Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฤศณี พจนา

ปฤศณี พจนา

Published by meaw1978.artist, 2021-09-09 10:47:40

Description: ปฤศณี พจนา

Search

Read the Text Version

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน และการประเมินตนเองของครผู ูสอน + นางสาวปฤศณี พจนา ตําแหนง ครู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรยี นวดั นวลนรดิศ สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คาํ นาํ รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของครูผูสอน ไดจัดทําข้ึนเพื่อรายงานผลการ จัดการเรียนการสอน การปฏิบัติงานในหนาท่ี และการพัฒนาตนเองและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของขาพเจา ตลอดจนการสง เสริม พัฒนาผเู รียนใหม ีคุณลักษณะและคุณภาพตามระดับมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา ท้ังนี้เพ่ือเปนการรายงานการประเมินตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ใหฝา ยบริหาร ไดรับทราบผลการ ปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานวิชาชพี ซึ่งจะนําไปสกู ารวางแผนปรบั ปรุงพัฒนาการจัดการศึกษาในโรงเรียน ตลอดจนนํา ขอมลู สารสนเทศทีไ่ ดจ ากครไู ปสูการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหเขมแข็ง ตามมาตรฐาน การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ขอมูลที่ไดจากการประเมินในการประเมินตนเองของครูผูสอนในคร้ังนี้ ขาพเจาจะไดนําไปใชเปน แนวทางในการปรบั ปรุงเพือ่ พัฒนาการปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมาย เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูเรียนให สงู ข้ึนในทกุ ๆ ดานตอ ไป ลงชอ่ื (นางสาวปฤศณี พจนา) ตําแหนง ครู

สารบัญ ข คํานํา หนา สารบัญ ก ตอนที่ 1 ขอ มูลทั่วไป ข 1 1.1 ขอมลู สว นตัว 1 1.2 ขอ มูลการปฏบิ ัติหนา ท่ี 2 ตอนท่ี 2 การประเมนิ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลการปฏิบัตงิ าน 3 1. ดา นการจัดการเรียนการสอน 3 1.1 การสรา งและพัฒนาหลักสูตร 3 1.2 การจดั การเรยี นรู 3 1.3 การสรา งและหรือพฒั นาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศึกษาและแหลงเรยี นรู 4 1.4 การวดั และการประเมินผลการเรยี นรู 4 1.5 ศึกษา วเิ คราะห สงั เคราะห และวจิ ัย เพ่ือแกปญ หา หรือพัฒนาการเรียนรูทีส่ ง ผล 5 ตอ คุณภาพผเู รยี น 2. ดานการบริหารจดั การช้ันเรยี น 5 2.1 การบริหารจัดการชน้ั เรยี น และการจัดทาํ ขอ มลู สารสนเทศ 5 2.2 การจดั ระบบดูแลชว ยเหลือนักเรียน 5 3. ดานการพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี 7 4. งานอน่ื ๆ ทไี่ ดร บั มอบหมาย 8 ตอนท่ี 3 การประเมนิ ตนเองในการรกั ษาวนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และจริยาบรรณวิชาชีพ 11 3.1 การปฏิบัตติ ามระเบยี บ กฎหมาย นโยบาย การรกั ษาคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 14 และจรรยาบรรณวชิ าชพี และคําสัง่ ของผูบ ังคบั บัญชา 3.2 มีความซอ่ื สตั ย สุจริต รักษาประประโยชนสว นรวม ไมอาศัย หรอื ยินยอมใหผ อู ่นื 17 ใชอํานาจและหนาท่ีของตน เพ่ือแสวงหาประโยชน 3.3 มคี วามวิริยะ อุตสาหะ ตรงตอ เวลา และอทุ ิศเวลาใหแกทางราชการ 18 3.4 การมจี ติ สาํ นกึ ท่ีดี มงุ บริการตอกลุมเปาหมายผูรบั บริการโดยไมเ ลือกปฏิบัติ 19 3.5 การรกั ษาภาพลักษณแ ละความสามคั คใี นองคกร ชุมชน และสงั คม 19

สารบัญ ค ภาคผนวก หนา - เอกสารหลกั ฐานการสรา งและพัฒนาหลักสูตร - เอกสารหลักฐานการจัดการเรียนรู 23 - เอกสารหลักฐานการสรางและหรือพฒั นาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศึกษา 35 และแหลงเรยี นรู - การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู 61 - ศกึ ษา วิเคราะห สงั เคราะห และวิจยั เพ่อื แกปญหา หรอื พัฒนาการเรียนรทู ส่ี งผล 67 ตอ คณุ ภาพผูเ รยี น - การบรหิ ารจัดการช้ันเรียน และการจดั ทําขอมูลสารสนเทศ 75 - การจดั ระบบดแู ลชว ยเหลือนักเรยี น 79 - คาํ สงั่ 86 100

1 ตอนที่ 1 ขอมลู ท่วั ไป 1.1 ขอมูลสวนตัว ชือ่ ปฤศณี นามสกลุ พจนา ตําแหนง ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เลขท่ีตาํ แหนง 1111 เงินเดือน 34,550 บาท วัน / เดือน / ป เกิด 26/09/29 อายุ 35 ป ทอ่ี ยู 107/1 ซอยวัดใหมพ เิ รนทร ถนนอิสรภาพ 29 แขวง วดั ทา พระ เขตบางกอกใหญ กรุงเทพฯ 10600 เรมิ่ รับราชการเมื่อวันท่ี 19 พฤษภาคม 2554 อายรุ าชการ/ประสบการณการทํางาน 10 ป 4 เดือน ความชํานาญพเิ ศษ 26 มิถนุ ายน 2562 ประวัติการศกึ ษา คณุ วฒุ ิ วิชาเอก/โท ปท ส่ี ําเร็จ ช่อื สถานศกึ ษา การศึกษา ประถมศึกษา - โรงเรียนราชวินติ มัธยมศึกษาตอนตน - 2542 โรงเรียนเบญจมราชาลัย มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - โรงเรียนเบญจมราชาลยั วทิ ยาศาสตรทัว่ ไป- 2545 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรญิ ญาตรี คณติ ศาสตร 2548 การสอนคณติ ศาสตร 2553 ปรญิ ญาโท ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา 2556 จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั 2560 มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา นสมเดจ็ ฯ

2 1.2 ขอมูลการปฏบิ ัติหนาท่ี 1.2.1 ดานการสอน ปฏิบตั ิการสอนใน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จาํ นวน 5 หอง จํานวน 19 ชัว่ โมง/สปั ดาห ดังน้ี (เอกสารหมายเลขหนา 100-101) ตารางแสดงจํานวนวิชา หองเรยี น นกั เรียน ช่วั โมงเรยี น ทีป่ ฏิบัตกิ ารสอน ที่ รายวชิ า ระดับชั้น/หอ ง จาํ นวนนกั เรยี น จาํ นวนชัว่ โมง 38 2 1 ค32111 คณิตศาสตรพืน้ ฐาน ม.5/2 33 2 16 2 ม.5/4 45 2 44 2 ม.5/10 38 3 33 3 2 ค32112 คณติ ศาสตรพื้นฐาน ม.5/9 16 3 19 ม.5/10 3 ค32211 คณติ ศาสตรเ พิม่ เตมิ ม.5/2 ม.5/4 ม.5/10 รวม ตารางแสดงจํานวนกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนท่รี บั ผิดชอบในภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2564 ท่ี กิจกรรม หอง จาํ นวนนักเรยี น จํานวนชว่ั โมง กลมุ 1 สงเสรมิ คณุ ธรรม ม.5/10 43 1 2 ชมุ นมุ 16 1 ม.5/11 2 รวม

3 ตอนที่ 2 การรายงานประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลการปฏบิ ัติงาน 1. ดานการจดั การเรยี นการสอน 1.1 การสรางและหรือพฒั นาหลกั สตู ร วเิ คราะหหลกั สูตร มาตรฐานการเรียนรแู ละตัวช้ีวดั จดั คาํ อธิบายรายวิชา โครงสรา งรายวิชา รายวิชา คณติ ศาสตรพืน้ ฐานและคณติ ศาสตรเพิม่ เติม โดยครอบคลุมเนอ้ื หาของหลักสตู ร และนําไปใชกับผูเรียนและบริบท ของสถานศึกษาไดอยางเหมาะสม โดยมีการประชุมกลุมสาระการเรียนรูเก่ียวกับมาตรฐานและตัวช้ีวัดท่ีควรรู (เอกสารหมายเลขหนา 24-34) 1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนว ยการเรียนรู ขาพเจาออกแบบหนวยการเรียนรูรายวิชา ค32111 คณิตศาสตรพื้นฐานแล ค32211 คณิตศาสตรเพ่ิมเติม โดยครอบคลุมเนื้อหาของหลักสูตร สอดคลองกับผูเรียน บริบทของสถานศึกษา/ผล การประเมินคุณภาพผูเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมีวิธีการปฏิบัติที่หลากหลาย ตลอดจนพัฒนากิจกรรม การเรยี นรูสอดคลอ งกบั ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู มกี ารจดั ทาํ โครงการสอนของรายวิชา(เอกสารหมายเลขหนา 31, 33, 36) 1.2.2 การจัดทาํ แผนการเรียนรู ขาพเจาทําการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลและจัดทําแผนการจัดการเรียนรู รายวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน 5, 6 ท่ีสอดคลองกับหนวยการเรียนรูและผูเรียน โดยแผนการจัดการเรียนรูมีองคประกอบ ครบถวนตามรูปแบบท่ีสถานศึกษากําหนดและสามารถนําไปจัดการเรียนรูไดจริง กิจกรรมการเรียนรูดังกลาวที่ สอดคลองกบั ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรแู ละผูเรยี น(เอกสารหมายเลขหนา 38-46) 1.2.3 กลยทุ ธในการจดั การเรียนรู ขาพเจาไดจัดการเรียนการสอน โดยใชรูปแบบการอธบิ าย การถามตอบ การใชเกมประกอบ โดยใชโปรแกรมออนไลน Quizizz เพ่ือกระตุนผูเรียนและตรวจความรูความเขาใจของนักเรียน ซึง่ สอดคลองกับ มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด และจุดประสงคการเรียน มีการวัดผลประเมินผลตามที่กําหนดไวในแผนการจัด การเรียนร(ู เอกสารหมายเลขหนา 48-58)

4 1.2.4 คณุ ภาพผเู รยี น จากการดาํ เนินการจดั การเรยี นรูขอ 1.2.1 - 1.2.3 ดงั กลาว ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดงั น้ี(เอกสารหมายเลขหนา 60) ที่ วชิ ารหสั วิชา หอง/ชั้น จํานวนนักเรียน(คน) จํานวนนกั เรยี นทีไ่ ดคะแนน คิดเปนรอยละ 1 ค32112 เกนิ รอยละ 60 (คน) 5/2 38 38 100 2 ค32113 5/4 33 33 100 3 ค32211 5/11 16 16 100 5/9 45 31 68.88 5/10 44 27 61.36 5/2 38 36 94.74 5/4 33 33 100 5/11 16 16 100 1.3 การสรา งและหรอื พฒั นาสือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยที างการศึกษาและแหลง เรียนรู ขาพเจาสรางและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู(เอกสารหมายเลข หนา 63, 65 ,66, 84-85) เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู โดยไดสรางสื่อการเรียนรู 9 ช้ิน ตาม ทะเบียนสอื่ (เอกสารหมายเลขหนา 62 ) ตลอดจนทาํ การประเมนิ ผลการใชส อ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา (เอกสารหมายเลขหนา 64,65) 1.4 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู ขาพเจากําหนดเครื่องมือวัดผลและประเมินผลที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้ีวัด ตาม รายวิชาที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติการสอน โดยไดออกแบบเคร่ืองมือวัดผลและประเมินตามสภาพจริง โดยมี เคร่ืองมอื วัดผลประเมินผล และมเี กณฑก ารประเมนิ ที่ชัดเจน ไดแ ก 1. แบบทดสอบทา ยคาบ(เอกสารหมายเลขหนา 68, 69, 73) 2. ใบงาน(เอกสารหมายเลขหนา 70) 3. ชิน้ งาน(เอกสารหมายเลขหนา 71)

5 4. แบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค(เอกสารหมายเลขหนา 72) 5. แบบทดสอบประจําหนว ยหนว ย(เอกสารหมายเลขหนา 74) 1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลงั เรยี น เลขยกกําลังท่ีมีเลขช้ีกาํ ลงั เปน จาํ นวนเตม็ 2) แบบทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรียน รากท่ี n ของจาํ นวนจรงิ 3) แบบทดสอบกอ นเรียนและหลงั เรียน เลขยกกาํ ลงั ทม่ี ีเลขชก้ี าํ ลังเปน จาํ นวนตรรกยะ 1.5 ศึกษา วิเคราะห สังเคราะห และวิจัย เพื่อแกปญหา หรือพัฒนาการเรียนรูทส่ี งผลตอคุณภาพ ผเู รียน ขาพเจาไดท ําการแกไขปญ หาผลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเรอื่ งการแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดยี ว โดย ใชวิธีการวาดภาพจําลอง (Bar Model) เน่ืองจากในระหวางการจัดการเรียนการสอนในแตละช่ัวโมงเรยี น ผวู ิจยั ไดส งั เกตจากการทาํ แบบฝกหัดทีไ่ ดมอบหมายใหเพื่อติดตามผลการเรียนของนักเรยี น และไดพบวานักเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 5/10 มจี าํ นวน 3 คน พบวา นักเรยี นไมสามารถจัดรูปแบบของสมการใหอยูในรูปผลสําเร็จ ได จึงดําเนินการแกไขปญหา โดยการสอนเสริมใหกับนักเรียน โดยใชเวลาท้ังหมด 4 คาบ และมีการวัดผล สัมฤทธท์ิ างการเรยี นเร่อื งนกี้ อ นเรยี นและหลังเรยี น (เอกสารหมายเลข 76-77) 2. ดานการบริหารจดั การช้นั เรียน 2.1 การบริหารจดั การชน้ั เรียน และการจดั ทาํ ขอมลู สารสนเทศ ขาพเจาไดมีการวิเคราะหผูเรียนเปน รายบคุ คล จัดการเรียนการสอนออนไลน ผาน Google Classroom ระหวางสอนจะมีการเช็คช่ือนักเรียน แลวบันทึกการเขาเรียนของนักเรียนและเนื้อหาท่ที ําการสอนในแตละครง้ั ลง ในระบบ 21ess มีการอัดวิดีโอขณะสอน สําหรับนกั เรียนท่ีไมสามารถเขาถึงและขาดเรยี นในคาบนั้น ไดถทบทวน บทเรียนเพิ่มเติม การจัดการเรียนการสอนเนนใหผูเรียนมีสวนรวม ใชสื่อการสอนกระตุนผูเรียนใหเกิดความสนใจ ตอการเรยี น ประเมินผลนักเรียนท้ังในดานความรู คุณลักษณะอันพึงประสงคและทักษะกระบวนการ นักเรียนได ทําใบงาน แบบฝกหัดและช้ินงานเพ่ือสะทอนความรูความเขาใจของตนเอง มีการโพสตเฉลยแบบฝกหัดเพ่ือให นักเรียนไดศึกษาคน ควาเพม่ิ เติม มกี ารแจง คะแนนเก็บของนกั เรียนเปนระยะๆ(เอกสารหมายเลข 80-85, 88) 2.2 การจัดระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรียน 2.2.1 การปฏิบัตงิ านครูท่ปี รกึ ษา การปฏิบัติงานครูทปี่ รึกษา และระบบดูแลชว ยเหลอื นักเรยี น ไดปฏบิ ัติงานในฐานะครูทปี่ รกึ ษา นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาป 5/10 รว มกบั นางจนั ทรฉ าย ฮากิวาระ ดําเนนิ การปฏิบตั งิ าน(เอกสารหมายเลข 109- 110) ดงั นี้

6 1) ดาํ เนนิ กจิ กรรม Line Video Call Group ในชว งเชากอนเขาเรียนคาบแรกเปนประจําทกุ วนั เพื่อ พบปะพูดคุย ใหคําแนะนําแกนักเรียน และเช็คช่ือนักเรียนในคาบท่ีปรกึ ษาพรอมบันทึกกิจรรมผา นระบบ 21ess (เอกสารหมายเลข 87) 2) ใหคาํ ปรึกษาแกนักเรยี นในการจดั กิจกรรมในช้ันเรยี น เชน การเลอื กต้ังหัวหนา รองหัวหนา การจัด กิจกรรมตางๆ (เอกสารหมายเลข 93) 3) ดาํ เนนิ การเร่อื งงานประจําชั้นตา งๆ ทีโ่ รงเรียนมอบหมายและสงั่ การ โดยใหความรวมมอื ในการจัด กจิ กรรมตางๆ ของโรงเรียนทุกครง้ั ตลอดจนควบคุมดแู ลนักเรียนในการเขารวมกิจกรรม หรือการประชุมระดับทุก คร้ัง(เอกสารหมายเลข 89-92) 5) ติดตามผลการเรียนของนกั เรียน พรอ มท้ังแกปญหาการขาดเรียน เขาเรียนสาย ติดตามการลาและ จัดทาํ ใบลาของนักเรียนเพ่ือแจงหรือรายงานใหครูประจาํ วิชาทราบ(เอกสารหมายเลข 93) 6) ไดจ ัดทําแฟม ระบบการดูแลชว ยเหลือเพื่อศึกษานักเรียนเปนรายบุคคล เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลของ นักเรยี น และวเิ คราะห SDQ ของนกั เรยี นใหเ ปนปจ จุบัน(เอกสารหมายเลข 91) 7) ดําเนินการเย่ียมบานพบปะและสนทนากับผูปกครองเพ่ือศึกษาสภาพพ้ืนฐานของครอบครัว การประสานสัมพันธชว ยเหลือดูแล ใหคําปรึกษา คําแนะนําแกผูปกครอง หากนักเรียนมีสภาวะเศรษฐกิจไมดีก็จะ ดาํ เนินการขอทนุ การศึกษาให ซ่งึ ในปการศกึ ษานี้มีนกั เรยี นไดขอทุนจาํ นวน 2 คน(เอกสารหมายเลข 92) 8) ดําเนินการจัดกิจกรรมประสานสัมพันธ ประชุมผูปกครอง (Line Video Call Group) ไดมโี อกาส พบผปู กครองและไดร วมปรึกษาหารือ โดยเฉพาะนักเรียนชั้น 5/10 ทมี่ ปี ญ หาเร่อื งการเรยี นและความตั้งใจสนใจใน การเรยี น ครูจงึ ตอ งตกลงกบั ผูปกครอง เพ่ือจะไดร ว มกันหาทางแกไข รวมดูแลความปลอดภัยของผูเรียนในฐานะ ทเ่ี ปนครูทป่ี รึกษา พัฒนาผูเ รยี นตามศักยภาพ โดยเขารว มกจิ กรรมตา งๆ(เอกสารหมายเลข 82, 90)

7 3. ดานการพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ - การเขา รวมกจิ กรรมทางวิชาการ / การเขารว มอบรม /ประชมุ สมั มนา / ศกึ ษาดูงาน ฯลฯ (เอกสาร หมายเลข 95-99) ท่ี วนั /เดือน/ป เรื่อง หนว ยงานที่จัด หลักฐาน จํานวน ช่ัวโมง 1 14/มึ.ค./64 อบรมความรกู ารใชง านคมู ือครูและ สสวท. รูปถา ย 6 หนังสือ สสวท. ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2564 (วชิ าคณติ ศาสตรและเทคโนโลยี) 1/ส.ค./64 โครงการพัฒนาขาราชการครูและ สาํ นักงานเขตพืน้ ที่ เกียรตบิ ตั ร 6 บุคลากรทางการศึกษาตามขอตกลงใน การศึกษา การพัฒนางาน (PERFORMANCE กรุงเทพมหานคร AGREEMENT) เขต 1 2 14-15/ส.ค./64 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการ คณะกรรมการ เกยี รติบตั ร 15 จดั การเรียนรรู ูปแบบออนไลน สําหรับ สถานศกึ ษาขั้น สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน พน้ื ฐาน 3 21-22/ส.ค./64 การพฒั นากระบวนการสอนคณติ ศาสตร บริษัท คาสโิ อ มาร เกียรติบตั ร 14 ดวยเคร่อื งคดิ เลขวิทยาศาสตร ระดับ เกต็ ต้ิง(ประเทศไทย) มัธยมศึกษาตอนปลาย จาํ กัด 4 27/ส.ค./64 การออกแบบเรยี นรู เพ่อื สรา ง กระทรวงศึกษาธิการ รปู ภาพ ประสบการณเ รยี นรูส าํ หรับการศกึ ษา ใน ยุค New Normal Education Reimagined 5 28/ส.ค./64 ปรบั บานเปน หองเรียน เปลีย่ นผูป กครอง สํานักงานเขตพื้นท่ี เกียรตบิ ัตร เปน ครู การศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร

8 เขต 1 - การไดรับเชญิ เปน วทิ ยากร/กรรมการตัดสินภายในและภายนอกสถานศึกษา ที่ วัน/เดือน/ป รายการ/เรอ่ื ง หนว ยงานที่เชิญ หลักฐาน - -- - - - การไดรบั รางวัล/ประกาศเกียรติคุณ/ผลงานดเี ดน /เกียรติประวัติทป่ี รากฏตอสาธารณชนดา น สถานศึกษา/ครู/นักเรยี น ท่ี รางวลั /เกยี รติคุณ หนว ยงาน หลกั ฐาน ทใ่ี หร างวัล -- -- 5. งานอ่นื ๆ ทไ่ี ดร ับมอบหมาย 1. ปฏิบัติหนาที่ตามโครงสรางการบริหารภายในสถานศึกษา(เอกสารหมายเลข 102-106) กลุมบรหิ ารวชิ าการ ท่ี ฝา ย กลุมงาน/กลุมสาระ งาน/กจิ กรรมทไ่ี ดรับมอบหมาย 1 กลมุ บรหิ ารวชิ าการ กลมุ สาระคณิตศาสตร เหรญั ญกิ กลุมสาระ 2 กลุมบริหารวิชาการ สํานกั งานและสารสนเทศกลุม หวั หนา สาํ นักงานและสารสนเทศกลุมบริหาร บรหิ ารวิชาการ วชิ าการ 3 กลุมบรหิ ารวชิ าการ งานทะเบียนนกั เรยี น จัดทาํ เอกสารหลกั ฐาน ปพ.1 4 กลุมบริหารวิชาการ งานวัดผลประเมินผลและ รองหัวหนา งานวัดผลประเมนิ ผลและเทยี บโอนผล เทยี บโอนผลการเรยี น การเรียน 5 กลุมบรหิ ารวชิ าการ งานทดสอบจากองคก ร เบกิ จายเงนิ ใหค ณะกรรมการทํางาน ภายนอก 6 กลุมบริหารวิชาการ งานสงเสรมิ ความสามารถทาง การทดสอบความรทู างวชิ าการ วิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร 7 กลมุ งบประมาณ งานพสั ดุและสนิ ทรพั ย พัสดุกลมุ บริหารวชิ าการ

9 8 กลมุ งบประมาณ งานระดมทรัพย เจาหนาท่ีระดมทรัพยฯ 2. ปฏิบตั ิหนา ท่ตี ามคาํ ส่งั ภายในทไี่ ดร ับมอบหมายดงั นี้(เอกสารหมายเลข ) กลุมบริหารงานบุคคล 1) คาํ สั่งท่ี 52/2564เรือ่ งแตงต้งั ขา ราชการและลูกจา งประจาํ ปฏิบตั ิหนา ทเ่ี วรรักษาการณ ปฏิบตั ิหนาท่ี ตรวจเวรรักษาการณ กลางวนั และวันหยุดราชการ 2) คําสง่ั ท่ี 61/2564 เรอ่ื งแตง ต้ังขาราชการและลูกจางประจาํ ปฏิบตั ิหนาทเี่ วรรักษาการณ( แกไข เพิ่มเตมิ ) ปฏิบัติหนาที่ ตรวจเวรรกั ษาการณ กลางวนั และวนั หยุดราชการ 3) คาํ สัง่ ที่ 72/2564 เรอ่ื งแตงตง้ั ขาราชการและลูกจางประจําปฏิบัติหนา ทีเ่ วรรักษาการณ ปฏิบัติหนา ที่ ตรวจเวรรกั ษาการณ กลางวนั และวันหยุดราชการ 4) คําสง่ั ท่ี 85/2564 เรอื่ งแตงตั้งขาราชการและลูกจางประจําปฏิบตั หิ นา ท่ีเวรรกั ษาการณ ปฏิบตั ิหนา ท่ี ตรวจเวรรักษาการณ กลางวันและวันหยุดราชการ 5) คาํ สั่งที่ 100/2564 เรื่องแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินงานเยีย่ มบานนกั เรยี น และวเิ คราะหผ ูเรยี น เปน รายบคุ คล (SDQ) ตามระบบดูแลชว ยเหลือนักเรียน ประจําปการศกึ ษา 2564 ปฏิบตั ิหนา ท่ี ดาํ เนินการประเมนิ SDQ นกั เรียนและเยย่ี มบานนักเรียน กลมุ บริหารงานวิชาการ 1) คําสั่งที่ 43/2564 เรอ่ื งแตงต้งั คณะกรรมการดําเนนิ งานรบั นักเรยี นเขาศกึ ษาตอ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 และชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 ประจําปการศึกษา 2564 ปฏิบตั ิหนาท่ี ตรวจกระดาษคําตอบของนกั เรียนและตรวจทานคะแนนของนักเรยี น 2) คาํ ส่ังท่ี 59/2564 เร่ืองแตง ตง้ั คณะกรรมการรับการประเมินประกันคุณภาพภายในของ สถานศกึ ษา ประจําปการศึกษา 2564 ปฏิบัติหนาที่ นาํ เสนอมาตรฐานท่ีไดร ับผิดชอบ 3) คําสง่ั ที่ 60/2564 เร่ืองแตงตง้ั คณะกรรมการรับมอบตัวนกั เรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1 และ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ประจาํ ปก ารศึกษา 2564 ปฏิบัติหนาท่ี จําหนายสมดุ และชุดพละ 4) คาํ ส่งั ท่ี 96/2564 เรือ่ งแตงตง้ั คณะกรรมการจัดทาํ เอกสารประกอบการรายงานในการคดั เลือก นกั เรยี นและสถานศึกษาเพอ่ื รับรางวลั พระราชทาน ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ประจําปการศึกษา 2564

10 ปฏิบตั ิหนาท่ี เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูลและสรุปประเมนิ ผล กลมุ บริหารงบประมาณ 1) คาํ สงั่ ที่ 75/2564 เรอ่ื งแตง ต้งั เจาหนา ทจี่ ายเงนิ คาเครือ่ งแบบนกั เรียนและคา อปุ กรณการเรียนตาม โครงการสนับสนุนคา ใชจ า ยในการจดั การศกึ ษาฯ ปฏิบตั ิหนาท่ี โอนเงินใหกับผูปกครองของนักเรยี นท่ีปรึกษาและรวมรวบหลักฐานการโอนเงนิ สง การเงิน 2) คําสัง่ ที่ 91/2564 เรอ่ื งแตงตั้งคณะกรรมการการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดนวลนรดศิ ปการศกึ ษา 2564-2566 ปฏิบตั ิหนา ที่ เขา รวมประชมุ

11 ตอนที่ 3 การประเมินการปฏิบตั ติ นในการรกั ษาวนิ ัยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. การปฏบิ ัติตามระเบียบ กฎหมาย นโยบายการรักษาคณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ และ จรรยาบรรณวชิ าชีพ และคําสั่งของผูบังคบั บัญชา 1.1 ขาพเจา นางสาวปฤศณี พจนา ไมมปี ระวัติการตองโทษทางวินัย ตรงตอเวลาและรับผิดชอบตอ หนาที่ที่ไดรับมอบหมายรักษาผลประโยชนของทางราชการดวยความเสมอตนเสมอปลาย ยินดีและเต็มใจใน การปฏิบัติงานท้ังสวนตนและสวนรวม ไดประพฤติปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพอยาง เครงครัด ดวยความวิรยิ ะ อุตสาหะ และความซื่อสตั ยสจุ ริต ไมเคยคิดหาเหตผุ ลประโยชนแกตนเอง หรือผูอ่ืน ไมว าจะโดยทางตรงหรือทางออ ม

12 1.2 ปฏิบัติงานดวยความสุจริต รักษาผลประโยชนของทางราชการกรรมการเก็บคาบํารุงการศึกษาและ จา ยเงนิ ใหกบั ผปู กครองการประชมุ ผปู กครอง ประจาํ ปก ารศกึ ษา 1/2564

13 1.3 ดานความซื่อสัตย อบรมนักเรียนในคาบโฮมรูมและคาบที่สอน ใหตระหนักถึงความสําคัญของ ความซ่อื สตั ย

14 2. มีความซื่อสัตย สุจริต รักษาประโยชนสวนรวมไมอาศัย หรือยินยอมใหผูอ่ืนใชอาํ นาจและหนาท่ี ของตน เพ่อื แสวงหาประโยชน ขา พเจานาสาวปฤศณี พจนา มีความตระหนักในกฎ/กตกิ า มารยาท ขนบธรรมเนียม และแบบแผน อนั ดงี ามของหนว ยงานและสังคม ไดประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนตามระเบยี บวนิ ยั ของทางราชการโดยเครงครัด ยืนหยัดใน ส่ิงท่ถี กู ตอ ง และมคี วามซ่อื สตั ยสุจรติ เคารพสิทธิผอู ่นื อดกล้ัน อดทน สํารวมกายวาจา เพื่อเปน แบบอยางที่ ดี และเปน ผนู ําในการเสริมสรางวินยั เชน แตงกายสภุ าพ ไมด มื่ เหลา ไมสูบบหุ ร่ี ไมป ระพฤตผิ ดิ กฎหมายหรือ ศีลธรรมอนั ดพี รอมใหความรว มมอื กับทุกฝายดวยความเต็มใจ ไมเ คยกระทาํ ผิดวินัย หรือถูกลงโทษทางวินัยดว ย กรณีใด ๆ 2.1 มคี วามรูค วามเขาใจ และปฏบิ ัติตามพระราชบญั ญตั ิขาราชการครู การปฏิบัติหนาท่ีดวยความยินดี และเตม็ ใจพรอ มทําตาม กฎระเบียบขอ บงั คบั และยดึ ม่ันในการประกอบวิชาชพี ครู 2.2 ปฏิบตั หิ นาท่ีตามคําส่ังที่ ไดรบั มอบหมาย อยา งเครงครดั

15 2.3 สง เสรมิ ประชาธิปไตย อีกทั้งยังยดึ มนั่ ในหลักนติ ิธรรม โดยมพี ระมหากษัตริยเปนประมุข 2.4 ประพฤติตนเปน แบบอยางทด่ี ี โดยไมด ่มื เหลา ไมส บู บุหรี่ และเก่ยี วของกบั ยาเสพติด

16 2.5 ดํารงตนเปนแบบอยางที่ดี เหมาะสมกับสถานภาพและตําแหนงหนาท่ีและมีสวนรวม เสรมิ สรางผูอน่ื ดํารงตนเปน แบบอยา งท่ดี ีสง เสรมิ ใหผูเรียนรับผดิ ชอบในหนา ที่ 3. มคี วามวิริยะอตุ สาหะ ตรงตอเวลา และอทุ ิศเวลาใหแกท างราชการ ขาพเจาไดใหความสําคัญเก่ียวกับการอุทศิ เวลาแกทางราชการและผูเรยี นเสมอ โดยไดปฏิบัติตนตาม คําส่งั ในการปฏิบัติหนาท่ีราชการอยาเตม็ ท่ี เต็มกําลังความสามารถ และการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายตรงตอ

17 เวลา พรอมกับอุทิศเวลาในชวงพักกลางวันและหลังเลิกงานอยางนอย 15 นาทเี สมอโดยเฉพาะการติดตามดูแล ชวยเหลือผูเรียนเปนรายบุคคลโดยใกลชิด ไดเสียสละและอุทิศเวลาคอนขางมาก และบอยคร้ังท่ีดําเนินการใน วนั หยุดราชการ เขา รวมประชุมและปฏบิ ตั ิหนาทกี่ ารสอนตรงตอเวลาและอทุ ิศเวลาใหแกร าชการ ไดรับมอบหมายได สําเรจ็ และอุทิศเวลาอยางตอ เนื่อง

18 ออกเยี่ยมบานนอกเวลาราชการดวยความยินดีและเต็มใจ 4. การมีจติ สาํ นึกท่ีดี มุงบรกิ ารตอกลุมเปาหมายผูรบั บริการ โดยไมเลอื กปฏิบัติ ขาพเจานางสาวปฤศณี พจนา ไดประพฤติปฏิบัติตนในการเปนแบบอยางในความดีงาม เชน การให กําลังใจแกเพ่ือนรวมงาน การทํางานดวยความเสียสละ การมีเมตตา การใหอภัย การทําความดีเพื่อสวนรวม ฯลฯ พรอมปลูกฝงใหผูเรียนหมน่ั ทําความดีโดยไมหวังสิ่งตอบแทน มีน้าํ ใจชวยเหลือผูอ่ืน ยกยองคนอื่นในการทํา ความดี และเสรมิ สรา งปลูกจติ สาํ นึกท่ดี ีแกผเู รยี น ชมุ ชน สังคม โดยไมเลือกปฏิบตั ิ

19 5. การรกั ษาคณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ขา พเจา มคี วามตระหนักในการประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพอยูเสมอ ไดพยายามประพฤติ ตนใหอ ยูในกรอบจรรยาบรรณของวชิ าชีพครูอยูเสมอ ไดแ ก การมวี ินัย การพัฒนาตนเอง ประกอบวิชาชีพดวย ความซ่ือสตั ยส ุจริต มคี วามศรัทธาเมตตา เอาใจใสชว ยเหลอื ศิษย สง เสริมการเรยี นรู และสรางนสิ ัยถูกตอ งดีงาม แกศ ิษย ตลอดจนการประพฤตปิ ฏิบัติตนเปนแบบอยางทด่ี ีอยูเสมอ 5.1 เอาใจใส ถายทอดความรู หรือสงเสริมการแสวงหาความรูโดยไมบิดเบือน ปดบัง หวังสิ่งตอบแทน เกิดผลดีตอ งานในหนา ท่แี ละไดรับการยกยอง แมใ นสถานการณโ ควิท ก็มีความมุงม่นั ในการที่จะถายทอดความรู แกผูเรยี น 5.2 มีพฤติกรรมการดํารงชีวิตที่แสดงถึงการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช โดยจัด แผนการเรียนรทู บ่ี ูรณาเศรษฐกิจพอเพยี ง(เอกสารหมายเลข 50-58) 6. การรักษาภาพลกั ษณแ ละความสามคั คใี นองคกร ชุมชน และสังคม ขา พเจายึดม่ันแนวทางการทาํ งานแบบมีสวนรว ม สามคั คี มีน้าํ ใจ เอื้อเฟอเกื้อกูลกัน ไดประพฤติ ปฏิบัตงิ านอยางกัลยาณมิตรตอเพ่ือนรว มงาน ดวยความรักสามคั คี มนี ํา้ ใจ ชว ยเหลือเกื้อกูลกันดว ยความจริงใจ สุภาพเรยี บรอย ทั้งผเู รยี น คณะครู ผูบรหิ าร และชุมชน โดยมงุ เนน การใหบรกิ าร ตดิ ตามชว ยเหลือ ใหความ สะดวก ใหความเปนธรรมใหการสงเคราะหโดยไมหวงั ผลตอบแทน ตลอดทงั้ การใหค วามรวมมือกับทุกฝายดวย

20 ความยนิ ดี เปนผลใหการปฏิบตั ิงาน มเี ครือขา ย มที ป่ี รึกษา และมีผคู อยชวยเหลอื แนะนาํ การปฏบิ ตั งิ านให ประสบความสาํ เรจ็ ตามเปาหมายอยางราบรนื่ ทําใหอยูรว มกบั บุคคลอ่นื อยางมีความสขุ ใหขา วทางโรงเรยี นกับผปู กครองและนักเรยี นอยางถกู ตอง ขาพเจาขอรับรองวาขอมลู ทั้งหมดถูกตองและเปน ความจริง ลงช่ือ ....................................................... ผรู ายงาน ( นางสาวปฤศณี พจนา ) ตาํ แหนง ครู

21 ภาคผนวก

22 ตวั ชี้วัดท่ี 1 ดา นการจัดการเรยี นการสอน

23 1.1 การสรางและหรอื พัฒนาหลกั สตู ร

ตารางวิเคราะหห ลกั สตู รเพ่ือจัดทําคาํ อธิบายร สาระที่ 1 จํานวนและพีชคณติ กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร ชัน้ ม มาตรฐาน 1.1 เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ระบบจํานวน การด ดาํ เนนิ การ และนาํ ไปใช มาตรฐานตัวช้วี ัด/ สาระกา ผลการเรยี นรู สาระสาํ คัญ ทกั ษะ/กระบวนการ (K) (P) ค 1.1 ม.5/1 เขาใจ เลขยกกําลงั ทกั ษะกระบวนการทาง ความหมายและใชส มบตั ิ - รากที่ n ของจาํ นวนจรงิ คณิตศาสตร เก่ยี วกบั การบวก การคูณ - การหาผลบวก ผลตาง ผล 1. ความสามารถในการ การเทากนั และการไม คูณ และผลหารของจาํ นวนที่ แกปญหา เทากันของจํานวนจริงใน อยูใ นรปู กรณฑ 2. ความสามารถในการ รปู กรณฑและจํานวนจริงท่ี - การหาคา ประมาณของ สอ่ื สาร มเี ลขชก้ี ําลงั เปน จาํ นวน จาํ นวนทอ่ี ยใู นรปู กรณฑ 3. ความสามารถในการให ตรรกยะ เลขยกกาํ ลงั ท่มี ีเลขช้ีกําลังเปน เหตุผล จาํ นวนตรรกยะ 4. ความสามารถในการ - สมบัติของเลขยกกําลังทีม่ ี เชือ่ มโยง เลขชกี้ ําลังเปน จํานวน ตรรกยะ

24 รายวิชา คณติ ศาสตรพ ้นื ฐาน 5 ค32111 มธั ยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ดาํ เนนิ การของจํานวน ผลท่เี กิดขึ้นจากการดําเนนิ การ สมบตั ขิ องการ ารเรยี นรู สมรรถนะผเู รียน สาระการเรยี นรู (C) ทอ งถน่ิ คุณลกั ษณะ - อนั พงึ ประสงค 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการ (A) แกปญ หา 3. ความสามารถในการคิด 1. มคี วามซ่อื สตั ย 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ รียนรู 4. มุงมั่นในการทาํ งาน

ตารางวิเคราะหหลักสตู รเพ่ือจดั ทําคาํ อธบิ าย สาระท่ี 1 จํานวนและพชี คณิต กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ชัน้ ม มาตรฐาน 1.2 เขาใจความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ระบบจํานวน การด ดําเนินการ และนําไปใช มาตรฐานตวั ช้ีวดั / สาระก ผลการเรียนรู สาระสาํ คญั ทักษะ/กระบวนการ (K) (P) ค 1.2 ม.5/2 เขาใจและนํา ลาํ ดับและอนุกรม ทกั ษะกระบวนการทาง ความรูเกย่ี วกับลําดบั และ - ลําดับ คณิตศาสตร 1. ความสามารถในการ อนุกรมไปใช - ลาํ ดับเลขคณิต แกปญ หา 2. ความสามารถในการ - ลาํ ดับเรขาคณติ ส่ือสาร - อนกุ รมเลขคณติ 3. ความสามารถในการให เหตุผล - อนกุ รมเรขาคณิต 4. ความสามารถในการ เชื่อมโยง - การนาํ ไปใช

25 ยรายวิชา คณิตศาสตรพน้ื ฐาน ค32111 มัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ดําเนนิ การของจํานวน ผลท่เี กิดข้ึนจากการดําเนนิ การ สมบตั ขิ องการ การเรยี นรู สมรรถนะผเู รยี น สาระการเรยี นรู (C) ทอ งถน่ิ คุณลกั ษณะ - อันพึงประสงค 1. ความสามารถใน การสอ่ื สาร (A) 2. ความสามารถใน การแกป ญหา 1. มคี วามซ่อื สัตย 3. ความสามารถในการคิด 2. มีวินัย 3. ใฝเรียนรู 4. มุง มัน่ ในการทํางาน

ตารางวิเคราะหหลกั สูตรเพื่อจดั ทําคาํ อธิบายร สาระที่ 1 จํานวนและพีชคณติ กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ชัน้ ม มาตรฐาน ค1.3 ใชนิพจน สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพนั ธห รอื ชว ยแก มาตรฐานตวั ชี้วดั / สาระก ผลการเรียนรู สาระสาํ คญั ทักษะ/กระบวนการ (K) (P) ค 1.3 ม.5/1 เขาใจและใช ดอกเบ้ยี และมลู คา ของเงิน ทักษะกระบวนการทางคณติ ศา ความรูเกยี่ วกบั ดอกเบีย้ - ดอกเบยี้ 1. ความสามารถในการแกปญห และมลู คา ของเงนิ ในการ - มลู คา ของเงิน 2. ความสามารถในการสอื่ สาร แกป ญ หา - คารายงวด 3. ความสามารถในการใหเ หตุผ 4. ความสามารถในการเช่ือมโย

รายวิชา คณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน 5 ค32111 26 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 สาระการเรยี นรู กป ญหาทีก่ ําหนดให สมรรถนะผูเรียน ทอ งถน่ิ (C) - การเรยี นรู 1. ความสามารถใน คณุ ลักษณะ การสื่อสาร อันพงึ ประสงค 2. ความสามารถใน การแกปญหา (A) 3. ความสามารถในการคดิ าสตร 1. มีความซอ่ื สัตย หา 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ รียนรู ผล 4. มุงมนั่ ในการทาํ งาน ยง

27 ประชมุ กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

28 คําอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ค32111 คณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน 5 กลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 จํานวน 1.0 หนวยกติ เวลา 40 ชั่วโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาและฝกทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรในเน้อื หาของสาระ ดงั นี้ เลขยกกําลัง เลขยกกําลังท่ีมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเตม็ รากท่ี n ของจํานวนจริง คา หลักของรากท่ี n ของ จํานวนจรงิ a สมบัตริ ากท่ี n การหาผลบวก ผลตา ง และผลคูณของจํานวนท่ีอยูใ นรูปกรณฑ เลขยกกําลังเปน จํานวนตรรกยะ สมบัติของเลขยกกําลัง และการนาํ ความรูเรอ่ื งเลขยกกําลังไปใชใ น การแกป ญ หา ลําดับและอนุกรม ลําดับ ความหมายของลําดับ การหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัด ลําดบั เลขคณิต ลาํ ดบั เรขาคณิต อนกุ รมเลขคณติ อนกุ รมเรขาคณติ การประยกุ ตของลําดบั และอนุกรม ดอกเบีย้ และมูลคา ของเงนิ ดอกเบี้ยทบตน มลู คาปจจุบันและมลู คา อนาคต คา งวด โดยจัดประสบการณใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะไดพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร อัน ไดแก การแกปญหา การสื่อสาระและการสื่อความหมายหมายทางคณิตศาสตร การเชื่อมโยง การใหเหตุผล และการคดิ สรางสรรค การใชส่ือ อุปกรณ เทคโนโลยี และแหลงขอมูล และนําประสบการณ ตลอดจนทักษะและ กระบวนการท่ีได ไปใชใชในการเรยี นรสู ่งิ ตา งๆและใชใ นชวี ิตประจําวันอยางสรา งสรรค รวมทัง้ เห็นคณุ คา และมี เจตคติที่ดีตอคณติ ศาสตรสามารถทาํ งานอยา งเปน ระบบ มีความรอบคอบ และมวี จิ ารณญาณ การวัดผลประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ ทักษะที่ตอ งการวดั ตัวชี้วัด ค1.1 ม.5/1 ค1.2 ม.5/2 ค1.3 ม.5/1 รวมทง้ั หมด 3 ตวั ช้ีวัด

29 คําอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ค32112 คณิตศาสตรพ ื้นฐาน 6 กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 จาํ นวน 1.0 หนวยกิต เวลา 40 ชัว่ โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา ฝก ทกั ษะการคิดคาํ นวณ และฝก ทกั ษะการแกป ญ หา ในสาระตอไปนี้ เลขยกกาํ ลงั คณุ สมบัติของเลขยกกําลัง เลขยกกาํ ลงั ที่มีเลขชก้ี ําลังเปนจํานวนตรรกยะ รากที่ n ของ จํานวนจรงิ สมบัตขิ องรากท่ี n ของจาํ นวนจริง การหาผลบวก ผลตา ง ผลคณู และผลหารของกรณฑ การหาคา เลขยกกาํ ลัง ฟงกชัน การหาโดเมนและเรนจ การเขียนฟง กช ันในรปู ตา ง ๆ การหาคาฟง กช นั ฟง กชันเชิงเสน ฟงกชนั กาํ ลงั สอง ฟงกชันเอกซโ พเนนเชยี ล ฟงกช นั คา สมั บรู ณ ฟง กชนั ขัน้ บนั ได โดย ใชค วามรู ทกั ษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตรและเทคโนโลยีในการเรียนรู ในการแกปญหาใน สถานการณต า ง ๆ ไดอยางเหมาะสม โดยใชวิธกี ารท่ีหลากหลายในการคดิ คาํ นวณ การแกปญ หา การใหเหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลอยางถูกตอง เหมาะสม ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรใน การส่ือสาร การสอ่ื ความหมายและการนําเสนอไดถ ูกตองชัดเจน เช่ือมโยงความรตู างๆในคณิตศาสตรและนํา ความรู หลักการ การบวนการทางคณติ ศาสตรไ ปเชือ่ มกับศาสตรอ ืน่ เพอ่ื ใหผ ูเรียนเหน็ คณุ คา และมเี จตคติท่ีดตี อคณิตศาสตร มคี วามใฝเรียนรู ความมงุ ม่ันในการทาํ งาน สามารถทํางานอยา งเปนระบบระเบยี บ มวี ินยั มคี วามรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มีความซือ่ สตั ยสุจรติ มี วิจารณญาณและมีความเช่ือม่นั ในตนเองและใชในชวี ติ ประจําวนั อยา งสรางสรรค นอมนําหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงประยุกตใ ชใ นการดาํ เนินชวี ิตประจาํ วันและปองกันตนเองใหหา งไกลจากสารเสพตดิ มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย ซอ่ื สตั ยส ุจริต มีวินัย ใฝเ รยี นรู อยูอยางพอเพียง มงุ ม่ันใน การทาํ งาน รกั ความเปน ไทย มจี ิตสาธารณะ มีเจตคติ คณุ ธรรมและคา นยิ มทีเ่ หมาะสม รหัสตัวช้วี ดั ค 1.1 ม.5/1 ค 1.2 ม.5/1 รวมทง้ั หมด 2 ตัวช้ีวัด

30 คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ ค32211 คณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ 3 กลุมสาระการเรียนรู คณติ ศาสตร ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 จํานวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ชั่วโมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษา พรอ มทั้งฝกทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ นเนือ้ หาของสาระ ดงั นี้ ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและฟงกชันลอการิทึม เลขยกกําลัง ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล ฟงกช นั ลอการิทมึ การหาคา ลอการิทมึ การเปลีย่ นฐานลอการทิ ึม สมการและอสมการลอการิทึม การประยุกต ของฟงกช ันเอกซโพเนนเชียลและฟง กช ันลอการทิ ึม ฟง กช นั ตรีโกณมติ ิ ฟงกช นั ไซนแ ละโคไซน ฟง กช ันตรีโกณมิติอื่นๆ ฟงกชนั ตรีโกณมติ ขิ อง มมุ กราฟของฟงกช ันตรโี กณมิติ ฟงกช ันตรีโกณมิติของผลบวกและผลตางของจาํ นวนจริงหรือมุม ตัวผกผันของ ฟงกชันตรโี กณมติ ิ กฎของโคไซนแ ละกฎของไซน การหาระยะทางและความสูง เวกเตอร เวกเตอรแ ละสมบัติของเวกเตอร ระบบพิกัดฉากสามมติ ิ เวกเตอรใ นระบบ พิกัดฉาก ผลคณู เชงิ สเกลาร ผลคณู เชงิ เวกเตอร โดยการจดั ประสบการณใ หผูเรียนไดพ ฒั นาทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร อันไดแก การแกปญหา การสื่อสารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร การเชื่อมโยง การใหเหตุผล และการคิด สรางสรรค การใชสื่อ อุปกรณ เทคโนโลยี และแหลงขอมูล และนําประสบการณ ตลอดจนทักษะและ กระบวนการที่ได ไปใชใ นการเรยี นรูส่งิ ตางๆ และใชใ นชีวิตประจําวันอยา งสรา งสรรค เพ่อื ใหเหน็ คณุ คา และมเี จตคตทิ ่ีดตี อคณิตศาสตร สามารถทาํ งานอยา งมรี ะบบ มี ความรอบคอบ และมีวิจารณญาณ ผลการเรยี นรู 1. มคี วามคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั ฟง กชันเอก็ ซโ พเนนเชยี ลและฟง กชันลอการิทึม และเขยี นกราฟของ ฟง กชันทก่ี ําหนดใหไ ด 2. นําความรูเ รอื่ งฟงกชนั เอก็ ซโพเนนเชยี ลและฟง กชนั ลอการทิ มึ ไปใชแกป ญหาได 3. มีความคดิ รวบยอดเก่ียวกับฟงกชันตรโี กณมิติ และเขยี นกราฟของฟงกชนั ทกี่ ําหนดใหได 4. นําความรเู ร่ืองฟง กช นั ตรีโกณมติ ิและการประยกุ ตไปใชแกป ญ หาได 5. มีความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั เวกเตอรสามมิติ หาผลบวกเวกเตอร ผลคูณเวกเตอรดว ยสเกลาร ผลคณู เชงิ เวกเตอรได 6. แกปญหาเกย่ี วกบั เวกเตอรท่ีกาํ หนดใหได รวมทั้งหมด 6 ผลการเรยี นรู

31 โครงสรา งรายวชิ าพื้นฐาน กลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ค32111 คณติ ศาสตรพืน้ ฐาน 5 เวลา 40 ชั่วโมง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 จํานวน 1.0 หนว ยกิต หนวยที่ ชื่อหนว ยการ มาตรฐาน สาระการเรยี นรู เวลา(ชวั่ โมง) นํา้ หนัก 1 เรยี นรู ตวั ชวี้ ดั 19 คะแนน /ผลการเรยี นรู 1. เลขยกกําลังท่ีมีเลขชี้กําลังเปน เลขยกกําลัง จํานวนเต็ม 15 30 ค1.1 ม.5/1 2. รากท่ี n ของจาํ นวนจริง 4 2 ลาํ ดบั และอนุกรม 20 ค1.2 ม.5/2 2.1 คาหลักของรากท่ี n ของจํานวน 3 ดอกเบ้ียและมลู คา จริง a 10 ของเงนิ ค1.3 ม.5/1 2.2 สมบัตริ ากที่ n 2.3 การหาผลบวก ผลตาง และผล คูณของจาํ นวนทอี่ ยใู นรปู กรณฑ 3. เลขยกกําลังเปนจํานวนตรรกยะ สมบัติของเลขยกกําลัง และการนํา ความรเู ร่อื งเลขยกกาํ ลงั ไปใชใ น การแกปญหา 1. ความหมายของลําดบั 2. การหาพจนทั่วไปของลําดับจาํ กดั 3. ลําดบั เลขคณติ 4. ลําดับเรขาคณติ 5. อนุกรมเลขคณติ 6. อนกุ รมเรขาคณิต 7. การประยุกตข องลําดบั และอนกุ รม 1. ดอกเบี้ยทบตน 2. มูลคา ปจ จุบนั และมูลคาอนาคต 3. คางวด สอบกลางภาคเรียน 1- สอบปลายภาคเรยี น 1- 40 100 รวม

32 โครงสรางรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร ค32112 คณิตศาสตรพ ้นื ฐาน 6 เวลา 40 ชั่วโมง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 จาํ นวน 1.0 หนว ยกติ หนว ยที่ ช่ือหนว ยการ มาตรฐานตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู เวลา นาํ้ หนกั - เรียนรู - (ชวั่ โมง) คะแนน ชแ้ี จงเน้อื หา การวัดและการ แนะนาํ รายวชิ า ค 1.1 ม.5/1 ประเมนิ ผลของรายวชิ า 1 - 1.เลขยกกาํ ลังทมี่ เี ลขชก้ี ําลงั เปน 1 เลขยกกําลัง จาํ นวนเตม็ 18 50 2.รากที่ n ของจํานวนจรงิ 3.เลขยกกําลังท่มี ีเลขชกี้ ําลงั เปน จาํ นวนตรรกยะ 2 ฟงกช ัน ค 1.2 ม.5/1 1.ฟง กช ัน 19 50 2.ฟงกช นั เชิงเสน สอบกลางภาคเรยี น 3.ฟง กช ันกําลังสอง 1- สอบปลายภาคเรยี น 4.ฟงกชันขนั้ บนั ได 1- 5.ฟง กชนั เอกซโ พเนนเชียล 40 100 รวม

33 โครงสรา งรายวิชาเพม่ิ เติม กลุมสาระการเรียนรู คณติ ศาสตร ค32211 คณติ ศาสตรเพมิ่ เติม 3 เวลา 60 ช่ัวโมง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 จํานวน 1.5 หนว ยกิต ลําดับ ชอื่ หนวย ผลการเรียนรู สาระสาํ คัญ เวลา นา้ํ หนกั ท่ี การเรียนรู (ชวั่ โมง) คะแนน 1 ฟงกชนั เอกซ 1. เขาใจลักษณะของกราฟ - ฟงกช นั เอกซโ พเนนเชยี ล 19 20 - ฟง กช ันลอการทมึ โพเนนเชยี ล ของฟง กชนั เอกซโ พเนนเชียล - สมการเอกซโ พเนนเชียล และฟงกชนั และฟง กชันลอการทิ ึมและ ลอกการิทมึ นาํ ไปใชใ นการแกปญ หา และสมการลอการิทึม 2.แกส มการเอกซโ พเนนเชียล และสมการลอการิทึม และ นําไปใชใ นการแกปญหา 2 ฟงกชัน 1.เขา ใจฟง กชันตรโี กณมติ ิและ ฟงกช ันตรโี กณมติ ิ 20 20 ตรีโกณมติ ิ ลกั ษณะกราฟของฟง กช ัน - ฟงกชันตรโี กณมติ ิ ตรโี กณมติ ิและนําไปใช แกปญหา - ฟงกช นั ตรโี กณมติ ผกผัน 2.แกสมการตรโี กณมติ ิและ - เอกลกั ษณแ ละสมการ นําไปใชใ นการแกปญ หา ตรีโกณมิติ 3.ใชก ฎของโคไซนแ ละกฏของ - กฎของโคไซนและกฎของ ไซนใ นการแกปญหา ไซน .

34 ลําดับ ชื่อหนวย ผลการเรียนรู สาระสาํ คัญ เวลา นํา้ หนกั ที่ การเรียนรู (ชว่ั โมง) คะแนน 3 เวกเตอรใ น 1. หาผลลพั ธข องการบวก เวกเตอรในสามมติ ิ 19 20 - เวกเตอร นเิ สธของเวกเตอร สามมติ ิ การลบเวกเตอร การคูณ 20 20 เวกเตอรดวยสเกลาร หาผล - การบวก การลบเวกเตอร 100 คูณเชิงสเกลารและผลคณู เชงิ การคูณเวกเตอรด ว ย เวกเตอร สเกลาร ผลคณู เชงิ สเกลาร 2. นาํ ความรูเก่ียวกบั เวกเตอร ผลคณู เชิงเวกเตอร ในสามมติ ไิ ปใชใ นการ แกปญ หา สอบกลางภาคเรียน 1 สอบปลายภาคเรยี น 1 60 รวม

35 1.2.1 การออกแบบหนวยการเรยี นรู

36 กาํ หนดการเรยี นรูรายชั่วโมง รายวิชา ค32111 คณิตศาสตรพื้นฐาน 5 ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 จาํ นวน 1.0 หนวยกิต เวลา 2 ช่วั โมง/สปั ดาห ครงั้ ที่ วนั เดอื น ป จาํ นวน เร่อื งทส่ี อน ตัวชีว้ ัด ชั่วโมง หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 1 1-218/มิ.ย./64 6 เลขยกกาํ ลังทม่ี ีเลขช้กี าํ ลงั เปนจาํ นวนเต็ม ค 1.1 ม.5/1 2 21มิ.ย.-13ก.ค./64 7 รากที่ n ของจาํ นวนจริง ค 1.1 ม.5/1 3 19ม.ิ ย.-10ส.ค./64 6 เลขยกกาํ ลงั ทมี่ ีเลขชก้ี าํ ลังเปนจํานวน ค 1.1 ม.5/1 ตรรกยะ สอบกลางภาค หนวยการเรยี นรูท่ี 2 ลาํ ดบั และอนุกรม 6 16-20ส.ค./64 1 ความหมายของลาํ ดับ ค 1.2 ม.5/1 7 23-27ส.ค./64 2 ลาํ ดับเลขคณติ ค 1.2 ม.5/1 8 30ส.ค.-3ก.ย./64 2 ลําดบั เรขาคณิต ค 1.2 ม.5/1 9 6-10/ก.ย./64 2 อนกุ รมเลขคณิต ค 1.2 ม.5/1 10 13-17/ก.ย./64 2 อนกุ รมเรขาคณติ ค 1.2 ม.5/1 11 20-24/ก.ย./64 2 ดอกเบ้ยี และมูลคา ค 1.3 ม.5/1 สอบปลายภาค การวัดผลและประเมนิ ผล 1. อตั ราสว นของคะแนนระหวา งภาคและปลายภาค = 60 : 40 2. คะแนนระหวางภาคเรยี น 80 คะแนน ประกอบดวย 2.1 สอบวดั ผลตามชี้วัดหนวยการเรียนรูที่ 1-2 20 คะแนน 2.2 งานเอกสารประกอบการเรยี น 20 คะแนน 2.3 ชน้ิ งาน 10 คะแนน 2.4 ใบงาน 10 คะแนน 3. คะแนนสอบกลางภาคเรียน 20 คะแนน 4. คะแนนสอบปลายภาคเรียน 20 คะแนน

37 1.2.2 การจัดทําแผนการเรยี นรู

38 วเิ คราะหผ เู รียนรายบคุ คล

39

40

41

42

43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook