Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สูจิบัตร กฐินพระราชทานวัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร

สูจิบัตร กฐินพระราชทานวัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร

Published by Guset User, 2021-10-01 06:47:47

Description: ประจำปี พุทธศกราช ๒๕๖๔
วันอาทิตย์ที่ ๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๖๔

Search

Read the Text Version

เจ้้าภาพกฐิินพระราชทาน ปีี ๒๕๖๔ บริษิ ััท เอส. พี.ี เพ็ท็ แพค จำำ�กััด คุุณวิวิ รรธน์์ - คุณุ สุุพร ปณิิธานศิริ ิกิ ุลุ พร้้อมคณะศิษิ ย์์หลวงปู่ท่� อง

พิิธีีขึ้�น้ กรรมฐาน พานที่�่ ๑ ขมาแก้้วห้้าโกฐาก (นะโม ๓ จบ) นะมามิิ พุทุ ธังั คุณุ ะสาคะรัันตััง, นะมามิิ ธัมั มังั มุนุ ิิราชะเทสิิตังั , นะมามิิ สัังฆังั มุุนิิราชะสาวะกังั , นะมามิิ กััมมััฎฐานังั นิพิ พานาธิคิ ะมุปุ ายััง, นะมามิิ กััมมัฎั ฐานะทายะกาจะริิยังั นิพิ พานะมะคุทุ เทสะกััง, สััพพััง โทสังั ขะมัันตุุ โนฯ (เสร็จ็ แล้ว้ ไหว้้พระ) อะระหังั สัมั มาสััมพุุทโธ ภะคะวา, พุทุ ธััง ภะคะวัันตััง อะภิวิ าเทมิิ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธััมโม, ธััมมััง นะมััสสามิิ (กราบ) สุุปะฏิปิ ัันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังั โฆ, สังั ฆังั นะมามิิ (กราบ) พานที่่� ๒ ขอศีีลแปด อะหััง ภัันเต ติิสะระเณนะ สะหะ อัฏั ฐะ สีีลานิิ ยาจามิิ ทุตุ ิยิ ััมปิิ อะหังั ภัันเต ติสิ ะระเณนะ สะหะ อัฏั ฐะ สีลี านิิ ยาจามิิ ตะติยิ ััมปิิ อะหััง ภัันเต ติสิ ะระเณนะ สะหะ อััฏฐะ สีีลานิิ ยาจามิิ (ถ้า้ สองคนขึ้�้นไปเปลี่ย� น อะหังั เป็็น มะยััง และ ยาจามิิ เป็น็ ยาจามะ นอกนั้้�นเหมือื นกัันหมด) เมื่อ� อาราธนาเสร็็จแล้ว้ พระสงฆ์ก์ ล่่าวนำ�ำ คฤหััสถ์ว์ ่า่ ตาม ดัังนี้้� 4

พุุทธังั สะระณังั คััจฉามิิ ธัมั มังั สะระณััง คััจฉามิิ สัังฆังั สะระณังั คัจั ฉามิิ ทุตุ ิยิ ััมปิิ พุทุ ธััง สะระณังั คัจั ฉามิิ ทุุติิยัมั ปิิ ธััมมััง สะระณังั คัจั ฉามิิ ทุตุ ิิยัมั ปิิ สังั ฆังั สะระณังั คัจั ฉามิิ ตะติิยััมปิิ พุทุ ธังั สะระณััง คััจฉามิิ ตะติยิ ััมปิิ ธััมมังั สะระณังั คัจั ฉามิิ ตะติิยััมปิิ สัังฆังั สะระณััง คัจั ฉามิิ พระสงฆ์์กล่่าวว่่า “ติิสะระณะคะมะนััง นิฏิ ฐิติ ังั ” พึงึ รัับว่่า “อามะ ภัันเต” ๑. ปาณาติิปาตา, เวระมะณีี สิกิ ขาปะทััง สะมาทิยิ ามิิ. ๒. อะทิินนาทานา, เวระมะณีี สิกิ ขาปะทััง สะมาทิยิ ามิ.ิ ๓. กาเมสุุมิจิ ฉาจารา, เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิยิ ามิ.ิ ๔. มุุสาวาทา, เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิยิ ามิิ. ๕. สุุราเมระยะมััชชะปะมาทััฏฐานา, เวระมะณีี สิกิ ขาปะทััง สะมาทิยิ ามิิ. ๖. วิิกาละโภชะนา เวระมะณีี สิิกขาปะทััง สะมาทิยิ ามิิ. ๗. นัจั จะคีีตะวาทิิตะวิิสูกู ะทััสสะนา มาลาคันั ธะวิิเลปะนะธาระณะ มััณทะนะวิิภููสะนััฏฐานา เวระมะณีี สิกิ ขาปะทััง สะมาทิยิ ามิิ. ๘. อุุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณีี สิกิ ขาปะทััง สะมาทิยิ ามิิ. อิิมานิิ อััฏฐะ สิกิ ขาปะทานิิ สะมาทิิยามิิ (กล่า่ วสามครั้ง� ) 5

พานที่่� ๓ ขอกรรมฐาน อิมิ าหังั ภะคะวา อัตั ตะภาวังั ตุมุ หากังั ปะริจิ จะชามิิ ข้า้ แต่่ สมเด็จ็ พระผู้้�มีี พระภาคเจ้้า ข้้าพระองค์์ ขอมอบกายถวายชีีวิิตต่่อพระรััตนตรััย คืือ พระพุุทธ พระธรรม พระสงฆ์์ เพื่่อ� จะเจริิญวิิปััสสนากรรมฐาน อิมิ าหังั อาจะริยิ ะ อััตตะภาวะ ตุุมหากััง ปะริจิ จะชามิิ ข้า้ แต่ท่ ่า่ นอาจารย์์ ผู้เ�้ จริญิ ข้า้ พเจ้า้ ขอมอบกายถวายตัวั ต่อ่ ครูบู าอาจารย์์ เพื่่อ� จะเจริญิ วิปิ ัสั สนากรรมฐาน ณ โอกาสบััดนี้้� นิิพพานััสสะ เม ภัันเต สััจฉิิกะระนััต ถายะ กััมมััฎฐานัังเทหิิ ข้้าแต่่ท่่านอาจารย์์ผู้้�เจริิญ ขอท่่านจงให้้พระกรรมฐานแก่่ข้้าพเจ้้า เพื่่�อจะทำ�ำ ให้้แจ้้ง ซึ่ง�่ มรรค ผล นิิพพาน ต่่อไป อะหััง สุุขิิโต โหมิิ ขอให้้ข้้าพเจ้้าจงมีีความสุุขปราศจากทุุกข์์ ไม่่มีีเวร ไม่่มีี ความลำำ�บาก ไม่่มีีความเดืือดร้้อน ขอให้้มีีความสุุข รัักษาตนอยู่�เถิิด สััพเพ สััตตา สุุขิิตา โหนตุุ ขอให้้สััตว์์ทั้้�งหลายทุุกตััวตนตลอดถึึงเทพบุุตร เทพธิิดา ทุุกพระองค์์ พระภิกิ ษุุ สามเณร และผู้ป�้ ฏิบิ ัตั ิธิ รรมทุกุ ๆ ท่า่ น จงเป็น็ ผู้้�มีความสุขุ รักั ษาตนอยู่�เถิดิ อะธุุวััง เม ชีีวิิตััง ชีีวิิตของเราไม่่แน่่นอน ความตายแน่่นอน ชีีวิิตไม่่เที่่�ยง ความตายเที่่�ยงที่่�สุุด เพราะชีีวิิตของเรามีีความ ตายเป็็นที่่�สุุด เป็็นโชคอัันดีีที่่�เราได้้ มาปฏิิบัตั ิิวิปิ ัสั สนากรรมฐาน ณ โอกาสบัดั นี้้� ไม่่เสียี ทีที ี่่เ� กิดิ มาพบพระพุุทธศาสนา เยเนวะ ยัันติิ นิิพพานััง พุุทธา เตสััญจะ สาวะกา เอกายะเนนะ มััคเคนะ สติิปััฏฐานะสััญญิินา พระพุุทธเจ้้าทุุก ๆ พระองค์์ พระอััครสาวกซ้้าย ขวา พระ อรหัันตสาวกทั้้�งหลาย ได้้ดำำ�เนิินไปแล้้วสู่่�พระนิิพพานด้้วยทางสายใด ทางสายนั้้�น คือื สติปิ ัฏั ฐานทั้้ง� ๔ ข้า้ พเจ้า้ ขอตั้ง� สัจั จะอธิษิ ฐาน ปฏิญิ าณตนต่อ่ พระรัตั นตรัยั และ ครูบู าอาจารย์ว์ ่า่ ตั้ง� แต่น่ ี้้ต� ่อ่ ไป ข้า้ พเจ้า้ จะตั้ง� อกตั้้ง� ใจประพฤติปิ ฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ ๆ เพื่่อ� ให้้ บรรลุุ มรรค ผล นิิพพาน เจริญิ รอยตามพระองค์์ท่า่ น 6

อิิมายะ ธััมมานุุธััมมะ ปะฏิิปััตติิยา ระตะนััตตะยััง ปููเชมิิ ข้้าพเจ้้าขอบููชา พระรััตนตรััยด้้วยการปฏิิบััติิธรรมอัันสมควรแก่่ธรรม คืือ มรรค ผล นิิพพาน นี้้� ด้ว้ ยสัจั จะวาจาที่่ก� ล่า่ วอ้า้ งมานี้้� ขอให้ข้ ้า้ พเจ้า้ ได้บ้ รรลุุ มรรค ผล นิพิ พาน ด้ว้ ยเทอญ ฯ. พานที่�่ ๔ ขอขมาพระอาจารย์์ผู้้ใ� ห้้กรรมฐาน อาจะริเิ ย ปะมาเทนะ, ทะวารััตตะเยนะ กะตััง, สััพพััง อะปะรา ธััง ขะมะถะ เม ภันั เต (ถ้้าสองคนขึ้น� ไปเปลี่�ยน ขะมะถะ เม ภัันเต เป็น็ ขะมะตุุ โน ภันั เต นอกนั้้�นเหมือื นกันั หมด) จบพิธิ ีีการรัับกรรมฐาน 7

8

โอวาทโยคีี ในโอกาสอัันประเสริิฐ ที่่�เราได้้เกิิดมาพบพระธรรม คำำ�สั่่�งสอนของพระพุุทธเจ้้านี้้� สมควรอย่่างยิ่�งที่่�จะปฏิิบััติิให้้ศีีล สมาธิิ ปััญญาบริิบููรณ์์ขึ้�นในตน ศีีลนั้้�น คืือ ศีีล ๕ – ๘ – ๑๐ - ๒๒๗ บุุคคลที่่�มีีศีีลบริิบููรณ์์ ย่่อมจะได้้รัับความสุุขในภพนี้้�และภพหน้้า ถึึงกระนั้้�น ก็็ดีี ศีีลนี้้�ก็็เป็็นเพีียงโลกีียะ ศีีลเท่่านั้้�น ยัังไว้้ใจไม่่ได้้ว่่าจะช่่วยให้้พ้้นภััยแห่่งอบายภููมิิ ทั้้�ง ๔ เพราะยัังไม่่สามารถปิิดประตููอบายได้้ ดัังนั้้�น จึึงจำำ�เป็็นต้้องปฏิิบััติิให้้โลกุุตตรศีีล สมบูรู ณ์ข์ึ้น� โลกุตุ ตรศีลี นั้้น� ได้แ้ ก่ม่ ัคั คศีลี ผลศีลี นั่่น� เอง ถ้า้ ผู้ใ�้ ดปฏิบิ ัตั ิถิ ึงึ มัคั คศีลี ผลศีลี แล้ว้ เป็น็ อันั ไว้ว้ างใจได้ว้ ่า่ ผู้้�นั้น� ไม่ต่ ้อ้ งไปสู่�อบายภูมู ิอิ ีกี เลย เป็น็ การดีอี ย่า่ งยิ่ง� แล้ว้ ที่่จ� ะปฏิบิ ัตั ิใิ ห้้ สมบูรู ณ์ด์ ้ว้ ยมัคั คศีลี ผลศีลี เสียี แต่ใ่ นอัตั ภาพนี้้� หากได้พ้ ยายามตั้ง� อกตั้้ง� ใจปฏิบิ ัตั ิจิ ริงิ ๆ แล้ว้ ย่อ่ มจะเป็น็ ผลสำ�ำ เร็จ็ ได้ใ้ นโอกาสอันั ประเสริฐิ นี้้� ถ้า้ ผู้ใ�้ ดละเลยเสียี ในชาตินิ ี้้� ก็น็ ่า่ เสียี ใจยิ่ง� นักั เพราะจักั ต้อ้ งเวียี นว่า่ ยตายเกิดิ อยู่�ในวัฏั สงสารอันั จะนับั จะประมาณชาติติ ่อ่ ไปไม่ไ่ ด้้ และใน โอกาสอัันเดียี วกันั นั้้�น ยังั จะเป็็นการเปิิดโอกาสให้อ้ กุศุ ลหนหลังั ตามสนองได้ด้ ้้วย อกุุศลที่่� ยังั ไม่เ่ กิดิ ก็จ็ ะเกิดิ ขึ้น� ที่่เ� กิดิ ขึ้น� แล้ว้ ย่อ่ มทวีมี ากขึ้้น� อันั ชีวี ิติ ของคนแต่ล่ ะคนนี้้� นับั ได้ว้ ่า่ เกิดิ มาเพราะบุญุ กุศุ ลแท้้ ๆ เป็น็ ของหาได้ย้ ากอย่า่ งยิ่�ง ของหายากอย่่างนั้้น� มีอี ยู่� ๔ อย่่าง คือื ๑. พุุทฺฺธุุปฺฺปาโท จ ทุุลฺฺลโภ ความเกิิดขึ้�นของพระพุุทธเจ้้าเป็็นของหาได้้ยากอย่่างยิ่�ง เพราะพุุทธเจ้้าแต่่ละพระองค์์ต้้องบำ�ำ เพ็็ญบารมีี ๓๐ ทััศเต็็มบริิบููรณ์์ก่่อน ในเวลาที่่�บำำ�เพ็็ญ บารมีีอยู่�นั้�น ใช้้เวลามากเหลืือเกิิน คืือ องค์์ใดยิ่�งด้้วยปััญญา ต้้องบำำ�เพ็็ญบารมีีอยู่่�ถึึง ๒๐ อสงไขย กำำ�ไรแสนกััลป์์ องค์์ที่่�ยิ่�งด้้วยศรััทธา ต้้องบำ�ำ เพ็็ญบารมีีอยู่่�ถึึง ๔๐ อสงไขย กำ�ำ ไร แสนกัลั ป์์ องค์ท์ ี่่ย�ิ่ง� ด้ว้ ยวิริ ิยิ ะ ต้อ้ งบำำ�เพ็ญ็ บารมีอี ยู่่�ถึงึ ๘๐ อสงไขย กำ�ำ ไรแสนกัลั ป์์ กว่า่ จะได้้ รัับพยากรณ์์ว่่า จัักได้้เป็็นพระพุุทธเจ้้าแต่่ละพระองค์์นี้้�ก็็เป็็นเวลานานมากเช่่นพระพุุทธเจ้้า ของเรายิ่�งด้้วยพระปััญญา เพีียงนึกึ ในใจว่่าจะเป็็นพระพุุทธเจ้้า เป็็นเวลานานถึึง ๗ อสงไขย เมื่�อทำ�ำ การสร้้างพระบารมีีอยู่� กว่่าจะออกปากว่่าตนปรารถนาพุุทธภููมิิ เป็็นเวลานานถึึง ๙ อสงไขย เมื่อ� ครบ ๙ อสงไขยแล้ว้ ยังั ต้อ้ งบำ�ำ เพ็ญ็ ธรรมสโมธานอีกี ๘ ประการให้เ้ ต็ม็ ก่อ่ น จึงึ จะได้ร้ ับั พยากรณ์จ์ ากพระพุทุ ธเจ้า้ องค์ใ์ ดองค์ห์ นึ่่ง� ว่า่ จักั ได้เ้ ป็น็ พระพุทุ ธเจ้า้ แน่น่ อนนี้้เ� รียี กว่า่ 9

นิยิ ตโพธิสิ ัตั ว์์ เมื่่อ� เป็น็ นิยิ ตโพธิสิ ัตั ว์แ์ ล้ว้ ยังั จะต้อ้ งสมบูรู ณ์ด์ ้ว้ ยพุทุ ธภูมู ิิ ๔ อัชั ฌาสัยั ๖ อััจฉริิยธรรม ๗ ประการ เมื่่�อชาติิสุุดท้้ายที่่�จะได้้เป็็นพระพุุทธเจ้้า ต้้องบำ�ำ เพ็็ญ ทุุกรกิิริิยาอยู่่�ถึึง ๖ ปีี จึึงได้้ตรััสรู้�เป็็นองค์์สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้า ดัังนั้้�น ความ เกิดิ ขึ้้น� ของพระพุทุ ธเจ้า้ จึงึ เป็น็ ของหาได้ย้ ากอย่า่ งยิ่่ง� บางสมัยั บางกัลั ป์์ ว่า่ งเปล่า่ ไม่ม่ ีี พระพุุทธเจ้้ามาอุุบััติิในโลกเลย สััตว์์ทั้้�งหลายก็็พากัันมืืดมนอนธการ ไม่่รู้้�จัักข้้อวััตร ปฏิิบััติิที่่�จะนำ�ำ ตนให้้พ้้นทุุกข์์ ไม่่รู้้�จัักทาง มรรค ผล นิิพพาน กััลป์์ที่่�พวกเราเกิิดมานี้้� เป็็นภััทรกััลป์์ เป็็นกััลป์์ที่่�เจริิญ เพราะมีีพระพุุทธเจ้้ามีีพระธรรมและพระสงฆ์์บริิบููรณ์์ พร้้อมมููลอยู่� ทั้้�งนี้้�ก็็เพราะความอุุบััติิขึ้้�นแห่่งพระพุุทธเจ้้า ดัังนั้้�นความอุุบััติิขึ้้�นแห่่ง พระพุทุ ธเจ้า้ จึงึ เป็น็ ของหายากประการหนึ่่ง� ของหายากประการที่่ห� นึ่่ง� นี้้� เราก็ไ็ ด้พ้ บแล้ว้ ๒. มนุุสฺฺสตฺฺตภาโว ทุุลฺฺลโภ ของหายากประการที่่� ๒ คืือ การได้้อััตภาพเกิิดมา เป็็นมนุุษย์์มีีอวััยวะครบบริิบููรณ์์ ไม่่เป็็นบ้้าใบ้้เสีียจริิตผิิดมนุุษย์์ ได้้มาเพราะบุุญกุุศล แต่่หนหลัังแท้้ ๆ บุุญเก่่าที่่�เราทำ�ำ ไว้้ได้้เป็็นทุุนมา บุุญอัันนั้้�นจึึงหนุุนให้้กำ�ำ เนิิดเกิิดเป็็น คน การที่่�เราได้เ้ ป็็นคน นัับว่า่ เราได้้พบของหายากประการที่่� ๒ แล้ว้ ๓. ปพฺฺพชิิตภาโว ทุุลฺฺลโภ การได้้บวชเป็็นภิิกษุุสามเณรในพระพุุทธศาสนาก็็ดีี การได้ต้ ัดั สินิ ใจออกมาปฏิบิ ัตั ิวิ ิปิ ัสั สนากรรมฐานอย่า่ งนี้้ก� ็ด็ ีี ได้ช้ ื่่อ� ว่า่ เป็น็ ของหายากใน ขั้้น� ต้น้ ส่ว่ นภิกิ ษุสุ ามเณรที่่บ� วชแล้ว้ ได้เ้ จริญิ สมถวิปิ ัสั สนากรรมฐานชื่่อ� ว่า่ ได้พ้ บของหา ยากอย่่างยิ่่�ง ขั้้�นที่่� ๒ การที่่�อุุบาสกอุุบาสิิกาได้้บวชกาย วาจา และใจของตนโดยยอม เสียี สละความสุขุ เพียี งเล็ก็ น้อ้ ยทางครอบครัวั เพื่่อ� หวังั ผลอันั ไพบูลู ย์์ เรียี กว่า่ พากันั มา ทำำ�ร่า่ งกายอันั เป็น็ ของปฏิกิ ูลู น่า่ เกลียี ดนี้้� ให้เ้ ป็น็ ของงามด้ว้ ยศีลี สมาธิิ และปัญั ญา เมื่่อ� เพียี รพยายามเจริญิ ไปบ่อ่ ย ๆ ไม่ท่ ้อ้ ถอยก็จ็ ะพบของจริงิ คือื สัจั ธรรมอย่า่ งแน่น่ อน เข้า้ ตำำ�ราที่่ว� ่า่ “งามอยู่�ที่ผ� ีี ดีอี ยู่�อยู่�ที่ล� ะ เป็น็ พระอยู่�ที่จ� ริงิ ” เมื่่อ� เป็น็ เช่น่ นี้้� ผู้้�ที่น�ุ่�งดำ�ำ ห่ม่ ดำำ� นุ่�งขาว ห่ม่ ขาวนี้้แ� หละ ชื่่อ� ว่า่ พากันั มาบวชแล้ว้ และได้ส้ มญาว่า่ เป็น็ พระ ตาม ขึ้้น� มาเพราะอำำ�นาจแห่่งสัจั ธรรม ดังั คำ�ำ ที่่ท� ่่านพระอรรถกถาจารย์์ได้ก้ ล่่าวไว้ว้ ่่า 10

“โย จ อิิมํํ ปฏิิปตฺฺตีี ปฏิิปชฺฺชติิ โส ภิิกฺฺขุุ นาม โหติิ ผู้้�ใดปฏิิบััติิตามข้้อปฏิิบััติินี้้� ผู้้�นั้�น ชื่�อว่่า เป็น็ พระปฏิิปนฺโฺ น หิิ เทโว วา โหตุุ มนุุสฺฺโส วา ภิิกฺฺขููติิ สงฺฺขยํํ คจฺฺฉติเิ ยว จริิงอยู่� ผู้้�ที่เ� จริญิ วิปิ ัสั สนานี้้จ� ะเป็น็ เทวดาก็ต็ าม เป็น็ มนุษุ ย์ก์ ็ต็ าม ย่อ่ มได้น้ ามว่า่ เป็น็ พระทั้้ง� นั้้น� ดังั นี้้”� ฉะนั้้น� ท่า่ นที่่เ� ป็น็ อุบุ าสกอุบุ าสิกิ า ขอให้เ้ ข้า้ ใจไว้เ้ ถิดิ ว่า่ ถึงึ เรายังั ไม่ม่ ีโี อกาสได้บ้ วชนุ่�งเหลือื ง ห่่มเหลืืองก็็ตาม ถ้้าได้้ปฏิิบััติิตนให้้เจริิญด้้วยคุุณธรรมเช่่นนี้้�แล้้ว ก็็จััดว่่าอยู่�ในข่่ายแห่่งการ บวช ดัังนั้้�น การบวชนี้้�จึึงนัับว่่าเป็็นของหาได้้ยากอย่่างยิ่�ง จััดเป็็นของหายากประการที่่� ๓ ข้อ้ นี้้ผ� ู้้�ที่ป� ฏิบิ ัตั ิแิ ล้ว้ ก็ไ็ ด้ช้ื่อ� ว่า่ ได้พ้ บแล้ว้ ผู้้�ที่ย� ังั ไม่ไ่ ด้ป้ ฏิบิ ัตั ิิ ถ้า้ มีคี วามหวังั และตั้ง� ใจจะปฏิบิ ัตั ิิ อยู่่�ก็จ็ ะได้้พบในโอกาสต่อ่ ไป ๔. สทฺธฺ าสมฺปฺ นฺโฺ น ทุลุ ฺลฺ โภ ของหายากประการที่่� ๔ คือื ความเป็น็ ผู้้�มีศรัทั ธาเชื่อ� ต่อ่ พระปัญั ญา ความตรัสั รู้�ของพระพุทุ ธเจ้า้ และยินิ ดีปี ระพฤติปิ ฏิบิ ัตั ิิตาม เช่น่ ให้ท้ านรักั ษา ศีลี ฟังั ธรรม เจริญิ สมถวิปิ ัสั สนากรรมฐาน เช่น่ นี้้เ� รียี กว่า่ เป็น็ ผู้้�มีความเห็น็ ถูกู คือื เป็น็ สัมั มา ทิฐิ ิิ นี้้จ� ัดั เป็น็ ศรัทั ธาอันั แท้จ้ ริงิ ศรัทั ธานั้้น� แบ่ง่ เป็น็ ๒ คือื ปกติศิ รัทั ธา ๑ ภาวนาศรัทั ธา ๑ ปกติิศรััทธา นั้้�น ได้้แก่่ศรััทธาของพุุทธศาสนิิกชน ที่่�พากัันทำ�ำ บุุญทำำ�ทาน รัักษาศีีล ฟััง ธรรมตามปกติิ ภาวนาศรััทธา นั้้�น ได้้แก่่ศรััทธาของท่่านผู้�้เจริิญวิิปััสสนากรรมฐาน เห็็น รูปู เห็น็ นาม เห็น็ พระไตรลักั ษณ์์ ได้บ้ รรลุมุ รรค ผล นิพิ พาน รวมเป็น็ ศรัทั ธา ๒ ประการ ผู้้�ที่�ถึึงพร้้อมด้้วยศรััทธาทั้้�ง ๒ ประการนี้้� นัับว่่าหาได้้ยากอย่่างยิ่�ง ดัังนั้้�นการถึึงพร้้อม ด้้วยศรััทธาจึึงเป็็นของหายากประการที่่� ๕ การที่่�มาปฏิิบััติิวิิปััสสนากรรมฐานนี้้� ก็็เพื่่�อ บำำ�เพ็็ญของหายากให้้บริิบููรณ์์ เพิ่่�มพููนศีีล สมาธิิ ปััญญาให้้เจริิญยิ่�ง ๆ ขึ้�น ตั้้�งแต่่ขั้�นต่ำ�ำ� 11

จนชั้น� สูงู อธิบิ ายว่า่ ศีลี นั้้น� แบ่ง่ ออกเป็น็ ๒ อย่า่ ง โลกียี ศีลี ได้แ้ ก่ศ่ ีลี ๕ - ๘ - ๑๐ - ๒๒๗ โลกุุตตรศีีล ได้้แก่่ศีีลในองค์์มรรคเกิิดแก่่ท่่านผู้�้เจริิญวิิปััสสนากรรมฐานเท่่านั้้�น เรีียกว่่า อธิิศีีล สมาธิิ ก็็แบ่่งออกเป็็น ๒ อย่่างคืือ โลกีียสมาธิิ ได้้แก่่ สมาธิิของท่่านผู้้�เจริิญสมถะ และวิิปััสสนาแต่่ยัังไม่่ถึึงมรรค ผล โลกุุตตรสมาธิิ ได้้แก่่สมาธิิในองค์์มรรค เกิิดขึ้�นแก่่ผู้�้ เจริญิ วิปิ ัสั สนา ในขณะถึงึ มรรค ผล เรียี กว่า่ อธิสิ มาธิิ ปัญั ญาก็แ็ บ่ง่ ออกเป็น็ ๒ อย่า่ ง โลกียี ปัญั ญา ได้แ้ ก่่ ปัญั ญาที่่ร�ู้�บาป บุญุ คุณุ โทษ ประโยชน์์ มิใิ ช่ป่ ระโยชน์์ รู้�รูปนาม รู้้�พระไตรลักั ษณ์์ ยังั ไม่ถ่ ึงึ มรรค ผล นิพิ พาน โลกุตุ ตรปัญั ญา ได้แ้ ก่่ ภาวมยปัญั ญา ที่่เ� กิดิ ขึ้น� แก่ท่ ่า่ นผู้เ�้ จริญิ วิิปััสสนากรรมฐานในขณะที่่�ถึึงมรรค ผล นิิพพาน เรีียกว่่า อธิิปััญญา ผู้้�เจริิญวิิปััสสนาทุุก ๆ คน ก็็เพื่่�อบำ�ำ เพ็็ญไตรสิิกขาเหล่่านี้้�ให้้บริิบููรณ์์ ดัังนั้้�น จึึงนัับว่่าเป็็นบุุญลาภอัันสููงส่่งและ สำำ�คัญั ยิ่ง� ที่่เ� ราได้ม้ าปฏิบิ ัตั ิวิ ิปิ ัสั สนากรรมฐาน ณ โอกาสบัดั นี้้ถ� ้า้ ใครไม่ไ่ ด้ท้ ำ�ำ ก็จ็ ะเสียี ใจ ภาย 12

หลังั ว่า่ เราเกิดิ มาเสียี ชาติเิ ปล่า่ ๆ ได้พ้ บพระพุทุ ธศาสนาเพียี งแต่ช่ื่อ� แต่ม่ ิไิ ด้พ้ บพระธรรม ฝ่า่ ยผู้้�ที่ไ� ด้เ้ จริญิ วิปิ ัสั สนาได้ด้ วงตาเป็น็ ธรรมแล้ว้ ตนเองก็จ็ ะมีคี วามปีตี ิยิ ินิ ดีเี ป็น็ เหลือื ล้น้ พ้น้ ที่่�จะนัับจะประมาณ ทั้้�งได้้ชื่�อว่่าเป็็นผู้้�ได้้บููชาต่่อองค์์สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าด้้วยการ บููชาอย่่างสููงสุุด ดัังที่่�ตรััสแก่่ท่่านพระอานนท์์เถระว่่า “โย โข อานนฺฺท ภิิกฺฺขุุ วา ภิิกฺฺขุุณีี วา อุปุ าสโก วา อุปุ าสิกิ า วา เป็น็ ต้น้ ความว่า่ ดูกู รอานนท์์ ผู้ใ้� ดเป็น็ ภิกิ ษุุ ภิกิ ษุณุ ีี อุบุ าสก อุุบาสิิกาก็็ตาม ถ้้าปฏิิบััติิธรรมสมควรแก่่ธรรมชื่�อว่่าได้้สัักการะ เคารพ นัับถืือบููชา เรา ตถาคต ด้้วยการบูชู าเราอย่า่ งสููงยิ่ง� ดังั นี้้”� และยังั ได้ช้ื่�อว่า่ เป็น็ ผู้้�มีีความจงรักั ภัักดีตี ่อ่ องค์์ สมเด็็จพระชิินสีีห์์ด้้วย ดั่�งบาลีีว่่า “ภิิกฺฺขเว มยิิ สิิเนโห ติิสฺฺสสทิิโส ว โหตุุ เป็็นต้้น ความว่่า ดููกรภิิกษุุทั้้�งหลาย ผู้้�ที่�มีีความรัักใคร่่ในเราจงเป็็นเช่่นกัับพระติิสสะเถิิด ถึึงชนทั้้�งหลายจะ บูชู าเราด้ว้ ยดอกไม้้ ธูปู เทียี น ของหอมนานับั ประการ ก็ไ็ ม่ช่ื่อ� ว่า่ ได้บ้ ูชู าเราโดยแท้้ ส่ว่ นชน ทั้้ง� หลายที่่ป� ฏิบิ ัตั ิสิ มควรแก่ธ่ รรมชื่อ� ว่า่ ได้บ้ ูชู าเราโดยแท้้ ดังั นี้้”� นอกจากนี้้� ผู้เ�้ จริญิ วิปิ ัสั สนา กรรมฐาน ยังั ได้ช้ื่อ� ว่า่ ได้ช้ ่ว่ ยกันั เผยแผ่พ่ ระพุทุ ธศาสนา ให้เ้ จริญิ วัฒั นาสถาพรสืบื ต่อ่ ไปด้ว้ ย ดั่�งบาลีีที่่�ว่่า “ยาว หิิ อิิมา จตสฺฺโส ปริิสา มํํ อิิมาย ปฏิิปตฺฺติิปููชาย ปููเชสฺฺสนฺฺติิ เป็็นต้้น ความว่่าบริิษััททั้้�ง ๔ นี้้� จัักบููชาเราด้้วยปฏิิปััตติิบููชานี้้�อยู่�เพีียงใด ศาสนาของเราจะเจริิญ รุ่�งเรือื งอยู่�เพียี งนั้้น� เหมือื นพระจันั ทร์เ์ พ็ญ็ ลอยเด่น่ อยู่่�ท่า่ มกลางท้อ้ งฟ้า้ ฉะนั้้น� ” การที่่ท� ่า่ น ผู้้�มีบี ุุญ ได้้มาปฏิิบััติิวิปิ ััสสนากรรมฐานในคราวนี้้� จึึงนัับว่่าเป็็นการบำำ�เพ็็ญประโยชน์อ์ ัันยิ่�ง ใหญ่ไ่ พศาล ทั้้ง� แก่ต่ นเองและผู้้�อื่น� ตลอดจนถึงึ ชาติิ ศาสนา พระมหากษัตั ริยิ ์์ รัฐั ธรรมนูญู ด้้วย วุุฑฺฺฒึึ วิิรุุฬฺฺหึึ เวปุุลฺฺลํํ ปปฺฺโหตุุ พุุทฺฺธสาสเน สุุดท้้ายนี้้�ขอท่่านจงเจริิญงอกงาม ไพบููลย์์ใน พระพุทุ ธศาสนา คือื ขอท่า่ นจงได้บ้ รรลุุ มรรค ผล นิพิ พาน สมควรปรารถนาของตน ๆ เทอญ จบโอวาทโยคีี 13

ประเพณีีการทอดกฐินิ การทอดกฐิิน จััดเป็็นประเพณีีที่่�สืืบทอดมากกว่่า ๒,๕๐๐ ปีี นัับตั้�งแต่่ ครั้้�ง ที่่�พระพุุทธองค์์ยัังคงมีีพระชนม์์ชีีพอยู่� จวบจนกระทั่่�งถึึงปััจจุุบััน ถืือเป็็นประเพณีีที่่� พุทุ ธศาสนิกิ ชนทั้้ง� หลายทุกุ ยุคุ ทุกุ สมัยั มีคี วามศรัทั ธาเลื่่อ� มใสว่า่ เป็น็ ยอดของมหากุศุ ล จะ เป็น็ เหตุนุ ำ�ำ ให้ผ้ ู้ไ้� ด้ม้ ีสี ่ว่ นในการทอดกฐินิ นั้้น� ได้ร้ ับั มหาอานิสิ งส์อ์ ันั ยิ่่ง� ใหญ่ส่ ุดุ ประมาณ ด้ว้ ย เหตุุนี้้� การทำำ�บุุญทอดกฐิิน จึึงเป็็นงานบุุญที่่�อยู่�ในใจ และอยู่�ในเส้้นทางสััญจรของชีีวิิต ใน หนึ่่ง� ปีที ี่่จ� ะพลาดไม่ไ่ ด้้ เพื่่อ� ให้ก้ ารทำำ�บุญุ ทอดกฐินิ ในปีนี ี้้ไ� ด้อ้ ยู่�บนรากฐานของศรัทั ธาอย่า่ ง พุทุ ธศาสนิกิ ชน ตามพุทุ ธประสงค์์ คือื ทำำ�บุญุ อย่า่ งผู้เ�้ ข้า้ ใจคุณุ ค่า่ และความหมายของบุญุ ตามตำ�ำ นานกล่า่ วไว้ว้ ่า่ การเย็บ็ จีวี รนั้้น� พระเถรานุเุ ถระ ๘๐ รูปู ต่า่ งมาช่ว่ ยพระอนุรุ ุทุ ธะ เย็็บจีีวร พระมหากััสสปะนั่่�งหััวแถว พระสารีีบุุตรนั่่�งกลาง พระอานนท์์นั่่�งท้้ายสุุด ภิิกษุุ รููปอื่่�น ๆ ช่่วยกัันกรอด้้าย พระพุุทธเจ้้าทรงร้้อยด้้าย ส่่วนพระมหาโมคคััลลานะ จััดหา เสบีียงมาถวายพระเถระผู้้�ร่วมทำำ�จีีวร พระภิิกษุุสามเณรอื่่�น ๆ ก็็ช่่วยขวนขวายในการเย็็บ จีีวร อุุบาสกอุุบาสิกิ าก็็จััดหาน้ำ�ำ�ดื่่�มเป็น็ ต้น้ มาถวายพระภิกิ ษุสุ งฆ์ม์ ีอี งค์พ์ ระสัมั มาสัมั พุทุ ธเจ้า้ เป็น็ ประธาน โดยนััยนี้้� การเย็็บจีีวรแม้้โดยธรรมดา ก็็เป็็นการที่่�จะต้้องช่่วยกัันทำ�ำ หลายผู้้� หลายองค์์ ไม่่ เหมืือนในปััจจุุบััน ซึ่่�งมีีจีีวรสำ�ำ เร็็จรููปมาแล้้ว ดัังนั้้�น จึึงควรอย่่างยิ่�ง ที่่�เราจะ ได้ศ้ ึกึ ษาความเป็น็ มาและความสำ�ำ คัญั ของประเพณีกี ารทอดกฐินิ ดังั มีเี รื่อ� งราวดังั ต่อ่ ไปนี้้� ความหมายของคำำ�ว่า่ กฐินิ คำ�ำ ว่า่ กฐินิ มีคี วามหมายโดยนัยั ต่า่ ง ๆ ถึงึ ๔ ประการ คือื ๑. เป็็นชื่�่อของกรอบไม้้ หรืือ สะดึึง อัันเป็็นแม่่แบบสำ�ำ หรัับขึึงผ้้า เพื่่�อความ สะดวกในการกะ ตัดั เย็บ็ ทำ�ำ จีวี ร เนื่่อ� งจากในสมัยั พุทุ ธกาล การทำ�ำ จีวี รให้ม้ ีรี ูปู ลักั ษณะ ตามที่่�กำ�ำ หนดกระทำ�ำ ได้้ยาก จึึงต้้องมีีกรอบไม้้สำ�ำ เร็็จรููปไว้้เป็็นอุุปกรณ์์ในการทำ�ำ แม้้ ปัจั จุบุ ันั ไม่จ่ ำ�ำ เป็น็ ต้อ้ งอาศัยั ไม้ส้ ะดึงึ เช่น่ นี้้อ� ีกี แล้ว้ แต่ก่ ็ย็ ังั คงเรียี กว่า่ ผ้า้ กฐินิ อยู่�อย่า่ งเดิมิ 14

๒. เป็น็ ชื่อ�่ ของผ้า้ ที่ถ่� วายแก่ส่ งฆ์์ เพื่่อ� ทำำ�จีวี รตามแบบหรือื กรอบไม้น้ั้้น� ตามพระวินิ ัยั นิยิ ม บรมพุทุ ธานุญุ าต ต้อ้ งมีขี นาดกว้า้ งและยาวเพียี งพอสำ�ำ หรับั ตัดั เย็บ็ ทำำ� เป็น็ ผ้า้ สบง จีวี ร หรือื สังั ฆาฏิิ ผืนื ใดผืนื หนึ่่ง� ซึ่ง�่ ปัจั จุบุ ันั มักั นิยิ มนำำ�ผ้า้ ไตรที่่ต� ัดั เย็บ็ และย้อ้ มเป็น็ ผ้า้ สบงจีวี รและสังั ฆาฏิิ สำ�ำ เร็จ็ รูปู แล้ว้ ไปถวายเป็็นผ้า้ กฐิินเพื่่�อมิิให้พ้ ระสงฆ์์ต้อ้ งลำำ�บากในการที่่�จะต้้องนำำ�ไปตััดและเย็บ็ ย้อ้ มอีีก ๓. เป็็นชื่�่อของบุุญกิิริิยา คืือ การบำำ�เพ็็ญบุุญในการถวายผ้้ากฐิินแก่่พระสงฆ์์ผู้้�จำ�พรรษา อยู่่�วััดใดวััดหนึ่่�งครบ ๓ เดืือน เพื่่�อให้้ท่่านได้้มีีผ้้านุ่�งห่่มใหม่่ใช้้ผลััดเปลี่�ยนของเก่่าที่่�ขาดหรืือ ชำ�ำ รุุดแล้้วส่่วนที่่�นิิยมใช้้คำำ�ว่่า ทอดกฐิิน แทนคำ�ำ ว่่า ถวายกฐิิน ก็็เพราะเวลาที่่�ถวายนั้้�น ผู้้�ถวาย จะกล่่าวคำ�ำ ถวายแล้้วนำำ�ผ้้ากฐิินวางไว้้เบื้้�องหน้้าคณะสงฆ์์โดยมิิได้้เจาะจงจะถวายจำ�ำ เพาะรููปใด รููปหนึ่่�ง ซึ่�่งเป็็นการทอดธุุระหมดความกัังวลหรืือเสีียดาย ไม่่แสดงความเป็็นเจ้้าของในผ้้าผืืนนั้้�น โดยยกให้้เป็็นธุุระของพระสงฆ์์ สุุดแต่่ท่่านจะตกลงกัันเอง การทำำ�บุุญถวายผ้้ากฐิิน หรืือที่่�เรีียก ว่่า ทอดกฐิิน คืือ ทอดหรืือวางผ้้าลงไปแล้้วกล่่าวคำ�ำ ถวายในท่่ามกลางสงฆ์์ เรีียกได้้ว่่าเป็็น กาล ทาน คืือ การถวายก่่อนหน้้านั้้�นหรืือหลัังจากนั้้�นไม่่จััดเป็็นกฐิิน ท่่านจึึงถืือว่่าหาโอกาสทำำ�ได้้ยาก ๔. เป็็นชื่่�อของสัังฆกรรม คืือ พิิธีีกรรมของพระสงฆ์์ที่่�จะต้้องมีีการสวดประกาศขอรัับ ความเห็็นชอบจากในที่่�ประชุุมสงฆ์์ ในการมอบผ้้ากฐิินนั้้�นให้้แก่่พระภิิกษุุรููปใดรููปหนึ่่�งไป ครอง ซึ่�่งพระสงฆ์์จะกระทำ�ำ พิิธีีที่่�เรีียกว่่า กรานกฐิิน หลัังจากที่่�ได้้รัับผ้้ากฐิินแล้้วในวัันเดีียวกััน นั้้�น การที่่�พระภิิกษุุทั้้�งวััดจะพร้้อมใจยกมอบผ้้ากฐิินให้้แก่่พระภิิกษุุรููปใดไปครอง ก็็เนื่่�องจาก ได้้พิิจารณาเห็็นแล้้วว่่าตลอดระยะเวลา ๓ เดืือน ที่่�อยู่่�จำำ�พรรษาอยู่่�ร่วมกัันมานี้้� พระภิิกษุุรููป ใดที่่�มีีคุุณสมบััติิอัันสมควรจะได้้รัับผ้้ากฐิิน เช่่น เป็็นผู้้�บำำ�เพ็็ญสมณธรรมดีีเยี่�ยม เป็็นผู้้�มีีความรู้� ความสามารถโดดเด่่นเป็็นที่่�ประจัักษ์์ หรืือเป็็นผู้้�มีีจีีวรเก่่าคร่ำำ��คร่่าที่่�สุุด เป็็นต้้น พระภิิกษุุผู้�้ได้้ รัับมอบผ้้ากฐิินนี้้�เรีียกว่่า ผู้้�กรานกฐิิน หรืือ ผู้้�ครองกฐิินสำ�ำ หรัับพระภิิกษุุทั้้�งหลาย ที่่�อยู่่�ร่่วม ในพิิธีีได้้อนุุโมทนาต่่อผู้้�กรานกฐิิน และเจ้้าภาพผู้�ทอดกฐิินแล้้วนั้้�น ก็็ย่่อมได้้รัับอานิิสงส์์กฐิิน ด้้วยการรัับผ้้ากฐิินและ กรานกฐิินนี้้� นอกจากจะเป็็นการแสดงออกถึึงการรู้้�รัักสามััคคีีในหมู่่� สงฆ์์แล้้ว ยัังแสดงถึึงความมีีน้ำ��ำ ใจและรู้�จักยกย่่องเชิิดชููผู้้�กระทำ�ำ ดีี ให้้มีีเกีียรติิประวััติิสืืบไปด้้วย 15

ความพิิเศษของกฐินิ ทาน ในปีีหนึ่่ง� แต่่ละวัดั สามารถรับั กฐิินได้้เพียี งครั้้�งเดียี ว นอกจาก นั้้�นแล้้วกฐิินทานก็็มีีความ พิิเศษแตกต่่างจากทานอย่า่ งอื่�น ได้แ้ ก่่ ๑. จำำ�กัดั ประเภททาน คืือ จะต้อ้ งถวายเป็็นสังั ฆทานเท่่านั้้น� จะถวาย เฉพาะ เจาะจงภิกิ ษุุรูปู ใดรููปหนึ่่ง� เหมืือนทานอย่่างอื่่�นไม่่ได้้ ๒. จำำ�กััดเวลา คืือ ต้้องถวายภายในระยะเวลา ๑ เดืือน นับั แต่่วััน ออกพรรษาเป็็นต้น้ ไป ๓. จำำ�กััดงาน คืือ พระภิิกษุทุ ี่่ก� รานกฐินิ ต้้องตััด เย็บ็ ย้อ้ ม และครองให้ ้ เสร็็จภายในวันั ที่่ก� รานกฐินิ ๔. จำำ�กััดไทยธรรม คือื ผ้า้ ที่่ถ� วายต้อ้ งถูกู ต้อ้ งตามลักั ษณะที่่ส� งฆ์ก์ ำ�ำ หนดไว้้ ๕. จำำ�กััดผู้้�รับ คืือ พระภิิกษุุผู้ร้� ัับกฐินิ ต้อ้ งเป็็นผู้้�ที่จ� ำ�ำ พรรษาในวัดั นั้น� โดย ไม่ข่ าดพรรษา และมีจี ำำ�นวน ไม่น่ ้้อยกว่า่ ๕ รูปู ๖. จำำ�กััดคราว คือื วัดั ๆ หนึ่่ง� จะรับั กฐินิ ได้เ้ พียี งปีีละ ๑ ครั้้�ง ๗. เป็็นพระบรมพุุทธานุญุ าต ทานอย่่างอื่น� ทายกต้อ้ งกราบทููลขอให้้ พระสัมั มาสัมั พุทุ ธเจ้า้ ทรงอนุญุ าต เช่น่ มหาอุบุ าสิกิ าวิสิ าขาทูลู ขออนุญุ าตถวาย ผ้า้ อาบน้ำ��ำ ฝน แต่ผ่ ้า้ กฐินิ นี้้พ� ระองค์ท์ รงอนุญุ าตเอง นับั เป็น็ พระพุทุ ธประสงค์โ์ ดยตรง ผ้า้ กฐิิน ผ้้าที่่�พระบรมพุุทธานุุญาตให้้ใช้้เป็็นผ้้ากฐิินได้้นั้�น มีีดัังนี้�คืือ ผ้้าใหม่่ ๑ ผ้้ากลางเก่่ากลางใหม่่ ๑ ผ้้าเก่่า ๑ ผ้้าบัังสุุกุุล ๑ ผ้้าที่่�มีีขายอยู่่�ตามร้้านตลาด ๑ ซึ่่�งผ้้าเหล่่านี้้�เอามาทำำ�เป็็นผ้้ากฐิินได้้ ส่่วน ผ้้าที่�เอามาทำ�ำ เป็็นผ้้ากฐิินไม่่ได้้ คืือ ผ้้าที่�ยืืมเขามา ๑ ผ้้าที่�ทำ�ำ นิิมิิตได้้มา ๑ ผ้้าที่�พููดเลีียบเคีียงได้้มา ๑ ผ้้าเป็็นนิิสััคคีีย์์ ๑ ผ้้าที่่�ขโมยมา ๑ เมื่�อกล่่าวโดยสรุุปแล้้ว ผ้้าที่่�เอามาทำ�ำ เป็็นผ้้ากฐิินได้้คืือ ผ้้าที่่�ได้้ มาโดยชอบหรืือโดยสุจุ ริติ ส่่วนผ้้าที่่เ� อามาทำ�ำ เป็็นผ้้ากฐินิ ไม่่ได้ค้ ืือ ผ้า้ ที่่�ได้้มาโดยมิชิ อบหรือื โดยทุุจริติ 16

เหตุุที่�ท่ รงอนุุญาตกฐิิน ในสมัยั ที่่พ� ระผู้้�มีพระภาคเจ้า้ เสด็จ็ ประทับั อยู่� ณ วัดั พระเชตวันั เขตพระนครสาวัตั ถีี มีพี ระ ภิิกษุุชาวเมืืองปาฐา ประมาณ ๓๐รููป ล้้วนถืือธุุดงควััตรทั้้�ง ๑๓ ข้้อ อาทิิเช่่น อารััญญิิกัังคธุุดงค์์ คือื ถือื การอยู่่�ป่า่ เป็น็ วัตั ร, ปิณิ ฑปาติกิ ังั คธุดุ งค์์ คือื ถือื การบิณิ ฑบาตเป็น็ วัตั ร, และเตจจีวี ริกิ ังั คธุดุ งค์์ คืือถืือผ้้า ๓ ผืืน เป็็นวััตร เป็็นต้้น อัันมีีปฏิิปทาน่่าเลื่�อมใส ปฏิิบััติิเคร่่งครััดในพระธรรมวิินััย มีี ความตั้ง� ใจจะพากันั ไปเข้า้ เฝ้า้ พระพุทุ ธองค์์ ซึ่ง่� จำ�ำ พรรษาในเมือื งสาวัตั ถีแี ต่ต่ ้อ้ งเดินิ ทางไกลพอไป ถึงึ เมือื งสาเกต ซึ่ง�่ มีรี ะยะทางห่า่ งจากเมือื งสาวัตั ถีปี ระมาณ ๖ โยชน์์ ก็เ็ ผอิญิ ถึงึ ฤดูกู าลเข้า้ พรรษา เสียี ก่อ่ นเดินิ ทางต่อ่ ไปไม่ไ่ ด้้ พระภิกิ ษุเุ หล่า่ นั้้น� จึงึ ตกลงกันั อธิษิ ฐานใจอยู่่�จำำ�พรรษา ณ เมือื งสาเกต ตลอดไตรมาส ภิกิ ษุเุ หล่า่ นั้้น� จำ�ำ พรรษาด้ว้ ยมีใี จรัญั จวนว่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ ประทับั อยู่�ใกล้ๆ้ ระยะทาง ห่่างเพีียง ๖ โยชน์์ แต่่ก็็ไม่่ได้้เฝ้้าพระองค์์ ครั้้�นล่่วง ๓ เดืือน ออกพรรษาทำ�ำ ปวารณาเสร็็จแล้้วก็็ เดิินทางไปเมืืองสาวััตถีีโดยเร็็ว การที่่�พระผู้้�มีพระภาคทั้้�งหลายทรงปราศรัยั กัับพระอาคัันตุุกะทั้้�ง หลายนั้้�น เป็็นพุุทธประเพณีี ครั้้�งนั้้�นพระพุุทธองค์์ ได้้ตรััสถามถึึงสุุขทุุกข์์และความก้้าวหน้้าแห่่ง การปฏิิบััติิธรรม ด้้วยพระสุุรเสีียงที่่�เปี่่�ยมด้้วยพระเมตตา พระภิิกษุุเหล่่านั้้�น ต่่างพากัันกราบทููล ให้้ทรงทราบถึึงความลำำ�บากตรากตรำำ�ในระหว่่างเดิินทางของตน เพราะอยู่�ในช่่วงฤดููฝน มีีจีีวร เก่่า พากัันเดิินเหยีียบย่ำ��ำ โคลนตมจีีวรเปรอะเปื้�้อนโคลนเปีียกชุ่่�มด้้วยน้ำ�ำ� ฝน  พระพุุทธองค์์ทรง ทราบความลำำ�บากของพระภิิกษุุเหล่่านั้้�น และเห็็นว่่า “กฐิินตฺฺถาโร จ นาเมส สพฺฺพพุุทฺฺเธหิิ อนุุ ญฺฺญาโต” การกรานกฐิินนี้้� พระพุุทธเจ้้าทุุกพระองค์์ได้้ทรงอนุุญาตมา ดัังนั้้�น จึึงทรงอนุุญาตให้้ พระภิกิ ษุุ ผู้้�ที่อ� ยู่่�จำ�ำ พรรษาครบ ๓ เดือื นแล้ว้ รับั ผ้า้ กฐินิ ของผู้้�มีจิติ ศรัทั ธาถวายได้้ เมื่อ� ได้ร้ ับั แล้ว้ มีี ความสามััคคีีร่่วมกัันทำ�ำ ให้้ถููกต้้องตามพระธรรมวิินััย จะได้้รัับอานิิสงส์์ยกเว้้นในการผิิดพระ ธรรมวินิ ัยั ๕ ประการ นางวิสิ าขา มหาอุบุ าสิกิ าได้ท้ ราบ และได้ถ้ วายผ้า้ กฐินิ เป็น็ บุคุ คลแรก 17

ประเภทของกฐิิน แบ่ง่ กฐินิ ออกเป็็น ๒ ประเภทใหญ่่ คืือ กฐิินหลวง และกฐินิ ราษฎร์์  กฐิินหลวง ประวัตั ิกิ ล่า่ วไว้ว้ ่า่ เมื่่อ� พระพุทุ ธศาสนาได้เ้ ข้า้ มาประดิษิ ฐานในประเทศไทย และประชาชน คนไทยที่่ต�ั้ง� หลักั แหล่ง่ อยู่�ในผืนื แผ่น่ ดินิ ไทย ต่า่ งได้ย้ อมรับั นับั ถือื พระพุทุ ธศาสนาว่า่ เป็น็ ศาสนา ประจำำ�ชาติิแล้้ว การทอดกฐิินก็็ได้้กลายเป็็นประเพณีีของบ้้านเมืืองมาโดยลำ�ำ ดัับ  พระเจ้้าแผ่่น ดินิ ผู้ป้� กครองบ้า้ นเมือื งได้ท้ รงรับั เรื่อ� งกฐินิ นี้้ข�ึ้น� เป็น็ พระราชพิธิ ีอี ย่า่ งหนึ่่ง� ซึ่ง�่ ทรงบำ�ำ เพ็ญ็ เป็น็ การ ประจำ�ำ เมื่่�อถึึงเทศกาลทอดกฐิิน การที่่�พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่�หััว ทรงบำ�ำ เพ็็ญพระราชกุุศล เกี่�ยวกัับกฐิินโดยรัับขึ้�นเป็็นพระราชพิิธีีนี้้� เป็็นเหตุุให้้เรีียกกัันว่่า กฐิินหลวง วััดใดก็็ตามไม่่ว่่า จะเป็็นพระอารามหลวงหรืือวััดราษฎร์์ หากพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่�หััวเสด็็จพระราชดำำ�เนิิน ไปทรงถวายผ้้าพระกฐิินแล้้ว เรีียกว่่า กฐิินหลวง ทั้้�งสิ้�น มิิใช่่กำ�ำ หนดว่่าทอดที่่�พระอารามหลวง เท่่านั้้�น จึึงจะเรีียกว่่ากฐิินหลวง แต่่สมััยต่่อมา เรื่�องของกฐิินหลวง ได้้เปลี่�ยนไปตามภาวการณ์์ ของบ้า้ นเมือื ง เช่น่ ประชาชนมีศี รัทั ธา เจริญิ รอยตามพระราชศรัทั ธาของพระเจ้า้ แผ่น่ ดินิ ได้ร้ ับั พระมหากรุุณาให้้ถวายผ้้าพระกฐิินได้้ตามสมควรแก่่ฐานะ  เป็็นเหตุุให้้แบ่่งแยกกฐิินหลวงออก เป็็นประเภท ๆ ดัังปรากฏในปััจจุุบััน ดัังนี้้�คืือ ๑. กฐิินที่�่กำำ�หนดเป็็นพระราชพิิธีี ๒. กฐิินต้้น ๓. กฐิินพระราชทาน ๑. กฐินิ ที่ก่� ำำ�หนดเป็น็ พระราชพิธิ ีี เป็น็ กฐินิ ที่่พ� ระบาทสมเด็จ็ พระเจ้า้ อยู่�หัวั ฯ จะ เสด็จ็ พระราชดำำ�เนินิ ไปถวายผ้า้ พระกฐินิ ด้ว้ ยพระองค์เ์ อง หรือื ทรงพระกรุณุ าโปรดเกล้า้ ฯ ให้พ้ ระบรม - วงศานุวุ งศ์์ หรือื องคมนตรีี หรือื ผู้้�ที่ท� รงเห็น็ สมควร เป็น็ ผู้แ�้ ทนพระองค์น์ ำ�ำ ผ้า้ พระกฐินิ พระราชทานไปทอดถวาย ณ พระอารามหลวง ที่่ส� ำ�ำ คัญั ๆ ทั้้ง� ในกรุงุ เทพมหานคร และส่่วนภููมิิภาค ซึ่่�งทางราชการกำ�ำ หนดขึ้้�น มีีทั้้�งหมด ๑๖ วััด เป็็นประจำ�ำ ทุุกปีี กฐิินที่่� กำำ�หนดเป็็นพระราชพิิธีีนี้้� ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้สำำ�นัักพระราชวัังออกหมาย กำ�ำ หนดการเสด็จ็ พระราชดำ�ำ เนินิ ไว้อ้ ย่า่ งเรียี บร้อ้ ย เป็น็ ประจำ�ำ ทุกุ ปีี จึงึ ไม่ม่ ีกี ารจองล่ว่ งหน้า้ 18

๒. กฐิินต้้น เป็็นกฐิินที่่�เกิิดขึ้�น เพราะพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่�หััว เสด็็จพระราช- ดำ�ำ เนิินไปถวายผ้้าพระกฐิิน ณ วััดที่่�มิิใช่่พระอารามหลวง แต่่เป็็นวััดราษฎร์์วััดใดวััดหนึ่่�ง และ มิไิ ด้เ้ สด็จ็ ไปอย่า่ งเป็น็ ทางราชการหรือื อย่า่ งเป็น็ พระราชพิธิ ีี แต่เ่ ป็น็ การบำ�ำ เพ็ญ็ พระราชกุศุ ลส่ว่ น พระองค์์ โดยมีหี ลักั เกณฑ์์ดัังนี้้� - เป็น็ วััดที่่�ยังั ไม่เ่ คยเสด็็จพระราชดำ�ำ เนินิ ถวายผ้า้ พระกฐิินมาก่่อน  - ประชาชนมีคี วามเลื่อ� มใสในวััดนั้้�นมาก  - ประชาชนในท้อ้ งถิ่่น� นั้้�น ไม่ค่ ่อ่ ยมีโี อกาสได้้เฝ้้าทููลละอองธุุลี ี พระบาท เมื่่อ� เสด็็จพระราชดำ�ำ เนิินไป จะได้ม้ ีโี อกาสเข้้าเฝ้้า ทููลละอองธุลุ ีีพระบาทอย่า่ งใกล้ช้ ิดิ ด้ว้ ย   พลตรีีหม่อ่ มทวีีวงศ์ถ์ วัลั ยศักั ดิ์์� (ม.ร.ว.เฉลิมิ ลาภ ทวีีวงศ์)์ ได้เ้ ล่า่ ประวัตั ิเิ รื่อ่� งการเกิดิ ขึ้น�้ ของกฐิินต้้นไว้้ว่่า กฐิินส่่วนพระองค์์นี้้� ในสมััยก่่อนรััชกาลที่่� ๕ จะเรีียกว่่าอย่่างไรนั้้�น ยัังไม่่พบ หลัักฐาน มาเรีียกกัันว่่ากฐิินต้้น ในรััชกาลที่่� ๕ ภายหลัังที่่�ได้้มีีการเสด็็จประพาสหััวเมืืองต่่างๆ เมื่่อ� พ.ศ. ๒๔๔๗ การเสด็จ็ ประพาสครั้้ง� นั้้น� โปรดให้จ้ ัดั ให้ง้ ่า่ ยกว่า่ การเสด็จ็ ประพาสเพื่่อ� สำ�ำ ราญ พระราชอิิริิยาบถอย่่างสามััญ คืือ โปรดไม่่ให้้มีีท้้องตราสั่�งหััวเมืืองให้้จััดทำ�ำ ที่่�ประทัับแรม ณ ที่่� ใด ๆ พอพระราชหฤทััยจะประทัับที่่�ไหนก็็ประทัับที่่�นั่่�น บางคราวก็็ทรงเรืือเล็็กหรืือเสด็็จรถไฟ ไป โดยมิิให้้ใครรู้้� การเสด็็จประพาสครั้้�งนั้้�นเรีียกว่่า เสด็็จประพาสต้้น ประพาสต้้นนี่่�เอง ที่่�เป็็น มูลู เหตุใุ ห้เ้ รียี ก การเสด็จ็ พระราชดำ�ำ เนินิ ถวายผ้า้ พระกฐินิ เป็น็ การส่ว่ นพระองค์ว์ ่า่ “พระกฐินิ ต้น้ ”  ๓. กฐินิ พระราชทาน เป็็นกฐิินที่่�พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่�หััว พระราชทานผ้้าพระ กฐินิ ของหลวงแก่ผ่ ู้้�ที่ก� ราบบังั คมทูลู ขอพระราชทาน เพื่่อ� ไปทอดถวาย ณ พระอารามหลวงอื่น� ๆ ที่่� มิใิ ช่่ ๑๖ วัดั ซึ่ง่� ทางราชการกำ�ำ หนดขึ้น� เป็น็ พระราชพิธิ ี ี เหตุทุี่่เ� กิดิ กฐินิ พระราชทาน ก็เ็ พราะว่า่ ปัจั จุบุ ันั พระอารามหลวง มีีเป็็นจำำ�นวนมาก จึึงเปิิดโอกาสให้้ข้้าราชบริิพาร ส่่วนราชการ กระทรวง ทบวง กรม องค์์กรเอกชน ตลอดจน คณะบุุคคล หรืือบุุคคลที่่�สมควร รัับพระราชทานผ้้ากฐิินไปถวายได้้ และผู้้�ที่�ได้้รัับพระราชทาน จะเพิ่่�มไทยธรรมเป็็นส่่วนตน โดยเสด็็จพระราชกุุศล ตามกำ�ำ ลัังศรััทธา ด้้วยก็็ได้้  ปััจจุุบััน ข้้าราชบริิพาร ส่่วนราชการ กระทรวง ทบวง กรม องค์์กรเอกชน คณะบุุคคล หรือื บุคุ คลใด มีคี วามประสงค์จ์ ะรับั พระราชทานผ้า้ พระกฐินิ ไปถวาย ณ พระอารามหลวงวัดั ใด ก็ใ็ ห้้ ติดิ ต่อ่ ไปยังั กรมการศาสนา กระทรวงศึกึ ษาธิกิ าร ตามระเบียี บ ซึ่ง่� เท่า่ กับั เป็น็ การจองกฐินิ ไว้ก้ ่อ่ นนั่น� เอง 19

กฐิินราษฎร์์ เป็น็ กฐินิ ที่่พ� ุทุ ธศาสนิกิ ชนผู้้�มีศรัทั ธานำ�ำ ผ้า้ กฐินิ ของตนไปทอด ณ วัดั ต่า่ งๆ ซึ่ง่� ตนมีีศรัทั ธา เป็็นการเฉพาะ เว้้นไว้้แต่่วััดที่่�ได้้กล่่าวมาแล้้วในเรื่�องกฐิินหลวง การทอดกฐิินของราษฎรตั้้�งแต่่ สมัยั กรุงุ สุโุ ขทัยั เป็น็ ต้น้ มา จนกระทั่่ง� ถึงึ ปัจั จุบุ ันั มีชีื่อ� เรียี กแตกต่า่ งกันั คือื  ๑. กฐินิ หรืือมหากฐินิ   ๒. จุุลกฐินิ   ๓. กฐินิ สามัคั คีี  ๔. กฐิินตกค้้าง  ๑. กฐินิ หรืือมหากฐินิ  เป็น็ กฐินิ ที่่ร� าษฎรหรือื ประชาชนนำ�ำ ไปทอด ณ วัดั ใดวัดั หนึ่่ง� ซึ่�่งตนมีีศรััทธาเป็็นการเฉพาะ กล่่าวคืือ ท่่านผู้�้ใดมีีศรััทธาจะทอดกฐิิน ณ วััดใด ก็็นำ�ำ ผ้้ากฐิินจััด เป็็นองค์์กฐิิน อาจจะถวายของอื่�น ๆ ไปพร้้อมกัับองค์์กฐิิน เรีียกกัันว่่า บริิวารกฐิิน ตามที่่�นิิยม กัันมีีปััจจััย ๔ คืือ เครื่่�องอาศััยของพระภิิกษุุสามเณร มีีไตรจีีวร บริิขารอื่่�น ๆ ที่่�เห็็นว่่าจำำ�เป็็น เป็็นของที่่�สมควรแก่่พระภิิกษุุสามเณรจะบริิโภค นอกจากนี้้� ยัังมีีธรรมเนีียมที่่�เจ้้าภาพจะต้้องมีี ผ้้าห่่มพระประธาน และเทีียนสำ�ำ หรัับจุุดในเวลาที่่�พระภิิกษุุสวดพระปาติิโมกข์์ ที่่�เรีียกกัันสั้�นๆ ว่่า เทีียนปาติิโมกข์์ จำ�ำ นวน ๒๔ เล่่ม และมีีธงผ้้าขาวเขีียน รููปจระเข้้หรืือสััตว์์น้ำ��ำ อื่่�น เช่่น ปลา นางเงือื ก สำำ�หรับั ปักั หน้า้ วัดั ที่่อ� ยู่่�ตามริมิ แม่น่ ้ำำ�� เมื่่อ� ทอดกฐินิ เสร็จ็ แล้ว้ และมีธี งผ้า้ ขาวเขียี นเป็น็ รููปตะขาบ ปัักไว้้หน้้าวััด สำำ�หรัับวััดที่่�ตั้�งอยู่�บนดอยไกลแม่่น้ำ�ำ� เพื่่�อแสดงให้้ทราบว่่า วััดนั้้�น ๆ ได้ร้ ับั กฐินิ แล้ว้ และอนุโุ มทนาร่ว่ มกุศุ ลด้ว้ ยได้้ อนึ่่ง� ยังั มีปี ระเพณีนี ิยิ มอีกี อย่า่ งหนึ่่ง� เกี่ย� วกับั เวลา ของการทอดกฐินิ ถ้า้ เป็น็ เวลาเช้า้ จะมีกี ารทำำ�บุญุ ถวายอาหารเพลแก่พ่ ระภิกิ ษุสุ ามเณรในวัดั ๒. จุุลกฐิิน ปััจจุุบัันวััฒนธรรมประเพณีีไทยหลายอย่่าง ได้้ค่่อย ๆ เลืือนหายไปจาก สัังคมไทย หนึ่่�งในนั้้�นก็็คืือประเพณีีจุุลกฐิิน หรืือ กฐิินน้้อย ซึ่�่งเป็็นกฐิินที่่�ต้้องทำ�ำ ให้้เสร็็จภายใน วัันเดีียว เดิิมเรีียกว่่า กฐิินแล่่นความหมาย คืือ เร่่งรีีบ ต้้องแล่่น (วิ่�ง) จึึงจะเสร็็จทัันกาล ซึ่่�งต้้อง อาศััยความร่่วมมืือและความสามััคคีีของคนหมู่่�มาก จึึงไม่่ค่่อยมีีใครจะนิิยมทำ�ำ กัันนััก  ด้้วยเป็็น กฐิินที่่�จะต้้องทำ�ำ ด้้วยความเร่่งรีีบ เจ้้าภาพผู้้�ที่�จะทอดกฐิินเช่่นนี้้�ได้้ ต้้องมีีพวกมาก มีีกำำ�ลัังมาก เพราะต้้องเริ่�มตั้�งแต่่การทำำ�ผ้้าที่่�นำำ�ไปทอดตั้�งแต่่ต้้น คืือ เริ่�มตั้�งแต่่นำำ�ฝ้้ายที่่�แก่่ใช้้ได้้แล้้ว แต่่ยัังอยู่� ในฝัักมีีปริิมาณให้้พอแก่่การที่่�จะทำ�ำ เป็็นผ้้าจีีวรผืืนใดผืืนหนึ่่�งได้้ แล้้วทำำ�พิิธีีสมมติิว่่าฝ้้ายจำำ�นวน นั้้�นได้้มีีการหว่่าน แตกงอกออกต้้น เติิบโต ผลิิดอก ออกฝััก แก่่ สุุกแล้้วเก็็บมาเอาเมล็็ดออก 20

ดีีดเป็็นผง ทำ�ำ เป็็นเส้้นด้้าย เปีียออกเป็็นใจ กรอออกเป็็นเข็็ด แล้้วฆ่่าด้้วยน้ำ��ำ ข้้าว ตากแห้้ง ใส่่กง ปั่่�นเส้้นหลอด ใส่่กระสวยเครืือ แล้้วทอเป็็นแผ่่นผ้้าตามขนาดที่่�ต้้องการ นำำ�ไปทอดเป็็นผ้้ากฐิิน เมื่�อพระสงฆ์์รัับผ้้านั้้�นแล้้ว มอบแก่่พระภิิกษุุผู้�้เป็็นองค์์ครอง ซึ่�่งพระองค์์ครองจะจััดการต่่อไป ตามพระวินิ ัยั หลังั จากนั้้น� ผู้ท�้ อดต้อ้ งช่ว่ ยทำ�ำ ต่อ่ คือื นำำ�ผ้า้ นั้้น� มาขยำ�ำ ทุบุ ซักั แล้ว้ ตากให้แ้ ห้ง้ นำ�ำ มา ตัดั เป็น็ จีวี รผืนื ใดผืนื หนึ่่ง� แล้ว้ เย็บ็ ย้อ้ ม ตากแห้ง้ พับั รีดี เสร็จ็ เรียี บร้อ้ ย แล้ว้ นำำ�ไปถวายองค์ค์ รอง อีีกครั้้�งหนึ่่�ง เพื่่�อให้้ท่่านทำำ�พิินทุุอธิิษฐาน เสร็็จแล้้วจะมีีการประชุุมสงฆ์์แจ้้งให้้ทราบ พระภิิกษุุ ทั้้ง� หมดจะอนุโุ มทนา เป็น็ เสร็จ็ พิธิ ี ี ในกรณีผี ู้ท�้ อดจุลุ กฐินิ ไม่ม่ ีีกำำ�ลังั มากพอ จะตัดั ตอนพิธิ ีกี ารใน ตอนต้้นๆ ออกเสีียก็็ได้้ โดยเริ่�มด้้วยการเอาผ้้าขาวผืืนใหญ่่มากะประมาณให้้พอที่่�จะตััดเป็็นจีีวร ผืนื ใดผืนื หนึ่่ง� แล้ว้ นำ�ำ ไปทอด เมื่ อ� พระภิกิ ษุสุ งฆ์ท์ ่า่ นนำ�ำ ไปดำำ�เนินิ การตามพระวินิ ัยั แล้ว้ ก็ช็ ่ว่ ยทำ�ำ ต่อ่ จากท่า่ น คือื ซักั ตัดั เย็บ็ ย้อ้ มให้เ้ สร็จ็ แล้ว้ นำำ�กลับั ไปถวายองค์ค์ รองเพื่่อ� พินิ ทุอุ ธิษิ ฐานต่อ่ ไป เหมือื นวิธิ ีที ี่่�กล่า่ วมาแล้ว้   อนึ่่�ง ข้้อที่่�ควรกำ�ำ หนดคืือ จุุลกฐิินจะเป็็นวิิธีีใดวิิธีีหนึ่่�งก็็ตาม จะต้้องทำำ�ให้้เสร็็จในวัันเดีียว เริ่�มต้้นตั้�งแต่่เวลาเช้้าถึึงย่ำ��ำ รุ่่�งของวัันรุ่�งขึ้�น คืือต้้องทำ�ำ ให้้เสร็็จก่่อนรุ่�งอรุุณของวัันใหม่่ ไม่่เช่่นนั้้�น แล้้วกฐิินนั้้�นไม่่เป็็นกฐิิน ส่่วนบริิวารของจุุลกฐิิน ผ้้าห่่มพระประธานและเทีียนปาติิโมกข์์ ตลอด จน ธงจระเข้้ ธงตะขาบ ก็ค็ งเป็น็ เช่น่ ที่่ก� ล่า่ วมาแล้ว้ ในเรื่อ� งกฐินิ หรือื มหากฐินิ ในปัจั จุบุ ันั นี้้ไ� ม่ค่ ่อ่ ย นิยิ มทำำ�กันั แล้ว้ วิธิ ีที อดจุลุ กฐินิ นี้้� มีปี รากฏในหนังั สือื เรื่อ� งคำำ�ให้ก้ ารชาวกรุงุ เก่า่ ว่า่ บางทีเี ป็น็ ของ หลวงทำ�ำ ในวัันกลางเดืือน ๑๒ คืือ ถ้้าสืืบรู้�ว่าวััดไหนยัังไม่่ได้้รัับกฐิิน ถึึงวัันกลางเดืือน ๑๒ อััน เป็็นที่่�สุุดของพระบรมพุุทธานุุญาต ซึ่่�งพระสงฆ์์จะรัับกฐิินได้้ในปีีนั้้�น จึึงทำำ�ผ้้าจุุลกฐิินไปทอด มููล เหตุุของจุุลกฐิินคงเกิิดแต่่จะทอดในวัันที่่�สุุดเช่่นนี้้� จึึงต้้องรีีบร้้อนขวนขวายทำ�ำ ให้้ทััน เห็็นจะเป็็น ประเพณีมี ีมี าเก่่าแก่่ เพราะถ้า้ เป็็นชั้น� หลัังก็็จะเที่่�ยวหาซื้�อผ้า้ ไปทอดได้้ หาพักั ต้อ้ งทอใหม่่ไม่่” 21

๓. กฐิินสามัคั คีี  เป็็นกฐิินที่่�มีีเจ้้าภาพหลายคนร่่วมกััน แต่่เพื่่�อไม่่ให้้การจััดงานยุ่�ง ยากมากเกินิ ไป ก็ม็ ักั จะตั้้ง� คณะกรรมการขึ้้น� คณะหนึ่่ง� ดำำ�เนินิ การ แล้ว้ มีหี นังั สือื บอกบุญุ ไปยังั ผู้้�อื่�นด้้วย เมื่่�อได้้ปััจจััยมาเท่่าไร ก็็จััดผ้้าอัันเป็็นองค์์กฐิิน รวมทั้้�งบริิวาร ปััจจััยที่่�เหลืือก็็ถวาย วััด เพื่่�อทางวััดจะนำ�ำ ไปใช้้จ่่ายในทางที่่�ควร กฐิินสามััคคีีนี้้� มัักนำ�ำ ไปทอดยัังวััดที่่�กำ�ำ ลัังมีีการ ก่่อสร้้างหรืือกำำ�ลัังบููรณปฎิิสัังขรณ์์ เพื่่�อสมทบทุุนให้้สิ่�งอัันพึึงประสงค์์ของวััดสำำ�เร็็จลุุล่่วงไป ๔. กฐิินตกค้้าง กฐิินนี้้�มีีชื่�อเรีียกอีีกว่่า กฐิินตก, กฐิินโจร ศาสตราจารย์์ พระยาอนุุมานราชธน ได้้กล่่าวถึึงเหตุุผลที่่�เกิิดกฐิินตกค้้างนี้้�ว่่า“แต่่ที่่�ทำ�ำ กัันเช่่นนี้้� ทำ�ำ กัันอยู่�ในท้้องถิ่�นที่่�มีีวััดมาก ซึ่่�งอาจมีีวััดตกค้้างไม่่มีีใครทอดก็็ได้้ จึึงมัักมีีผู้้�ศรััทธา ไปสืืบเสาะหาวััดอย่่างนี้้�เพื่่�อทอดกฐิิน ตามปกติิในวัันใกล้้ๆ จะสิ้�นหน้้าทอดกฐิิน หรืือในวัันสุุดท้้าย คืือวัันก่่อนแรมค่ำ��ำ หนึ่่�งของเดืือน ๑๒ ทอดกฐิินอย่่างนี้้�เรีียกกััน ว่่า กฐิินตกค้้าง หรืือเรีียกว่่า กฐิินตก บางถิ่�นก็็เรีียก กฐิินโจร เพราะกิิริิยาอาการที่่� ไปทอดอย่่างไม่่รู้�เนื้้�อรู้�ตััว จู่�ๆ ก็็ไปทอด ไม่่บอกกล่่าวเล่่าสิิบล่่วงหน้้าไว้้ให้้วััด รู้�เพื่่�อเตรีียมตััวกัันได้้พร้้อมและเรีียบร้้อย  การทอดกฐิินตก ถืือว่่าได้้บุุญอานิิสงส์์ แรงกว่่าทอดกฐิินตามปกติิธรรมดา บางทีีเตรีียมข้้าวของไปทอดกฐิินหลาย ๆ วััด แต่่ได้้วััด ทอดน้อ้ ยวัดั เครื่่อ� งไทยธรรมที่่ต� ระเตรียี มเอาไปทอดยังั มีเี หลือื อยู่� หรือื ทางวัดั ทอดไม่ไ่ ด้้ ก็เ็ อา เครื่่อ� งไทยธรรมเหล่า่ นั้้น� จัดั ทำ�ำ เป็น็ ผ้า้ ป่า่ เรียี กกันั ว่า่ ผ้า้ ป่า่ แถมกฐินิ การแก้ป้ ัญั หาเรื่อ� งกฐินิ ตกค้า้ ง  ในกรณีที ี่่ว� ัดั ใดวัดั หนึ่่ง� ไม่ม่ ีผี ู้จ้� องกฐินิ วิธิ ีแี ก้ป้ ัญั หาคือื ใครก็ไ็ ด้ท้ ี่่ม� ีศี รัทั ธาและมีที ุนุ ไม่่ มาก ไปซื้อ� ผ้า้ สำ�ำ เร็จ็ รูปู ผืนื ใดผืนื หนึ่่ง� นำำ�มาถวาย ก็เ็ รียี กว่า่ ทอดกฐินิ แล้ว้ หรือื ในกรณีที ี่่บ� างวัดั มีีประเพณีีให้้ตััด เย็็บ ย้้อม ให้้เสร็็จในวัันนั้้�น ก็็ซื้�อผ้้าขาวผืืนเดีียวมาถวายก็็จััดเป็็นการทอด กฐิินที่่�สมบููรณ์ต์ ามพระธรรมวินิ ัยั แล้้ว เป็็นอันั แก้ป้ ัญั หาเรื่�องกฐินิ ตกค้า้ งอย่า่ งง่า่ ยเพีียงเท่่านี้้� 22

การทอดกฐิินเป็็นบุุญพิเิ ศษ - พิิเศษเพราะเป็น็ สังั ฆทาน มิิได้เ้ ฉพาะเจาะจงแก่ภ่ ิกิ ษุุรููปใดรูปู หนึ่่�ง  - พิิเศษเพราะเป็็นการถวายทานตามกาล ไม่่มีีทั่่�วไป เรีียกว่่า “กาลทาน”ตามพระ ธรรมวิินััยกำำ�หนดกาลไว้้ คืือ มีีกำ�ำ หนดเวลาถวายที่่�จำำ�กััดเพีียงหนึ่่�งเดืือนหลัังจากออกพรรษา แล้ว้ ตั้ง� แต่ว่ ันั แรม ๑ ค่ำำ�� เดือื น ๑๑ ถึงึ วันั ขึ้น� ๑๕ ค่ำำ�� เดือื น ๑๒ โดยแต่ล่ ะวัดั สามารถรับั กฐินิ ได้้ ปีีละครั้้�งเดีียว และจะต้้องมีีพระสงฆ์์อยู่่�จำ�ำ พรรษาครบ ๕ รููป หากวััดใดมีีพระสงฆ์์อยู่่�จำ�ำ พรรษา ไม่่ถึึง ๕ รููป จะต้้องนิิมนต์์พระสงฆ์์จากวััดอื่�น ๆ มาร่่วมพิิธีีกรรมให้้ครบ ๕ รููปเป็็นอย่่างน้้อย เพื่่อ� ให้ค้ รบองค์ส์ งฆ์ต์ ามพระวินิ ัยั บัญั ญัตั ิ ิ องค์ส์ งฆ์์ ๕ รูปู ตามพระวินิ ัยั บัญั ญัตั ิดิ ังั กล่า่ วนั้้น� มีี ๔ รูปู เป็น็ องค์พ์ ยาน และอีกี ๑ รูปู เป็น็ องค์ค์ รองผ้า้ กฐินิ ภาษาสังั ฆกรรมของพระเรียี กว่า่   “ปัญั จ วรรค”  ผู้้�มีีจิิตศรััทธาเลื่�อมใสใคร่่จะทอดกฐิิน ก็็ให้้ทอดได้้ในระหว่่างระยะเวลานี้้� ถ้้าทอดก่่อน หรืือทอดหลัังกำ�ำ หนดนี้้�ก็็ไม่่เป็็นการทอดกฐิิน แต่่มีีข้้อยกเว้้นพิิเศษว่่า ถ้้าทายกทายิิกาผู้�้จะมาท อดกฐิินนั้้�น มีีกิิจจำ�ำ เป็็น เช่่น จะต้้องไปในทััพ ไม่่สามารถจะอยู่�ทอดกฐิินตามกำำ�หนดนั้้�นได้้ จะ ทอดกฐิินก่่อนกำำ�หนดดัังกล่่าวแล้้ว พระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าทรงอนุุญาตให้้พระภิิกษุุรัับไว้้ก่่อนได้้ - พิเิ ศษเพราะมีีอานิสิ งส์ท์ ั้้ง� สองฝ่า่ ย คือื อานิสิ งส์ส์ ำำ�หรับั พระภิกิ ษุผุ ู้ร�้ ับั กฐินิ และอานิสิ งส์์ สำำ�หรับั ผู้้�ถวายกฐิิน  23

อานิิสงส์์สำำ�หรับั พระภิกิ ษุุผู้้�รับกฐิิน พระพุทุ ธองค์ท์ รงอนุญุ าตให้พ้ ระภิกิ ษุผุ ู้อ�้ ยู่่�จำำ�พรรษาครบ ๓ เดือื น รับั ผ้า้ กฐินิ ได้้ เมื่อ� ได้ร้ ับั แล้้วมีีความสามััคคีีร่่วมกัันทำำ�ให้้ถููกต้้องตามพระธรรมวิินััย จะได้้รัับอานิิสงส์์หรืือความยกเว้้นใน การผิิดพระธรรมวินิ ััย ๕ ประการ คือื   ๑. เที่ย่� วจาริกิ ไปในที่อ่� ื่น�่ ได้้ โดยไม่ต่ ้อ้ งบอกลาเพื่่อ� นสหธัมั มิกิ ด้ว้ ยกันั หมายความว่า่ พระภิกิ ษุรุ ับั นิมิ นต์ไ์ ว้ใ้ นที่�แห่่งหนึ่่ง� สามารถไปที่เ� รือื นอื่�นได้ใ้ นเวลาก่อ่ นฉัันหรืือหลัังฉันั โดยมิติ ้้องบอกลาพระภิิกษุุอื่�น ๒. จาริกิ ไปที่อ�่ ื่น่� ได้โ้ ดย ไม่ต่ ้อ้ งนำ�ำ ผ้า้ ไตรจีวี รไปครบชุดุ หมายความว่า่ พระภิกิ ษุสุ ามารถ อยู่�ปราศจากผ้้าผืนื ใดผืืนหนึ่่ง� ที่่�อธิิษฐานเป็็นผ้้าไตรจีวี รได้้ ๓. ฉัันคณโภชน์์ได้้ หมายความว่่า ทายกทายิิกานิิมนต์์รัับอาหารโดยระบุุชื่�ออาหาร พระภิกิ ษุตุั้ง� แต่่ ๔ รูปู ขึ้น� ไปรับั แล้ว้ นำ�ำ มาฉันั รวมกันั เป็น็ หมู่่�คณะและฉันั พร่ำ��ำ เพรื่่อ� (ในเวลา) ได้้ ๔. เก็็บอดิิเรกจีีวรไว้้ได้้ตามต้้องการ หมายความว่่า พระภิิกษุุสามารถเก็็บผ้้าจีีวรนอกจากผ้้าไตรได้้ ๕. จีีวรเกิิดขึ้�้นในวััดนั้้�น เธอมีีสิิทธิิได้้รัับส่่วนแบ่่ง หมายความว่่า ผู้้�มีีจิิตศรััทธาน้้อมนำำ� จีีวรมาถวาย เธอจะได้้รัับสิิทธิิเท่่าเทีียมกัับพระภิิกษุุในวััดนั้้�น กล่่าวคืือ มีีส่่วนได้้ “อดิิเรกลาภ” (ลาภพิิเศษ) ที่่�เกิิดขึ้�นในวััดนั้้�น พระภิิกษุุผู้�้ได้้รัับกฐิินแล้้วจะได้้รัับอานิิสงส์์นี้้� เป็็นเวลา ๔ เดืือน ถึึงวัันขึ้�น ๑๕ ค่ำ��ำ เดือื น ๔  ขออธิิบายขยายความในเรื่�องนี้้�สัักเล็็กน้้อย ตามหลัักพระธรรมวิินััยนั้้�น พระภิิกษุุจะเข้้า บ้้านต้้องบอกลาพระภิิกษุุด้้วยกััน, จะเดิินทางเที่่�ยวไปต้้องนำำ�เอาไตรจีีวรไปให้้ครบชุุด, เวลาฉััน อาหารต้้องนั่่�งเรีียงกััน จะล้้อมวงกัันไม่่ได้้, จีีวรที่่�เหลืือใช้้เก็็บไว้้ได้้เพีียง ๑๐ วััน และลาภที่่�เกิิด ขึ้�นต้้องให้้แก่่พระภิิกษุุผู้้�มีีอาวุุโส คืือที่่�บวชนานที่่�สุุด ข้้อบัังคัับเหล่่านี้้� ย่่อมเป็็นความลำ�ำ บากแก่่ พระภิกิ ษุทุ ั้้�งหลายเป็็นอัันมาก  ตััวอย่่างเช่่น การเข้้าบ้้านต้้องบอกลากัันเสมอไปนั้้�น ถ้้าเผอิิญอยู่� คนเดีียว ไม่่มีีใครจะรัับลา ก็็เข้้าบ้้านไม่่ได้้, การเดิินทางต้้องเอาไตรจีีวรไปให้้ครบ หมายความ ว่่าต้้องเอาผ้้านุ่�งห่่มไปให้้ครบชุุด คืือ สบง (ผ้้านุ่�ง) จีีวร (ผ้้าห่่ม) สัังฆาฏิิ (ผ้้าซ้้อนผ้้าห่่ม) ใน ครั้้�งก่่อน พระภิิกษุุไม่่มีีโอกาสได้้ผ้้าบางเนื้้�อละเอีียดอย่่างสมััยนี้้�เสมอไป ถ้้าไปได้้ผ้้าเปลืือกไม้้ หรืือผ้้าอะไรชนิิดหนา การที่่�จะนำ�ำ เอาไปด้้วยนั้้�นไม่่เป็็นการง่่าย, การห้้ามฉัันอาหารล้้อมวง ต้้องนั่่�งเรีียงกัันฉัันอาหารนั้้�น ถ้้ามีีอาหารน้้อยก็็ทำำ�ความลำำ�บาก เราทราบอยู่�แล้้วว่่าการรัับ 24

ประทานแยกกันั ย่อ่ มปลีกี อาหารมากกว่า่ การรับั ประทานรวมกันั   ส่ว่ นเรื่อ� งการเก็บ็ จีวี รที่่เ� หลือื ใช้น้ั้้น� ในชั้น� เดิมิ เป็น็ ความมุ่�งหมายของพระพุทุ ธเจ้า้ ที่่จ� ะไม่ใ่ ห้พ้ ระภิกิ ษุเุ ก็บ็ สะสมทรัพั ย์ส์ มบัตั ิิ ถ้า้ มีอี ะไรเหลือื ใช้จ้ ะเก็บ็ ไว้ไ้ ม่ไ่ ด้้ ต้อ้ งให้ค้ นอื่น� เสียี โดยเฉพาะเรื่อ� งจีวี รนี้้�มีบี ัญั ญัตั ิิว่า่ ถ้า้ มีจี ีวี รเหลือื ใช้เ้ ก็บ็ ไว้ไ้ ด้เ้ พียี ง ๑๐ วันั พ้น้ ๑๐ วันั ไปแล้ว้ ต้อ้ งสละให้ค้ นอื่น� ไป ถ้า้ จะไม่ส่ ละต้อ้ งทำำ�พิธิ ีี ๒ อย่า่ ง อย่า่ งหนึ่่ง� เรียี กว่า่ “วิกิ ัปั ” คือื ไปทำำ�ความตกลงกับั พระภิกิ ษุอุ ีกี รูปู หนึ่่ง� ให้เ้ ป็น็ เจ้า้ ของจีวี รด้ว้ ยกันั แล้้วมอบให้้ตนเก็็บไว้้ อีีกอย่่างหนึ่่�งเรีียกว่่า “อธิิษฐาน” คืือถ้้าจีีวรที่่�เหลืือใช้้นั้้�นใหม่่กว่่าของที่่�ใช้้ อยู่� ก็เ็ อามาใช้เ้ สียี แล้ว้ สละของเก่า่ ให้ค้ นอื่น� ไป การห้า้ มกวดขันั ไม่ใ่ ห้เ้ ก็บ็ ผ้า้ จีวี รไว้เ้ กินิ ต้อ้ งการเช่น่ นี้้� ในบางครั้้�งก็็เกิิดความลำ�ำ บาก เช่่น ถููกขโมยลัักจีีวร ซึ่�่งเคยถููกลัักกัันมามากในครั้้�งพุุทธกาล หรืือมีีเหตุุอย่่างใดอย่่างหนึ่่�ง ที่่�ทำำ�ให้้จีีวรนั้้�นใช้้ไม่่ได้้ ก็็ไม่่มีีสำ�ำ รองเสีียเลย ในเรื่�องลาภที่่�เกิิด ขึ้น� ในวัดั นั้้น� มีขี ้อ้ บังั คับั กวดขันั ว่า่ ให้ไ้ ด้แ้ ก่พ่ ระภิกิ ษุทุ ี่่ม� ีพี รรษายุกุ าลมากที่่ส� ุดุ คือื ที่่บ� วชก่อ่ น คนอื่่น� ในเรื่อ� งนี้้ท� ำำ�ความเดือื ดร้อ้ นหลายครั้้ง� เช่น่ พระภิกิ ษุอุ ยู่�ในวัดั เดียี วกันั อดอยากมาด้ว้ ย กััน มีีผู้�้เอาของมาถวาย และในวัันที่่�มีีผู้�้เอาของมาถวายนั้้�น เผอิิญมีีพระภิิกษุุจรมาพัักอยู่�ใน วัดั นั้้น� ด้ว้ ย และพระภิกิ ษุจุ รมีพี รรษายุกุ าลมากกว่า่ พระภิกิ ษุทุ ี่่อ� ยู่�ในวัดั ลาภนั้้น� ก็ต็ ้อ้ งตกเป็น็ ของพระภิกิ ษุทุ ี่่จ� รมา ส่ว่ นพระภิกิ ษุทุ ี่่อ� ยู่�ในวัดั ก็ไ็ ม่ม่ ีสี ่ว่ นได้ ้ ความขัดั ข้อ้ งลำำ�บากอันั เกิดิ จาก ทางพระธรรมวินิ ัยั นี้้� พระพุทุ ธเจ้า้ ได้ท้ รงเห็น็ มานานแล้ว้ แต่พ่ ระธรรมวินิ ัยั ของพระพุทุ ธเจ้า้ ไม่่เหมืือนกัับกฎหมาย คืือกฎหมายที่่�บััญญััติิไว้้แล้้ว ถ้้าเห็็นว่่าไม่่ดีีก็็ประกาศยกเลิิกและ บััญญััติิใหม่่ได้้ ส่่วนพระธรรมวิินััยของพระพุุทธเจ้้าประกาศยกเลิิกไม่่ได้้ ได้้แต่่งดชั่�วคราว หรืือมีีข้้อยกเว้้นพิิเศษให้้เท่่านั้้�น เมื่่�อได้้ทรงเห็็นความลำ�ำ บากของพระภิิกษุุชาวเมืืองปาฐา ประมาณ ๓๐ รููป ที่่�พากัันมาเข้้าเฝ้้า ทรงเห็็นชััดว่่าควรให้้ความยกเว้้นในเรื่�องการหอบหิ้้�ว เอาไตรจีีวรมาให้้ครบ และเมื่่�อทรงยกเว้้นในข้้อนี้้� ก็็เลยทรงประทานข้้อยกเว้้นอื่่�นๆ ที่่�ทรง ดำ�ำ ริิมาแล้้วแต่่ก่่อนด้้วย จึึงเกิิดมีีข้้อยกเว้้นในการผิิดพระธรรมวิินััยขึ้้�น ๕ ข้้อดัังกล่่าวมาข้้าง ต้้น แต่่การงดชั่�วคราวหรืือให้้ความยกเว้้นเป็็นพิิเศษนั้้�น จะให้้กัันเฉยๆ ไม่่ได้้ พระภิิกษุุต้้อง ได้ท้ ำำ�ความดีอี ันั ใดอันั หนึ่่ง� จึงึ จะได้ร้ ับั ความยกเว้น้ ฉะนั้้น� พระพุทุ ธเจ้า้ จึงึ ทรงบัญั ญัตั ิใิ ห้ม้ ีพี ิธิ ีี กรานกฐิิน ด้้วยพิิธีีกรานกฐิินถืือเป็็นความดีีความชอบอย่่างหนึ่่�ง เพราะการทำำ�จีีวรในสมััย นั้้น� ไม่ใ่ ช่ข่ องง่า่ ยๆ ตามปกติเิ วลามีกี ารทำ�ำ จีวี ร พระภิกิ ษุยุ ่อ่ มได้ร้ ับั ความยกเว้น้ ในวินิ ััยหลาย ข้้ออยู่�แล้้ว เมื่่�อต้้องมาทำ�ำ จีีวรโดยรีีบร้้อนให้้เสร็็จในวัันเดีียว และตกเป็็นสมบััติิของคณะ สงฆ์์อีีกเช่่นนี้้� ก็็ควรเป็็นความดีีความชอบอัันพึึงได้้รัับความยกเว้้นในการผิิดพระธรรมวิินััย 25

อานิิสงส์ส์ ำำ�หรัับผู้ถ�้ วายกฐิิน โดยทั่่�วไปยัังไม่่เคยพบในพระบาลีีที่่�ระบุุไว้้โดยตรง แต่่ว่่าการทอดกฐิินเป็็นกาลทาน ปีี หนึ่่�งทำ�ำ ได้้ครั้้�งเดีียว วััดหนึ่่�งทำ�ำ ได้้ครั้้�งเดีียวในปีีหนึ่่�งๆ ต้้องทำ�ำ ภายในกำ�ำ หนดเวลา และผู้้�ทอด ก็็ต้้องตระเตรีียมจััดทำำ�เป็็นงานใหญ่่ ต้้องมีีผู้้�ช่่วยเหลืือหลายคน จึึงนิิยมกัันว่่าเป็็นพิิธีีบุุญที่่� อานิิสงส์์แรง  น่่าคิิดอีีกทางหนึ่่�งว่่า การทอดกฐิินนี้้� ผู้�้เข้้าใจจึึงปฏิิบััติิได้้อย่่างถููกต้้อง จะได้้รัับผล คืือสมบููรณ์์ด้้วยโภค-สมบััติิเพราะเราให้้ทานเอง และสมบููรณ์์ด้้วยบริิวารสมบััติิ เพราะชัักชวนผู้�้ อื่�น บอกบุุญแก่่ญาติิมิิตรให้้มาร่่วมการกุุศลด้้วย กาลทานเช่่นนี้้� เรีียกว่่า ทานทางพระธรรมวิินััย ผู้�ป้ ระสงค์์จะทอดกฐิินจะทำำ�อย่า่ งไร พุทุ ธศาสนิกิ ชนทั่่ว� ไป ย่อ่ มถือื กันั ว่า่ การทำ�ำ บุญุ ทอดกฐินิ เป็น็ กุศุ ลแรง เพราะเป็น็ กาลทาน ทำ�ำ ได้เ้ พียี งปีลี ะ ๑ ครั้้ง� และต้อ้ งทำำ�ในกำำ�หนดเวลาที่่พ� ระ พุทุ ธองค์ท์ รงบัญั ญัตั ิไิ ว้้ ดังั นั้้น� ถ้า้ มีคี วาม เลื่อ� มใสใคร่่จะทอดกฐินิ บ้้างแล้้วพึงึ ปฏิบิ ััติดิ ัังต่อ่ ไปนี้้� การจองกฐิิน สำ�ำ หรัับวััดราษฎร์์ทั่่�วไป เมื่่�อจะไปจองกฐิิน ณ วััดใด พอเข้้าพรรษาแล้้ว พึึงไป มนััสการสมภารเจ้้าวััดนั้้�น กราบเรีียนแก่่ท่่านว่่าตนมีีความประสงค์์จะขอทอดกฐิิน แล้้ว เขีียนหนัังสืือจองกฐิินปิิดประกาศไว้้ ณ วััดนั้้�น เพื่่�อให้้รู้�ทั่�ว ๆ กััน การที่่�ต้้องไป จองก่่อนแต่่เนิ่่�นๆ ก็็เพื่่�อให้้ได้้ทอดวััดที่่�ตนต้้องการ หากมิิเช่่นนั้้�นอาจมีีผู้้�อื่�นไปจองก่่อน นี้้� กล่่าวสำำ�หรัับวััดราษฎร์์ ซึ่�่งราษฎรมีีสิิทธิิจองได้้ทุุก วััด สำำ�หรัับการขอพระราชทาน ผ้้าพระกฐิินไปทอด ณ พระอารามหลวง อัันมีีธรรมเนีียมว่่าต้้องได้้รัับกฐิินหลวงแล้้ว ทายกนั้้�นครั้้�นกราบเรีียนเจ้้าอาวาสท่่านแล้้ว ต้้องทำ�ำ หนัังสืือยื่�นต่่อกองสัังฆการีีกรม การศาสนา กระทรวงศึึกษาธิิการ ขอเป็็นกฐิินพระราชทาน เพื่่�อกรมการศาสนาจะขึ้�น บััญชีีไว้้กราบบัังคมทููลและแจ้้งให้้วััดทราบ ครั้้�นคำ�ำ อนุุญาตตกไปถึึงแล้้ว จึึงจะจองได้้ 26

การเตรีียมการ  ครั้้น� จองกฐินิ เรียี บร้อ้ ยแล้ว้ เมื่อ� ออกพรรษาแล้ว้ จะทอดกฐินิ ในวันั ใด ก็ก็ ำ�ำ หนดให้แ้ น่น่ อน แล้้วกราบเรีียนให้้เจ้้าวััดท่่านทราบวัันกำำ�หนดนั้้�น ถ้้าเป็็นอย่่างชนบท สมภารเจ้้าวััดก็็บอกติิดต่่อ กัับชาวบ้้าน ว่่าวัันนั้้�นว่่าวัันนี้้� เป็็นวัันทอดกฐิินให้้ร่่วมแรงร่่วมใจกัันช่่วยจััดหาอาหารไว้้เลี้�ยงพระ และเลี้�ยงผู้้�มาในงานกฐิิน ครั้้�นได้้กำำ�หนดวัันทอดกฐิินแล้้ว ก็็เตรีียมจััดหาเครื่่�องผ้้ากฐิิน คืือ ไตร จีีวร พร้้อมทั้้�งเครื่่�องบริิขารอื่่�นๆ ตามแต่่มีีความศรััทธามากน้้อย (ถ้้าจััดเต็็มที่่�มัักมีี ๓ ไตร คืือ องค์ค์ รอง ๑ ไตร, คู่�สวดองค์์ละ ๑ ไตร) วันั งานทอดกฐิิน พิิธีีทอดกฐิินเป็็นบุุญใหญ่่ดัังกล่่าวมาแล้้ว การนำำ�กฐิินไปทอดทำำ�ได้้สองอย่่าง อย่่างหนึ่่�ง คือื ตั้ง� องค์พ์ ระกฐินิ กับั เครื่่อ� งบริวิ าร ณ วัดั ที่่จ� ะทอดก่อ่ น พอถึงึ วันั กำ�ำ หนดเจ้า้ ภาพผู้เ้� ป็น็ เจ้า้ ของ กฐิิน หรืือรัับพระราชทานผ้้ากฐิินทานมา จึึงพากัันไปยัังวััดเพื่่�อทำ�ำ พิิธีีถวาย อีีกอย่่างหนึ่่�ง ตาม คติทิ ี่่ถ� ือื ว่า่ การทอดกฐินิ เป็น็ การถวายทานพิเิ ศษแก่พ่ ระสงฆ์ท์ ี่่ไ� ด้จ้ ำำ�พรรษาครบไตรมาส นับั ว่า่ ได้้ กุุศลแรง จึึงได้้มีีการฉลองกฐิินก่่อนนำ�ำ ไปวััด ดัังนั้้�น โดยมากจึึงจััดงานเป็็น ๒ วััน วัันต้้นตั้�งองค์์ พระกฐิินกัับเครื่่�องบริิวารที่่�บ้้านของเจ้้าภาพก็็ได้้ หรืือจะไปตั้�งที่่�วััดก็็ได้้ มีีการทำ�ำ บุุญเลี้�ยงพระ และเลี้�ยงผู้้�คน ที่่�บ้้านของผู้้�เป็็นเจ้้าของกฐิิน กลางคืืนมีีการมหรสพสมโภชครึึกครื้้�นสนุุกสนาน ญาติิพี่่�น้้องและมิิตรสหายก็็มัักจะมาร่่วมอนุุโมทนา รุ่�งขึ้�นไปยัังวััดที่่�จะทอดเพื่่�อทำ�ำ พิิธีีถวาย ถ้้า ไปทางบก ก็็มีีแห่่แหนทางขบวนรถหรืือเดิินขบวนกัันไป มีีแตรวง มีีเครื่่�องบรรเลง มีีการฟ้้อน รำำ� นำำ�ขบวนตามประเพณีีนิิยม หรืืออื่�นๆ เป็็นการครึึกครื้้�น ถ้้าไปทางเรืือก็็มีีแห่่แหนทางขบวน เรืือ สนุุกสนาน โดยมากมัักแห่่ไปตอนเช้้า และเลี้�ยงพระถวายภััตตาหารเพล การทอดกฐิิน จะ ทอดในตอนเช้า้ นั้้น� ก็ไ็ ด้้ ทอดเพลแล้ว้ ก็ไ็ ด้้ สุดุ แล้ว้ แต่ส่ ะดวก การเลี้ย� งพระถ้า้ เป็น็ อย่า่ งในชนบท ชาวบ้้านจัดั ภััตตาหารเลี้ย� งด้้วย เจ้้าของงานกฐิินก็จ็ ััดไปด้้วย อาหารมากมายเหลืือเฟืือ แม้้ข้้อนี้้� ก็็สุุดแต่่กาละเทศะแห่่งท้้องถิ่�น อนึ่่�ง ถ้้าตั้�งองค์์พระกฐิินในวััดที่่�จะทอดนั้้�น เช่่น ในชนบท ตอน เย็็นก็็แห่่องค์์พระกฐิินไปตั้�งที่่�วััด กลางคืืนมีีการฉลองรุ่�งขึ้�นเลี้�ยงพระเช้้า แล้้วทอดกฐิิน ถวาย ภัตั ตาหารเพล และบางงานอาจมีกี ารรวบรวมปัจั จัยั ไปวัดั ถวายพระอีกี ด้ว้ ย เช่น่ ในกรณีกี ฐินิ สามัคั คีี 27



สัมั โมทนีียกถา กฐินิ พระราชทาน วััดพระธาตุุศรีีจอมทอง วรวิหิ าร ขออนุโมทนากับท่านผู้ว่าและคุณนาย แล้วกระทั่งท่านเจ้าภาพ และท่านนายอ�ำเภอ และ คณะอุบาสกอุบาสิกา แม่ชี และโยคี และคณะกรรมการ และศรัทธาแห่งวัดพระบรมธาตุจอมทอง และท่านสาธุชนผู้ใจบุญทั้งหลายทุกท่าน อาตมาในนามของพระสงฆ์ วัดพระบรมธาตุจอมทอง จึงขออนุโมทนากับท่านเจ้าภาพ และท่านอุบาสกอุบาสิกาท้ังหลายท่ีได้มาส่งเสริมสนองพระด�ำริ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่พระด�ำริน้ัน คือขอกล่าวประวัตินิดหน่อย คือสมัยเมื่อพระพุทธองค์ ยังทรงพระชนอยู่ มีภิกษุ ๓๐ รูป ชาวเมืองปาเฐยยะ จะเดินทางไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ พระเชตวัน พอไปถงึ เมอื งสาเกตกไ็ มไ่ กลนกั จากเมอื งสาเกตไป แตก่ เ็ คารพค�ำสงั่ ของพระพทุ ธองค์ ไดจ้ �ำพรรษาที่ เมืองสาเกต ออกพรรษาแล้วก็ไม่ฟังเสียงก็เดินทางไป มีผ้าเปียกชุ่มเปื้อนเปรอะตน แลในขณะน้ัน พระพุทธองค์ประทับอยู่ท่ี กลางพระวิหาร พระเชตวัน มองภิกษุ ทอดพระเนตรเห็นภิกษุ ๓๐ รูป มาด้วยความเปียกชุ่ม เปรอะเต็มตน พระองค์ทรงพระด�ำริขึ้นมา ว่า กฐินํ อนุชานามิ เราจะเป็น ผู้อนุญาตให้กฐินแก่ ภิกษุท้ังหลาย อันน้ี พระด�ำริ และเม่ือพระด�ำริอย่างน้ีแล้วก็ไม่มีใครท่ีจะสนอง นางวิสาขามหาอุบาสิกา สนองเลย เป็นผู้ถวายกฐินคร้ังแรกในโลก เพื่อให้ภิกษุได้รับสิทธิ์จาก พระวินยั ท่ี พระพุทธองคท์ รงตรสั แก่ภิกษทุ ้ังหลายท่จี �ำพรรษาถว้ นไตรมาสในพระอารามแห่งน้ัน ๆ พระพทุ ธองค์ทรงตรัสใหส้ ิทธจิ์ ากพระวินัยอยู่ ๕ ประการ ๑. อนามนฺตฺ จาโร เทีียวไปไม่่ต้้องบอกลา ๒. อสมาทานจาโร เทียี วไปไม่ต่ ้้องเอาไตรจีีวรไปครบ ๓. คณโภชนํํ ฉันั คณะโภชน ฉัันเป็็นหมู่่�ได้้ ๔. ยาวทตฺถฺ จีีวรํํ เก็็บอดิเิ รกจีีวร อกาลจีีวรไว้ไ้ ด้ต้ ามความปรารถนา ๕. โย จ ตตฺถฺ จีีวรุุปฺฺปาโท จีีวรลาภใดอันั เกิิดในที่่�นั้้�นเป็็นของได้แ้ ก่่พวกเธอ ทั้้�งหลาย ผู้้�ได้้รัับกรานกฐิินแล้้ว อีีกทั้้�งยืืดอานิิสงส์์ ๕ นี้้� ยืืดไปอีีก ๔ เดืือน คืือจะไปหมดเดืือน ๖ เหนืือเป็็นเดืือน ๔ ภาคกลาง ถ้้าหากว่่าภิิกษุุไม่่ได้้รัับกรานกฐิินแล้้ว ๕ อย่่าง อัันเป็็นสิิทธิ์�ที่�ได้้รัับ ยกเว้้นจากพระพุุทธองค์์ จะไปหมดเดืือน ๑๒ เพ็็ญ คืือเดืือนยี่�เหนืือถ้้าหากได้้รัับกฐิินแล้้วอานิิสงส์์ ๕ ประการ ไปหมดเดือื น ๖ เหนือื เป็น็ เดือื น ๔ ภาคกลาง อันั นี้้อ� านิสิ งส์์ ฝ่า่ ยภิกิ ษุจุ ะพึงึ ได้ร้ ับั

และอานิิสงส์์ฝ่า่ ยฆราวาส ก็ม็ ีีอยู่� ๕ ประการ ประการที่่� ๑ เกิิดภพใดชาติใิ ด จะเป็น็ ผู้ไ้� ม่ย่ ากจน จะได้้มีีข้้าวของสมบััติิ ทั้�งชาติินี้แ� ละในชาติติ ่อ่ ไป ประการที่่� ๒ กิติ ฺตฺ ิิสทฺฺโท จะเป็็นผู้้�มีชื่อ� เสียี งกิิตติิศักั ดิ์์� ประการที่ ๓ จะเป็นผูด้ ีเดน่ ในสังคม ในชาตินี้และชาติตอ่ ไป ประการที่่� ๔ อมุุฬโห คืือว่่า เวลาตายไม่ห่ ลงตาย เวลาจะเป็็นอสัันกรรม คืือเราได้้ทอด กฐิินนี้้�ให้น้ ึกึ และมหากุุศลนี้้จ� ะมาปรากฏในมโนทวาร และไม่ด่ิ้น� รน และ กระวนกระวาย จิติ ใจสงบ อัันนี้้�เป็็นอานิิสงส์์ ๔. อมุุฬโห ไม่ห่ ลงตาย ประการที่่� ๕. สุคุ ติแิ น่น่ อน เวลาเมื่อ� ตายไปแล้ว้ มีพี วกเทพทั้้ง� หลายต้อ้ งการที่่จ� ะให้ไ้ ปอยู่�ใน ชั้�นของตน ๆ และจะได้ม้ ีีสุุคติิเป็น็ ที่่�ไปเกิิด อบายภููมิทิ ั้้ง� ๔ ไม่่ได้้ไป เพราะฉะนั้้�น การที่่�เราถึึงแม้้นว่่าเราไม่่ได้้หลุุดพ้้นไป เราจะได้้เกิิดเป็็นมนุุษย์์ที่่�ดีี ทั้้�งขึ้�น ทั้้ง� ล่อ่ ง ทั้้ง� ล่อ่ งและทั้้ง� ขึ้น� ทั้้ง� ล่อ่ งนั้้น� คือื ว่า่ ต้อ้ งไปสวรรค์อ์ ย่า่ งแน่น่ อน ผู้ไ�้ ด้ก้ รานกฐินิ และมหากฐินิ นี้้� โดยเฉพาะนี้้� และจะได้ท้ ั้้ง� ขึ้น� นั้้น� คือื จะต้อ้ ง ถ้า้ หากว่า่ ปฏิบิ ัตั ิธิ รรมมีอี ินิ ทรียี ์อ์ ันั แก่ก่ ล้า้ ก็จ็ ะได้บ้ รรลุุ ในชาติน้ี ได้หลุดพ้นไป ถ้าหากว่ามีอินทรีย์อันอ่อนก็จะได้เกิดในสวรรค์และไม่ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ แล้วเป็นอนาคามีแล้วก็และจะได้ปรินิพพานหรือหมดภพชาติในชาติสวรรค์ ในชั้นสุทธาวาสอันนี้ และอกี อย่างหน่ึง บารมีอันน้ี ถ้าหากว่าไม่ได้พ้นไปจากสังสารวัฏจะวนเวียนอยู่ แต่ไม่ได้ไปอบายจะ อยใู่ นมนษุ ยแ์ ละสวรรค์ พรหมและกจ็ ะไดท้ นั ฟงั ธรรมะของพระพทุ ธเจา้ ศรอี รยิ เมตไตรยตนทจ่ี ะลง มาในรายการต่อจากรายการพระโคตมของเรา และถ้าหากว่าหมดศาสนาของพระพุทธองค์โคตม ของเรา เม่ือศาสนาของเราหมดไปแล้วก็มีรายการพระศรีอริยเมตไตรยจะลงมาเกิดแล้วพวกเราท้ัง หลาย จะอยู่ได้เป็นมนุษย์หรือเทวดาก็จะได้ฟังธรรมต่อพระพักตร์พุทธองค์แล้วก็จะได้ปฏิบัติธรรม แล้วก็จะได้หลุดพ้นไปจากสงั สารวฏั ไมเ่ วยี นว่ายตายเกดิ อกี ตอ่ ไป จะได้ถงึ ทีส่ ดุ แหง่ ทกุ ข์ บัดั นี้้ห� มู่่�ญาติโิ ยมทั้้ง� หลายได้พ้ ากันั มาส่ง่ เสริมิ พระดำ�ำ ริขิ องพระพุทุ ธองค์อ์ ย่า่ งนี้้� ศาสนาของ เราก็จ็ ะได้เ้ จริญิ รุ่�งเรือื ง ท่า่ นผู้ใ�้ จบุญุ ทั้้ง� หลาย ท่า่ นพุทุ ธบริษิ ัทั ทั้้ง� หลาย นี้้แ� หละถ้า้ หากว่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ ทรงพระชนอยู่�จะมาอนุุโมทนาเพราะมาอุ้�มชูู เทิิดทููนศาสนาของพระองค์์เพราะว่่าได้้ปฏิิบััติิตาม ค�ำสอนของพระองค์ และพระพุทธองค์ก็ทรงอนุโมทนา เพราะว่าศาสนาน้ัน มี ๓ คือ ศาสนวัตถุ ศาสนวััตถุุ คืือการก่่อสร้้างกุุฏิิ วิิหาร ศาลา อัันนี้้�เป็็นศาสนวััตถุุ ศาสนบุุคคล นี้้�ละ คืือว่่าหมู่่�ภิิกษุุ ทั้้�งหลายมาบวชในศาสนา และเป็็นศาสนบุุคคล โยมทั้้�งหลายมาให้้กำำ�ลัังใจ มาส่่งเสริิมพระภิิกษุุ ผู้้� จำำ�พรรษาถ้้วนไตรมาส อย่่างนี้้�เป็็นการส่่งเสริิมศาสนบุุคคล นี้้�ละเป็็นการส่่งเสริิมพระพุุทธศาสนา

และประการที่่� ๓ ศาสนธรรม คือื ศาสนธรรมนั้้น� คือื ปริยิ ัตั ิสิ ัทั ธรรม ปฏิบิ ัตั ิสิ ัทั ธรรม ปฏิเิ วธสัทั ธรรม ปริิยััติิสััทธรรมนั้้�นคืือได้้แก่่สำำ�นัักเรามีีการศึึกษาตั้�งแต่่นัักธรรมตรีีไปจนถึึงประโยค ๙ อัันนี้้�เรีียกว่่า ปริยิ ัตั ิสิ ัทั ธรรม ปฏิบิ ัตั ิสิ ัทั ธรรม อันั ได้แ้ ก่ก่ ารปฏิบิ ัตั ิธิ รรม วัดั เรานี้้ม� ีธี ุรุ ะอยู่� ๒ ประการ อย่า่ งที่่ภ� ิกิ ษุไุ ด้้ กราบทูลู พระพุทุ ธองค์ว์ ่า่ ข้า้ แด่พ่ ระองค์ผ์ ู้เ้� จริญิ ธุรุ ะในพระพุทุ ธศาสนามีเี ท่า่ ใดพระเจ้า้ ข้า้ พระพุทุ ธ องค์ท์ รงตอบว่า่ ทเวเมภิกิ ขเว ธุรุ านิิ ดูกู ร ภิกิ ษุทุ ั้้ง� หลาย ธุรุ ะในพระพุทุ ธศาสนามีี ๒ อย่า่ ง คือื คัันถะธุุระ คืือการศึึกษา วิิปััสสนาธุุระ คืือการเจริิญวิิปััสสนา นี้้�ละสำ�ำ นัักเรามีีทั้้�งศึึกษา มีีนัักเรีียน ศึึกษาปริิยััติิสััทธรรม มีีถึึงเปรีียญ ๙ ประโยค และปฏิิบััติิธรรมเจริิญวิิปััสสนากรรมฐาน เป็็นการทางคณะสงฆ์์แม้้นในหลวงเราก็็ให้้ทุุนหลวง พระเจ้้าอยู่�หััวให้้ทุุนการปฏิิบััติิ นี้้�มีี สมเด็็จพระพุุทธชิินวงศ์์เป็็นประธานในคณะสงฆ์์แห่่งประเทศไทย ส่่งเสริิมในด้้านปฏิิบััติิศาสนา นี้้�เรีียกว่่าศาสนธรรม สำำ�นัักเรามีีการปฏิิบััติิอัันนี้้� เจริิญวิิปััสสนาอัันนี้้�เป็็น สััทธรรม สััทธรรมที่่�ตั้�งอยู่� เรีียกว่่าวััตถุุศาสนา ปฏิิบััติิศาสนา และศาสนธรรม คืือการปฏิิบััติิ เรามีีพระสััทธรรมครบบริิบููรณ์์ ปริิยััติิสััทธรรม ปฏิิบััติิสััทธรรม ปฏิิเวธสััทธรรม ปฏิิเวธนั้้�นได้้แก่่ ผู้�้ปฏิิบััติินั้้�นได้้ผล เป็็นที่่�พึึงพอใจ ผู้้�คนที่่�มาปฏิิบััติิถึึงแม้้ว่่าจะไม่่ถึึงมรรคผล แต่่ได้้ถึึงญาณที่่� ๒ คืือ นามรููปปริิจเฉทญาณ ก็็ปฏิิบััติิ ก็็ประกัันอบายได้้ชาติิในชาติิหนึ่่�งไม่่ตกนรก ดัังบาลีีที่่�พระพุุทธองค์์ทรงตรััสไว้้ในวิิสุุทธิิมรรค ภาค ๓ ปััญญานิิเทศ ว่่า อิิมิินาญาเน นะ สมณคโต พุุทธสาสเน รััทสโส รััทปฏิิโน นิิยาคติิโก จุุล โสดาปโน นามะ โหติิ ผู้้�ได้้มาปฏิิบััติินี้้� ๓ วััน ๗ วััน แน่่นอน ได้้นามรููปปริิจเฉทญาณ เขาเกิิดมาไม่่ เสีียชาติิเกิิด เขาจะได้้มีีสติิในชาติินี้้�ผู้�้ใดได้้ปฏิิบััติิธรรม ถึึงญาณที่่� ๒ ได้้ชื่�อว่่าเป็็นจุุลโสดาบััน อัันนี้้� เพราะฉะนั้้น� ในพุทุ ธศาสนาของเรามีอี ย่า่ งนี้้� ท่า่ นพุทุ ธบริษิ ัทั ทั้้ง� หลาย อาตมาพร้อ้ มด้ว้ ยคณะสงฆ์์ ได้้ รัับอุปุ การะจากญาติโิ ยมมีีกำำ�ลัังใจอันั ที่่�จะประพฤติปิ ฏิบิ ััติใิ นศาสนกิิจต่อ่ ไป กตปุญุ ฺเฺ ญน ด้ว้ ยอำ�ำ นาจแห่ง่ ท่า่ นเจ้า้ ภาพ และท่า่ นผู้้�ว่า ท่า่ นนายอำำ�เภอ และท่า่ นข้า้ ราชการ ทุุกส่่วน และญาติิโยมแม่่ชีี โยคีี ทั้้�งหลาย ได้้พากัันมาปฏิิบััติิ ด้้วยอำ�ำ นาจแห่่งบุุญนี้้� ก็็ขอจงเป็็นพลว ปัจั จัยั ให้ท้ ่า่ นทั้้ง� หลายได้บ้ รรลุมุ รรคผล นิพิ พาน โดยเวลาอันั เร็ว็ วันั ด้ว้ ยกันั ทุกุ ท่า่ นและทุกุ คน เทอญฯ พระพรหมมงคล วิิ. (หลวงปู่่�ทอง สิริ ิมิ งฺคฺ ลมหาเถร)



พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานผา้ พระกฐิน ประจา� ปี ๒๕๖๔ ให้ บรษิ ทั เอส. พี. เพ็ทแพค จำ� กัด - คุณววิ รรธน์ - คุณสพุ ร ปณิธำนศิรกิ ุล พรอ้ มคณะศษิ ย์หลวงปทู่ อง นอ้ มนำ� ไปถวำยแด่พระสงฆผ์ ู้จำ� พรรษำกำลถ้วนไตรมำส ณ วดั พระธำตศุ รจี อมทอง วรวิหำร อำ� เภอจอมทอง จงั หวัดเชยี งใหม่ ในวันอำทิตย์ ท่ี ๗ พฤศจิกำยน พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลำ ๑๕.๐๐ น. ขอเชญิ คณะศิษยห์ ลวงปู่ทองรว่ มเปน็ เจ้ำภำพทอดกฐนิ พระรำชทำน เพอื่ ถวำยเปน็ พระรำชกุศล ก�าหนดการ วนั อาทิตย์ ท่ี ๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ( ตรงกับขน้ึ ๓ คา�่ เดอื น ๑๒ ) เวลา ๐๙.๐๐ น. - ตงั้ องค์กฐนิ ณ มหาศาลาหทัยนเรศว์ร เวลา ๑๕.๓๐ น. - ประกอบพิธถี วายผา้ กฐิน ณ มหาศาลาหทยั นเรศว์ร - เสรจ็ พธิ ี ฯ ประธานทอดผ้าพระกฐนิ บริษัท เอส. พ.ี เพท็ แพค จ�ากัด คุณวิวรรธน์ - คณุ สุพร ปณิธานศริ ิกลุ พร้อมด้วยคณะศิษยานศุ ิษย์หลวงปู่ทอง คณะกรรมกำรอปุ ถมั ภ์ คณุ หญงิ สมนกึ เปรมวฒั นะ ดร. วนดิ า บดนิ ทรภ์ กั ดกี ลุ พรอ้ มครอบครวั คณุ พอ่ มขุ - คณุ แมพ่ รทพิ ย์ โรจตระการ คณุ ดษุ ฎี - คณุ มารค์ โรจตระการ คณุ แมบ่ ญุ ธรรม จงประสทิ ธ์ิ พรอ้ มครอบครวั บรษิ ทั ไทยบรู ณะแมนแู ฟคเชอรง่ิ จา� กดั คณุ เภาลนี า บญุ ญาภภิ ทั ร พรอ้ มครอบครวั ดร. ศกั ดชิ์ ยั - ดร. สดุ าวรรณ เตชะไกรศรี พรอ้ มครอบครวั คณุ สรุ ศกั ดิ์ อดุ มศลิ ป์ คณุ โสภณ - คณุ ธนกิ า ประยทุ ธพงศ์ พรอ้ มครอบครวั คณุ ภารดี วรเกรกิ กลุ ชยั พรอ้ มครอบครวั คณุ ธรี ะพงศ์ - คณุ ศรจี นั ทร์ ปรู านธิ ี พรอ้ มครอบครวั คณุ ทชยั - คณุ ปณุ ณกา รตั นะฉตั ตา พรอ้ มครอบครวั คณุ ธรี ะวฒั น์ - คณุ สมรวล วทิ รู ปกรณ์ พรอ้ มครอบครวั คณุ สมพร เดชณรงค์ พรอ้ มครอบครวั คณุ วรชาติ - คณุ รวรี ตั น์ คหู ริ ญั ญรตั น์ พรอ้ มครอบครวั คณุ พอ่ สงวน - คณุ แมว่ ไิ ลพร พทิ กั ษส์ ทิ ธ์ิ คณุ อรศรี ทพิ ยบญุ ทอง พรอ้ มครอบครวั คณุ ประวทิ ย์ - คณุ กซั ซนั เรงิ โพธ์ิ คณุ พรหมพร เอย่ี มจติ เมตตา คณุ ประชา ปรยิ วาทกลุ พรอ้ มครอบครวั คณุ นภิ า ปญั ญาภกั ดวี งศ์ พรอ้ มครอบครวั คณุ ประวทิ ย์ ปรยิ วาทกลุ พรอ้ มครอบครวั คณุ ปทั มา เลยี้ งสขุ สนั ต์ พรอ้ มครอบครวั คณุ สาคร - คณุ ภาวนา ปรยิ วาทกลุ คณุ แมจ่ นั ทรฟ์ อง กว่ิ แกว้ พรอ้ มบตุ รหลาน คณุ มอรสิ ถม่ั - คณุ ไฉไล ชสู รอ้ ยปน่ิ พรอ้ มครอบครวั คณุ ประไพพรรณ ชาตธิ า� รง พรอ้ มครอบครวั







รายนามเจ้้าภาพกฐินิ พระราชทาน วััดพระธาตุศุ รีีจอมทอง วรวิิหาร ปีี ๒๕๔๖ สภาสตรีีแห่่งชาติิ โดยการนำ�ำ ของ คุุณเยาวเรศ ชินิ วััตร ปีี ๒๕๔๗ บริิษัทั การบิินไทย จำ�ำ กัดั ปีี ๒๕๔๘ ปีี ๒๕๔๙ มหาวิิทยาลัยั ศิิลปากร ปีี ๒๕๕๐ คุณุ วรชาติิ - คุุณวรัตั น์์ คููหรัญั ญรััตน์์ ปีี ๒๕๕๑ คุณุ โสภณ - คุุณประภัสั สร ประยุทุ ธพงศ์์ ปีี ๒๕๕๒ คุณุ ธีรี วััฒน์์ - คุุณสมรวล วิทิ ููรปกรณ์์ พร้อ้ มคณะศิิษย์ห์ ลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๕๓ ปีี ๒๕๕๔ คุณุ บุญุ ธรรม จงประสิิทธิ์� พร้อ้ มบุตุ ร-ธิิดา, บริษิ ัทั ไทยบูรู ณะ แมนููแฟคเชอริ่ง� จำำ�กััด และคณะศิษิ ย์ห์ ลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๕๕ ดร.ศักั ดิ์์�ชััย - ดร.สุุดาวรรณ เตชะไกรศรีี พร้อ้ มบุตุ ร - ธิดิ า ปีี ๒๕๕๖ ดร.วนิิดา บดินิ ทร์ภ์ ัักดีกี ุุล และคณะศิิษยานุศุ ิษิ ย์ใ์ นพระเดชพระคุณุ หลวงปู่� ปีี ๒๕๕๗ คุุณหญิิงสมนึกึ เปรมวััฒนะ บ้า้ นหทัยั นเรศวร ปีี ๒๕๕๘ คุณุ หญิงิ พรทิพิ ย์์ โรจตระการ ปีี ๒๕๕๙ คุณุ เภาสีีนา บุญุ ญาภิภิ ััทร ปีี ๒๕๖๐ คุุณสมพร เดชณรงค์์ พร้อ้ มคณะศิิษย์ห์ ลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๑ คุุณสุรุ ศักั ดิ์์� อุุดมศิลิ ป์์ - คุุณภารดีี วรเกริกิ กุุลชััย พร้้อมคณะศิษิ ย์์หลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๒ คุณุ ธีรี ะพงศ์์ - คุณุ ศรีจี ัันทร์์ ปูรู านิิธีี พร้อ้ มคณะศิิษย์์หลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๓ คุณุ ทชัยั - คุุณปณณภา รััตนะฉัตั ตา ไร่่ภูวู ิมิ าน พร้้อมคณะศิิษย์ห์ ลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๔ บริษิ ััท เอส. พีี. เพ็ท็ แพค จำำ�กัดั คุุณวิิวรรธน์์ - คุณุ สุุพร ปณิธิ านศิริ ิกิ ุลุ พร้้อมคณะศิิษย์ห์ ลวงปู่่�ทอง ปีี ๒๕๖๕ ดร.วนิิดา บดิินทร์ภ์ ักั ดีีกุุล พร้้อมคณะศิิษย์ห์ ลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๖ คุุณหญิิงสมนึกึ เปรมวััฒนะ พร้้อมคณะศิษิ ย์์หลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๗ คุุณโสภณ - คุณุ ธนิกิ า ประยุทุ ธพงศ์์ พร้อ้ มคณะศิษิ ย์์หลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๘ คุุณวรชาติิ - คุุณรวีีรัตั น์์ คููหิิรัญั ญรััตน์์ พร้้อมคณะศิิษย์์หลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๖๙ คุณุ ธีรี ะวัฒั น์์ - คุุณสมรวล วิทิ ูรู ปกรณ์์ พร้้อมคณะศิษิ ย์์หลวงปู่�ทอง ปีี ๒๕๗๐ ดร.ศักั ดิ์์�ชััย - ดร.สุดุ าวรรณ เตชะไกรศรีี พร้อ้ มคณะศิิษย์์หลวงปู่�ทอง

วดั พระธาตศุ รจี อมทอง วรวหิ าร Wat Phra dhatu Sri Chomtong Voravihara บริษิ ัทั เอส พีี เพ็ท็ แพค จำ�ำ กัดั S.P. PETPACK COMPANY LIMITED




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook