าการ นางวจั นา ชา่ งทอง นางกมลทพิ ย์ จุตาทิศ นายธีรวฒั น์ สภุ าวัฒนพนั ธ์ นางเตียงทอง วงษ์กาฬสนิ ธ์ุ หัวหน้าห้องปฏิบัติการพยาธิ หวั หน้าห้องปฏบิ ตั กิ ารจุล หวั หน้าห้องปฏิบตั กิ ารรังสแี ละ หัวหนา้ ฝ่ายบริหารทั่วไป วิทยาคลินิก ชวี วทิ ยา เครอื่ งมือแพทย์ รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 11 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 7 ขอนแกน่

โครงสร้างหน่วยงาน อธบิ ดี ผ้อู านวยการศูนย์ฯ รองผอู้ านวยการดา้ นบริหาร รองผูอ้ านวยการด้านวิชาการ คณะบริหารจดั การด้านวิชาการ รองผอู้ านวยการดา้ นบรกิ าร คณะกรรมการระบบประกนั คุณภาพ เจ้าหน้าท่ีความปลอดภยั ทาง หอ้ งปฏิบัตกิ าร (LSO) กลมุ่ ชันสูตร กล่มุ คุ้มครองผู้บรโิ ภค กล่มุ พฒั นาคณุ ภาพ ฝา่ ยบริหารทั่วไป สาธารณสุข ดา้ นสาธารณสุข และวชิ าการ 12 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแก่น จดั แบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารเปน็ 3 กลุ่ม และ 1 ฝ่าย ดงั น้ี 1. กล่มุ ชันสูตรสาธารณสุข ตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการเพื่อสนับสนุน 2. ด้านพิษวทิ ยาและยาเสพติด การเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน รักษาโรค และส่งเสริม สุขภาพทางด้านโรคติดเช้ือและโรคไม่ติดเชื้อ ตรวจ 1. ตรวจวเิ คราะห์เพอ่ื หาชนดิ และปริมาณสารพิษใน วิเคราะห์ตัวอย่างทางด้านคลินิก นิติเวช สารเสพติด ตัวอย่างจากรา่ งกาย เชน่ เลอื ด น้าล้างกระเพาะ เพ่ือสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยรักษา การดาเนินคดี ปสั สาวะ และสิ่งส่งตรวจอน่ื ๆ ทางกฎหมาย และการเฝ้าระวังสุขภาพผู้ประกอบ 2. ตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดและวัตถุออกฤทธ์ิต่อ อาชีพท่ีเส่ียงต่อสารพิษ โดยแบ่งหน้าที่ความ จิตและประสาทในปัสสาวะ เชน่ ยาบา้ และ กัญชา รับผดิ ชอบเป็น 2 งาน ดังน้ี เพื่อประกอบการดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย 3. ตรวจเอกลักษณ์หายารักษาโรคในตัวอย่างจาก 1. ดา้ นพยาธิวิทยาคลินิก ร่างกาย เช่น Benzophenone, Barbiturates, Paracetamol 1. ตรวจยืนยันด้านโรคติดเช้ือ เช่น โรคไข้เลือดออก 4. ตรวจหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือด ไข้หวัดใหญ่ ไวรัสซิกา (Zika virus) โรคติดเช้ือระบบ และอะซิตลิ โคลนี เอสเตอเรสในซีรม่ั ทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS-CoV) โรค 5. ตรวจวิเคราะห์ด้านชีวอนามัย เช่น ระดับตะก่ัว เอดส์ โรคอุจจาระร่วง เช้ือก่อโรคคอตีบ โรคหัด โรค ในเลอื ด หดั เยอรมัน และการตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัสโคโร 6. ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือด นา 2019 (COVID-19) และซีร่ัม เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานตาม 2. ตรวจยืนยันด้านโรคติดไม่ติดเชื้อ เช่น โรคธาลัสซี พระราชบัญญัติจราจรทางบก และการเฝ้าระวัง เมยี เป็นต้น อบุ ัติเหตทุ างทอ้ งถนนตามนโยบายขอบรัฐบาล 3. ตรวจแยกสายพันธุ์ของเช้ือก่อโรคอุจจาระร่วงเพื่อ 7. สนับสนุนชุดทดสอบสารเสพติดในปัสสาวะและ เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาและเฝา้ ระวงั การด้อื ยา ปัสสาวะควบคุมผลการทดสอบให้กับหน่วยงานใน 4. เป็นหอ้ งปฏิบัตกิ ารอา้ งอิง ดา้ นโรคอบุ ตั ใิ หมอ่ บุ ัติซ้า พ้นื ที่ โดยใช้เทคโนโลยี ด้านอณูวิทยาชั้นสูง (Advanced 8. ศึกษาวิจัยและสนับสนุนด้านวิชาการแก่ Molecular Detection Laboratory :AMD Lab.) หนว่ ยงานเครอื ขา่ ย เพ่ือสนบั สนุนการแก้ไขปัญหา 5. สนับสนนุ วสั ดุอปุ กรณช์ ันสตู ร ได้แก่ VTM เปน็ ต้น สาธารณสุขในพน้ื ท่ี 6. ศึกษาวิจัยและสนับสนุนด้านวิชาการแก่หน่วยงาน เครอื ขา่ ย เพ่ือสนับสนุนการควบคุม ป้องกันโรค และ แก้ไขปญั หาสาธารณสุขในพื้นที่ รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 13 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

2. กล่มุ คุ้มครองผบู้ รโิ ภคดา้ นสาธารณสุข การตรวจวิเคราะห์คุณภาพและความปลอดภัย 2. ดา้ นยา เครือ่ งสาอางและสมุนไพร ของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้แก่ อาหาร น้า ยา ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อ 1. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพของยาสาเร็จรูป วัตถุดิบที่ จิตและประสาท เครื่องสาอาง วัตถุอันตราย เคร่ือง นามาผลิตยา ทั้งทางกายภาพและทางเคมี เช่น กาเนิดรังสีเอกซ์ และเคร่ืองมือแพทย์ เพ่ือควบคุม ปริมาณตัวยาสาคัญ การละลายของตัวยา ความ คุณภาพผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานกาหนด สมา่ เสมอของนา้ หนกั ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ประกอบการขน้ึ ทะเบยี นผลิตภณั ฑ์ การดาเนินคดีตาม 2. ตรวจวิเคราะห์ยาทางจุลชีววิทยา เช่น ปริมาณ กฎหมาย และสนับสนุนการคุ้มครองผู้บริโภค โดย เชื้อจุลินทรีย์ในยาน้า ยาจากสมนุ ไพร แบ่งหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบเป็น 3 งาน ดงั นี้ 3. ตรวจเอกลักษณ์ตัวยาแผนปัจจุบัน ในผลิตภัณฑ์ ยาแผนปจั จบุ ันและยาแผนโบราณ 1. ด้านอาหาร 4. ตรวจวเิ คราะห์สารห้ามใช้ในเคร่ืองสาอาง 5. ตรวจพิสูจน์ยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธ์ิต่อ 1. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพของอาหารและน้า ทั้งทาง จิตและประสาท เพื่อประกอบการดาเนินคดี เช่น กายภาพ เคมี และจลุ ชีววิทยา ยาบ้า เฮโรอีน ฝิ่น กัญชา รวมท้ังน้ายาเคมีท่ีใช้ผลิต 2. ตรวจวิเคราะห์สารตกค้าง สารปนเปื้อน วัตถุเจือ ยาเสพตดิ เปน็ ตน้ ปนท่ีใช้ในอาหาร เช่น โลหะหนัก ยาฆ่าแมลง วัตถุ 6. ตรวจหาสารระเหยในวัตถุของกลาง เช่น โทลูอีน กนั เสีย สารให้ความหวานแทนน้าตาล สสี ังเคราะห์ ในกาวเปน็ ต้น 3. ตรวจวิเคราะห์ และหาสาเหตุของโรคอาหารเป็น 7. ศกึ ษาวิจยั และสนับสนุนดา้ นวชิ าการแกห่ นว่ ยงาน พษิ ทางจุลชวี วิทยา เช่น โรคอุจจาระร่วง เครือข่าย เพื่อการคุ้มครองบริโภคและแก้ไขปัญหา 4. ศึ กษ าวิ จัย แ ละ สนั บส นุน ด้ าน วิช าก าร แ ก่ สาธารณสุขในพื้นท่ี หน่วยงานเครือข่าย เพื่อการคุ้มครองบริโภคและ แกไ้ ขปัญหาสาธารณสุขในพนื้ ที่ 3. ด้านรงั สีและเครือ่ งมือแพทย์ 1. ตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยในการใช้ งานของเครอื่ งเอกซเรย์ หอ้ งเอกซเรย์ และวัสดปุ ้องกัน รังสี 2. ให้คาปรึกษาและความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน และการป้องกนั อันตรายจากรงั สี 3. ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ เช่น ถงุ ยางอนามยั 4. สอบเทียบมาตรฐานเคร่ืองวัดแอลกอฮอล์จากลม หายใจ (Breath Analyzer) 5. ศกึ ษาวิจัยและสนับสนุนด้านวิชาการแก่หน่วยงาน เครือข่าย เพื่อการคุ้มครองบริโภคและแก้ไขปัญหา สาธารณสขุ ในพน้ื ที่ 14 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

3. กลุ่มพัฒนาคณุ ภาพและวชิ าการ 1. ประสานงานการจัดทาแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ติดตามความก้าวหน้า สรุปและประเมินผลการ ปฏบิ ัติงาน 2. ดาเนนิ งานประกนั คุณภาพหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 3. ดาเนินการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ข้อมลู ข่าวสารดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 4. ประสานงานการดาเนนิ งานดา้ นพัฒนาองคก์ ร 5. สนับสนุนด้านวิชาการและด้านประกันคุณภาพ ห้องปฏบิ ัตกิ ารแกห่ น่วยงานเครอื ข่าย 4. ฝา่ ยบรหิ ารทว่ั ไป 1. งานบริหารท่ัวไป ได้แก่ งานธุรการ งานทรัพยากร บุคคล งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานอาคาร สถานที่ งานยานพาหนะ 2. ศูนย์รวมบริการ 3. ด้านประชาสัมพันธ์และประสานงานกับหน่วยงาน ภายนอก รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 15 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

งบประมาณ รายรับ (บาท) 17,892,553.00 งบดาเนนิ งาน งบลงทนุ รายรบั (บาท) รายจา่ ย(บาท) รายรับ (บาท) รายจ่าย (บาท) 9,694,553.00 9,694,550.78 7,048,000.00 7,048,000.00 คา่ ตอบแทนใช้สอยและวสั ดุ รายรบั (บาท) รายจา่ ย (บาท) รายรบั (บาท) รายจา่ ย (บาท) ค่าตอบแทนเภสัชกร/สมทบ 7,555,043.00 7,555,040.88 ค่าครภุ ัณฑ์ 7,048,000.00 7,048,000.00 101,510.00 ประกันสงั คม 101,510.00 ค่าสาธารณปู โภค 2,037,999.90 2,038,000.00 งบประมาณเบิกแทนกนั รายรบั (บาท) รายจ่าย (บาท) 1,150,000.00 1,149,998.10 เบกิ แทนสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (สนบั สนนุ การตรวจวิเคราะหผ์ ลติ ภัณฑ์สุขภาพ) แผนภูมิแสดงงบประมาณ (ร้อยละ) ในปีงบประมาณ 2563 งบเบกิ จ่ายแทนกัน 6.43 งบลงทนุ 39.39 งบดาเนินงาน 54.18 งบดาเนินงาน งบลงทนุ งบเบกิ จา่ ยแทนกัน 16 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

เงินบารุง คงเหลือ สถานะเงนิ บารงุ ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2563 38,141,771.24 จานวน 38,141,771.24 บาท จาแนกไดด้ งั น้ี รายรบั ปี 2563 15,819,425.75 รายจ่ายปี 2563 ยอดยกมาปี 2562 18,643,825.42 40,966,170.91 แผนภมู ิแสดงรายรบั -รายจ่าย เงนิ บารงุ ในปงี บประมาณ 2563 รายได้ t15.91 รายจา่ ย t1188..6644 รายรับ รายได้ รายการ ยอดรวม(บาท) คงเหลือ(บาท) เงนิ บารุง (ยอดยกมา ปี 2562 เทา่ กบั 40,966,170.91 บาท) 15,819,425.75 38,141,771.24 1. รายรับ 15,804,780.00 -รายได้จากการให้บริการ 6,245.75 -รายได้ดอกเบ้ยี เงนิ ฝากธนาคาร 8,400.00 -รายไดอ้ น่ื (คา่ สมัคร พกส.) 18,643,825.42 67,949.27 2. รายจา่ ย 110,913.16 251,130 -ค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ /ลูกจ้างชั่วคราว 220,200.00 -ค่ากองทนุ สารองเล้ียงชีพ กสจ. และค่าสมทบ 1,546,123.50 -คา่ ประกันสังคมและค่าสมทบ 531,213.46 -คา่ ตอบแทน นวพ.และนักฟิสกิ สร์ ังสี 28,000.00 -คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวัสดุ 244,683.75 -ค่าสาธารณูปโภค 5,000.00 -ค่าครุภณั ฑ์ 12,800,00.00 -ค่าทางานลว่ งเวลา -สง่ คืนคา่ ตรวจวิเคราะห์ฯ -เงนิ โอนใหก้ รมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 17 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

รายได้จากการใหบ้ รกิ าร ยา อาหาร 214,400 บาท 6,222,700 บาท รงั สแี ละเครื่องมอื แพทย์ พยาธวิ ิทยาคลินกิ 1,729,570.00 บาท 6,497,100 บาท พิษวทิ ยา ค่าบรกิ ารคดั สาเนา/รายได้อ่ืนๆ 1,119,210 บาท 36,445.75 บาท แผนภูมแิ สดงรายได้จากการใหบ้ ริการ (คดิ เป็นรอ้ ยละ) ๖41,๔.1๙%๗,๑๐๐.๐๐ 39.3% ๑,๗1๒0.๙9,%๕๗๐.๐๐ ๑,๑7.๑1%๙,๒๑๐.๐๐ ๒๑1๔.4,๔%๐๐.๐๐ 0.2% พยาธวิ ิทยาคลินิก อาหาร รังสแี ละเครือ่ งมอื แพทย์ พิษวทิ ยา ยา คัดบริการคัดสาเนา/อน่ื ๆ 18 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

โครงการสาคญั

โครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยวทิ ยาศาสตร์การแพทยช์ มุ ชน ดา้ นเคร่อื งสาอางสมนุ ไพร ปีงบประมาณ 2563 ก ร ม วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก า ร แ พ ท ย์ โ ด ย ศู น ย์ กลุม่ คุ้มครองผ้บู ริโภคด้านสาธารณสขุ วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง ร่วมกับสานัก เคร่ืองสาอางและวัตถุอันตราย และสถาบันวิจัยสมุนไพร จ าก ก ารด าเนิ น งา น ใน ปี 2563 ศู น ย์ ดาเนินโครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง สามารถพัฒนา ชุมชน ด้านเคร่ืองสาอางสมุนไพร โดยสนับสนุนองค์ คุณภาพผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพปลอดภัย โดยผ่าน ความรู้และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในการ เกณ ฑ์มา ตรฐ านด้ านก าร ปนเ ป้ือน เชื้อ จุลิน ทรีย์ แล ะ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs/OTOP เพ่ือนาไป โลหะหนัก จานวน 25 ผลิตภัณฑ์ และผ่านเกณฑ์ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ค รื่ อ ง ส า อ า ง ส มุ น ไ พ ร ใ ห้ คุณภาพ Smart product จานวน 5 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปลอดภัยและยกระดับผลิตภัณฑ์สู่ Smart product ใน ALOE GEL สบู่ขม้ินชันผสมทานาคา สบู่เหลวผสม ปีงบประมาณ 2563 โดยคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าร่วม สมุนไพรขมิ้นชันตรารจนา Coffee serum และสบู่ โครงการฯ จานวน 34 ราย 45 ผลิตภัณฑ์ เก็บตัวอย่าง มงั คุด จากน้าแรธ่ รรมชาติ วั ต ถุ ดิ บ แ ล ะ ส า ร ส กั ด ส มุ น ไ พ ร ที่ ใ ช้ ก า ร เ ต รี ย ม ต า รั บ เคร่ืองสาอาง ทดสอบเอกลักษณ์สารสาคัญ จานวน 41 นอกจากน้ี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ ตัวอย่าง เป็นวัตถุดิบ 19 ตัวอย่าง ประกอบด้วย ขม้ินชัน รว่ มกบั สมาพนั ธ์เอสเอ็มอีไทย จัดสัมมนา “การส่งเสริม 14 ตวั อย่าง บัวบก 4 ตัวอย่าง และมะหาด 1 ตัวอย่าง พบ เคร่อื งสาอางสมนุ ไพรสู่ตลาดจนี โดยระบบออนไลน์และ ตัวอย่างวัตถุดิบสมุนไพรตรวจพบสาระสาคัญ ร้อยละ ฟรีเทรดโซน” ใน วันท่ี 10 มกราคม 2563 ณ 94.7 ส่วนตัวอย่างสารสกัด 22 ตัวอย่าง ประกอบด้วย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อให้ความรู้เทคนิคและ ขม้ินชนั 11 ตวั อยา่ ง บวั บก 8 ตัวอย่าง มะหาด 2 ตัวอย่าง ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ใ น ต ล า ด จี น แ ก่ และมังคุด 1 ตัวอย่าง พบตัวอย่างสารสกัดตรวจพบ ผู้ประกอบการของไทย และส่งเสริมเครื่องสาอาง สาระสาคัญ ร้อยละ 81.8 สมนุ ไพรสตู่ ลาดจีนโดยระบบออนไลน์และฟรีเทรดโซน และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้ง 15 แห่ง ยังได้ร่วม ดาเนินการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ จัดทาหนังสือประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เคร่ืองสาอาง เมื่อวันที่ 3-4 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง สมุนไพร เล่มที่ 2 ภายใต้ชื่อหนังสือ “เคร่ืองสาอาง แอร์พอร์ต เป็นผู้ประกอบการ SMEs/OTOP 45 คน พบว่า สมุนไพร ความภูมิใจของคนไทย พัฒนาโดยกรมวิทย์ ผ้เู ขา้ รว่ มอบรมมีความรู้หลังการฝึกอบรมแตกต่างจากก่อน ฯ” เพ่ือประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร การฝึกอบรมอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติ ทีร่ ะดับความเช่อื ม่ัน ท่มี ีคณุ ภาพปลอดภัยและได้มาตรฐาน 95% โดยค่าเฉลี่ยของคะแนน pre-test และ post-test เท่ากับ 7.2 คะแนน และ 12.1 คะแนน ตามลาดับ จาก คะแนนเตม็ 15 คะแนน และผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจ ต่อการจัดอบรม คิดเป็นร้อยละ 92.6 และในการอบรมครั้ง น้ีไดม้ อบใบประกาศนียบัตรให้แก่ผู้ประกอบการ ท่ีสามารถ พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สู่ Smart product โดย ผลิตภัณฑ์ผ่านเกณฑ์คุณภาพด้านจุลินทรีย์ โลหะหนัก เอกลักษณ์สมุนไพร และ/หรือประสิทธิภาพการกันเสีย จานวน 11 ราย 12 ผลติ ภัณฑ์ 20 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

โครงการพฒั นาเครือข่ายวิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ุมชน อาเภอศนู ยแ์ จง้ เตอื นภยั เฝา้ ระวังและรับเรอ่ื งร้องเรยี นปัญหาสุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2563 ศภุ ลกั ษณ์ พร้ิงเพราะ, ประภาพรรณ พมิ พ์แกว้ , พชรมน ทาขุลี , กมลทพิ ย์ จตุ าทิศ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น และอาเภอเมอื งรอ้ ยเอ็ด จงั หวัดร้อยเอด็ มีสถานีอนามัย ได้เล็งเห็นความสาคัญของการดาเนินงานคุ้มครอง เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ตาบลสี ผู้บริโภคในระดับอาเภอซ่ึงเป็นจุดยุทธศาสตร์สาคัญใน แก้ว จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนางาน โดยเพิ่มศักยภาพและยกระดับศูนย์แจ้ง ตาบล จานวน 17 แห่ง รับผิดชอบ 201 หมู่บ้าน มี เตือนภัยฯ ให้เป็นอาเภอต้นแบบศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้า อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จานวน 402 คน ระวัง และรับเร่ืองร้องเรียนปัญหาสุขภาพ มีการ โดยอาเภอภูเวียง และอาเภอห้วยผ้ึง สามารถ ดาเนินงานผ่านคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ ดาเนินการและขยายผลได้ด้วยตนเอง สรรหา อาเภอ (พชอ.) ซึ่งสอดรับกับนโยบายกระทรวง งบประมาณจากหน่วยงานภายนอกและภายในอาเภอ มี สาธารณสุข “อาเภอสุขใจ : เส้นทางการพัฒนา พชอ. รูปแบบการทางานรว่ มกันเปน็ ภาคีเครือข่ายกับหน่วยงาน สู่ความยั่งยืน” เน้นการทางานอย่างบูรณาการทุกภาค ต่าง ๆ ผ่านคณะทางานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ ส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาตาม (พชอ.) โดยมนี ายอาเภอเป็นประธาน สาธารณสุขอาเภอ บริบทในพื้นท่ี โดยศูนย์ฯ ได้พัฒนาอาเภอต้นแบบ เป็นเลขานุการ และมีโรงพยาบาล เกษตรอาเภอ เครือข่ายศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ รวม 4 อาเภอ ได้แก่ โรงเรียน เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล สถานี อาเภอภูเวียง อาเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น อาเภอ ตารวจ ตัวแทนผู้นาชุมชน สานักงานสาธารณสุข ห้วยผ้ึง จังหวัดกาฬสินธ์ุ และอาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัด และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น จงั หวัดร้อยเอด็ โดยผ่านการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพ เป็นคณะกรรมการ มีการค้นหาปัญหาในชุมชน โดย อาเภอต้นแบบศูนย์แจ้งเตือนภัยฯ ของกรมวิทยาศาสตร์ ปัญหาที่พบท่ีต้องรีบแก้ไขอย่างเร่งด่วน ได้แก่ การ การแพทย์ในระดับเข้มแข็งและลงทะเบียนในระบบ จัดการสินค้าไม่ปลอดภัย ร้านค้าร้านชาจาหน่ายยา สารสนเทศของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ “กรมวิทย์ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ยาชุดและยาอันตรายท่ี With You” (http://alert.dmsc.moph.go.th) มีศักยภาพ จาหน่ายในร้านค้าร้านชามินิมาร์ท ดาเนินการของ ในการดาเนินการเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหา คณะทางาน พชอ. สามารถส่งผลกระทบให้กับชุมชน ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ สุ ข ภา พใ น ชุ ม ช น อ าเ ภอ ภูเวี ย ง มี หรือสงั คมเกดิ การรับรู้ สร้างความตระหนัก ปรับเปลี่ยน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลจานวน 11 แห่ง พฤติกรรม ต่อยอดและสร้างนวัตกรรม เกิดกฎระเบียบ รับผิดชอบ 114 หมูบ่ ้าน มี อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ มาตรการทางสังคม การเลือกใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ชุมชน จานวน 228 คน อาเภอเวียงเก่า มีสถานี และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย ร้านค้า ร้าน อนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ชา รา้ นมินมิ ารท์ เลอื กซ้ือผลิตภัณฑ์ท่ีนามาจาหน่ายได้ ตาบลในเมือง จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริม อย่างปลอดภัย นาไปสู่ต้นแบบ “ภูเวียงโมเดล” “เวียง สุขภาพตาบลจานวน 2 แห่ง รับผิดชอบ 36 หมู่บ้าน เก่าโมเดล” “ห้วยผ้ึงโมเดล” และ “เมืองร้อยเอ็ดโมเดล” มี อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จานวน 72 คน ทาให้ประชาชนในพน้ื ทีม่ ีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ีมคี วามยง่ั ยนื อาเภอห้วยผ้ึง มีโรงพยาบาล 1 แห่งโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลจานวน 5 แห่ง รับผิดชอบ 51 หมู่บ้าน มี อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จานวน 102 คน รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 21 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

โครงการบูรณาการธารงรกั ษา พฒั นา เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบคุณภาพ มาตรฐานหอ้ งปฏิบัตกิ ารทางการแพทย์ และหอ้ งปฏบิ ัติการรงั สวี ินจิ ฉยั โรงพยาบาล สมเดจ็ พระยุพราช นางวัจนา ช่างทอง การดาเนนิ งานโครงการบูรณาการธารงรักษา พัฒนา นอกจากนี้ยงั อบรมเพอ่ื ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการตรวจเชื้อ เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบคุณภาพมาตรฐาน วัณโรคด้วยเทคนิค TB-LAMP LAMP ให้แก่ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และห้องปฏิบัติการรังสี ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ของโรงพยาบาลสมเด็จ วินิจฉัย โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเพื่อส่งเสริม พระยุพราช จานวน 3 แห่ง ได้แก่ รพร. กระนวน จ. สนับสนุนการพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการทาง ขอนแก่น, รพร. กุฉินารายณ์ จ. กาฬสินธุ์ และรพร. การแพทย์ และห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยให้มีระบบ บ้านดุง จ. อุดรธานี ดังนั้นการดาเนินงานบูรณาการ คุณภาพ ตามมาตรฐานอย่างต่อเน่ือง และย่ังยืน และเพ่ือ ธารงรักษา พัฒนา เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบ สนับสนุน นโยบายรัฐบาลด้านสาธารณสุข ในการสร้าง คุณภาพมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และ หลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชน อย่างท่ัวถึงเสมอภาค ห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยโรงพยาบาลสมเด็จพระ และเทา่ เทยี มกัน ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น ยุพราช จึงส่งเสริมการดาเนินงานระบบคุณภาพ มีโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชในเขตรับผิดชอบ จานวน เสริมสร้างคุณภาพมาตรฐาน และธารงรักษาระบบ 2 แห่ง คือโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน คุณภาพของห้องปฏิบัติการ พร้อมท้ังเป็นหลักประกัน จ.ขอน แก่น แล ะโรงพยาบาลส มเด็จ พระยุ พราช ใหผ้ รู้ ับบริการเข้าถงึ การบรกิ ารที่ดีมีคณุ ภาพมาตรฐาน กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ โดยจัดทาแผนปฏิบัติการ เพื่อ เสนอผู้บริหารอนุมัติ เข้าร่วมอบรมสัมมนาเพ่ือเพิ่มส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบคุณภาพตามมาตรฐานอย่าง ต่อเนื่องและย่ังยืน โดยมีบุคลากรโรงพยาบาล และศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์เข้าร่วม โดยศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ที่ 12 สงขลา เป็นเจ้าภาพในการดาเนินงาน เข้า ร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ตรวจประเมินใหม่ตามมาตรฐาน ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และรังสีวินิจฉัย กระทรวง สาธารณสุข เพื่อพัฒนาผู้ตรวจประเมินฯให้มีความรู้ ความ เขา้ ใจ สามารถเป็นผตู้ รวจประเมินตามมาตรฐานกระทรวงฯ ให้เป็นท่ียอมรับ ระหว่างวันท่ี 16-17 มกราคม 2563 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี โดยสานักมาตรฐาน ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตรวจติดตาม ภายใน (Internal audit) ระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข และห้องปฏิบัติการ รังสีวินิจฉัยของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน จังหวัดขอนแก่น และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กฉุ นิ ารายณ์ จ. กาฬสนิ ธุ์ 22 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

โครงการอ่นื ๆ 23

โครงการสนับสนนุ การแก้ไขปัญหายาเสพตดิ และการควบคุมตัวยาและสารเคมี หอ้ งปฏิบัติการพษิ วทิ ยาและยาเสพติด ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น พบว่าผลการทดสอบในพารามิเตอร์ท่ีเปิดให้บริการ ด า เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ ข อ ง ก ร ม วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ หอ้ งปฏิบัติการสามารถดาเนินการทดสอบได้ถูกต้อง การแพทย์ ในการให้บริการการตรวจพิสูจน์สารเสพ ทุกตัวสาหรับการทดสอบในบางพารามิเตอร์อยู่ ติดในปัสสาวะ ของกลางต้องสงสัย และสารระเหย ระหว่างการพัฒนาวิธีวิเคราะห์ เพ่ือให้สามารถ ในพื้นที่บริการเขตสุขภาพที่ 7 และพ้ืนท่ีใกล้เคียง รองรับการให้บริการในพ้ืนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด า เ นิ น ง า น ต า ม ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ จากการทบทวนกระบวนการพบว่าการให้บริการ ห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากลรวมถึงการ ตรวจวิเคราะห์ไม่สามารถรายงานผลการทดสอบได้ ให้บริการงานวิชาการด้านยาเสพติดแก่หน่วยงาน ตามรอบระยะเวลาท่ีกาหนด เนื่องจากจานวน ในพ้ืนที่ และการสนับสนุนชุดทดสอบเบื้องต้นหา ตัวอย่างนาส่งที่มีจานวนเพิ่มข้ึนมากจากเป้าหมาย เมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะสาหรับจังหวัดในพ้ืนท่ี เป็นเท่าตัว และมีการนาระบบ ilabplus มาใช้ใน เป้าหมายของการดาเนินงานโครงการคือ สามารถ ระบบการให้บริการตรวจวิเคราะห์ทั้งระบบ โดย ให้บริการตรวจวิเคราะห์ตลอดปี จานวน 5,000 ระบบยังไม่เสถียรและมรี ูปแบบการลงข้อมูลที่ซับซ้อน ตวั อย่าง กว่าระบบเดิมท่ีเคยใช้ โดยมีการปรับปรุงระบบให้ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานอย่างต่อเนื่อง ผลการดาเนินงานตามข้อมูล ณ วันท่ี 15 ซ่ึ ง ใ น ข ณ ะ นี้ ท า ง ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร อ ยู่ ใ น ร ะ ห ว่ า ง กันยายน 2563 พบว่าศูนย์ฯ สามารถดาเนินการ ดาเนินการปรับปรุงกระบวนการทดสอบสารเสพติด ให้บริการตรวจยืนยันหาสารเสพติดในปัสสาวะ ในปัสสาวะ เพื่อให้สามารถรายงานผลการทดสอบ จานวนทั้งหมด 10,504 ตัวอย่าง สาหรับการ ได้ทันรอบระยะเวลาด้วยความถูกต้องตามมาตรฐาน ทดสอบเอกลักษณ์สารระเหย จานวนท้ังหมด 14 ต่อไป โดยสรุปผลการดาเนินงานด้านยาเสพติด ตัวอย่าง จากข้อมูลการให้บริการตรวจวิเคราะห์ ท้ังหมดในภาพรวม ศูนย์ฯ สามารถดาเนินการได้ เทียบกับเป้าหมาย พบว่าสามารถให้บริการได้ร้อย ตามแผน ซึ่งสามารถตอบโจทย์ความต้องการและ ละ 210 ของเป้าหมาย ผลการดาเนินการสนับสนุน สนบั สนนุ กระบวนการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ชุดทดสอบเมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะ โดยการ บริการเขตสุขภาพท่ี 7 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ สนับสนุนผ่านศูนย์อานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะ เป็นไปอยา่ งตอ่ เน่อื ง ยาเสพติดของแต่ละจังหวัด จานวน 4 จังหวัด โดย สนับสนุนชุดทดสอบเมทแอมเฟตามีนในปัสสาวะ จังหวัดละ 5,000 ชุด และชุดทดสอบกัญชาใน ปัสสาวะ จังหวัดละ 2,000 ชุด รวมจานวน 28,000 ชุด การดาเนินการตามมาตรฐานคุณภาพ ศูนย์ฯ ได้สมัครเข้าร่วมการทดสอบความชานาญของ หอ้ งปฏิบตั ิการตรวจยนื ยนั สารเสพตดิ ในปัสสาวะ 24 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

โครงการประกันคุณภาพยา ปงี บประมาณ 2563 กลมุ่ คมุ้ ครองผ้บู ริโภคดา้ นสาธารณสุข ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับสานักยาและ ผลการทดสอบพบตัวอย่างเข้ามาตรฐานจานวน 13 วตั ถเุ สพติด ดาเนินโครงการประกันคุณภาพยา โดย ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 81.25 ผิดมาตรฐานจานวน ปีงบประมาณ พ .ศ. 2563 ศูนย์วิทยาศาสตร์ 3ตัวอยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 18.75 จากตัวอย่างท้ังหมด การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น ได้คัดเลือกยาจานวน 2 โดยหัวข้อที่ผิดมาตรฐานคือหัวข้อการปนเปื้อน รายการ ได้แก่ Quinine Sulfate tablets และยา เชื้อจุลินทรีย์ จานวน 1 ตัวอย่าง และหัวข้อความ แคปซูลเถาวัลย์เปรียง ได้รับตัวอย่างท่ีสุ่มจาก สม่าเสมอของมวลหรือปริมาณตัวยาในแต่ละหน่วย โรงพยาบาล จานวน 3 ตัวอย่าง และ 16 ตัวอย่าง จานวน 2 ตวั อยา่ ง ตามลาดับ จากผลการทดสอบของยาทง้ั สองรายการจะเห็น ยา Quinine Sulfate tablets ได้ดาเนินการ ได้ว่า ยา Quinine Sulfate tablets ยังคงมีคุณภาพ ทดสอบตามมาตรฐานตารายาสหรัฐอเมริกา (USP ดี แต่ยาแคปซูลเถาวัลย์เปรียงพบปัญหาท้ังด้านการ 42) โดยผ่านการทวนสอบวิธีวิเคราะห์ และตรวจ ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และทางด้านกายภาพคือ วเิ คราะหท์ ัง้ หมด 4หัวข้อ ได้แก่ การตรวจเอกลักษณ์ ความสม่าเสมอของมวลหรือปริมาณตัวยาในแต่ละ (Identification),การหาปริมาณตวั ยาสาคัญ (Assay), หน่วย โดยทั้งสองหัวข้อเป็นส่ิงสาคัญที่ส่งผลต่อ การหาค่าการละลายของเม็ดยา (Dissolution), การ ประสิทธิภาพของยาต่อผู้บริโภค จึงควรมีการ ห า ค ว า ม ส ม่ า เ ส ม อ ข อ ง ตั ว ย า ใ น แ ต่ ล ะ ห น่ ว ย ตดิ ตามคุณภาพยานใ้ี นอนาคต (Content uniformity) และการหาปริมาณสาร สลายตัว (Organic Impurities) โดยผลการทดสอบ ยาดังกล่าวพบว่าเข้ามาตรฐานท้ัง 3 ตัวอย่าง คิด เปน็ ร้อยละ 100 ยาแคปซูลเถาวัลย์เปรียงได้ดาเนินการทดสอบ ตามมาตรฐานตารายา Thai Herbal Pharmacopoeia (THP 2019) ได้แก่ การทดสอบการ ปนเปื้อนเช้ือจุลินทรีย์ (Microbial limits) ความ สม่าเสมอของมวลหรือปริมาณตัวยาในแต่ละหน่วย (Weight variation) และเวลาในการแตกกระจายของ เม็ดยา (Disintegration) รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 25 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

โครงการคุณภาพสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2563 ทศพล นาปนสกั และกมลทิพย์ จตุ าทศิ ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น พบตัวอย่างยาแคปซูลสมุนไพรขมิ้นชัน เข้าเกณฑ์ ได้ดาเนินโครงการคุณภาพสมุนไพรไทย ประจาปี มาตรฐานทุกรายการทดสอบ ถึงอย่างไรก็ตาม งบประมาณ 2563 โดยได้รับการจัดสรร พบว่า ตัวอย่างยาแคปซูลสมุนไพรขม้ินชัน มี งบประมาณ จานวน 22,500 บาท เพ่ือใช้ในการ คุณสมบัติในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ S. ดาเนินการจัดซ้ืออาหารเล้ียงเชื้อ สารเคมี วัสดุ aureus และ Clostridium spp. ท่ีระดับความเจือ วิทยาศาสตร์สาหรับใช้ในการตรวจวิเคราะห์ จาง 1:10 ซ่ึงต้องเติม Neutralizing agent เพ่ือ ตัวอย่าง และศูนย์ฯได้รับตัวอย่างจากสถาบันวิจัย ทาลายฤทธ์ิของตัวอย่างก่อนดาเนินการตรวจ สมุนไพร จานวน 1 ตัวอย่าง คือ ยาแคปซูล วิเคราะห์ ดังน้ันการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างยาที่มี สมุนไพรขมิ้นชัน เพื่อตรวจวิเคราะห์คุณภาพด้าน สมนุ ไพรขม้นิ ชนั เปน็ องค์ประกอบจึงต้องระวังเรื่อง จุลินทรีย์ จานวน 7 รายการทดสอบ ตามวิธีและ นี้ด้วย เนื่องจากสมุนไพรขมิ้นช้ันเองมีฤทธ์ิต้าน มาตรฐานการทดสอบของ Thai Pharmacopeia แบคทีเรยี Volume I,II supplement 2005 ได้แก่ Total aerobic microbial count (1), Total combined yeasts and moulds count (2), Enterobacteria and certain other Gram- negative bacteria (3), Escherichia coli (4), Clostridium spp. (5), Salmonella spp. (6), Staphylococcus aureus (7) 26 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

โครงการพฒั นาศกั ยภาพหอ้ งปฏิบัตกิ ารทดสอบสารเคมี ป้องกันและกาจดั ศัตรพู ชื ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น เห็น ประภาพรรณ พมิ พ์แกว้ และเพยี งใจ วงศ์สวุ รรณ ความสาคัญของคุณภาพผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรที่ ปราศจากสารเคมีตกค้างในผลิตผลเพ่ือรองรับการ รองลงมาคือ Profenofos, Chlorpyrifos, Ethion, กระจายผลิตผลทางการเกษตรสเู่ ขตการค้าต่าง ๆ และ Propagite, Cyfluthrin, Omethoate และ เพื่อความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค ได้พัฒนาศักยภาพ Prothiofos จากการทดสอบนี้ยังพบอีกว่า พริก ห้องปฏิบัติการทดสอบสารเคมีป้องกันและกาจัด เป็นผักที่พบสารเคมีตกค้างมากถึง 3 ชนิด คือ ศั ต รู พื ช ก ลุ่ ม Organophosphate, ก ลุ่ ม Cypermethrin, Cyfluthrin และ Chlorpyrifos Organochlorine และกลุ่ม Pyrethroids โดยใช้ โดย ส้ม เปน็ ผลไม้ทพี่ บสารเคมีตกค้างได้มากถึง 4 เครื่องแก๊สโครมาโทกราฟ-แมสสเปกโทรมิเตอร์/ ชนิด คือ Propagite, Ethion, Cypermethrin และ แมสสเปกโทรมิเตอร์ (GC-MS/MS) โดยในเดือน Profenofos เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมพบว่า ผัก กุมภาพันธ์ 2563 ได้สุ่มเก็บตัวอย่างผักและผลไม้จาก ผลไม้ 13 ตัวอย่างจากทั้งหมด 18 ตัวอย่างท่ีพบ ตลาดสดและแหล่งปลูกในจังหวัดขอนแก่น, ร้อยเอ็ด, สารเคมีตกค้างหรือคิดเป็น 72% น้ันเป็นตัวอย่างที่ กาฬสินธุ์และมหาสารคาม โดยแบ่งเป็นผัก 30 ชนิด สมุ่ เก็บมาจากตลาดสดและในจานวนน้ี 8 ตัวอย่าง 79 ตัวอย่าง เช่น คะน้า ผักชี พริก กวางตุ้ง ขึ้นฉ่าย พบสารเคมีตกค้างเกินค่ามาตรฐาน (44%) ส่วนอีก ดอกกะหล่า กะเพรา เป็นต้น และผลไม้ 5 ชนิด 21 5 ตวั อย่างทพ่ี บสารตกคา้ ง (28%) ไดจ้ ากแปลงผลิต ตัวอย่างได้แก่ ฝรั่ง มะละกอ ส้ม องุ่น แอปเป้ิล รวม และพบ 1 ตัวอย่างเท่าน้ันท่ีมีสารเคมีตกค้างเกินค่า ท้ังสิ้น 100 ตัวอย่าง ใช้วิธีเตรียมตัวอย่างและสกัด มาตรฐาน (6%) ผลการดาเนินงานตามโครงการใน สารเคมีตกค้างด้วยเทคนิค QuESChERS แล้วตรวจ คร้ังนี้ได้นาเสนอข้อมูลท่ีน่าสนใจคือประชาชน วิเคราะห์ด้วยเทคนิค GC-MS/MS โดยเป็นสภาวะที่ ยังคงมีความเส่ียงท่ีจะได้รับอันตรายจากสารเคมี พัฒนาขึ้นซ่ึงสามารถวิเคราะห์สาร Multi-Residue ทางการเกษตรตกค้างในผกั ผลไมท้ ่ซี ้ือจากตลาดสด Pesticides ได้ 45 ชนิดสารจาก 3 กลุ่ม โดยมากมี เมื่อเปรียบเทียบกับผักผลไม้จากแปลงผลิต แสดง ความเป็นเส้นตรงในช่วง 10 – 500 µg/kg ผลการ ให้เห็นว่าแหล่งเพาะปลูกผักผลไม้เพ่ือการค้ายังมี ทดสอบตรวจพบสารเคมีตกค้างรวม 18 ตัวอย่าง เป็น การใช้สารเคมีทางการเกษตรในชนิดและปริมาณท่ี ตัวอย่างผัก 12 ตัวอย่างและผลไม้ 6 ตัวอย่าง โดยผัก อาจเป็นอันตรายกับผูบ้ ริโภค 5 ตัวอย่างพบสารเคมีตกค้างเกินค่ามาตรฐาน ท้ั ง นี้ ข้ อ มู ล ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ มี ก า ร โดยเฉพาะกวางตุ้ง (2 ตัวอย่าง) รองลงมาคือ พริก, รายงานให้แหล่งรวบรวมในแต่ละพื้นท่ีได้ทราบ ดอกกะหล่าและบวบ ชนิดละ 1 ตัวอย่าง ส่วนอีก 7 โดยผ่านการตรวจราชการ ได้แก่ จ.กาฬสินธุ์ (3-4 ตั ว อ ย่ า ง ต ร ว จ พ บ ส า ร เ ค มี ต ก ค้ า ง แ ต่ ไ ม่ เ กิ น ค่ า ก.พ. 2563) จ.ร้อยเอ็ด (13 ก.พ. 2563) จ. มาตรฐาน ไดแ้ ก่ พรกิ (2 ตัวอยา่ ง), กะเพรา, กวางตุ้ง, มหาสารคาม (25 ก.พ. 2563) และจ.ขอนแก่น (3 ผักบุ้ง, ข้ึนฉ่ายและหัวผักกาด ส่วนผลไม้พบว่าส้มพบ มี.ค. 2563) เพ่ือเป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังอันตราย สารเคมีตกค้างเกินค่ามาตรฐานมากที่สุดถึง 4 จากการปนเป้ือนของสารเคมีทางการเกษตรในผัก ตัวอย่าง ส่วนอีก 2 ตัวอย่างที่พบแต่ไม่เกินค่า ผลไม้ให้แก่พื้นที่ต่าง ๆ ได้ อีกท้ังยังอาจเป็น มาตรฐาน คือ องุ่นและส้ม สารเคมีท่ีพบตกค้างมาก แนวทางให้แต่ละพ้ืนท่ีสนับสนุน ส่งเสริมเกษตร ที่สุดในผกั ผลไมค้ อื Cypermethrin อินทรีย์ หรือผลักดันให้เกิดเขตปลอดสารเคมีทาง การเกษตรเพ่ือให้ผู้บริโภคในพื้นท่ีต่าง ๆ มีสุขภาพ ดจี ากส่ิงแวดลอ้ ม และอาหารทปี่ ลอดภยั มากยงิ่ ขึ้น 27 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 7 ขอนแกน่

โครงการพัฒนาเครอื ข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ปีงบประมาณ 2563 การพัฒนาเพ่ือยกระดับคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ ชมุ ชน (OTOP) ด้านอาหาร สู่ Smart Product กมลทิพย์ จตุ าทศิ , เพยี งใจ วงศ์สวุ รรณ, ศุภลักษณ์ พรงิ้ เพราะ, พชรมน ทาขุลี และประภาพรรณ พิมพแ์ กว้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนย์วิทยาศาสตร์ จากกลุ่มแม่บ้านโคกสว่างต.คอนฉิมอ.แวงใหญ่ จ. การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่นดาเนินการร่วมกับภาคีเครือข่าย ขอนแก่นผลการทดสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานตาม ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น สานักงาน ประกาศกระทรวงสาธารณสุขได้รับการส่งเสริมและ ส า ธ า ร ณ สุ ข อ า เ ภ อ แ ว ง ใ ห ญ่ แ ล ะ อ า เ ภ อ บ้ า น แ ฮ ด พัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นโดยได้รับเลข โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลแวงใหญ่ โรงพยาบาล สารบบอาหาร (อย40-2-00647-2-0001) ส่งเสริมสุขภาพตาบลหนองแซง โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลบ้านโคกสว่าง พัฒนาชุมชนจังหวัด นอกจากนี้ยังได้ดาเนินการเฝ้าระวังคุณภาพ ขอนแกน่ และพัฒนาชุมชนอาเภอในการคัดเลือกเป้าหมาย ผลติ ภัณฑ์ของผปู้ ระกอบการต่อเนอ่ื ง จากปงี บประมาณ และร่วมกันพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารให้มีคุณภาพ พ.ศ. 2562 จานวน 2 ผลิตภัณฑ์ จาก 1 แหล่งผลิตได้แก่ และความปลอดภัยตามมาตรฐานท่ีเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ เครื่องด่ืมน้าข้าวฮางงอกตราสีทอง สูตรธรรมชาติ ยั ง ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร เ ฝ้ า ร ะ วั ง คุ ณ ภ า พ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อ ง และ สูตรงาดา ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวกล้อง ผู้ประกอบการท่ีได้รับการพัฒนา จากปีงบประมาณ พ.ศ. อินทรีย์บ้านหนองแซง ต.หนองแซง อ.บ้านแฮด จ. 2562 จานวน 2 ผลิตภัณฑ์ จาก 1 แหล่งผลิต เก็บตัวอย่าง ขอนแก่นผลการทดสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานตาม ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ เ พ่ื อ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขการทางานท่ีผ่านมาศูนย์ ผลิตภัณฑ์ วเิ คราะห์จดุ วกิ ฤติ/หาสาเหตุของปัญหา พร้อม วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่นสามารถพัฒนา เสนอแนวทางแก้ไข และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่จาเป็น ยกระดับผลิตภัณฑ์ (OTOP) จานวน 4 ผลิตภัณฑ์โดย ให้แก่ผู้ประกอบการเพื่อนาไปดาเนินการแก้ไขปรับปรุง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพด้านจุลินทรีย์และ กระบวนการผลิตจากน้นั เก็บตัวอยา่ งเพอื่ ตรวจวิเคราะห์ซ้า เคมี 3 ผลิตภณั ฑ์ และมีผลติ ภณั ฑ์ทพี่ ัฒนาและได้เลข ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) สารบบอาหาร 1 ผลิตภัณฑ์ทาให้ประชาชนท่ีซ้ือ ด้านอาหารได้รับการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ไปบริโภคมีความปลอดภัยและเช่ือมั่นใน จานวน 2 ผลิตภัณฑค์ ิดเป็นร้อยละ100 ของเป้าหมายส่วน คุณภาพผลิตภัณฑ์ และผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มข้ึน กิจกรรมพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารสู่ Smart ทาใหเ้ กดิ ความมั่นคง มั่งค่งั ยั่งยืน ปัญหาอุปสรรคใน Product ซึ่งสามารถสรุปผลการดาเนินการพัฒนาจาแนก การดาเนินงาน เน่ืองจากกลุ่มวิสาหกิจแต่ละแห่งมี ตามเป้าหมายการยกระดับได้แก่ น้าข้าวฮางงอก สูตร อาชีพหลักเป็นเกษตรกร ทาให้การผลิต ผลิตภัณฑ์ของ แคนตาลปู ของวิสาหกิจชุมชนกล่มุ ข้าวกล้องอินทรีย์บ้าน กลุ่มไม่ต่อเนื่อง ทาให้การนัดหมายการลงพ้ืนที่ มี หนองแซง ต.หนองแซง อ.บ้านแฮด จ.ขอนแก่น ผลการ กาหนดการไม่ชัดเจน และล่าช้า เพราะกลุ่มไม่พร้อม ทดสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศกระทรวง ข้อเสนอแนะ ปี 2564 โครงการพัฒนาเครือข่าย สาธารณสุขโดยผ่านเกณฑ์คุณภาพทางด้านเคมีและการ วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน การพัฒนาเพ่ือยกระดับ ปนเปื้อนจุลินทรีย์อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และข้าวแตนพัน คุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ด้านอาหาร สู่ Smart หนา้ สมนุ ไพรน้าแตงโมรสชอ็ คโกแลต Product ควรมีเกณฑ์ในการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ ท่ี ชดั เจน มีการอา้ งอิงมาตรฐานที่เป็นสากลเดียวกัน 28 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่

โครงการพฒั นาศักยภาพห้องปฏบิ ตั ิการเครือข่าย และเฝ้าระวังเช้ือดอ้ื ยาต้านจลุ ชพี ปีงบประมาณ 2563 การพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่าย และเฝ้าระวัง วจั นา ชา่ งทอง และทนงศกั ดิ์ เศษออ่ น เชื้อด้ือยาต้านจุลชีพ เพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างมี ประสิทธิภาพ ปลอดภัย ลดค่าใช้จ่ายด้านยา รวมทั้งลด โรงพยาบาลสิรินธร มีการดาเนินการขั้นปานกลาง ปัญหาการติดเช้ือดื้อยา ซึ่งเช้ือด้ือยาต้านจุลชีพเป็นปัญหา (intermediate : 313 คะแนน) โรงพยาบาลชุมแพมีการ สาคัญทางการแพทย์ และสาธารณสุขทั่วโลก การเกิด ดาเนนิ การขั้นปานกลาง (intermediate:328 คะแนน) และ ภาวะด้ือยามีสาเหตุจากพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง จังหวัดกาฬสินธ์ุ มีการดาเนินการขั้นปานกลาง ไม่เหมาะสม การดาเนินงานโดยจัดทาแผนปฏิบัติการ (intermediate : 347 คะแนน) กิจกรรมท่ีมีคะแนนมาก พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการเครือข่าย และเฝ้าระวังเชื้อ ที่สุดคือการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อใน ดื้อยาต้านจุลชีพ ประสานโรงพยาบาลเครือข่ายเขต โรงพยาบาล เฉลี่ย 85.3 คะแนน รองลงมาคือการเฝ้า สุขภาพท่ี 7 เพ่ือเข้าร่วมโครงการฯ จานวน 7 แห่ง ได้แก่ ระวังเชื้อดื้อยาทางห้องปฏิบัติการ เฉลี่ย 73.3 คะแนน โรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ สาหรับกิจกรรมที่ได้คะแนนน้อยที่สุดคือการวิเคราะห์ โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลชุมแพ โรงพยาบาล สถาน การ ณ์ปัญ หา และร ะบบ จัดก าร AMR ขอ ง ร้อยเอ็ด โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ และโรงพยาบาล โรงพยาบาล และนาไปสู่มาตรการแก้ปัญหา AMR อย่าง มหาสารคาม วิเคราะห์ผลการทดสอบความไวของเชื้อต่อ บรู ณาการ เฉลี่ย 48.3 คะแนน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สาคัญ ย า ต้ า น จุ ล ชี พ ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล เ ค รื อ ข่ า ย เ พ่ื อ จั ด ท า และเป็นโอกาสพัฒนางานเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ Antibiogram ระดับเขตสุขภาพท่ี 7 ประจาปี 2562 ต่อไป โดยสรุปโรงพยาบาลในเขตสุขภาพท่ี 7 มีระบบ ( มกราคม – ธันวาคม 2562 ) และ Antibiogram ระดับเขต จัดการการดื้อยาตา้ นจลุ ชีพอยา่ งบรู ณาการ (AMR) รอ้ ยละ สุขภาพท่ี 7 ประจาปี 2563 (มกราคม – มิถุนายน 2563 : 100 นอกจากนี้มีการเข้าร่วมดาเนินการระบบเฝ้าระวัง 6 เดือน) พร้อมท้ังจัดส่งข้อมูลให้สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ เชื้อดื้อยาระดับโลก (Global Antimicrobial Resistance สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวบรวมใน Surveillance System : GLASS) มีจานวน 1 แห่งคือ ภาพรวมระดับประเทศต่อไป และส่ง Antibiogram ระดับ โ ร ง พ ย า บ า ล ศ รี น ค ริ น ท ร์ ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ เขตสุขภาพท่ี 7 ประจาปี 2562 เสนอผู้บริหารสานักงาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น พร้อมท้ังสรุปรายงานผลการ เขตสุขภาพที่ 7 และประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของศูนย์ ตรวจประเมินห้องปฏิบัตกิ าร GLASS site ของเขตสุขภาพ วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น นิเทศติดตามการ ท่ี 7 ตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการด้าน จุลชีววิทยาทาง พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลในเครือข่าย ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ท า ง เพื่อการเฝ้าระวังเช้ือด้ือยาต้านจุลชีพ (AMR) ร่วมกับการ ห้องปฏิบัติการ โดยพบว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่ ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขกรณีปกติ พบว่า กาหนดทั้งการออกแบบเพ่ือความปลอดภัย บุคลากร ตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลท่ีมีระบบจัดการการด้ือยา อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และการเตรียมความพร้อม ตา้ นจุลชพี อยา่ งบรู ณาการ (AMR) ของจังหวัดมหาสารคาม ของห้องปฏิบัติการใน การรองรับพ้ืนท่ีการทดสอบงาน มีการดาเนินการปานกลาง (intermediate : 342 คะแนน) ประจากับตัวอย่างผู้ป่วยที่สงสัยเชื้ออุบัติใหม่ท่ีจัดอยู่ใน จั ง ห วั ด ร้ อ ย เ อ็ ด มี ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ข้ั น ป า น ก ล า ง กลุ่ม Risk group 3 ขึ้นไป โดยสรุปห้องปฏิบัติการนี้มี (intermediate: 331 คะแนน) จังหวัดขอนแก่น มีเป้าหมาย ความพร้อม และปฏิบัติตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการจุล 3 โรงพยาบาล ซ่ึงมีผลการดาเนินงานท่ีแตกต่างกัน คือ ชวี วิทยา และมาตรฐานความปลอดภยั โรงพยาบาลขอนแก่น มีการดาเนินการขั้นสูง (advance : 351 คะแนน) รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 29 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

โครงการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ เพื่อป้องกนั การเกิดอาการแพ้ยา นางสาวสุทธกิ านต์ สมบัตธิ ีระ นางอธชิ า มหาโยธา และ นางวัจนา ชา่ งทอง การตรวจหายีนแพ้ยา HLA-B allele ในผู้ป่วย การตรวจสามารถเบิกจ่ายได้ตามสิทธิของผู้ป่วย โดย ก่อนการรับยา เป็นการป้องกันการเกิดอาการไม่พึง ยีน HLA-B*1502 allele ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพ ประสงค์ทางระบบผิวหนังชนิดรุนแรง คือ Steven- แห่งชาติ และสวัสดิการข้าราชการเบิกได้ ยีน HLA- Johnson Syndrome (SJS) หรือ Toxic Epidermal B*5801 allele ใช้สิทธิสวัสดิการข้าราชการสามารถ Necrolysis (TEN) จากยา ซ่ึงผู้ป่วยที่ตรวจพบยีน เบิกได้ และในปี 2563 กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ เหลา่ น้ีจะมีความเส่ียงที่จะเกิดการแพ้ยาสูงข้ึนกว่าคน ของขวัญปีใหม่ โดยตรวจยีน HLA-B*5801 allele ฟรี ทีไ่ มพ่ บ ดงั นั้นกระทรวงสาธารณสุขจงึ มีนโยบายด้าน แก่ผู้ท่ีไม่มีสิทธิเบิกได้คือ สิทธิหลักประกันสุขภาพ การแพทย์แม่นยา (Precision Medicine) โดย แห่งชาติและสิทธิกองทุนประกันสังคม ผลการ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์มีบทบาทบริการตรวจทาง ดาเนินงานมีจานวนตัวอย่างท่ีส่งตรวจ HLA-B allele เภสัชพันธุศาสตร์ เพ่ือเป็นการป้องกันการเกิดอาการ ท้ังหมด 80 ตวั อย่าง ผลบวก 14 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อย แพ้ยาท่ีรุนแรง และเพ่ิมการเข้าถึงบริการ โดยศูนย์ ละ 17.5 โดยแยกเป็น HLA-B*15:02 allele 24 ตัวอย่าง วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น ได้รับการ ผลบวก 4 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 16.7, HLA-B*58:01 ถ่ายทอดความรู้ และเพ่ิมศักยภาพในการตรวจ 56 ตัวอย่าง ผลบวก 10 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 33.3 วิเคราะห์ยีนแพ้ยา เริ่มเปิดบริการตั้งแต่วันท่ี 1 และ HLA-B*57:01 ไม่มีตัวอย่าง การตรวจทางเภสัช มกราคม 2562 โดยเปิดให้บริการตรวจ 3 รายการ พันธุศาสตร์ เพ่ือป้องกันการเกิดอาการแพ้ยา ของ คอื HLA-B*15:02 allele เพื่อหลีกเล่ยี งอาการท่ีเกิดจาก ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น มีแนวโน้ม การได้รับยา Carbamazepine ท่ีใช้เพื่อรักษาโรค ท่ีส่งตรวจและพบผลบวกที่เพิ่มข้ึน ดังน้ันการเปิด ลมชัก โรคทางจิตเวช และอาการปวดปลายประสาท ให้บริการตรวจยีนแพ้ยา จึงทาให้เพิ่มทางเลือก และ เปน็ ตน้ HLA-B*58:01 allele เพือ่ หลกี เลยี่ งอาการท่ีเกิด โอกาสการเข้าถึงการตรวจวิเคราะห์ท่ีจะช่วยให้การ จากการได้รับยา Allopurinol ท่ีใช้รักษาโรคเก๊าท์ น่ิว รักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์ ในไต และลดการสร้างกรดยูริกในร่างกาย เป็นต้น สงู สุดแกผ่ ู้ปว่ ย HLA-B*57:01 allele เพื่อหลีกเลี่ยงอาการผ่ืนแพ้ยาที่ เกิดจากการได้รับยา Abacavir ที่ใช้รักษาการติดเชื้อ HIV 30 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

โครงการทดสอบความชานาญการตรวจภาวะการตัง้ ครรภ์ การตรวจหาโปรตนี และน้าตาลในปสั สาวะ ปงี บประมาณ 2563 นภัสวรรณ บญุ สาธร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น เปิด รายงานสรุปผลวันที่ 30 กันยายน 2563 พบว่ามีสมาชิกส่ง ให้บริการทดสอบความชานาญการตรวจหาภาวะการ รายงานผลจานวน 105 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 91 รายงานผล ตั้งครรภ์ การตรวจหาโปรตีนและน้าตาลในปัสสาวะ โดยมี ทันเวลา ร้อยละ 98 ผลการประเมินสมาชิกไดค้ ะแนนระดบั ดี วัตถุประสงค์เพ่ือเป็นหน่วยงานกลางในการประเมินความ มากจานวน 51 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 49 ได้คะแนนระดับดี สามารถหอ้ งปฏิบตั กิ ารทางการแพทยข์ องหน่วยบริการปฐม จานวน 39 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 37 ได้คะแนนระดับพอใช้ ภูมิ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) และ จานวน 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 11 และได้คะแนนระดับควร โรงพยาบาล (รพ.) ในเขตสุขภาพท่ี 7 อีกท้ังเพ่ือสนับสนุน ปรับปรงุ จานวน 3 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 3 ให้ห้องปฏิบัติการสมาชิกได้มีการพัฒนา ดาเนินการตาม ระบบคุณภาพให้เป็นมาตรฐาน และทิศทางเดียวกัน เพื่อ สรุปผลจากการดาเนินงานทดสอบความชานาญ จาก เป็นการเสริมสร้างความเช่ือมั่นในการรายงานผล ซึ่งใช้ใน การส่งวัตถุตัวอย่างให้สมาชิกในปี 2563 จานวน 2 คร้ัง การสนับสนุนการดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างมี พบว่าสมาชิกส่งรายงานผลการทดสอบคร้ังที่ 1 ร้อยละ 100 ประสิทธิภาพ โดยให้หน่วยงานท่ีสนใจสมัครสมาชิกทาง และคร้ังท่ี 2 ส่งรายงานผลลดลงเหลือร้อยละ 91 การ ออนไลน์ ตง้ั แตว่ นั ที่ 11 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 31 มกราคม รายงานผลการตรวจหาภาวะการตั้งครรภ์ พบว่าสมาชิก 2563 มีหน่วยงานในเขตสุขภาพท่ี 7 สมัครเข้ามาทั้งหมด สามารถรายงานผลได้ถูกต้องร้อยละ 100 ท้ัง 2 ครั้ง ส่วน 114 แหง่ เป็นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารใน รพ.สต. จานวน 98 แห่ง ใน การรายงานผลการตรวจหาโปรตีนและน้าตาลในปัสสาวะ รพ.จานวน 16 แห่ง และห้องปฏิบัติการนอกเขตสุขภาพที่ 7 พบวา่ มกี ารรายงานผลผิด จากสาเหตุ ดังนี้ 1.ลงผลสลับช่อง รวม 2 แห่ง (รพ.สต.บางสะแก จังหวัดสมุทรสงคราม และ กันระหว่างโปรตีน และน้าตาล 2.พบว่าสมาชิกอ่านผลการ รพ.วชิระภเู กต็ จังหวัดภเู กต็ ) รวมสมาชกิ ท้งั หมด 116 แห่ง ทดสอบไม่ตรงตามระยะเวลาท่ีคู่มือการใช้แถบทดสอบกา หนดไว้ ทาให้การเกรดระดับผลบวกไม่ตรงกับค่าเป้าหมาย จัดส่งตัวอย่างทดสอบความชานาญ 2 คร้ัง ๆ ละ 3 และ3.พบว่ามีการใช้แถบทดสอบที่หมดอายุ โดยได้ให้ ตวั อย่าง ครั้งที่ 1/2563 จดั สง่ วันท่ี 12 มนี าคม 2563 และปดิ คาแนะนากับสมาชิกท่ีตอบผลส่งทางไลน์ และให้ทาการ รับการรายงานผลวันที่ 30 เมษายน 2563 จัดทารายงาน ทดสอบซ้า ทาให้สมาชิกสามารถเข้าใจวิธีการตรวจ สรุปผลการประเมินวันท่ี 22 มถิ นุ ายน 2563 พบว่ามีสมาชิก วิเคราะห์และการแปลผลที่ถูกต้อง ทาให้จานวนสมาชิก ส่งรายงานผลครบ 116 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 รายงานผล สามารถรายงานผลไดถ้ กู ต้องในระดับดีมากเพ่ิมขึ้นจากร้อย ทนั เวลา รอ้ ยละ 94 ผลการประเมนิ มีสมาชกิ ได้คะแนนระดับ ละ 22 ในครั้งที่ 1 เป็นร้อยละ 49 ในครั้งที่ 2 ปัญหาอื่นๆ ดีมากจานวน 26 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22 ได้คะแนนระดับดี พบว่าสมาชิกทาการทดสอบแล้ว ไม่ส่งรายงานทันที ทาให้ จานวน 42 แห่งคิดเป็นร้อยละ 36 ได้คะแนนระดับพอใช้ ลมื ส่งผลทาใหส้ ่งรายงานผลไม่ทนั ตามเวลาท่ีกาหนด เม่ือมี จานวน 35 แห่งคิดเป็นร้อยละ 30 และได้คะแนนระดับควร การเปล่ียนตัวผู้ปฏิบัติงานแล้วไม่มีการส่งมอบงานให้ผู้มา ปรบั ปรุงจานวน 13 แห่งคิดเป็นร้อยละ 11 การทดสอบความ รับผิดชอบใหม่ ทาให้ไม่ทราบว่ามีตัวอย่างทดสอบความ ชานาญ คร้ังท่ี 2/2563 จัดส่งวัตถุทดสอบวันที่ 22 ชานาญ และพบว่ามีการรายงานผลโดยไม่ระบชุ อื่ หน่วยงาน กรกฎาคม 2563 ปิดรับการ รายงานผลวันท่ี15 กันยายน หรอื รหัสหน่วยงานในใบรายงานผล 2563 จดั ทา รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 31 ศนู ย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

โครงการพัฒนาระบบคณุ ภาพการทดสอบของห้องปฏิบัติการ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น ปีงบประมาณ 2563 โศรยา ตระหงา่ น, สุรจติ ร ยศแก้ว, ธารตะวัน ชมภผู วิ และดาราวรรณ เวียงยศ ในปี 2563 ได้จัดทาโครงการเพ่ือพัฒนาระบบ ต า ม ข้ อ ก า ห น ด ต า ม ม า ต ร ฐ า ISO9001:2015, คุณภาพของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น ให้ ISO/IEC17025:2017, ISO15189:2012 และ ISO15190:2003 ดังน้ี ผ่ า น ก า ร รั บ ร อ ง แ ล ะ รั ก ษ า ร ะ บ บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ท ด ส อ บ ISO9001:2015 ดาเนินการเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2563 ใน มาตรฐาน ISO15189:20, ISO/IEC17025:20, ISO15190:2003 รูปแบบ Remote audit พบข้อบกพร่อง 1 ข้อ ข้อสังเกต 1 ข้อ และระบบบริหารคุณภาพ ISO9001:2015 ได้ดาเนินการ มาตรฐาน ISO/IEC17025:2017 ดาเนินการเมื่อวันที่ 27 ทบทวนเอกสารคุณภาพศูนย์ฯ แล้วเสร็จภายในเดือน เมษายน - 22 มถิ นุ ายน 2563พบขอ้ บกพร่อง 20 ข้อ ข้อสังเกต พฤศจิกายน 2562 จานวน 344 ฉบับ ภายในเดือนธันวาคม 23 ข้อ มาตรฐาน ISO15189:2012 และ ISO15190:2003 2562 จานวน 12 ฉบับ จานวนท้ังหมด 356 ฉบับ (คิดเป็น ดาเนินการเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563 พบข้อบกพร่อง 9 ร้อยละ 100) การตรวจสอบความถูกต้องสาเนารายงาน ข้อ ข้อสังเกต 3 ข้อ ดาเนินการปิดการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว ผลทดสอบในช่วงเดือนตุลาคม 2562-มกราคม 2563 และได้ดาเนินการตรวจประเมนิ ระบบคุณภาพเพอื่ ตอ่ อายุและ จานวน 233 ฉบับ พบข้อบกพร่องของรายงานผลทดสอบ ข ย า ย ข อ บ ข่ า ย ต า ม ม า ต ร ฐ า น ISO/IEC17025:2017, จานวน 102 ฉบับ ขอ้ บกพร่องท่ีพบ ได้แก่ 1)ระบุรายงานการ ISO15189:2012 และ ISO15190:2003 เม่ือวันที่ 29-30 ทดสอบไม่ถูกต้อง จานวน 74 ฉบับ 2)บันทึกข้อมูลทาง กรกฎาคม 2563 พบข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต จานวนท้ังหมด วิชาการไม่ครบถ้วน จานวน 30 ฉบับ 3)ใช้เอกสารคุณภาพ 70 ข้อ ดังน้ี ข้อบกพร่อง จานวน 40 ข้อ และข้อสังเกต ไม่เป็นปัจจุบัน จานวน 5 ฉบับ 4)ใบปะหน้า/ใบแจ้งหนี้ระบุ จานวน 30 ข้อ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO15189:2012 หมายเลขทดสอบไม่ถูกต้อง จานวน 4 ฉบับ 5)รายงาน และ ISO15190:2003 เม่ือวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2563 และ ผลทดสอบไม่สอดคล้องกับแบบบันทึกในข้อมูลวิชาการ มาตรฐาน ISO/IEC17025:2017 เมอื่ วันที่ 8 ธันวาคม 2563 จานวน 2 ฉบับ ซึ่งข้อบกพร่องท้ังหมดจะนาเข้าประชุม ทบทวนระบบบริหารคุณภาพ ในปีงบประมาณ 2564 เพ่ือ พบปัญหาอุปสรรคจากการดาเนินงานเนื่องจาก หาแนวทางการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้า สาหรับประชุม สถานการณ์การระบาดเช้ือไวรัส COVID-19 ทาให้การรับการ ทบทวนระบบบริหารคณุ ภาพ (Management Review) คร้ังท่ี ตรวจประเมินระบบคุณภาพเพ่ือต่ออายุและขยายขอบข่าย 1/2563 เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2563 และได้ดาเนินงานการ ตามมาตรฐาน ISO15189:2012และISO15190:2003 และ พัฒนาระบบคุณภาพของศูนย์ฯ โดยจัดทา Line Official ISO/IEC17025:2017 มีความลา่ ช้าและเลอื่ นจากเดือนเมษายน Account ของศูนย์ฯ เพ่ือเป็นช่องทางการส่ือสารระหว่าง ไปเป็นเดือนกรกฎาคม 2563 สาหรับการติดตามระบบ ศนู ยฯ์ กบั ลูกค้า มีผรู้ ่วมเป็นเพ่ือน จานวน 328 ราย คาถาม คุณภาพภายใน พบว่ามีการแก้ไขข้อบกพร่องล่าช้ากว่า ที่พบบ่อย เช่น การรับ-ส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์, สถานะ กาหนดเนื่องจากการกาหนดระยะเวลาไม่ชัดเจนและการ หรือรายงานผลการทดสอบ, หลักฐานการชาระเงินค่าตรวจ ติดตามไม่ต่อเนื่อง จึงได้ดาเนินการทบทวนเอกสารคุณภาพ วิเคราะห์, การใช้โปรแกรม ILAB+ เป็นต้น นอกจากน้ียังมี SOP34 00 005 กระบวนการแก้ไขข้อบกพร่องให้ชัดเจน และ กิจกรรมตอบคาถามเก่ียวกับระบบคุณภาพผ่านกลุ่ม Line มีการติดตามอย่างตอ่ เน่อื ง ศูนย์ฯ และการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับระบบคุณภาพให้กับ บุคลากรใหม่ สาหรับการดาเนินการตรวจติดตามระบบ คณุ ภาพภายใน 32 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

การศกึ ษาการปนเปอื้ นของเชื้อจุลินทรีย์ในผลิตภณั ฑ์อาหาร ในเขตสขุ ภาพที่ 7 ระหว่างปงี บประมาณ 2559 ถึง 2563 กล่มุ คุ้มครองผู้บรโิ ภคด้านสาธารณสุข มีหน้าทรี่ บั ผิดชอบใน อมรรัตน์ แดนศริ ิ, กมลทิพย์ จุตาทิศ และ ภทั รภร ชยั ชนะ ก า ร ต ร ว จ วิ เ ค ร า ะ ห์ คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ ส่วนปลาส้มพบการปนเปื้อนจุลินทรีย์ Salmonella spp.มาก เป็นไปตามมาตรฐานท่ีกาหนดและใช้เป็นเอกสารหลักฐาน ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 26.7 รองลงมาได้แก่ E. coli ร้อยละ ประกอบการข้ึนทะเบียนผลิตภัณฑ์ การดาเนินคดีตาม 15.5 และพบว่าในตัวอย่างเดียวกันตรวจพบการปนเปื้อน กฎหมาย และสนับสนุนการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ จุลินทรีย์ท้ัง 2 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp./E.coli และ โดยห้องปฏิบัติการได้ดาเนินการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ E.coli/S.aureus ร้อยละ 11.3 และ 8.45 ตามลาดับ และ สุขภาพด้านอาหาร ภายใต้พระราชบัญญัติอาหาร ตัวอย่างแหนมพบการปนเป้ือนเช้ือ Salmonella spp.มาก พ.ศ.2522ซ่ึงแบ่งตามประเภทอาหาร ได้แก่อาหารควบคุม ท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 21.1 รองลงมาได้แก่ Salmonella เฉพาะ อาหารกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน อาหารที่ต้อง spp./E.coli ร้อยละ 21.1 และพบว่าในตัวอย่างเดียวกันตรวจ มีฉลาก และอาหารทวั่ ไป พ บ ก า ร ป น เ ป้ื อ น จุ ลิ น ท รี ย์ 3 ช นิ ด (E.coli/S.aureus/Salmonella spp.) ถึงร้อยละ 8.5 จากการรวบรวมข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์อาหารตั้งแต่ ปงี บประมาณ พ.ศ.2559- 2563 มีตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์ จากการตรวจพบเชื้อจุลินทรีย์ S.aureus, Salmonella spp. คุณภาพทางด้านจุลชีววิทยาทั้งหมด 353 ตัวอย่างเป็น และ E.coli ในผลิตภณั ฑอ์ าหาร บ่งบอกถึงสุขลกั ษณะในการ ตัวอย่างอาหารท่ัวไป 212 ตัวอย่าง (ร้อยละ 60.1) และ ผลิตทย่ี ังไม่ดพี อเชือ้ จลุ ินทรีย์เหล่าน้ีสามารถก่อโรคในคนได้ อาหารท่ีต้องมีฉลาก 141 ตัวอย่าง (ร้อยละ39.9) สาหรับ หากมีปริมาณเช้ือที่มากพอ การรับประทานอาหารที่มีการ ตัวอย่างอาหารท่ัวไปพบปลาส้มส่งตรวจมากท่ีสุด จานวน ปนเปอื้ นเชื้ออาจทาให้เกิดอาการ คล่ืนไส้ อาเจียน ท้องเสีย 71 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 33.5 รองลงมาได้แก่ อาหาร และปวดท้องได้โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์อาหารหมักพื้นเมืองมี พร้อมบริโภค 65 ตัวอย่าง น้าปลาร้า 39 ตัวอย่างและปลา ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอาหารเป็นพิษสูง หากรับประทาน ร้าบอง/น้าพริก 37 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 30.7, 18.4 และ ดิบ เช่น หม่า แหนม และปลาส้ม เป็นต้น เน่ืองจาก 17.5 ตามลาดับส่วนตัวอย่างอาหารท่ีต้องมีฉลากพบขนมส่ง ผลิตภัณฑ์เหล่าน้ีทาจากวัตถุดิบท่ีไม่ผ่านความร้อน ทาให้มี ตรวจมากท่ีสุดจานวน 68 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 48.2 อัตราการปนเป้อื นเชือ้ จุลินทรยี ์สงู ดงั นน้ั ผูบ้ รโิ ภคควรปรุงสกุ รองลงมาได้แก่ หม่า/ไส้กรอก/ไส้กรอกอีสาน 44 ตัวอย่าง ก่อนรับประทาน เลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้มาตรฐาน แหนม 19 ตัวอย่าง และกุนเชียง 10 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ และมีเลขสารบบอาหาร(อย.)รวมถึงหน่วยงานภาครัฐท่ี 31.2, 13.5 และ 7.1 ตามลาดับ เก่ียวข้องควรให้คาแนะและตรวจสอบการผลิตอาหารของ ผปู้ ระกอบการให้ถูกสุขลักษณะอย่างสม่าเสมอ เพ่ือลดความ จากผลการตรวจวิเคราะห์การปนเป้ือนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค เสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคอาหารเปน็ พิษดงั กล่าว ในผลิตภัณฑ์อาหารพบผลิตภัณฑ์หม่าผิดมาตรฐานมาก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 88.9 ของตัวอย่างที่ส่งตรวจ รองลงมา รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ได้แก่ปลาส้ม และแหนม ร้อยละ 76.1 และ 26.8 โดย ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ี่ 7 ขอนแกน่ ผลิตภัณฑ์หม่าพบการปนเปื้อนจุลินทรีย์ Salmonella spp. และ S. aureus ร้อยละ 66.7 และ 22.2 ตามลาดบั 33

ระบบการจัดเก็บเอกสารออนไลน์ของ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแก่น ปงี บประมาณ 2563 สรุ จติ ร ยศแกว้ , ธารตะวนั ชมพผู ิว, โศรยา ตระหง่าน และดาราวรรณ เวยี งยศ เดิมศูนย์ฯมีระบบจัดเก็บและเผยแพร่เอกสารผ่าน รับทราบ มีการเร่ิมใช้งานเม่ือวันท่ี 5 ตุลาคม 2563 เครือข่ายอินทราเน็ตภายในองค์กร ซึ่งมีข้อจากัดคือ เม่อื มบี ุคลากรเรมิ่ เข้าใช้งาน ผู้จัดทาระบบฯ ได้มีการ บุคลากรสามารถเข้าถึงได้เฉพาะเวลาท่ีอยู่ในองค์กร จัดทาแบบสารวจความพึงพอใจ โดยภาพรวมผู้ตอบ เท่านั้น ปัญหาท่ีพบคือไม่สามารถค้นหาและใช้ไฟล์ แบบสารวจความพึงพอใจอยู่ในระดับความพึงพอใจ เอกสารเมื่ออยู่ภายนอกองค์กร และบางครั้งบุคลากรมี มากทส่ี ุดรอ้ ยละ 14.28 และระดับความพึงพอใจมาก การร้องขอในช่วงเวลาท่ีผู้ดูแลระบบไม่สะดวก หรือไม่ ร้อยละ 85.71 ผลการสารวจความพึงพอใจหัวข้อท่ี อยู่ในองค์กร ทาให้เกิดความล่าช้า บางคร้ังไม่พบ ได้รับความพึงพอใจมากท่ีสุดคือ ความถูกต้อง เอกสาร เพราะมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ ทาให้ ครบถ้วนของข้อมูล ความเหมาะสมของข้อมูล ร้อย ต้องจัดทาเอกสารขึ้นมาใหม่ ซ่ึงนอกจากจะเป็นการ ละ 100, การนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 42.86, ทางานซ้าซ้อน เสียเวลา ก็อาจมีการผิดพลาดได้ ใน ความรวดเร็วในการเข้าถึงหน้าเว็บเพจ ร้อยละ ปัจจบุ นั เทคโนโลยีสาร สนเทศต่างๆ ก็เขามามีบทบาท 28.57, ใช้งานง่ายและสะดวกในการค้นหาข้อมูล สาคัญในการใช้ชีวิตประจาวัน และการทางานเป็น รอ้ ยละ 28.57 และภาพ สี และการออกแบบมีความ อย่างมาก ระบบการจัดเก็บเอกสารออนไลน์จึงเป็น เหมาะสม ร้อยละ 28.57 ตามลาดับ ทางเลือกที่ดี เพื่อท่ีจะอานวยความสะดวกในการ ค้นหา และใช้ไฟล์เอกสารได้รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ นอกจากนี้ยังใช้เป็นพื้นท่ีส่ือสารให้กับบุคลากรภายใน ศูนย์ฯให้รับทราบ ได้ตรวจสอบร่วมกัน สามารถเข้าถึง เอกสารได้ทุกทตี่ ลอดเวลา ในการจดั ทาระบบการจัดเก็บเอกสารออนไลน์ ของศูนย์ ได้มีการจัดสรรพื้นที่บนหน้าเว็บไซต์ศูนย์ฯท่ี ใช้เฉพาะบุคลากร โดยจัดทาระบบความปลอดภัย กาหนดสิทธ์ิการใช้งานโดยใช้การ Login โดยใน ปัจจุบันในระบบฯ ได้จัดหมวดหมู่เอกสารเพื่อจัดเก็บ เอกสาร 5 หมวดหมู่ ได้แก่ แผนงานประจาปี, เอกสาร คุณภาพ, เอกสารเก่ียวกับมาตรฐานคุณภาพ, เอกสาร คุณภาพท่ีใช้บ่อย และเอกสารเก่ียวกับฝ่ายบริหาร ทั่วไป ที่ให้ตรงกับความต้องการใช้งานกับบุคลากร และจัดทาคมู่ ือการใช้งานส่ือสารให้กับบุคลากรภายใน ศนู ยฯ์ ให้ 34 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

งานบริการ งานบริการตรวจวิเคราะหผ์ ลิตภัณฑส์ ุขภาพดา้ นอาหาร ดาเนนิ การทดสอบผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพด้านอาหาร จานวน 1,369 ตวั อยา่ ง พบคณุ ภาพผ่านมาตรฐาน 1,044 ตัวอยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ 76.26 คณุ ภาพผิดมาตรฐาน 325 ตวั อย่าง คิดเปน็ รอ้ ยละ 23.74 รายละเอยี ดดงั แสดงในตาราง ประเภทผลติ ภณั ฑ์ (ภาพรวม) ตรวจ จานวนตัวอยา่ ง สาเหตุไมผ่ า่ น ท้งั หมด ไม่ผา่ นมาตรฐาน/เกณฑ์ มาตรฐาน/เกณฑ์ 1. อาหารควบคมุ เฉพาะ ตวั อยา่ ง รอ้ ยละ -วัตถเุ จือปนอาหาร 1 2.อาหารทก่ี าหนดคณุ ภาพหรอื มาตรฐาน 00 - นมโค 75 3 4.00 - Escherichia coli 0.1 มิลลิลิตร (1) (<1) - Bacillus cereus CFU / มลิ ลิลิตร (1) (114) - จานวนแบคทเี รีย (Aerobic plate count) CFU/ มลิ ลิลิตร (1) (92,000) - ไอศกรมี 22 100 - Benzoic acid (2) - อาหารในภาชนะบรรจุท่ปี ดิ สนิท 10 0 - เครอ่ื งดม่ื ในภาชนะบรรจุทีป่ ดิ สนิท 44 15 34.09 - MPN Coliforms (3) - ยสี ต์และรา (2) - MPN Coliforms + ยีสตแ์ ละรา (1) - MPN Coliforms +Escherichia coli (1) - Benzoic acid (5) - MPN Coliforms + Escherichia coli + ยสี ต์และรา+ Bacillus cereus (2) - Benzoic acid + saccharin (1) - ข้าว 30 0 - น้าตาลทรายแดง 10 0 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 35 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

ตรวจวิเคราะห์ผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพดา้ นอาหาร (ต่อ) ประเภทผลิตภณั ฑ์ (ภาพรวม) ตรวจ จานวนตัวอยา่ ง สาเหตุไมผ่ า่ น - เกลอื บริโภค ท้ังหมด ไม่ผ่านมาตรฐาน/เกณฑ์ มาตรฐาน/เกณฑ์ ตัวอย่าง ร้อยละ ปริมาณไอโอดีน ปลารา้ ผง 49 -ต่ากวา่ มาตรฐาน (4) 5 10.20 -สูงกว่ามาตรฐาน (1) 1 00 - นา้ จิม้ แจว่ ฮ้อน 20 0 - นา้ ปลา 10 0 -น้าบรโิ ภคในภาชนะบรรจทุ ีป่ ดิ สนิท 742 178 23.99 - MPN Coliform + Escherichia coli + Total Solid+ Total Harness (1) - MPN Coliform (53) - pH (100) - Salmonella spp. (1) - Nitrate (6) - pH+ MPN Coliform (2) - Escherichia coli (1) - Total Solid (2) - Total Harness (2) - MPN Coliform + Escherichia coli (4) - pH + Total Harness (1) - pH + Nitrate (1) - pH +Total solid (2) -Total solid + Total Harness (1) - Total solid + Total Harness + Chloride (1) 36 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

ตรวจวิเคราะหผ์ ลิตภณั ฑ์สขุ ภาพดา้ นอาหาร (ต่อ) ประเภทผลติ ภณั ฑ์ (ภาพรวม) ตรวจ จานวนตวั อย่าง สาเหตุไม่ผา่ น -นา้ แขง็ ทัง้ หมด ไมผ่ ่านมาตรฐาน/เกณฑ์ มาตรฐาน/เกณฑ์ ตวั อย่าง รอ้ ยละ -ผลติ ภณั ฑ์เสรมิ อาหาร 143 - pH (9) 3. อาหารทตี่ อ้ งมีฉลาก 22 15.38 - MPN Coliforms (5) -ซอสในภาชนะบรรจุที่ปดิ สนทิ 1 - pH+ MPN Coliforms (2) -ขนมปงั 00 - Total Harness (1) -ขนม - MPN Coliforms+ Escherichia -เนื้อสัตวแ์ ละผลิตภณั ฑจ์ ากเนอ้ื สัตว์ coli+Salmonella (1) - Escherichia coli (1) - MPN Coliforms+Escherichia coli (1) - Escherichia coli (1) - pH+ MPN Coliforms+ Escherichia coli (1) 18 3 16.67 - nitrate (1) - Benzoic acid (1) - Salmonella spp.(1) 20 0 7 1 14.29 - Sorbic acid 59 35 59.32 - MPN Escherichia coli + Salmonella spp (4) - Escherichia coli + Salmonella spp+S.aureus (1) -Salmonella spp.(5) - Staphylococcus aureus (1) - Eschericia Coli (6) - Salmonella spp. + Staphylococcus aureus (4) - Staphylococcus aureus + MPN Eschericia Coli (1) - Benzoic acid (3) - nitrite + nitrate (2) - nitrate (8) รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 37 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

ตรวจวเิ คราะห์ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพดา้ นอาหาร (ต่อ) ประเภทผลติ ภณั ฑ์ (ภาพรวม) ตรวจ จานวนตวั อย่าง สาเหตุไม่ผา่ น 4. อาหารอนื่ ๆ ทั้งหมด ไม่ผา่ นมาตรฐาน/เกณฑ์ มาตรฐาน/เกณฑ์ -อาหารพรอ้ มบรโิ ภค/ปรงุ สาเร็จ/พรอ้ ม ตัวอย่าง ร้อยละ ปรงุ 47 9 19.15 - จานวนจุลินทรยี ท์ ้งั หมด+ MPN -อาหารทะเลและผลติ ภณั ฑ์ -ก้งุ สด E.coli (3) -อาหารประเภทเสน้ เชน่ เส้นก๋วยเตี๋ยว ขนมจนี หมซี่ ่วั - จานวนจุลนิ ทรยี ์ทั้งหมด+ MPN แป้ง ผลิตภณั ฑจ์ ากแปง้ แปง้ ตา่ ง ๆ '-อาหารทางสายยาง E.coli + S.aureus (1) -อาหารเปน็ พษิ - จานวนจุลินทรีย์ทัง้ หมด+ MPN - น้าอุปโภค บรโิ ภค E.coli + B.cereus (1) - ยีสต์และรา + MPN E.coli (1) - B.cereus (1) - MPN E.coli (1) - จานวนจุลนิ ทรีย์ทั้งหมด (1) 30 2 6.67 ฟอรม์ ัลดีไฮด์ (2) 10 0 3 2 66.67 - Sorbic acid (1) - Sorbic acid + ซัลเฟอร์ได ออกไซด์ (1) 50 0 16 9 56.25 - S.aureus (4) - S.aureus + B.cereus (4) - S.aureus+C.perfringens (1) 90 32 35.56 - pH (8) - MPN Coliforms (8) - Total Harness + MPN Coliforms (2) - Total Harness (4) - Total solid + Chloride (1) - Total solid+Total Harness (3) - Total solid + Total Harness + Chloride (1) - MPN Coliforms + MPN Fecal coliforms (2) - pH+ Total solid + Chloride (1) - Iron (1) - Total solid (1) 38 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

ตรวจวิเคราะหผ์ ลติ ภัณฑส์ ุขภาพดา้ นอาหาร (ต่อ) ประเภทผลติ ภัณฑ์ (ภาพรวม) ตรวจ จานวนตวั อยา่ ง สาเหตุไมผ่ า่ น 5. Swab มอื และภาชนะบรรจอุ าหาร ท้งั หมด ไม่ผ่านมาตรฐาน/เกณฑ์ มาตรฐาน/เกณฑ์ ตวั อย่าง รอ้ ยละ รวม 25 - จานวนจลุ นิ ทรยี ์ทง้ั หมด (6) 7 28.00 - จานวนจลุ ินทรียท์ ้ังหมด + 1,369 Salmonella spp. (๑) 325 23.74 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 39 ศูนยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 7 ขอนแก่น

งานบรกิ ารตรวจวิเคราะห์ดา้ นยาและสมุนไพร ดาเนินการทดสอบผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพด้านยาและสมุนไพร จานวน 81 ตวั อย่าง พบคณุ ภาพผา่ น มาตรฐาน 53 ตัวอยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ 65.43 คุณภาพผิดมาตรฐาน 28 ตัวอยา่ ง คดิ เป็นร้อยละ 34.57 รายละเอียดดงั แสดงในตาราง ผลการดาเนนิ งาน ประเภทผลติ ภณั ฑ์ (ภาพรวม) ตรวจ ไม่ผา่ นมาตรฐาน/เกณฑ์ สาเหตไุ ม่ผา่ น ทัง้ หมด มาตรฐาน/เกณฑ์ 1. การตรวจวเิ คราะหค์ ณุ ภาพ ตวั อยา่ ง รอ้ ยละ มาตรฐาน 3 โครงการประกันคณุ ภาพยา 41 00 ** ตรวจเฉพาะการปนเปื้อน 1.1 ยาแผนปัจจบุ นั 10 24.4 เชอ้ื โครงการประกันคณุ ภาพ 1.2 ยาแผนโบราณ (การ ยา 16 ตัวอยา่ ง (Microbial ปนเป้อื นของเชื้อและโลหะหนกั ) limits เกินกาหนด, พบ Clostridium spp.) 2. การตรวจพสิ ูจนเ์ อกลักษณ์ 18 14 77.8 2.1 ยาคดี พบ Vitamin C, CPM, Dimenhydrinate, Melatonin, 2.2 ยาแผนโบราณ (การปน 15 2 13.3 Hydroxyzine, Alprazolam, ปลอมยาแผนปจั จบุ ัน) 42 50 Sildenafil, Dexamethasone, 3.ยาสมนุ ไพร 81 28 34.76 Diclofenac, Ibuprofen พบ Dexamethasone, -ขมิน้ ชัน Paracetamol, CPM รวม -เคอร์คมู ินอยด์ปรมิ าณ Curcuminoid < 5% w/w 40 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่

งานบรกิ ารตรวจวเิ คราะห์ด้านยาเสพติดและวตั ถุออกฤทธิ์ต่อจติ และประสาท ดาเนนิ การทดสอบด้านยาเสพติดและวัตถอุ อกฤทธติ์ ่อจติ และประสาท จานวน 10,997 ตวั อยา่ ง พบผา่ น มาตรฐาน 1,310 ตัวอย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ 11.91 พบไม่ผา่ นมาตรฐาน 9,687 ตัวอย่าง คิดเปน็ ร้อยละ 88.09 รายละเอียดดงั แสดงในตาราง ประเภทตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์ (ภาพรวม) ผลการดาเนนิ งาน สาเหตุไมผ่ า่ น มาตรฐาน/เกณฑ์ 1. การตรวจพสิ จู นเ์ อกลกั ษณ์ ตรวจ ท่ไี มผ่ ่านมาตรฐาน 1.1 ยาเสพตดิ และวตั ถอุ อกฤทธ์ิ ทง้ั หมด ตวั อย่าง ร้อยละ ฯ ในปสั สาวะ 10,976 9,671 88.1 พบ Methamphetamine 1.2 ยาเสพตดิ และวตั ถุออกฤทธิ์ 9,671 ตัวอยา่ ง ในวัตถตุ ัวอยา่ ง 0 00 1.3 สารระเหยในวัตถุตัวอย่าง 13 13 100.0 พบ Toluene Acetone และ 1.4 ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหาร Ethyl acetate 2 ตวั อยา่ ง พบ Toluene 11 ตวั อย่าง รวม 8 3 37.5 พบ Sildenafil 2 ตวั อย่าง Sibutramine 1 ตวั อย่าง 10,997 9,687 88 งานบรกิ ารตรวจวิเคราะหด์ า้ นพษิ วทิ ยาและนิติเวช ดาเนนิ การทดสอบวเิ คราะห์ด้านพิษวทิ ยาและนติ ิเวช จานวน 996 ตวั อย่าง ตรวจพบ 497 ตัวอยา่ ง คิด เป็นร้อยละ 49.90 ตรวจไม่พบ 499 ตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.10 รายละเอียดดังแสดงในตาราง ตวั อย่าง (ภาพรวม) ตรวจ ผลการดาเนินงาน ตรวจไมพ่ บ หมายเหตุ ตรวจพบ ตัวอยา่ ง ร้อยละ ทัง้ หมด ตัวอย่าง รอ้ ยละ 494 50.51 -แอลกอฮอลใ์ นเลอื ด 978 484 49.49 00 00 -อะซีติลโคลนี เอสเตอเรสแอคติ 0 วติ ใี้ นเลือด -โคลีนเอสเตอเรสแอคติวติ ้ีในซรี ่มั 9 9 100 0 0 4 44.44 5 55.56 -สารพิษ 9 497 49.90 499 50.10 รวม 996 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 41 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 7 ขอนแก่น

งานบริการตรวจวเิ คราะหด์ ้านเคร่อื งสาอาง ดาเนินการทดสอบผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพด้านเคร่อื งสาอาง จานวน 32 ตวั อยา่ ง พบผา่ นมาตรฐาน 31 ตวั อยา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ 96.87 พบไม่ผา่ นมาตรฐาน 1 ตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ 3.13 รายละเอียดดงั แสดงใน ตาราง ผลการตรวจวเิ คราะห์ สาเหตุที่ ไมไ่ ด้ ผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองสาอาง (จานวนตวั อย่าง, รอ้ ยละ) มาตรฐาน รวม ได้ *ไม่สรุป ไมไ่ ด้มาตรฐาน มาตรฐาน ตวั อยา่ ง รอ้ ยละ การเฝา้ ระวงั ประเมนิ สถานการณ์คณุ ภาพ มาตรฐานและความปลอดภยั กลุม่ ควบคมุ เครือ่ งสาอาง 1 เคร่ืองสาอางผสมไวเทนน่งิ /ทาใหผ้ ิว ขาว / ใส (เคร่อื งสาอางทุกชนดิ ท่ที าให้ ผิวขาว/ใส) (เคม)ี - สารห้ามใช้ ได้แก่ สารประกอบของ 24 24 00 ปรอท, ไฮโดรควโิ นน, กรดวิตามนิ เอ - Steroids (หาไมเ่ กิน 4 สาร) 22 00 - Steroids และสารห้ามใช้ 2 เครื่องสาอางทุกชนิด ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑ์ 6 5 3.13 ประเภท เครื่องสาอางผสมสมุนไพร (ยา 31 1 สฟี ันผสมสมนุ ไพร) - เชอื้ จุลินทรยี ์ 1 3.13 รวม 32 42 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

งานบรกิ ารตรวจวเิ คราะห์ดา้ นพยาธวิ ทิ ยาคลินกิ การตรวจวิเคราะหด์ า้ นพนั ธุกรรม ดาเนนิ การทดสอบวเิ คราะห์ด้านพนั ธุกรรม จานวน 5,087 ตัวอยา่ ง ตรวจพบผลผดิ ปกติ 3,982 ตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.28 รายละเอียดดงั แสดงในตาราง รายการ จานวน (ตวั อย่าง) จานวนทพ่ี บผลผิดปกติ หมายเหตุ (ตัวอยา่ ง) 1. เภสชั พันธศุ าสตร์ - HLA-B*15:02 allele 24 4 - HLA-B*58:01 allele 56 10 - HLA-B*57:01 allele 00 2. ธาลัสซเี มีย - Hb typing 4,204 3,730 - Alpha-thalassemia 1 803 238 5,087 3,982 รวม การตรวจวเิ คราะห์ด้านโรคตดิ เชอ้ื ดาเนินการทดสอบวิเคราะห์ด้านโรคติดเชอื้ จานวน 9,600 ตวั อย่าง จานวนทใ่ี หผ้ ลบวก/จานวนที่พบเชอื้ 100 ตัวอยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.05 รายละเอียดดังแสดงในตาราง รายการทดสอบ /รายการ จานวนสง่ ตรวจ จานวนทใี่ หผ้ ลบวก / หมายเหตุ ใหบ้ ริการ (ตัวอยา่ ง) จานวนทีพ่ บเช้ือ (ตัวอย่าง) ดา้ นแบคทีเรยี รกิ เกตเชีย เชือ้ รา 8 และพาราสิต ทางการแพทย์ 4 2 1. เชอ้ื กอ่ โรคอุจจาระรว่ ง 12 0 2. เชือ้ ก่อโรคคอตีบ 48 2 3. Leptospirosis (IFA) 26 9 4. Scrub typhus (IFA) 1 3 5. Murine typhus (IFA) 0 6. Melioidosis (IFA) รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น 43

งานบรกิ ารตรวจวิเคราะห์ด้านพยาธิวทิ ยาคลินิก (ต่อ) การตรวจวิเคราะหด์ า้ นโรคตดิ เชอ้ื ดาเนินการทดสอบวเิ คราะห์ด้านโรคติดเช้ือ จานวน 9,600 ตัวอย่าง จานวนทใี่ ห้ผลบวก/จานวนทพ่ี บเชอ้ื 100 ตวั อยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 1.05 รายละเอยี ดดงั แสดงในตาราง รายการทดสอบ /รายการใหบ้ ริการ จานวนสง่ ตรวจ จานวนทใี่ ห้ผลบวก/ หมายเหตุ (ตัวอยา่ ง) จานวนทพ่ี บเชอื้ ดา้ นไวรสั วทิ ยาทางการแพทย์ (ตวั อยา่ ง) 1. หดั (Measles) - ELISA 110 4 - PCR 21 9 2. หดั เยอรมนั (Rubella) - ELISA 110 0 - PCR 11 0 3. ไขห้ วัดใหญ่ (Influenza) 339 46 4. ไขห้ วัดนก (Avian influenza) 10 5. ไวรัสเอดส์ (HIV-1) 300* 8 *inconclusive 5 6. ไวรสั ซกิ า (Zika virus) ตัวอยา่ ง 7. ไวรัสโคโรนา 2019 (SAR-CoV-2) 30 4 8,855 27** **ผลบวกจานวน 8. ไวรัสโรคทางเดนิ หายใจตะวันออก กลาง (MERS-CoV) 27 ตัวอยา่ ง 14 9. ไขป้ วดข้อยุงลาย (Chikungunya) ราย 10. ไข้เลอื ดออก (dengue virus) -- รวม 22 13 20 9,600 100 44 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนย์วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 7 ขอนแกน่

งานบริการตรวจวิเคราะห์ด้านรังสีวนิ จิ ฉัย ดาเนนิ การทดสอบวเิ คราะหด์ ้านรังสวี ินจิ ฉยั จานวน 680 ตวั อยา่ ง ตรวจพบไมไ่ ด้มาตรฐาน 15 ตวั อยา่ ง รายละเอียดดงั แสดงในตาราง ผลการดาเนนิ งาน แผน/ จานวน ไมเ่ ขา้ มาตรฐาน สาเหตุ หมาย เปา้ หมาย ตัวอยา่ ง เหตุ ประเภทตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑ์ (ตวั อยา่ ง) จานวน ร้อยละ จานวนตวั อย่างทพี่ บ 10 ตวั อยา่ ง สาเหตุ - เครื่องเอกซเรย์วนิ จิ ฉยั ทว่ั ไป 10 และถ่ายภาพบนแผน่ เรอื งแสง -- - เครือ่ งเอกซเรยว์ ินจิ ฉยั ทว่ั ไป 165 165 3 1.82 ความแม่นยาของค่ากิโล - เครอ่ื งเอกซเรย์คอมพวิ เตอร์ โวลต์ 3 , ความเปน็ เชิง - เครื่องเอกซเรยเ์ ตา้ นม เสน้ 1 -เคร่ืองเอกซเรยฟ์ นั และอน่ื ๆ 23 23 - - - เคร่อื งเอกซเรย์ Bone 14 14 - - Densitometry - เครอ่ื งเอกซเรย์ C-ARM 122 122 3 2.46 ความแมน่ ยาของคา่ กิโล - เครื่องสวนหวั ใจหนึ่งระนาบ โวลต์ 2 ,ความเทย่ี งตรง - เคร่อื งสวนหวั ใจสองระนาบ ของค่าเวลา 1 - เครอ่ื งเอกซเรยจ์ าลองการฉาย รงั สี (X-Ray Simulator) 8 8 -- - รถเอกซเรย์ - เครอ่ื งเอกซเรย์อตุ สาหกรรม 29 29 - - 12 12 - - - ตรวจสอบความปลอดภัยหอ้ ง 1 1 -- เอกซเรยว์ นิ ิจฉัย 3 3 -- - ตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งเอม็ 5 5 -- อาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging : MRI) 25 25 2 8.00 ชารุด ไมส่ ามารถใชง้ าน - ตรวจสอบหอ้ งเอม็ อารไ์ อ ได้ - สอบเทียบอปุ กรณว์ ัดอณุ หภมู ิ 198 198 1 0.51 ประตหู อ้ งและผนังหอ้ ง ไมส่ ามารถป้องกันรังสี ได้ตามมาตรฐานที่ กาหนด 1 7 7 -- 7 7 -- 51 51 6 11.76 เครอ่ื งชารุด รวม 680 680 15 2.21 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 45 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทยท์ ่ี 7 ขอนแกน่

งานบรกิ ารตรวจวเิ คราะหด์ า้ นเครื่องมือแพทย์ ดาเนินการทดสอบวิเคราะหด์ ้านเคร่ืองมือแพทย์ จานวน 784 ตวั อย่าง ตรวจพบไมไ่ ด้มาตรฐาน 38 ตวั อย่าง คดิ เป็นร้อยละ 4.85 รายละเอียดดงั แสดงในตาราง ผลการดาเนนิ งาน ประเภทตวั อย่างผลิตภณั ฑ์ จานวน ไมเ่ ข้ามาตรฐาน สาเหตุ หมายเหตุ ตวั อย่าง จานวน ร้อยละ ตัวอยา่ ง Detector ของ - สอบเทียบเครอื่ งวัดแอลกอฮอล์ใน 784 เครอ่ื งชารุด เลือดโดยวธิ ีเป่าลมหายใจ 38 4.85 ระบบภายใน การเก็บตวั อยา่ ง อากาศบกพร่อง 46 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

ดา้ นระบบคุณภาพ ตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal audit) การตรวจตดิ ตามคณุ ภาพภายใน ประจาปีงบประมาณ 2563 วันท่ี 2 มิถุนายน 2563 ตรวจติดตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2015 ผ่านโปรแกรม ZOOM โดยผู้ตรวจติดตาม นางสาวเอมอร อุยยาหาญ นักจัดการงานท่ัวไปชานาญการ จากศูนย์ วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ท่ี 5 สมุทรสงคราม วันที่ 7, 28 เมษายน และ 15, 21, 22 พฤษภาคม และ 22 มิถุนายน 2563 ตรวจติดตาม มาตรฐาน ISO 17025:2017 วันท่ี 19 พฤษภาคม 2563 ตรวจตดิ ตามมาตรฐาน ISO 15189:2012 และ ISO 15190:2003 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 47 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแกน่

ตรวจประเมนิ เพื่อตอ่ อายุ (Reassment) และขยายขอบข่าย (Extended Scope) ตาม มาตรฐาน ISO/IEC 17025 : 2017 , ISO 15189 : 2012 และ ISO 15190 : 2003 ระหว่างวนั ที่ 29-30 กรกฏาคม 2563 48 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ท่ี 7 ขอนแก่น

การเผยแพรผ่ ลงาน หนงั สือ ตารา คมู่ อื แผน่ พับทเ่ี ผยแพร่ หนังสือเครอ่ื งสาอางสมนุ ไพรความภมู ใิ จของคนไทย พฒั นาโดยกรมวทิ ยฯ์ การนาเสนอผลงานวชิ าการ ชอ่ื บทความ แหล่งเผยแพร่ ผวู้ จิ ัยและคณะ นางศภุ ลักษณ์ พริง้ เพราะ 1. การปนปลอมยาแผนปจั จุบันใน ประชมุ วิชาการวิทยาศาสตร์ นางสาวภิทรากรณ์ ศรมี งคล ผลติ ภณั ฑ์เสริมอาหาร การแพทย์ ครง้ั ท่ี 28 2. การศึกษาคณุ ภาพยาเมด็ อะมิทรปิ ประชมุ วิชาการวทิ ยาศาสตร์ ไทลีนในประเทศไทย ปงี บประมาณ การแพทย์ ครั้งท่ี 28 2561 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 49 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น

รางวัลแห่งความสาเร็จ รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั สอง จากการประกวดเร่ืองเล่าเร้าพลงั (ภารกจิ สนับสนนุ ) ชอื่ เรือ่ ง “พลิกมุมคิด สู้ COVID ด้วยจติ สาธารณะ” นาเสนอโดยนางสาวโศรยา ตระหง่าน นางสาวสุทธิกานต์ สมบัตธิ รี ะ และนางจุฑาภรณ์ หมอนสหี า 50 รายงานประจาปี 2563 ANNUAL REPORT 2020 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 7 ขอนแก่น