Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือการอ่านการเขียน ป.๔ (กรกฎาคม ๒๕๖๓

เครื่องมือการอ่านการเขียน ป.๔ (กรกฎาคม ๒๕๖๓

Description: เครื่องมือการอ่านการเขียน ป.๔ (กรกฎาคม ๒๕๖๓

Search

Read the Text Version

เคร่ืองมือคัดกรอง “ความสามารถในการอา่ นและการเขยี น” (ฉบับนักเรยี น) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ : กรกฎาคม ๒๕๖๓ สถาบันภาษาไทย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สงวนลิขสทิ ธิ์ -๑-

ฉบบั ท่ี ๑ การอา่ น ตอนที่ ๑ การอา่ นคา คาช้ีแจง (ครูอ่านคาชแ้ี จงให้นกั เรยี นฟงั ) ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงจากเรื่องทกี่ าหนดให้ ใช้เวลา ๕ นาที เรอื่ งเล่าของตน้ กล้า เด็กชายกล้าอายุ ๑๑ ปี เป็นเด็กอารมณ์ดี สนุกสนานร่าเริง กล้าอยู่ท่ีบ้านสวน บ้านของกล้าร่มรื่น มีต้นโพใหญ่โดดเด่นให้ร่มเงา เป็นท่ีโปรดปรานของทุกคนในบ้าน สวนหลังบ้านของกล้ามีต้นกล้วยหลายพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นกล้วยน้าว้า กล้วยหอม กล้วยไข่ และยงั มพี ชื ผักสวนครัวอีกมากมาย เชน่ พริก มะเขือ ตะไคร้ ข่า โหระพา ฯลฯ กล้าภูมิใจมากท่ีพ่อได้รับการคัดเลือกจากองค์การบริหารส่วนตาบล ให้ไป อบรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงจากเกษตรอาเภอ พ่อได้นาความรู้จากการอบรม มาเพาะปลูกพืชผัก และดูแลรักษาจนได้ผลผลิตดีขึ้นกว่าเดิม นอกจากน้ันพ่อยังให้ คาแนะนาช่วยเหลือเพ่ือนบ้านในเรื่องการเพาะปลูก ทาให้พืชผักเป็นอาหารประจา ครัวเรือน และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวของทุกคนในหมู่บ้าน วันหน่ึงพ่อชวนกล้า ให้ไปสวนกล้วย กล้าเห็นกล้วยสุกเหลือง พ่อกับกล้าช่วยกันตัดกล้วยหอมที่สุกเหลือง เครือใหญ่ไปขาย พ่อบอกว่า ป้าแดงแม่ค้าในตลาดส่ังไว้ ได้เงินให้กล้าไปโรงเรียน กลา้ บอกพ่อกับแม่ว่า จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและจะเห็นคุณคา่ ของพืชพรรณเหล่านี้ “กลา้ ให้สญั ญา” -๒-

ฉบบั ที่ ๑ การอ่าน ตอนท่ี ๒ การอา่ นรู้เร่อื ง คาช้ีแจง (ครอู า่ นคาชี้แจงให้นักเรยี นฟัง) ให้นักเรียนตอบคาถาม โดยเขียนเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก. ข. ค. หรือ ง. หน้าคาตอบที่ถูกต้อง ใช้เวลา ๓๐ นาที อา่ นบทอา่ นต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ ๑ - ๒ หัวหน้าห้อง ป.๔ ได้รับมอบหมายจากครูให้รวบรวมสมุดรายงานของเพื่อน ๆ ไปส่งครูตามเวลาท่ีกาหนด แต่มีเพ่ือนคนหน่ึงไม่ยอมส่ง เขาจึงถูกครูตาหนิ เขารู้สึก ไม่สบายใจแต่มิได้โกรธเพ่ือนแต่อย่างใดกลับมาบอกเพื่อนให้รีบทางานให้เสร็จครูรออยู่ ถา้ ทาไมไ่ ดจ้ ะชว่ ยแนะนาให้ ๑. จากขอ้ ความ ผแู้ ต่งตอ้ งการเนน้ คณุ ธรรมเรอ่ื งใดมากท่ีสุด ก. ความมนี า้ ใจ ข. ความซอื่ สตั ย์ ค. ความเสยี สละ ง. ความรับผดิ ชอบ ๒. การกระทาของหัวหนา้ ห้องควรยกยอ่ งในเรอื่ งใด ก. การเปน็ ผู้นาในการตัดสนิ ใจ ข. การเป็นผนู้ าในการชว่ ยเหลอื ค. การเปน็ ผ้นู าในการออกคาส่ัง ง. การเปน็ ผนู้ าในการดแู ลสมาชิก อ่านบทอ่านตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถาม ขอ้ 3 - 5 ผมไปเข้าค่ายลกู เสือร่วมกับเพ่อื น ผมประทบั ใจมากที่ไดล้ อดซุ้ม คลานไปตาม พื้นดินภายในซุ้มไม้ไผ่แคบ ๆ คุณครูบอกว่าการเข้าคา่ ยลูกเสือเป็นการฝึกความอดทน ซ่ึงพวกเราก็อดทนจริง ๆ พอโผล่พ้นจากซุ้มก็เห็นคุณครูบางท่านร้องเพลง บางท่าน ตีกลอง บางท่านรอประแป้ง เป็นการต้อนรับชาวค่ายลูกเสือ ผมและเพ่ือน ๆ มีความสุขที่ได้มาเข้าค่าย เพราะถึงแม้ใบหน้ามอมแมม แต่พวกเราทุกคนก็หัวเราะ ยิ้มแยม้ แจ่มใสให้กนั 3. ใจความสาคญั ของบทอา่ นนค้ี อื อะไร ข. สถานท่ีเขา้ คา่ ยลกู เสอื ก. วิธีการต้อนรบั ลกู เสอื ง. การเข้าคา่ ยลูกเสอื ทม่ี ีความสขุ ใจ ค. กิจกรรมทีส่ นุกสนานของค่าย -๓-

4. เพราะเหตุใดจงึ ตอ้ งเข้าค่ายลกู เสอื ข. เพือ่ ให้รู้จกั กิจกรรมตา่ ง ๆ ก. เพอ่ื ฝึกให้เขม้ แขง็ ง. เพอื่ อยากให้ลูกเสอื สนกุ สนาน ค. เพอื่ ฝึกใหร้ วู้ ิธีสรา้ งคา่ ย 5. ขอ้ ใดใช้คาแสดงขอ้ คิดเห็น ก. ผมไปเขา้ คา่ ยลูกเสอื ร่วมกบั เพ่อื น ข. คุณครบู างทา่ นร้องเพลง บางทา่ นตกี ลอง ค. ผมและเพ่อื น ๆ มคี วามสขุ ทไ่ี ดม้ าเขา้ ค่าย ง. พวกเราทุกคนก็หวั เราะ ยิ้มแยม้ แจม่ ใสให้กัน อ่านบทอา่ นตอ่ ไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ 6 - 8 ตาและหู ต่างเป็นเพื่อนรักกันมานาน ทุกครั้งท่ีท้ังคู่เดินทางไปโรงเรียนก็ได้ สัญญากันว่า ตานั้นจะคอยสังเกตเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา หูก็จะคอยฟัง ส่ิงท่ีได้ยินตลอดเวลา วันหน่ึงขณะที่คุณครูชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กาลังสอนเร่ือง ความสามัคคอี ยนู่ ้ัน ตาก็ต้ังใจดูครผู สู้ อนตลอดเวลา หูเห็นเช่นนัน้ จึงต้ังใจฟัง ทั้งคู่ตัง้ ใจ ดู และตั้งใจฟังครูสอน เมื่อหมดเวลาเรียนคุณครูให้ตาและหูอธิบายความรู้เกี่ยวกับ ความสามัคคี ท้งั คจู่ ึงสามารถสรุปบทเรยี นเรื่องความสามัคคไี ด้เป็นอยา่ งดี ท้ังตาและหู มคี วามสขุ มาก 6. จากนิทานเรอื่ งนี้ใหข้ อ้ คดิ เรอ่ื งใด ข. การช่วยเหลอื กนั ก. การเสยี สละ ง. การแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ค. การไว้วางใจกนั 7. เหตผุ ลสาคญั ของการทาพฤติกรรมตามบทอา่ นคอื ขอ้ ใด ก. เป็นท่รี กั ของครู ข. มคี วามรูใ้ นเรอ่ื งนนั้ ค. เปน็ ทพี่ ึ่งของเพอ่ื น ๆ ง. ทาให้มคี วามสุขกายสุขใจ 8. นทิ านเรอื่ งนีส้ อนเกยี่ วกับเรือ่ งใด ข. การหาความสุข ก. การต้งั ใจเรียน ง. การรกั ษาคาสัญญา ค. การทาเพอ่ื ส่วนรวม -๔-

อ่านบทอา่ นต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม ขอ้ 9 - 11 ทุก ๆ วัน แก้วตาจะจัดข้าวของเคร่ืองใช้ของตนเองและของใช้ในบ้าน เช่น ถุงเท้า รองเท้า กระเป๋า เสื้อผ้า ปัดกวาดที่นอน พับผ้าห่มของตนเองและของพ่อแม่ ได้อย่างเรียบร้อยทุกวัน ส่วนวารีชอบวางข้าวของไม่เป็นท่ีเป็นทาง เช้าวันหนึ่งวารี ไปขอยืมถุงเท้าของแก้วตา แก้วตาสามารถหยิบถุงเท้าให้วารียืมได้ทันที วันถัดไป แก้วตาไปขอถุงเท้าคืน วารีหาถุงเท้าไม่เจอ แก้วตาจึงช่วยหาและบอกวารีว่า ถ้าวารี จัดข้าวของให้เป็นระเบียบเรียบร้อยก็จะหาของได้ง่ายและรวดเร็ว วารีก็รับคา และขอบคุณแก้วตาท่ีช่วยแนะนา 9. การกระทาของแกว้ ตาแสดงใหเ้ ห็นคุณธรรมข้อใด ก. ความเมตตา ข. ความกตญั ญู ค. ความรบั ผดิ ชอบ ง. ความมีระเบยี บวินัย 10. ถ้าวารที าตามคาแนะนาของแก้วตาเหตกุ ารณใ์ ดจะเกิดขน้ึ ก. มคี วามสุขมากข้นึ ข. หาของได้ง่ายรวดเรว็ ขึ้น ค. ข้าวของเครอื่ งใช้ใชไ้ ดน้ านขน้ึ ง. ไมต่ อ้ งขอยมื ถงุ เท้าของคนอื่นอีก ๑๑. ถา้ อยากให้บ้านมีความเปน็ ระเบยี บ ควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร ก. ปัดกวาดทีน่ อนทกุ วัน ข. ดูแลของใชข้ องตนเอง ค. ทาความสะอาดบา้ นทกุ วนั ง. จดั สิ่งของเครอ่ื งใชภ้ ายในบ้านใหเ้ รียบรอ้ ย อ่านบทอา่ นต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ 12 - 14 ต้อมชอบข่ีจักรยาน ฝึกข่ีมาต้ังแต่ต้อมอายุ 6 ปี มีหลายคร้ังท่ีหกล้มบาดเจ็บ ทาให้พ่อเป็นห่วง จึงบอกให้เพ่ิมความระมัดระวังต้ังแต่จะเร่ิมข่ีต้องตรวจจักรยาน ดูลมยาง เบรก กระด่ิง ให้พร้อมก่อนข่ี ขณะท่ีขี่อย่าข่ีเร็วเกินจนไม่สามารถหยุดรถได้ อย่างปลอดภัย รักษาระยะห่างจากรถจักรยานของคนอ่ืน ไม่ข่ีอย่างโลดโผน ถ้าผ่าน เส้นทางที่เปียกลื่น ขรุขระ เป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องระวังมากขึ้น หากทาได้อย่างนี้ การขจ่ี กั รยานจะปลอดภัยมากขึ้น ๑2. ใจความสาคญั ของบทอา่ นน้คี อื อะไร ข. การขีจ่ กั รยานใหป้ ลอดภัย ก. ลกั ษณะของรถจกั รยาน ง. การรักษาระยะหา่ งระหว่างรถจกั รยาน ค. วิธีหยดุ รถจกั รยานทีถ่ กู ตอ้ ง -๕-

13. ทาไมพอ่ จงึ เปน็ หว่ งตอ้ ม ข. เพราะชอบขจ่ี ักรยานเรว็ ก. เพราะอายุยังนอ้ ย ง. เพราะชอบขจ่ี กั รยานโลดโผน ค. เพราะสภาพรถไมส่ มบูรณ์ 14. จากบทอ่านนใ้ี ห้ข้อคิดอะไร ข. ความมงุ่ มั่น ก. ความมีวนิ ยั ง. ความรเู้ ป็นส่งิ สาคญั ค. ความรอบคอบ อา่ นบทอ่านตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถาม ขอ้ 15 - 17 15. บทอ่านน้ีเกี่ยวข้องกบั เรอ่ื งใดมากท่สี ดุ ข. การทาอาหารจากไข่ ก. การเลอื กชนดิ ของไข่ ง. ประโยชนจ์ ากการรับประทานไข่ ค. ปรมิ าณไขท่ ค่ี วรรับประทาน -๖-

16. ขอ้ ใดไมส่ อดคลอ้ งกับบทอ่านขา้ งตน้ ก. การกนิ ไข่ เหมาะกับคนทกุ วัย ข. เดก็ อายุ ๖ เดอื น ควรกนิ ไขต่ ม้ สุก ค. ผ้สู ูงอายคุ วรรบั ประทานไขว่ ันละ 1 ฟอง ง. คนวยั ทางานควรรับประทานไขท่ กุ มอ้ื ของวนั 17. จากบทอา่ นน้ี ข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง ก. นกั เรยี นควรกินไขท่ กุ วนั ข. ไข่ไก่มปี ระโยชน์มากท่ีสดุ ค. ไข่ 3 ฟอง ใหพ้ ลงั งาน 240 กโิ ลแคลอรี ง. คุณแมท่ ่ใี หน้ มบตุ รควรกนิ ไขว่ ันละ 1 ฟอง อา่ นบทอ่านตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถาม ขอ้ 18 - 20 -๗-

18. ข้อมลู ใดเก่ียวกับโควดิ - 19 ท่ีไมป่ รากฏในบทอา่ น ก. การรักษาโรค ข. แหล่งสะสมโรค ค. การป้องกันโรค ง. วธิ กี ารตดิ ต่อของโรค 19. จากบทอ่าน ขอ้ ใดไมถ่ ูกตอ้ ง ก. ในปสั สาวะจะไม่พบเชอื้ โควิด - 19 ข. หากเปน็ กลมุ่ เสย่ี งตดิ เช้ือ ไมค่ วรบรจิ าคเลอื ด ค. ในสารคัดหลัง่ มปี รมิ าณการสะสมเชอ้ื แตกตา่ งกัน ง. การตรวจหาเช้ือโควดิ - 19 จะตรวจจากน้าลายเปน็ หลกั 20. ข้อใดเรยี งลาดับแหล่งสะสมเชื้อโควิด - 19 จากมากไปน้อยถูกตอ้ ง 1) น้าตา 2) นา้ มกู 3) นา้ ลาย 4) เลอื ด 5) อุจจาระ ก. 1) 2) 3) 4) 5) ข. 1) 4) 5) 3) 2) ค. 2) 3) 5) 4) 1) ง. 2) 1) 5) 4) 3) -๘-

ฉบบั ที่ ๒ การเขยี น คาช้ีแจง (ครูอา่ นคาชแ้ี จงใหน้ ักเรยี นฟงั ) ให้นักเรียนเขยี นเร่ืองตามจินตนาการในประเดน็ “กจิ กรรมสร้างสรรค์ชว่ งวันหยุดอยูบ่ ้านในสถานการณ์ โควดิ -19” ดว้ ยตวั บรรจงคร่งึ บรรทัด ความยาว 9 - ๑๐ บรรทดั และต้ังช่อื เร่ืองให้เหมาะสม ใชเ้ วลา ๒๐ นาที ชอื่ ....................................................................................... ชน้ั ............. เลขท่ี ............ …………………..………….……...........…………………………………………..…… …………………..………….……………………………………………………………………………………………………………………..…… ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….… ……..………….…………………………………………………………………………………………………….…………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……..…………..………….………………………………………………………………………………………………………........................ …….………………………………………………………………………………………………………………………..……………….............. ……..………….…………………………………………………………………………………………………….…………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………… ……..…………..………….………………………………………………………………………………………………………........................ …….………………………………………………………………………………………………………………………..……………….............. -๙-