Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหา

เนื้อหา

Published by Teacher Tanig, 2020-05-31 04:55:55

Description: 3 เนื้อหา 8

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 1 ความรูท้ ่ัวไปเก่ียวกบั บุคคลท่มี ีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน ความหมาย บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง บุคคลท่ีสูญเสียการได้ยิน การรับฟังเสียงต่างๆ ผิดปกติ อาจจะเปน็ คนหตู ึง หรอื คนหหู นวก (ผดงุ อารยะวิญญู, 2539 และศรียา นิยมธรรม, 2541) ซึง่ ความหมายของบุคคลทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการได้ยนิ นนั้ มีอยู่ 3 มมุ มอง ดงั นี้ 1. ทางการศึกษา 1.1 เด็กหูตึง หมายถึง เด็กท่ีมีการได้ยินเหลืออยู่บ้างสามารถรับฟังเสียงได้ (แต่ไม่สู้ดีหรือ ไมช่ ัด) ไมว่ ่าจะใส่เครอ่ื งช่วยฟังหรือไม่กต็ าม 1.2 เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กท่ีสูญเสียการได้ยินมากๆ ตั้งแต่ 90 เดซิเบลขึ้นไป ไม่ได้ยิน เสียงพูดดังๆ อาจรับรู้เสียงบางเสียงจากการสั่นสะเทือน ถ้าสูญเสียการได้ยินระดับน้ีมาแต่กําเนิดจะพูดไม่ได้ ถา้ ไม่ไดร้ ับการสอนพิเศษ ส่วนมากเด็กจะใช้ภาษามอื ในการติดตอ่ สือ่ ความหมาย 2. ทางการแพทย์ เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง เด็กที่บกพร่องหรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับ ฟงั เสียงตา่ งๆ ไมช่ ดั เจน มี 2 ประเภท คอื 2.1 เดก็ หูตึง (Hearing Loss) หมายถงึ ผทู้ ีส่ ญู เสยี การได้ยินจนไม่สามารถเข้าใจคําพูดและ การสนทนา ซ่ึงจําแนกตามเกณฑ์การพิจารณาอัตราความพิการของหูของสมาคมโสต ศอ นาสิกแห่งประเทศ ไทย ใช้ค่าเฉลีย่ การได้ยนิ ที่ความถี่ 500, 1000 และ 2000 เฮริ ตซ์ ในหขู า้ งท่ีดกี วา่ มี 4 ระดบั คอื 2.1.1 หูตึงระดับที่ 1 หูตึงน้อย (Mild hearing loss) สูญเสียการได้ยินระหว่าง 26- 40 เดซเิ บล ไม่สามารถได้ยนิ เสยี งกระซบิ และเสยี งมาจากที่ไกลๆ 2.1.2 หูตึงระดับที่ 2 หูตึงปานกลาง (Moderate hearing loss) สูญเสียการได้ยิน ระหว่าง 41-55 เดซิเบล สามารถพอจะเข้าใจคําพูดในระดับความดังปกติ ในระยะ 3-5 ฟุต มีปัญหาในการพูด เชน่ พูดไมช่ ัด พูดเสยี งดงั เกนิ ไป หรือเบากว่าปกติ ต้องใช้เคร่ืองช่วยฟัง บางรายต้องเพ่ิมการฝึกฟัง ฝึกพูดโดย นักแก้ไขการพูดและการได้ยิน 2.1.3 หูตงึ ระดบั ที่ 3 หูตึงมาก (Severe hearing loss) สูญเสียการไดย้ นิ ระหว่าง 56-70 เดซิเบล มีปัญหาในการได้ยินเสียงและใช้คําพูดในชีวิตประจําวัน ต้องใช้เสียงมากจึงจะได้ยิน ต้องใช้ เครอื่ งช่วยฟงั เสียงและควรไดร้ ับบริการแกไ้ ขการพูด 2.1.4 หูตึงระดับท่ี 4 หูตึงระดับรุนแรง (Profound hearing loss) สูญเสียการได้ยิน ระหว่าง 71-90 เดซิเบล ไม่ได้ยนิ เสียงพูดตามปกติ แม้จะใช้เครื่องช่วยฟังก็ตามมีปัญหาในการพูด เช่น พูดไม่ ชัด พดู ไมไ่ ด้ ไม่เขา้ ใจภาษา มีพฒั นาการทางภาษาพูดและเขียนผดิ จากเด็กปกติ บางครงั้ ต้องการใชภ้ าษามอื 2.2 เด็กหูหนวก (Deaf) เด็กที่มีการสูญเสียการได้ยินมากจนไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษา พูดได้ หากไม่ได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษและถ้าวัดระดับการได้ยินท่ี 500, 1000 และ 2000 เฮิรตซ์ จะมีการ

2 ตอบสนองของหูข้างที่ดีกว่าต่อเสียงบริสุทธิ์ต้ังแต่ 90 เดซิเบลขึ้นไป (พูนพิศ อมาตยกุล, สุมาลี ดีจงกิจ และ พิมพา ขจรธรรม (2555) 3. ทางมนุษยวิทยา (จติ ประภา ศรอี ่อน, 2551) 3.1 เด็กหตู งึ หมายถึง ผู้ที่สูญเสียการได้ยินไม่ว่าอยู่ในระดับหูตึงหรือหูหนวก ท่ีใช้การสื่อสารด้วย ภาษาพูด 3.2 เดก็ หหู นวก หมายถึง ผู้ท่ีสูญเสียการได้ยินไม่ว่าอยู่ในระดับหูตึงหรือหูหนวก ที่ใช้การสื่อสาร ดว้ ยภาษามือ ความหมายของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง “กาํ หนดประเภทและหลักเกณฑข์ องคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552” ซ่ึงอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 3 และมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ ออกประกาศกําหนดประเภทและหลกั เกณฑ์ของคนพกิ ารทางการศึกษาไวด้ งั ต่อไปนี้ 1. บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการเหน็ 2. บุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ 3. บคุ คลทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา 4. บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางรา่ งกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรือสขุ ภาพ 5. บุคคลท่มี ีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ 6. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพดู และภาษา 7. บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ 8. บคุ คลออทสิ ตกิ 9. บคุ คลพกิ ารซ้อน ในส่วน ของข้อท่ี 2. บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ได้แก่ บุคคลท่ีสูญเสียการได้ยินต้ังแต่ ระดบั หตู ึงนอ้ ยจนถึงหูหนวก ซ่ึงแบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี คนหหู นวก หมายถึง บคุ คลที่สญู เสยี การไดย้ นิ มากจนไม่สามารถเข้าใจการพูดผ่านทางการได้ยินไม่ว่า จะใส่หรือไม่ใส่เคร่อื งชว่ ยฟัง ซง่ึ โดยทว่ั ไปหากตรวจการไดย้ นิ จะมกี ารสญู เสียการไดย้ นิ 90 เดซิเบลข้ึนไป คนหูตึง หมายถึง บุคคลที่มีการได้ยินเหลืออยู่เพียงพอที่จะได้ยินการพูดผ่านทางการได้ยิน โดยท่ัวไป จะใส่เคร่ืองช่วยฟัง ซ่ึงหากตรวจวัดการได้ยินจะมีการสูญเสียการได้ยินน้อยกว่า 90 เดซิเบลลงมาถึง 26 เดซิเบล ประเภทของความบกพรอ่ งทางการได้ยิน การสูญเสยี การได้ยินหรือความบกพร่องทางการได้ยิน แบ่งเป็นประเภทได้ตามลักษณะการทํางานใน แต่ละส่วนดังน้ี (วชิ ิต ชวี เรืองโรจน์, 2550) 1. การสูญเสียการได้ยินชนิดการนําเสียงบกพร่อง (Conductive hearing loss) เป็นภาวะการณ์นํา เสียงบกพรอ่ ง ซ่งึ เป็นผลจากโรคทที่ าํ ใหเ้ กดิ ความผิดปกติท่ีหูชั้นนอกและหูช้ันกลาง นอกหน้าต่างรูปไข่ออกมา (Oval window) เปน็ ผลให้มีความผดิ ปกตขิ องกลไกการสง่ ผ่านคล่ืนเสียงไปสหู่ ูช้ันใน

3 2. การสูญเสยี การได้ยินชนิดประสาทรับฟังเสียงบกพร่อง (Sensorineural hearing loss) เป็นภาวะ ท่เี กดิ จากความผิดปกติที่หูชั้นใน (Cochlea) หรือประสาทรับเสียง (Auditory nerve) ทําให้มีความลําบากใน การรับฟงั เสยี ง โดยเฉพาะเสียงสนทนา คอื ได้ยนิ แต่ฟงั ไม่รูเ้ รือ่ ง 3. การสูญเสียการได้ยินชนิดการรับฟังเสียงบกพร่องแบบผสม (Mixed hearing loss) เป็นภาวะที่ เกิดความผิดปกติในการนําเสียงร่วมกับประสาทรับฟังเสียงบกพร่อง พบในโรคที่มีความผิดปกติที่หูชั้นนอก และ/หรือหูช้ันกลาง ร่วมกบั ความผดิ ปกติของหชู ัน้ ใน 4. การรบั ฟงั เสยี งบกพร่องจากสมองสว่ นกลาง (Central hearing loss) เปน็ ความบกพร่องของสมอง ส่วนกลาง (Central hearing loss) เป็นความบกพร่องของสมองส่วนกลาง คือ ได้ยินเสียงแต่ไม่สามารถแปล สัญญาณเสยี งน้ันได้ ขณะเดยี วกนั ก็ไมส่ ามารถโต้ตอบสัญญาณนั้นกลับไปดว้ ย 5. การรับฟังเสียงบกพร่องจากสภาวะทางจิตใจ (Functional หรือ Psychological hearing loss) เกดิ จากความผิดปกตทิ างจติ ใจ มิใช่จากสาเหตทุ างรา่ งกาย ลกั ษณะของเด็กท่มี ีความบกพร่องทางการไดย้ ิน ผดงุ อารายะวิญญู (2542) 1. การพูด เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน มีปัญหาทางการพูด เด็กอาจพูดไม่ได้หรือพูดไม่ชัด ซึง่ ขนึ้ กับระดับการสญู เสียการได้ยินของเด็ก เด็กที่สูญเสียการได้ยินเล็กน้อยอาจพอพูดได้ เด็กท่ีสูญเสียการได้ ยินระดับปานกลางสามารถพูดได้แต่อาจไม่ชัด ส่วนเด็กที่สูญเสียการได้ยินมากหรือหูหนวก อาจพูดไม่ได้เลย หากไม่ได้รับการสอนพูดต้ังแต่ในวัยเด็ก นอกจากน้ีการพูดข้ึนอยู่กับอายุของเด็ก เมื่อสูญเสียการได้ยินอีกด้วย หากเด็กสูญเสียการได้ยินมากมาแต่กําเนิด ปัญหาในการพูดของเด็กนอกจากจะข้ึนอยู่กับความรุนแรงของ ระดับการได้ยินแลว้ ยงั ขึน้ อยู่กับอายขุ องเด็กเม่ือเด็กสูญเสียการไดย้ นิ อีกด้วย 2. ภาษา เดก็ ที่มีความบกพร่องทางการไดย้ นิ มปี ัญหาเกย่ี วกบั ภาษา เชน่ มคี วามรู้เก่ียวกับคําศัพท์ใน วงจํากัด เรียงคําเป็นประโยคที่ผิดหลักภาษา ปัญหาทางภาษาของเด็กคล้ายคลึงกับปัญหาในการพูด คือ เด็ก ยง่ิ สญู เสียการได้ยนิ มากเทา่ ใดย่งิ มปี ญั หาในทางภาษามากขึ้นเทา่ นน้ั 3. ความสามารถทางสติปัญญา ผู้ท่ีไม่คุ้นเคยกับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน อาจคิดว่าเด็ก ประเภทนีเ้ ปน็ เดก็ ที่มีสติปญั ญาต่ํา ความจริงแลว้ ไมเ่ ป็นเช่นนัน้ เพราะวา่ ท่านไม่อาจส่ือสารกับเขาได้ หากท่าน สามารถส่ือสารกับเขาได้เป็นอย่างดีแล้ว ท่านอาจเห็นว่าเขาเป็นคนฉลาดก็ได้ ความจริงแล้วระดับสติปัญญา ของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน จากรายงานเป็นจํานวนมากพบว่า มีการกระจายคล้ายเด็กปกติ บาง คนอาจโง่ บางคนอาจฉลาด บางคนฉลาดถึงข้ันเป็นอัจฉริยะก็มี จึงอาจสรุปได้ว่า เด็กท่ีมีความบกพร่อง ทางการได้ยนิ ไมใ่ ชเ่ ด็กโง่ทกุ คน 4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เดก็ ที่มคี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ จํานวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตาํ่ ทัง้ น้อี าจเป็นเพราะว่าวิธีการเรียนการสอน ตลอดจนวิธีวัดผลที่ปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบันเหมาะท่ีจะนํามาใช้ ในเด็กปกติมากกวา่ วิธีการบางอย่างจึงไม่เหมาะสมกับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ยิ่งไปกว่าน้ันเด็กที่ มีความบกพร่องทางการได้ยินมีปัญหาทางภาษาและทักษะทางภาษาจํากัด จึงเป็นอุปสรรคในการทําข้อสอบ เพราะผูท้ ่จี ะทาํ ขอ้ สอบไดด้ ีนั้นตอ้ งมีความรู้ทางภาษาเปน็ อย่างดี ด้วยเหตุน้ีเดก็ ทมี่ ีความบกพร่องทางการได้ยิน จงึ มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนท่ีค่อนข้างตาํ่ กว่าเดก็ ปกติ

4 5. การปรับตัว เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน อาจมีปัญหาในการปรับตัว สาเหตุส่วนใหญ่มา จากการส่ือสารกับผู้อื่น หากเด็กสามารถสื่อสารได้ดี ปัญหาทางอารมณ์อาจลดลงทําให้เด็กสามารถปรับตัวได้ แต่ถ้าเด็กไม่สามารถสื่อสารกับผู้อ่ืนได้ดี เด็กอาจเกิดความคับข้องใจ ซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมของเด็ก เด็กท่ีมี ความบกพร่องทางการได้ยินต้องปรับตัวมากกว่าเด็กปกติบางคนเสียอีก เด็กที่มีความฉลาดอาจปรับตัวได้ดี สว่ นเด็กทไี่ ม่ฉลาดอาจมีปัญหาในการปรับตวั ได้ ลักษณะเดก็ ท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน อาจสังเกตไดจ้ าก • ไมแ่ สดงอาการไดย้ ินเสียง แม้จะเกิดเสียงดังใกล้ๆ ตวั • ไม่หัดเลียนเสยี งพูด และส่งิ แวดลอ้ ม • หดั พดู ช้ากวา่ เด็กปกติ หรอื อายุ 2 ขวบแล้วยงั พดู ไม่ได้ • ไมค่ อ่ ยเขา้ ใจคําพูด • พดู ไม่ชดั หรอื เสยี งพูดผดิ ปกติ • ชอบทําทา่ ทาง เพราะไม่สามารถบอกความต้องการโดยการพูดได้ • ไม่ค่อยไดย้ นิ เสียง หรอื ได้ยนิ เฉพาะเสียงท่ีดังมากๆ • มคี วามรสู้ กึ ไวตอ่ การสัมผสั และการเคลอ่ื นไหวรอบตัว กลไกการได้ยนิ หปู ระกอบดว้ ยโครงสร้าง 3 ส่วนได้แก่ หูช้ันนอก หชู ้ันกลางและหชู น้ั ใน 1. หูชั้นนอก ทําหนา้ ท่รี วบรวมเสียงจากภายนอก เขา้ สชู่ ่องหแู ละ ส่งผา่ นไปยังหชู ้ันกลาง 2. หชู นั้ กลาง รับพลงั งานเสยี งทีส่ ง่ ผา่ นจากหูช้ันนอก ทําใหเ้ ยือ่ แก้วหู และกระดกู หู 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกคอ้ น กระดูกท่ัง และกระดูกโกลน เกดิ การส่นั สะเทือน 3. หูชั้นในรบั การสัน่ สะเทือนที่สง่ ผ่านมาจากหชู ้นั กลางมายังคอเคลีย ทีม่ ตี วั รบั สญั ญาณเสียงเป็นเซลล์ขนทาํ ให้เกดิ การเคลอ่ื นไหว เปล่ียนสญั ญาณเสียงใหเ้ ปน็ สญั ญาณไฟฟูา 4. สญั ญาณไฟฟาู จะถูกส่งต่อไปยังเส้นประสาทการได้ยินและสมอง เพอ่ื แปลความหมายของเสียงท่ีได้ยิน

5 การตรวจวัดการไดย้ นิ การตรวจการได้ยิน จะทําการตรวจวัดโดยนักโสตสัมผัสวิทยา ด้วยเครื่องตรวจการได้ยินไฟฟูา (Audiometer) ในห้องเงยี บ (Sound Proof Room) ทําการวดั ระดับการได้ยินด้วยเสียงบริสุทธิ์ (pure tone) ผ่านการนําเสียงทางอากาศและการนําเสียงทางกระดูก รวมถึงการวัดระดับการได้ยินด้วยเสียงพูด (Speech reception threshold) และความสามารถในการแยกแยะคําพูด แสดงออกมาเป็นรูปกราฟการได้ยิน (Audiogram) อา่ นผลออกมาเปน็ ตัวเลข บอกระดับของการสญู เสียการได้ยิน และประเภทของการสูญเสียการ ไดย้ ินได้ แสดงตัวอยา่ งดังภาพ ดงั นี้ ภาพที่ 1 การไดย้ ินปกติ ภาพท่ี 2 มกี ารสูญเสยี การได้ยนิ แบบ ประสาทหูเส่อื มท่หี ูขา้ งซ้าย ประวตั คิ วามเป็นมาในการจดั การศกึ ษาสาหรับบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน ประวัติความเป็นมาด้านการศึกษาสําหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน การศึกษาสําหรับ เด็กหูหนวกในประเทศไทย เริม่ เมื่อปี พ.ศ. 2494 โดย ม.ร.ว.เสรมิ ศรี เกษมศรี ซง่ึ สําเร็จการศกึ ษาจากวิทยาลัย กาลอเดท (Gallaudet College) ประเทศสหรัฐอเมริกา วิทยาลัยทางศิลปศาสตร์แห่งแรกและแห่งเดียว สําหรับคนหูหนวก ได้เปิดหน่วยทดลองสอนคนหูหนวกข้ึนเป็นครั้งแรกท่ีโรงเรียนวัดโสมนัสวรวิหาร การสอน คนหหู นวกในตอนนน้ั เป็นการสอนพูดโดยใช้ท่าภาษามอื ประกอบ ตอ่ มาคุณหญงิ กมลา ไกรฤกษ์ ได้สาํ เรจ็ การศึกษาจากวทิ ยาลยั เดียวกันมาเป็นครูใหญ่โรงเรียนสอนคน หูหนวกดุสิต (ปัจจุบันคือโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์) ภาษามือไทยจึงถูกรวบรวมและพัฒนามา จากภาษามืออเมรกิ นั การสะกดนว้ิ มือไทยประดษิ ฐม์ าจากการผสมผสานระหว่างการสะกดน้ิวมืออเมริกันและ อักษรในภาษาไทย จากนั้นได้มีการรวบรวมภาษามือเป็นหนังสือภาษามือไทยขึ้น เพื่อใช้สอนคนหูหนวกใน ประเทศไทย การเรียนการสอนในตอนแรกใช้การสอนพูดรวมกับการใช้ภาษามือและการสะกดน้ิวมือร่วมกับ การอา่ น และการเขยี นตามปกติ โรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกองการศึกษาเพ่ือคนพิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ (สมัยนัน้ ) เป็นโรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งแรกของประเทศไทย พัฒนาข้ึนมาจากหน่วย ทดลองสอนคนหูหนวกโรงเรียนเทศบาล 17 (วัดโสมนัสวรวิหาร) กรุงเทพมหานคร ซ่ึงตั้งขึ้นเมื่อวันท่ี 10

6 ธันวาคม 2494 ต่อมาในวันท่ี 25 มีนาคม 2495 คุณหญิงโต๊ะ นรเนติบัญชากิจ ได้มีจิตศรัทธาบริจาค ทรพั ย์สิน มเี งินสด ท่ดี ิน และบา้ นส่วนตัวของทา่ น ซ่ึงตงั้ อยู่ ณ เลขที่ 137 ถนนพระราม 5 ตําบลถนนนครไชย ศรี อําเภอดุสิต จังหวัดพระนคร ตั้งเป็นมูลนิธิให้ช่ือว่า \"มูลนิธิเศรษฐเสถียร\" เพ่ือเป็นอนุสรณ์แห่งตระกูล \"เศรษฐบตุ ร\" อันเป็นตระกลู ของพระยานรเนตบิ ญั ชากจิ สามีของท่าน กบั ตระกูล \"โชติกเสถียร\" ซึ่งเป็นตระกูล ของคุณหญิงเอง มูลนิธิเศรษฐเสถียร มีวัตถุประสงค์ที่จะร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดสร้าง โรงเรยี นสอนคนหูหนวกข้ึนในทดี่ นิ แห่งนี้ ในปี พ.ศ. 2496 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างอาคารโรงเรียนสอนคนหู หนวกและงบประมาณสําหรับครุภัณฑ์และการดําเนินงานของโรงเรียน ในปีท่ีบรรจบครบรอบปีท่ี 2 แห่งการ จัดการศึกษาสําหรับคนหูหนวกในประเทศไทย ซ่ึงตรงกับวันท่ี 10 ธันวาคม 2496 ซึ่งเป็นวันสิทธิมนุษยชน แหง่ ชาติ ไดม้ พี ิธเี ปิดโรงเรียนสอนคนหูหนวกในประเทศไทยข้นึ อย่างเปน็ ทางการ ในปี พ.ศ. 2504 โรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งน้ี ได้เปล่ียนช่ือเป็น โรงเรียนสอนคนหูหนวกดุสิต อัน เนื่องมาจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดตั้งโรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งใหม่ข้ึนที่บริเวณอาคารสงเคราะห์ทุ่ง มหาเมฆ ในปี พ.ศ. 2518 กระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายให้โรงเรียนสอนคนหูหนวกท่ัวประเทศ เปลี่ยนชื่อ จากโรงเรียนสอนคนหูหนวก เป็นโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดต่างๆ คณะกรรมการมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวก ได้เสนอเปล่ียนชื่อโรงเรียนสอนคนหูหนวกดุสิต เป็นโรงเรียนเศรษฐเสถียรเพ่ือเป็นอนุสรณ์แด่ มูลนิธิเศรษฐ เสถียร ที่ยุบเลิกไป จึงปรากฏช่ือโรงเรียนเศรษฐเสถียร ตั้งแต่ 1 มกราคม 2518 ต่อมาเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2545 สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนเศรษฐเสถียร ไว้ในพระราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนคนหูหนวกแห่งแรกของประเทศไทยที่ได้รับพระราชทานพระ ราชปู ถมั ภ์ ในวนั ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2542 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศให้ภาษามือไทยจัดว่าเป็นภาษามือ ประจําชาติ (ของคนหูหนวกไทย) และได้ให้การรับรองให้ใช้ภาษามือไทยตามแบบหนังสือปทานุกรมภาษามือ ไทย เลม่ 1หนังสอื ปทานกุ รมภาษามือไทย ฉบับปรับปรุงและขยายเพิ่มเติมของสมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศ ไทยและแบบสะกดนิ้วมืออักษรไทย ประดิษฐ์โดย คุณหญิงกมลา ไกรฤกษ์ (ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ วนั ที่ 17 ส.ค. 2542) ในปัจจุบันการจัดการศึกษาสําหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน อยู่ภายใต้การดูแลของ สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ใน รปู แบบของศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ โรงเรียนเฉพาะความพิการ โรงเรียนที่จัดการศึกษาแบบเรียนร่วม อีกท้ังยังมี การจัดการศกึ ษาและใหก้ ารฟ้นื ฟู ในรปู แบบของหน่วยงาน โรงเรียนเอกชน โรงพยาบาล โรงเรียนอาชีวศึกษา มูลนิธิ สมาคม มหาวิทยาลัย รูปแบบการจัดการศึกษาท่ีจัดให้กับผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ก็แตกต่าง กันออกไป ข้ึนอยู่กับความสนใจ ความสมัครใจของผู้ปกครองและผู้ท่ีบกพร่องทางการได้ยินเอง ระดับการได้ ยินที่ยังหลงเหลืออยู่ ฐานะทางการเงิน ที่สามารถจะเลือกวิธีฟ้ืนฟูและหน่วยงานตามความต้องการได้

หนว่ ยที่ 2 หลักการ เทคนิค วิธีการช่วยเหลือและการจัดการศกึ ษา สาหรับบคุ คลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน การชว่ ยเหลอื ระยะแรกเร่ิมและเตรยี มความพร้อม พฤตกิ รรมของบุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางการได้ยิน 1. พฤติกรรมการแสดงออกด้านภาษาของบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน 1.1 ไมต่ อบสนองเมื่อเรยี ก ไม่พูด มักแสดงท่าทาง 1.2 มักตะแคงหูฟังเวลาฟงั มักจะมองปากของผ้พู ูด หรอื จ้องหนา้ ผพู้ ดู 1.3 มักทาํ หนา้ ทําตาเหมือนไม่รเู้ รอื่ งเมื่อมีการพดู ดว้ ย 1.4. พูดไมช่ ดั พดู ด้วยเสยี งผิดปกติ เสียงตํา่ เสียงสงู หรอื เสยี งทด่ี ังเกินความจาํ เปน็ 1.5 พูดไม่ถกู หลกั ไวยากรณ์ภาษาไทย 1.6 ไมส่ ามารถปฏบิ ัตติ ามคาํ สง่ั ได้ เชน่ ไม่ตอบคําถาม 1.7 มีความลําบากในการอา่ นและเขยี นหนังสือ 2. พฤตกิ รรมการแสดงออกดา้ นอารมณแ์ ละสงั คมของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน 2.1 ซน ไม่มีสมาธชิ อบเล่นแบบรุนแรง หรอื ใชก้ ําลงั มาก 2.2 รู้สึกไวตอ่ การสนั่ สะเทือน และการเคล่ือนไหวรอบตวั หรอื หวาดกลวั ต่อเสยี งดงั 2.3 ชอบให้ผ้ใู หญ่แสดงความรักโดยการสมั ผัส เชน่ โอบกอด 2.4 อาจมีปัญหาในการพฒั นาด้านอารมณแ์ ละสังคม วิธชี ว่ ยเหลือเบอ้ื งตน้ สาหรับบคุ คลท่มี ีความบกพร่องทางการได้ยิน เม่ือพบความบกพร่อง 1. แนะนาํ ครอบครวั ของบุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางการได้ยิน ในเร่อื งต่อไปน้ี 1.1 ให้พบกับครอบครัวท่ีมีลูกเป็นบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินเหมือนกันเพื่อ แลกเปลีย่ นประสบการณก์ ารเล้ียงดูลูก 1.2 ให้พบกับคนหูหนวกและคนหูตึงผู้ใหญ่ท่ีเป็นต้นแบบได้ เพ่ือให้ผู้ปกครองมองเห็น แนวทางในการเลีย้ งดลู กู 1.3 ผลกระทบท่เี กดิ จากความบกพร่องทางการไดย้ นิ ท่จี ะเกิดกับเด็ก เชน่ การรับรู้ การสื่อสาร และพฒั นาการทางภาษาที่ลา่ ชา้ 1.4 การเลีย้ งดลู ูกท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยนิ อยา่ งไรจงึ จะไม่ทําให้ลกู เป็นคนพกิ าร 1.5 ความสําคัญของการได้ยินที่เหลืออยู่ของเด็ก การฝึกให้เด็กได้ใช้การได้ยินท่ีเหลืออยู่ให้ เกดิ ประโยชน์ การฝกึ ฟังตั้งแตเ่ ด็กอยา่ งสมํา่ เสมอและตอ่ เนอื่ ง 1.6 ความสาํ คญั ของการเรยี นรู้ การส่อื สาร และภาษาทมี่ ีตอ่ พัฒนาการของเด็กท้ังพัฒนาการ ทางด้านอารมณ์ จิตใจ พัฒนาการด้านจิตวิทยา พัฒนาการทางด้านภาษา และพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ใหเ้ ลอื กใชภ้ าษาท่ีเด็กสามารถเรียนรูไ้ ด้ เชน่ ภาษาท่าทางท่ีมาจากท่าทางธรรมชาติ ภาษาพดู และภาษามือ

8 1.7 จัดสิ่งอํานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออ่ืนใด ทางการศึกษา สําหรับ บุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการได้ยิน เช่น เครอ่ื งชว่ ยฟัง การฝงั ประสาทหเู ทียม ล่ามภาษามอื ฯลฯ 1.8 การศกึ ษาท่สี ามารถตอบสนองความตอ้ งการจําเปน็ และสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของเดก็ 1.9 ภาษาและวฒั นธรรมของคนหหู นวก 2. การเตรยี มความพร้อมให้กบั เดก็ ในเรือ่ งต่างๆ ดังน้ี 2.1 การฝึกฟังและฝึกออกเสียง เพ่ือให้เด็กสามารถใช้การได้ยินที่เหลืออยู่ให้เป็นประโยชน์ มากทส่ี ดุ และฝึกการออกเสยี ง เพือ่ เป็นพ้ืนฐานทส่ี าํ คัญของการพดู ต่อไป 2.2 พัฒนาการทางด้านภาษา เด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน จะมีปัญหาเร่ืองการฟัง และการพูด แต่เด็กต้องได้รับการส่งเสริมให้มีพัฒนาการทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย การใช้ท่าทางธรรมชาติ ควบคู่กับการพูด จะทําให้เด็กเรียนรู้โลกรอบตัว และมีพัฒนาการทางภาษาเหมือนเด็กทั่วไป ส่วนจะเลือกใช้ ภาษาพูดหรือภาษามือ ใหด้ ูความสามารถในการสอื่ สารของเด็กเปน็ รายบคุ คล 2.3 พฒั นาการทางด้านจติ วิทยา เดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน มักจะมีปัญหาเร่ืองการ เรยี นรู้ การสอ่ื สาร อารมณ์และจิตใจ ซึ่งส่งผลต่อพัฒนาการด้านจิตวิทยา เด็กไม่มีความเชื่อม่ันในตัวเอง ไม่มี ความภาคภูมิใจในตนเอง เน่ืองจากไม่มีต้นแบบในการดําเนินชีวิต การให้เด็กได้พบปะกับบุคคลท่ีมีความ บกพร่องทางการได้ยินท่ีสามารถเป็นต้นแบบที่ดี ได้เติบโตท่ามกลางกลุ่มคนท่ีมีภาษาและวัฒนธรรม ที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของตนเอง จะส่งเสริมพัฒนาการด้านจิตวิทยาของเด็ก ทําให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่มี อารมณ์ จติ ใจท่ดี ี และสามารถอยรู่ ว่ มกับสังคมได้อย่างมคี วามสขุ 2.4 พัฒนาการทางการเรียนรู้ เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ต้องได้เรียนรู้โลกรอบตัว เขา ท่ีมีความเหมาะสมกับวัย เหมือนกับเด็กทั่วๆ ไป ซึ่งการเรียนรู้โลก จะต้องผ่านการเรียนรู้ท่ีตรงกับช่อง ทางการรับรู้ของเด็ก ซึ่งใช้สายตาเป็นช่องทางการรับรู้ ฉะน้ันการใช้ภาษาท่าทางประกอบการพูด การส่ือสาร กับเด็กๆ เหมือนการพูดคุยกับเด็กปกติเป็นเรื่องสําคัญและจําเป็น ผู้เล้ียงดูเด็กจะต้องสื่อสารกับเด็กอย่าง สมํ่าเสมอ จะทําให้เดก็ มพี ฒั นาการทางการเรียนรู้ ซึ่งเปน็ พื้นฐานสําคญั ของพัฒนาการทางดา้ นสติปัญญาตอ่ ไป หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ และบทบาทของผ้ปู กครองตอ่ บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการได้ยนิ การพัฒนาด้านพฤติกรรมให้แก่บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการได้ยนิ 1. สง่ เสรมิ ให้เดก็ ช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจําวัน 2. เรียนรู้ข้อมูล การสูญเสียการได้ยินของลูกเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกแนวทางการพัฒนา ทางด้านภาษาและการเรียนให้กบั ลกู ไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ใหก้ ารสนับสนนุ และปฏบิ ตั ติ ามคําแนะนาํ ของโสต ศอ นาสิกแพทย์ นักแก้ไขการได้ยิน นักแก้ไข การพดู และครู หรือนักวิชาชีพท่ีเกย่ี วข้องในการดแู ลเด็ก 4. ให้ความรัก ความอบอุ่น ความเมตตา ความเอาใจใส่ แต่ต้องไม่ตามใจหรือเคร่งครัดเกินไปให้ ความเป็นธรรมเท่าเทียมกันทั้งลูกที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน และลูกท่ีมีความปกติจัดหน้าท่ีและความ รับผิดชอบไปตามความสามารถและอายุ พยายามให้ลูกมีเหตุผลชมเม่ือควรชม และตําหนิเม่ือต้องตําหนิ มีความสามคั คีชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกันในครอบครัวของบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน

9 5. วางระเบียบกฎเกณฑ์รวมทั้งข้อมูลต่างๆ ให้สมาชิกในครอบครัวทราบ และถือปฏิบัติต่อเด็กท่ีมี ความบกพร่องทางการได้ยินเหมอื นกัน 6. แนะนําให้ทุกคนในครอบครัวให้ตระหนักว่าจะไม่มีการพูดเปรียบเทียบระหว่างเด็กท่ีมีความ บกพร่องทางการได้ยินกับเด็กที่ปกติ ให้เกิดความน้อยใจ หมดกําลังใจ และท้อแท้แต่ควรให้กําลังใจและ ชี้ให้เห็นทางออกที่จะสามารถแก้ไขอุปสรรคต่างๆ ได้ เรียนรู้และใช้ภาษาสื่อสารกับลูกที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยนิ 7. พยายามบอกเล่าให้ลูกได้รู้ในเร่ืองต่างๆตามอายุท่ีควรจะรู้ เช่น เรื่องความบกพร่องทางการได้ยิน การไมไ่ ดย้ นิ เสียง ความรทู้ างด้านภาษาเคร่อื งช่วยฟัง จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และวัฒนธรรมที่ดีของสังคมท่ีเขาอยู่ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน เพ่ือเขาจะได้ตอบสนองต่อสังคม รอบด้านได้ ถูกตอ้ ง 8. จัดให้ลูกมีส่วนร่วมในกิจกรรมช่วยเหลือสังคมหรือเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเหมือนกัน หรือกลุม่ บุคคลที่มีความบกพร่องด้านอ่ืน 9. จัดให้มีเวลาสําหรับครอบครัว สําหรับลูกท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน เพื่อให้มีบรรยากาศ ปรึกษาหารือกัน ให้ลูกมีความไว้ใจในการเล่ากิจกรรมต่างๆ ถ้ามีกิจกรรมหรือมีปัญหาท่ีต้องร่วมกันแก้ไข ควรแจง้ ใหล้ กู ทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ทราบทุกครั้ง ในปัจจุบันนักแก้ไขการได้ยิน (audiologist) สามารถตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของการได้ยินในเด็ก เล็กๆไม่วา่ เด็กจะมอี ายุน้อยเพยี งใดกต็ าม หากวินิจฉยั ไดเ้ รว็ เท่าไรกจ็ ะเปน็ ผลดตี อ่ การฟ้ืนฟูสมรรถภาพการฟัง และการพูด การใช้ภาษาในการส่ือสารได้เร็วเท่านั้น โดยเฉพาะในเด็กกลุ่มเส่ียงต่อการสูญเสียการได้ยิน เช่น เด็กคลอดก่อนกําหนด เด็กตัวเขียวหลังคลอด เป็นต้น หากผู้ปกครองประสงค์จะให้เด็กส่ือความหมายด้วย การฟังและพูดจะต้องให้เด็กใส่เคร่ืองช่วยฟังท่ีเหมาะสมกับระดับการสูญเสียการ ได้ยินและจะต้องได้รับการ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางการได้ยินและการพูดอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การฝึกฟัง เพ่ือให้เด็กใช้การได้ยินท่ีหลงเหลือ อยู่ให้เป็นประโยชน์มากท่ีสุด การกระตุ้นให้เด็กออกเสียงพูด การสอนให้เด็กมีพัฒนาการทางภาษาและ ทศั นคติในการโตต้ อบส่ือความหมาย รวมทั้งการแก้ไขเสยี งพูด อยา่ งไรก็ตามกรณีท่ีหูสูญเสียการได้ยินมากหรือ มอี ปุ สรรคอยา่ งอน่ื ทีท่ าํ ใหเ้ ดก็ ไม่มคี วามกา้ วหน้าในการฟงั และการพูดหลังจากใส่เครื่องช่วยฟัง เด็กอาจจะต้อง เรียนภาษามือหรือทําการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเพื่อช่วยให้เด็กรับฟังเสียงได้ดีขึ้น ต้องส่งเสริมให้เด็กได้รับ การศึกษาพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสามารถของแต่ละคนให้มากที่สุด เพ่ือที่บุคคลท่ีมีความ บกพร่องทางการได้ยินจะสามารถพัฒนาทักษะทางภาษาเพ่ือใช้ในการเรียน และการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ได้ เช่น - ฝึกประสาทสัมผัสการใชม้ ือ การใช้กลา้ มเน้อื มัดเล็ก กล้ามเน้อื มดั ใหญ่ - ฝึกประสาทสัมผัสในการใช้สายตา ให้มีความสัมพันธ์กัน และจับความเคลื่อนไหวของส่ิงแวดล้อม รอบตัวไดเ้ รว็ ข้ึน - ฝกึ ประสาทสัมผัสให้มคี วามสัมพนั ธก์ บั ความคิด สามารถบอก แสดงออก หรือส่ือความหมายในการ สัมผัสได้ เช่น สามารถบอกได้ว่า ส่ิงใดมีความร้อน ความเย็น ความเหม็น ความหอม ความเจ็บ ความปวด ความแสบได้

10 - ฝึกออกเสียง ครูควรคิดหาเทคนิคแปลกๆมาใช้ในการสอนออกเสียงควรสอนเทคนิคการจดจําเสียง และสัญลักษณ์ต่างๆ มีการใช้สื่อประสมเข้ามาช่วย โดยสอดแทรกอารมณ์ขันให้สนุกสนานเพราะอารมณ์ ความรู้สึกที่ประทับใจจะช่วยให้เรียนรู้ได้รวดเร็วยิ่งขึ้นและจําได้ดีขึ้นเม่ือพบปัญหาการออกเสียงของนักเรียน ควรเลือกคํา หรือข้อความ วิธีการออกเสียงที่ถูกต้อง ให้เหมาะกับปัญหาของแต่ละคนแล้วช่วยให้เขาทําจน สําเรจ็ ซึ่งนอกจากจะชว่ ยแก้ปัญหาแล้วยังช่วยสร้างความเชือ่ มัน่ ในตนเองและทําให้เกิดทัศนคติต่อการเรียนอีก ด้วย - ฝึกฟัง เช่น เสยี งแตรรถยนต์ เสยี งเครอื่ งยนต์ เสียงฟูาร้อง เสียงระฆัง เสียงกลอง เสียงตะโกน เสียง กระซบิ โดยฝึกทงั้ ท่ีใส่เครอื่ งชว่ ยฟัง และตอนทน่ี ักเรยี นไมใ่ ส่เครอื่ งชว่ ยฟัง เพ่ือให้นักเรยี นเกิดการเปรียบเทียบ เสียงได้ ประโยชน์ของการฝึกฟงั ก็เพือ่ ไมใ่ หบ้ คุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินเกิดความตกใจเม่ือได้ยินเสียง ท่ดี ังเกนิ ไป สามารถแยกเสยี งแต่ละประเภทได้ และยังสามารถปอู งกันอนั ตรายทีเ่ กิดจากสง่ิ แวดล้อมไดด้ ว้ ย - ฝึกคําศัพท์ง่ายๆ ในชีวิตประจําวัน เพ่ือใช้ในการส่ือสารกับบุคคลอ่ืน ทั้งการพูด และการเขียน เช่น ไป กิน หิว ปวดทอ้ ง สนทนา - ฝกึ ให้อา่ นรมิ ฝปี ากได้ ถงึ แมจ้ ะไมไ่ ด้ยนิ เสียง โดยเริม่ จากคําศัพท์งา่ ยๆ ส้ันๆ กอ่ น - ฝึกให้เด็กรู้จักสัญลักษณ์สากล เช่น ปูายบอกทิศทาง ซ้าย ขวา ห้องนํ้าหญิง ห้องน้ําชาย เขตอันตราย ห้ามเขา้ - ฝึกการใช้ภาษามือโดยเริ่มจากคําศัพท์ในชีวิตประจําวัน อาจมีรูปภาพและการเขียนเข้ามาช่วย เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความจาํ ทีถ่ าวร - ส่งเสริมความสามารถพิเศษหรือสิ่งที่เด็กสนใจ เช่น กีฬา ดนตรี ศิลปะการแสดง ให้เต็มตาม ศกั ยภาพของเดก็ ท้ังนี้ส่ิงต่างๆ จะประสบความสําเร็จได้ ต้องได้รับความร่วมมือจากครู ครอบครัว ผู้ปกครอง และ บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินเอง ที่ต้องมีความพยายามในการฝึกฝน มีความอดทน มีการให้ความ ร่วมมือกับสถานศึกษา เข้าร่วมในการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) โดยจัดเตรียมข้อมูลที่ จําเป็นเก่ียวกับความต้องการของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กมีความพยายาม และพึ่งตนเองให้มากท่ีสุด ผู้ปกครอง ควรเรยี นรไู้ ปพร้อมกับเด็ก เพอื่ ทจ่ี ะสามารถกลบั ไปฝกึ ทบ่ี ้าน และสื่อสารกับเด็กได้ เพ่ือเป็นแนวทางให้กับเด็ก ในด้านการเรยี นและการประกอบอาชีพในอนาคต การส่อื สาร ภาษา และวฒั นธรรมของบคุ คลท่มี ีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ภาษามือ (Manual Language หรือ Sign Language) คือ ภาษาสําหรับคนหูหนวก (บุคคลที่มี ความบกพร่องทางการได้ยิน) ใช้มือ สีหน้ากิริยาท่าทางประกอบในการส่ือความหมายและถ่ายทอดอารมณ์ แทนการพดู ดว้ ยเหตทุ คี่ นหูหนวกไมไ่ ด้ยนิ เสยี งพูดเหมือนคนปกติ จึงไม่สามารถพูดได้แต่สายตาของเขาปกติ มองเห็นกริ ยิ าอาการท่าทางตา่ งๆ ท่เี คล่อื นไหวไปมาได้ ภาพตา่ งๆ ทีแ่ ลเห็นนน้ั เปน็ สื่อท่ที าํ ให้คนหูหนวกเรียนรู้ ความหมายแมจ้ ะเข้าใจไดไ้ มม่ ากหรืออาจจะเข้าใจได้ไม่ลึกซ้ึงนัก แต่ก็เป็นส่วนหนึ่งท่ีมีอิทธิพลผลักดันให้คนหู หนวกพยายามใช้ ท่าทางร่างกาย และสีหน้าเพื่อแสดงความรู้สึกภายในของเขาท่ีมีอยู่ให้คนอ่ืนเข้าใจความ ตอ้ งการของเขาได้บา้ ง ท่าทางทแ่ี สดงนน้ั เราจะสังเกตได้วา่ เปน็ ท่าทางท่ีเลียนแบบธรรมชาติมากท่ีสุดและจาก

11 ท่าทางธรรมชาตินั้นเอง ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยการใช้มือทําท่าทางต่างๆ เป็นส่วนใหญ่ ทําให้เกิดเป็นท่าทาง ใช้แทนความหมายในคาํ พูดของคนปกติได้ เราเรยี กภาษาทา่ ทางทไ่ี ดร้ ับการพัฒนานน้ั ว่า “ภาษามือ ” ภาษามือไทย เป็นภาษาท่ีนักการศึกษาทางด้านการศึกษาของคนหูหนวกตกลง และยอมรับแล้วว่า เป็นภาษาหนึง่ สาํ หรับใชต้ ดิ ต่อส่ือสาร ระหว่างคนหูหนวกกับคนหูหนวก และคนหูดีกับคนหูหนวก คนหูตึงกับ คนหูหนวก ด้วยกันได้ รัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ประกาศให้ “ภาษามือไทย” เป็นภาษาประจํา ชาติของคนหูหนวก เมอ่ื วนั ที่ 17 สิงหาคม 2542 และออกประกาศให้ “ภาษาไทย (มอื )”เปน็ วิชาบังคับสําหรับ โรงเรียนสอนคนหูหนวกตั้งแต่ระดับช้ันประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเป็นวิชาเลือกใน หมวดวิชาต่างประเทศสาํ หรบั โรงเรยี นท่วั ไปในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาษามือของแต่ละชาติมีความแตกต่างกันเช่นเดียวกับภาษาพูด ซ่ึงจะแตกต่างกันตาม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม และลักษณะภูมิศาสตร์ ของแต่ละชาติ อย่างไรก็ตามคนหู หนวกที่อยู่ในประเทศเดียวกันก็อาจมีภาษามือท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคเช่นเดียวกับภาษาพูดที่เป็นภ าษาถิ่น ประจําภาค ภาษามือของแต่ละชาติมีคําศัพท์และไวยากรณ์ หรือกฎระเบียบการเรียงคําและคุณสมบัติอื่นๆ แตกต่างกัน 1. คําศัพท์ภาษามือส่วนใหญ่กําหนดโดยบุคคล หรือชุมชนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเพ่ือให้ สามารถสอ่ื สารกนั ไดโ้ ดยง่ายและกวา้ งขวางเพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน เช่น การประกอบอาชีพช่างก่อสร้าง ก็มีคําว่า สี ทาสี อฐิ ปูน ฯลฯ แตศ่ พั ทภ์ าษามือส่วนหน่งึ เปน็ การใชภ้ าษารา่ งกายหรือการเคลอื่ นไหวอวยั วะ ตา่ งๆ ของร่างกายตามธรรมชาตซิ ง่ึ คนท่วั ไปท่มี ีการได้ยนิ ปกตอิ าจเข้าใจความหมายได้ 2. จากนักวิจัยภาษามือ ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลท่ีมีความรู้เกี่ยวกับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ทาํ หนา้ ทร่ี วบรวมคําภาษามือจากบคุ คลทมี่ ีความบกพร่องทางการได้ยินท่ัวประเทศ แล้วนําคําท่ีได้มาพิจารณา ว่าใช้ต่างกันหรือเหมือนกัน ท่ามือเหล่าน้ีต้องไม่ขัดต่อประเพณี วัฒนธรรมของชาติ การวิจัยจําเป็นต้องมีคน ปกติและบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินที่มีความรู้เรื่องภาษามือ และภาษาไทยเป็นอย่างดี เป็นผู้ช่วย เหลอื 3. จากครูโรงเรียนสอนบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน เน่ืองจากบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางการได้ยินต้องศึกษา ครูต้องทําหน้าท่ีเป็นผู้สอน ต้องอยู่ใกล้ชิดนักเรียน การได้สนทนาให้คําปรึกษา ระหวา่ งครู-นกั เรียน-ผปู้ กครอง ทาํ ให้ครูเข้าใจภาษาท่าทางของนักเรียนท่ีบกพร่องทางการได้ยิน และนํามาใช้ ในการเรยี นการสอนจนเกิดความชาํ นาญ คิดค้นและกําหนดคาํ ศัพท์ภาษามือเพิ่มข้ึนอยู่เสมอโดยมักเทียบเคียง หรือใช้ศัพท์ภาษาไทยเป็นฐาน เมื่อมีความรู้ใหม่เกิดข้ึนก็ต้องกําหนดศัพท์ภาษามือเพิ่มข้ึนเพื่อให้คนหูหนวกมี ศัพท์ภาษามอื เพียงพอทจี่ ะสามารถเรยี นรู้และสอื่ สารกันไดใ้ กลเ้ คยี งกบั คนท่วั ไปมากทส่ี ดุ ภาษามือธรรมชาติ (Sign language) คนหูหนวกเป็นผู้สร้างข้ึนและใช้ร่วมกันในแต่ละชุมชนหรือใน แต่ละชาติ เช่น American Sign language, British Sign language, SwedishSign language ซึ่งส่วนมาก เป็นท่าเลียนแบบธรรมชาติทจี่ ะชว่ ยคนหหู นวกให้มพี ัฒนาการในภาษาประจาํ ชาตเิ ท่าเทียมกบั คนปกติ ภาษามอื ประดษิ ฐ์ (Singed) คือ ภาษามือท่ีครู ผู้ปกครอง หรือญาติมิตรของคนหูหนวกคิดข้ึนแทนคํา ภาษาพูด และภาษาเขยี นประจําชาติเพื่อให้มีคําใช้ให้เพียงพอในการศึกษา และส่ือความหมายโดยเฉพาะเร่ือง นามธรรม และรูปธรรม ภาษามือท่ีประดิษฐ์ข้ึนน้ี บางทีเรียกว่า ภาษามือในห้องเรียนหรือภาษามือท่ีใช้ใน

12 การศึกษา ซึ่งเป็นภาษาที่ท่าคําแต่ละคําตามไวยากรณ์ภาษาพูด หรือภาษาเขียนของคนปกติ ภาษามือ ประดิษฐ์มักจะนําแบบสะกดนิ้วมือ (Finger Spelling) มาผสมด้วยทั้งนี้ คําศัพท์อักษร ก-ฮ ก็จะใช้ตามแบบ อักษร A-Z ของประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น A=อ, B=บ, K=ก, L=ล, P=พ, F=ฟ, D=ด ตัวอย่าง คําศัพท์ท่ีใช้ แบบสะกดนิ้วมอื เข้ามาผสม เช่นคําวา่ กระทรวง กลัว ปุู ย่า ยาย ดารา สม้ เป็นตน้ โครงสร้างภาษามือมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. ทา่ มือ (The handshape) ทา่ มือ คอื การทํามือเป็นท่าต่างๆ เช่น กาํ มือ = ชกมวย ข้เี กียจ อดทน พยายาม แบมือ = ทา่ ตามใจ ห้าม กางนิว้ = เลข 5 ไมเ่ ป็นไร รวมนว้ิ = ท่าประชุม จบี นิว้ = ทา่ แมว 2. ตาแหน่งของมือ (The position of the hand) ตําแหน่งของมือจะให้ความหมาย แตกต่างกัน ถงึ แมว้ า่ ท่ามือจะเปน็ ทา่ เดียวกนั เช่น ฉนั = นิ้วชี้ ชท้ี ี่หนา้ อกของตวั เอง เธอ = น้วิ ชี้ ชี้ออกไปท่คี ู่สนทนา รู้ = นว้ิ ชี้ ช้ีทขี่ มับ ตําแหน่งท่ีทําท่ามือควรจะอยู่ในรัศมีท่ีสายตาสามารถมองเห็นได้ง่ายและชัดเจน คือ บริเวณศีรษะ และใกล้ใบหน้าไม่ควรตํ่ากว่าระดับเอว คําภาษามือท่ีแสดงความรู้สึกต่างๆ มักจะแสดงท่ามือในตําแหน่ง ใกล้เคยี งกับความหมายของคาํ นั้นๆ เชน่ ทา่ มือบริเวณศีรษะ จะเก่ียวกับความคิด เชน่ รู้ ฝัน ฉลาด ทา่ มอื บริเวณอก จะเกี่ยวกับความรูส้ ึก เช่น รักเสียใจ ขอบคุณ ทา่ มือบรเิ วณลาํ ตวั จะเปน็ คําทวั่ ๆ ไป เช่น ลกู ซักผ้า รองเท้า 3. การเคล่ือนไหวของมือ (The movement of the hand) ท่ามืออย่างเดียวกันแต่เคล่ือนไหว ต่างกัน ความหมายกจ็ ะแตกต่างกัน เปิด = มือทง้ั สองขา้ งต้งั ข้ึน หัวแม่มอื ชดิ กนั แลว้ เลื่อนออกห่าง ปิด = ต้งั มอื ห่างกนั พอสมควรแล้วเลอื่ นใหห้ วั แมม่ ือชดิ กนั ย่า = ทา่ ตวั ย หนั เข้าหาแก้ม วน 1-2 รอบ ยาย = ทา่ ตัว ย หันเข้าหาแกม้ เลือ่ นไปขา้ งหนา้ 2 จงั หวะ

13 4. ทิศทางของฝ่ามือ (The orientation of the palms in relationship to the body or toeach other) เป็นส่วนสําคัญอย่างหนึ่ง ซ่ึงทําให้ท่ามือมีความหมายต่างกันท่ามือท่าเดียวกัน ตําแหน่งท่ี เดียวกันแต่ทิศทางของฝุามอื ตา่ งกนั ความหมายจะต่างกนั ตวั อยา่ งเช่น ของฉัน = หนั ฝาุ มือทาบทีห่ น้าอก ของเขา = หันฝุามือ ออกจากกลางอกไปข้างหน้า ทศิ เหนอื = ตงั้ ฝาุ มอื ขนึ้ หนั ฝาุ มืออีกขา้ งแตะท่ีข้อมือเลือ่ นขน้ึ ทศิ ใต้ = ตง้ั ฝุามือขน้ึ หนั ฝาุ มืออีกขา้ งแตะท่ขี ้อมือเล่อื นลง ภาษามือเป็นภาษาท่าทางซ่ึงมีการเคลื่อนไหวของมือเป็นหลักและใช้กิริยาอาการของหน้าตาและ ร่างกายส่วนหน่ึง เป็นส่วนประกอบช่วยให้เกิดความเข้าใจ ท่าภาษามือที่คนหูหนวกยอมรับ มักเป็นท่าที่ทํา งา่ ย สะดวก รวดเร็วมคี วามหมายใกลเ้ คยี งธรรมชาตแิ ละเหมาะกับหลักสรีระศาสตร์ ท่าภาษามือควรทําอย่าง มีจงั หวะ คอื มีการเว้นระยะไม่ทําท่าทางจนเรว็ เกนิ ไปและให้อยู่ในรศั มีทส่ี ายตาสามารถมองเหน็ ได้ชดั เจน 5. การแสดงสีหนา้ และการเคลือ่ นไหวของใบหน้า(The Facial Expression) เช่น ควิ้ ปาก ตา เป็นส่ิงสําคญั ทีช่ ว่ ยให้เข้าใจความหมายในภาษามือชดั เจนย่งิ ข้นึ ตัวอย่าง การส่ายศีรษะ หมายถงึ การปฏเิ สธ การขมวดค้ิว หมายถึง การแสดงความสงสัย เลกิ ควิ้ หมายถึง การแสดงคาํ ถามทตี่ ้องการคาํ ตอบ การแสดงสหี นา้ และการเคล่ือนไหวบนใบหน้าประกอบท่ามือ ควรทําแต่พองาม ให้ดูสุภาพ ไม่แสดง มากเกินไปจนดูน่าเกลียด การทําท่ามือถ้าอยู่ในระดับสายตามองเห็นได้ง่าย เช่น บริเวณใบหน้ามักจะทํามือ เดียว เช่น สวย อิ่ม แต่ถ้าระดับต่ํากว่าอกจะทําสองมือ เพ่ือให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น กระโปรง ถ้าทําท่า สองมือจะต้องเคลื่อนมือใดมือหน่ึง มือท่ีถนัดจะเป็นมือท่ีเคล่ือนไหว มือท่ีไม่ถนัดจะทําง่ายกว่าหรืออยู่น่ิงๆ เป็นฐาน เพราะมนุษย์ไม่สามารถทํางานได้พร้อมกันท้ังมือซ้ายและมือขวา ด้วยท่าทางท่ีแตกต่างกันในเวลา เดยี วกนั ได้โดยงา่ ย การทาํ ภาษามือ บางคนทําได้สวยงาม บางคนทําได้ไม่น่าดู เช่นเดียวกับการแสดงกิริยามารยาทของ คนทั่วไปนั้นเอง ทั้งหมดที่กล่าวมาน้ีเป็นวิธีการที่เราจะใช้ภาษามือในการส่ือสาร ดังน้ันภาษามือ เป็นภ าษาสําหรับคนหูหนวกที่ใช้ใ นการติดต่อสื่อสารเพ่ือให้เกิดคว ามเข้าใ จตรงกันแต่ก็ต้องคํานึงถึ ง สถานการณ์ที่กําลังสนทนากันถ้าภาษามือเหมือนกันแต่คนละสถานการณ์ ความหมายก็อาจต่างกันได้ ดังน้ัน ควรที่จะรู้ความหมายของท่าภาษามือนั้นว่า ความหมายคืออะไร เพ่ือจะได้เข้าใจตรงกันทําให้การสื่อสาร มีประสิทธิภาพมากขน้ึ

14 ความหมายของการสะกดตวั อกั ษรด้วยน้วิ มือ การสะกดตัวอักษรด้วยนว้ิ มือ คอื การสะกดตวั อกั ษรด้วยน้วิ มือเป็นวธิ ีการสอื่ สารชนดิ หนึง่ ท่ีใช้ในหมู่ผู้ ทส่ี ญู เสยี การได้ยินหรือคนหหู นวกหรอื บุคคลปกติท่ีต้องการจะสื่อความเข้าใจกับคนหูหนวก แทนตัวพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตลอดจนสัญลักษณ์อ่ืนๆ ของภาษาประจําชาติเพ่ือการสื่อสารหรือการเขียนในอากาศน่ันเอง โ ด ย ท่ั ว ไ ป แ ล้ ว ตั ว อั ก ษ ร ที่ ส ะ ก ด น้ิ ว มื อ ข อ ง ภ า ษ า ใ ด จ ะ มี จํ า น ว น เ ท่ า กั บ ตั ว อั ก ษ ร ข อ ง ภ า ษ า น้ั น ความเป็นมาของแบบสะกดนิ้วมือไทย คุณหญิงกมลา ไกรฤกษ์ อดีตอาจารย์ใหญ่ในโรงเรียน เศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์ (สอนคนหูหนวกดุสิต) ได้กําหนดท่าสําหรับสะกดอักษรไทยด้วยนิ้วมือข้ึนใช้ ในประเทศไทยเป็นคนแรกในปีพ.ศ. 2496 โดยดัดแปลงมาจากตัวสะกดนิ้วมืออเมริกันและได้ยึดหลักทาง สทั ศาสตรท์ ้ังของภาษาไทยและภาษาองั กฤษคือพยญั ชนะหรือเสียงสระในตวั ใดในภาษาไทยท่ีออกเสียงเหมือน หรือคล้ายคลึงกับเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษก็ให้ใช้ท่าสะกดน้ิวมือเหมือนกัน เช่น K=ก , L=ล, J=จ สว่ นเสยี งในภาษาไทยที่ไม่มใี นภาษาองั กฤษ เช่น เสียง (ป) ดัดแปลงเป็นท่าพ+1 ซ่ึงไม่มีในแบบน้ิวมือ ของอเมริกันนอกจากน้ีได้คํานึงถึงความถ่ีของการใช้ท่าภาษามือแทนเสียงนั้นอีกด้วย เช่น อักษรใดท่ีปรากฏ ในพจนานุกรมว่าใชม้ ากก็ใชท้ ่ามอื ง่าย สว่ นอักษรไหนทค่ี วามถ่ใี นการใช้น้อยก็ใช้ท่ามือยาก (หลายท่ามือ) เช่น “ส” ตามพจนานุกรมใช้มากกว่า “ศ” และ “ษ” ตามลําดับจึงกําหนดให้ “ส” ใช้ท่า “ศ” ใช้ท่า ศ+1, “ษ” ใช้ท่า ส+2 หลักการสะกดนิ้วมือ การสะกดน้ิวมือเป็นการเคล่ือนไหวของน้ิวมือต้องทําท่าทางให้ชัดเจนในระดับสายตาเป็นจังหวะ สวยงาม ไม่ยกมือข้ึนๆลงๆ เว้นวรรคตอนให้ถูกต้องตามหลักภาษาพูดและภาษาเขียน การสะกดนิ้วมือต้อง สะกดเป็นคําหันฝุามือไปสู่ผู้ดูหรือผู้อ่านพร้อมกับเปล่งเสียงคําน้ันด้วย นิยมทําที่ข้างใบหน้าหรือระดับอก ในภาษาไทยนิยมสะกดพยัญชนะและสระบางตัวด้วยมือที่ถนัดส่วนมืออีกข้างหนึ่งใช้แสดงตําแหน่งของสระ วรรณยุกต์และเครื่องหมายอ่ืนๆ ในปี 2522 ได้เพิ่มตัวสะกดคือ ฏ = ต-5 และ “ๆ” “ฯ” การเรียงลําดับ พยัญชนะสระวรรณยกุ ตเ์ ช่นเดยี วกับการพิมพ์ ตวั อย่างที่ 1 คาํ ว่า “ ม้า ” ตอ้ งสะกด

15 ตวั อย่างที่ 2 คําวา่ “ บ้าน ” ต้องสะกด บ - า น บา้ น = บ + ้ + า + น ตัวสะกดน้ิวมืออเมรกิ า (ASL Fingerspelling) ซึ่งเปน็ ฐานของแบบสะกดน้วิ มอื ไทย

16 การสะกดน้วิ มือไทยแบ่งออกเปน็ 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นที่ 1 แบบสะกดตวั อกั ษร สว่ นที่ 2 แบบสะกดนิ้วมือ สระ วรรณยกุ ต์ และสัญลักษณ์อ่ืนๆ

17 ส่วนท่ี 3 แบบสะกดตัวเลข การสอนพดู เป็นวิธีการสอนภาษาให้แก่นักเรียนท่ีมีการสูญเสียการได้ยินน้อยกว่า 90 เดซิเบลหรือเด็กท่ีหูตึงแต่ กําเนิด ไม่พูดหรือพูดช้า สามารถจะฝึกให้เด็กรู้จักฟังและรู้จักพูดได้ ผู้ที่ทําหน้าที่นี้ต้องได้รับการศึกษา ฝกึ อบรมมาเป็นพเิ ศษ คือต้องมีกาํ ลังใจ มีความอดทนและมีเวลาในการฝึกสอนซึ่งอาจจะต้องใช้เวลานับเป็นปี จึงจะสอนให้พูดได้นอกจากนี้ยังต้องได้รับความร่วมมือกับบุคคลอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องอีกมากมายนับตั้งแต่แพทย์ ทางหู คอ จมูก นักตรวจการได้ยินช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคต้ังแต่ระยะแรก ในระยะท่ีฝึกพูดน้ันผู้ปกครอง ต้องช่วยฝึกสอนที่บ้านด้วย ต้องติดต่อกับครูหาโรงเรียนพิเศษให้เพราะจะเข้าเรียนในโรงเรียนตามปกติไม่ได้ โดยมขี น้ั ตอน ดงั น้ี 1. การฝึกฟัง (AuditoryTraining) เป็นวิธีการสอนเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยินให้รู้จักฟัง โดยมีเปาู หมายหลกั 3 ประการ คอื 1.1 ให้รู้จักเสียงท่ีฟัง ไม่ว่าจะเป็นเสียงอะไรก็ตาม รวมทั้งเสียงที่เป็นการพูดใน สิ่งแวดลอ้ มต่างๆ ของเด็ก 1.2 ให้แยกเสยี งท่คี ละกนั ในส่ิงแวดล้อมได้ 1.3 ให้แยกเสยี งพดู ได้ว่า เป็นเสยี งเชน่ ไร หรอื เสียงใคร 2. การฝึกอา่ นคาพดู (Speechreading) เป็นการฝึกอ่านริมฝปี าก หรือการเคล่ือนไหวริมฝปี ากของ ผู้พดู เพ่ือใหเ้ ข้าใจความหมายตรงกัน

18 การบรหิ ารปาก การบริหารลิ้น การสอนเสียงสระ พยญั ชนะ วรรณยุกต์ การสอนคํา วลแี ละประโยค การสอนระบบรวม การสื่อสารระบบรวม และท่าแนะคําพูด (Total Communication and Cued Speech) เป็นการ สอนคนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินในปัจจุบัน ไม่ได้เน้นการฝึกฟัง หรือภาษามืออย่างใดอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะ แตพ่ ยายามจะใชห้ ลายๆ ระบบรวมกนั เชน่ ภาษามือ ภาษาพูด การสะกดน้ิวมือ การอ่านริมฝีปาก ท่าแนะนําคําพูด รวมท้ังการอ่านการเขียน ทั้งน้ีการเลือกใช้วิธีการสอนควรจัดให้เหมาะสมกับความต้องการ จําเป็นของผ้เู รยี นแต่ละบุคคล

19 การจัดการเรยี นร้สู าหรับบคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นโดยท่ัวไปเชื่อว่า มีชีวิตที่เสียเปรียบมากในสังคมที่ทุกอย่าง ขึ้นอยู่กับภาษาและการส่ือสาร เด็กจะมีปัญหาทางภาษาและการพูดมากเน่ืองจากสภาพการได้ยินมีความ บกพรอ่ ง การแสดงออกทางอารมณข์ องเด็กจะใชพ้ ฤตกิ รรมทางกายเป็นส่อื แสดงออกมา การเรียน การปรับตัว ทางสงั คม และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนจะดอ้ ยกว่าเดก็ ปกติ เน่ืองจากไมส่ ามารถใช้ประโยชน์จากการสื่อสารได้ เหมือนคนอื่น เด็กท่ีพัฒนาการทางภาษาช้า แต่ความสามารถทางสติปัญญาเท่าเด็กปกติทุกอย่าง เพียงแต่มี ข้อจํากัดทางภาษาจึงทําให้ดูเหมือนว่า เด็กด้อยกว่าเด็กอื่นๆ ท่ัวไป การปรับตัวแตกต่างไปจากเด็กปกติ บางครั้งดูโดดเดี่ยว เหงาหงอย ดังนั้นในการจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินควรมี ลกั ษณะของหลกั สตู รและการสอน ท่ีสามารถใช้ร่วมกับหลักสูตรของเด็กปกติได้ แต่ต้องมีการปรับในเรื่องของ จดุ ประสงค์และการวัดผลประเมินผล สําหรบั การสอนเดก็ ท่ีมคี วามบกพร่องทางการได้ยินไม่ว่าจะเป็นประเภท หูตงึ หรอื หหู นวกกต็ าม จาํ เปน็ ต้องสอนให้มีโอกาสฝึกพูด เด็กทุกคนต้องได้รับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการพูด ดงั นนั้ ในการสอนเด็กที่มคี วามบกพร่องทางการได้ยินควรครอบคลุมการฝกึ ฝนเด็กในทกุ ๆดา้ น การจดั การศกึ ษาสาหรบั บุคคลท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ ในประเทศไทยมี 3 รูปแบบ คอื 1. การจัดการศกึ ษาพิเศษ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการต้ังแตร่ ะดับชน้ั เด็กเล็ก ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาใช้หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการโดยมีการปรับปรุงให้เหมาะสมเพียงเล็กน้อย 2. จัดการเรียนรว่ มกบั คนปกติ จัดให้เข้าเรียนในโรงเรียนเดียวกับเด็กปกติ โดยมีครูการศึกษาพิเศษ ล่ามภาษามือ ตลอดจนการช่วยเหลือในด้านภาษาและการสอื่ สารตามความเหมาะสม 3. การจัดการสอนแบบสองภาษาเปน็ การจดั การศกึ ษาทีต่ อบสนองความต้องการและสอดคล้องกับวิถี ชีวิตของคนหูหนวก การสอนแบบสองภาษาเป็นปรัชญาที่เร่ิมปรากฏขึ้นในปี พ.ศ. 2523 ที่ประเทศสวีเดน และอเมรกิ าเน่ืองจากไม่สมหวังกับผลที่ได้จากวิธีสอนแบบระบบรวม วิธีสอนแบบนี้เกิดขึ้นบนพ้ืนฐานของการ วิจัยเก่ียวกับเรื่องพัฒนาการทางภาษา จิตวิทยาการเรียนรู้ และภาษาศาสตร์ภาษามือ การวิจัยเหล่าน้ัน รายงานว่าเดก็ หูหนวกทม่ี พี ่อแม่เปน็ คนหูหนวกและไดใ้ ช้ภาษามืออเมริกนั ตัง้ แต่เป็นเดก็ จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนการอ่านออกเขยี นได้ การพฒั นาทางอารมณแ์ ละสงั คมดีกว่าเด็กหูหนวกจากครอบครวั ท่ีพ่อแม่เป็นผู้มีการ ได้ยินทั้งนี้เพราะเด็กอยู่ในสถานการณ์ท่ีใช้สองภาษาตลอดเวลา ปรัชญาการสอนแบบสองภาษาเกิดขึ้นบน พนื้ ฐานของความเขา้ ใจวา่ เดก็ หหู นวกเรยี นรไู้ ด้ดจี ากชอ่ งทางทีไ่ ม่ผดิ ปกติ คอื ทางตามากกว่าช่องทางที่ผิดปกติ คือ การได้ยินทางหู และภาษาท่ีใช้ในการรับรู้ด้วยตาได้ดีที่สุด คือภาษามือของคนหูหนวก การเรียนภาษามือ ของคนหูหนวก จะทําให้สมองมีการพัฒนาได้ดีและมีความเชื่อมโยงต่อเน่ืองกับการเรียนภาษาที่สองทําให้ สามารถเรยี นรคู้ วามแตกตา่ งของภาษามอื และภาษาเขียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี การสอนแบบสองภาษาสาหรบั คนหหู นวกคืออะไร 1. การสอนภาษามือไทย เป็นภาษาแรก เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ภาษามือในการคิด การแสดง ความรู้สึก การพูดคุย และการเรียนรู้โลก ทําให้เด็กมีความรู้สึกม่ันคงปลอดภัย ไม่ถูกทอดท้ิง และเป็นอิสระ 2. การสอนภาษาไทยเป็นภาษาท่ีสองเพ่ือให้เด็กอ่านออกเขียนได้และ/หรือพูดได้ เพ่ือใช้ในการติดต่อ กบั คนทว่ั ไปและการรับรเู้ รอ่ื งราวตา่ งๆ จากการอ่าน

20 3. การเรียนการสอนแบบสองภาษาจะทําให้คนหูหนวกมีการปรับตัวได้ดี มีความสามารถในการใช้ ภาษามือไทยและภาษาไทยได้ดีทง้ั การอา่ นการเขยี นและ/หรือการพูดซ่งึ จะเปน็ ผลให้มีคุณภาพชีวติ ทด่ี ีขึ้น การสอนแบบสองภาษาทาอยา่ งไร การสอนแบบสองภาษามีหลายรปู แบบส่งิ ท่สี ําคัญของการสอนแบบนี้ คือ - สอนภาษามอื ไทยเป็นภาษาแรกจนเด็กสามารถใชภ้ าษามือไทยไดเ้ ป็นอยา่ งดี - สอนภาษาไทยเป็นภาษาท่สี องในรปู ของภาษาเขียน - สอนโดยครูสองคน คือ ครูหูหนวกและครทู ่ีมกี ารไดย้ ิน (ครูทั้งสองคนตอ้ งร้ภู าษามือและ ภาษาไทย) - ใชภ้ าษามือไทยเปน็ ภาษาในการเรยี นการสอน - สอนภาษามือไทยแยกจากภาษาไทย ทาไมจึงตอ้ งใช้ภาษามือไทย ภาษามอื ไทย - เป็นภาษาธรรมชาติของคนหูหนวก มีฐานะเปน็ ภาษา ภาษาหนึง่ ตามหลักของภาษาศาสตร์ เช่น เดยี วกับภาษาทัว่ ไปในโลก - มีโครงสร้างและไวยากรณ์เป็นของตวั เองซึง่ ไม่เหมอื นกับโครงสรา้ งและไวยากรณ์ของภาษาไทย - เปน็ ภาษาแรกของคนหหู นวกไทย - เปน็ ภาษาทค่ี นหูหนวกไทยใชใ้ นการคดิ การแสดงความรู้สึก การพดู คุย และการรับรเู้ ร่ืองราว ตา่ งๆผา่ นล่ามภาษามอื ใชภ้ าษามอื ไทยอย่างไร - ภาษามอื ไทยในฐานะเปน็ วิชา วิชาหนึ่ง - ภาษามอื ไทย เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ภาษาไทย - ภาษามือไทย เป็นเคร่ืองมือในการเรียนการสอนวิชาอ่ืน ทาไมจึงตอ้ งใชค้ รสู องคน - ครหู ูหนวกเป็นต้นแบบของการใชภ้ าษามือไทย และเปน็ ผถู้ ่ายทอดวฒั นธรรมของคนหหู นวก - ครูทม่ี ีการได้ยนิ เป็นตน้ แบบของการใช้ภาษาไทยเป็นผู้ถ่ายทอดและแลกเปลยี่ นวัฒนธรรมไทย กบั วัฒนธรรมของคนหหู นวก วฒั นธรรมของคนหูหนวกคอื อะไร - วถิ ีชีวิตของคนหหู นวก - การมองโลกของคนหูหนวกผ่านการรับรู้ดว้ ยตาและภาษามือ - การพดู คยุ ดว้ ยภาษามอื การตั้งชอ่ื ภาษามือ การเรยี กผอู้ ื่นดว้ ยการสมั ผัสแตะต้องตวั เปน็ ตน้ ทาไมคนหูหนวกจึงมีวัฒนธรรมแตกต่างจากคนทั่วไป คนหูหนวกถา่ ยทอดวัฒนธรรมกนั อย่างไร - คนหูหนวกสว่ นใหญเ่ กดิ ในครอบครวั ที่พอ่ แม่มีการได้ยินและใช้ภาษาพดู - คนหูหนวกใช้ภาษามือ เข้าใจภาษาพูดไดน้ ้อยจึงไม่สามารถพูดคยุ กับพ่อแม่ได้มากเทา่ ท่ีควรจะ

21 เปน็ ทาํ ให้เกดิ ช่องว่างระหว่างคนหูหนวกกับครอบครวั ความรู้สกึ ถูกทอดทิ้งโดดเดย่ี วไมม่ ีเพ่ือนและไมม่ ีคน เข้าใจ ผลกั ดนั ให้คนหหู นวกเขา้ รวมกลุ่มกับคนหหู นวกดว้ ยกนั - การรวมตัวของคนหูหนวก เป็นบ่อเกิดของชมุ ชน และวฒั นธรรมคนหูหนวกทถ่ี ่ายทอดส่งตอ่ จากผู้ใหญห่ หู นวกผ่านการเลา่ เร่ืองด้วยภาษามือไปสูเ่ ด็กหหู นวก วัฒนธรรมของคนหูหนวกมีความสาคญั ต่อการจดั การศกึ ษาของคนหหู นวกอย่างไร - การจดั การศึกษาทตี่ อบสนองความตอ้ งการและสอดคล้องกบั วถิ ีชีวติ ของคนหหู นวกจะทําให้ คนหูหนวกสามารถเรียนรู้ได้ เช่นเดยี วกบั คนทั่วไป - การใชภ้ าษามอื ไทยเป็นภาษาในการเรยี นการสอน - การใช้เทคนคิ วธิ สี อนและส่ือทส่ี อดคล้องกับกระบวนการเรียนรขู้ องเด็กหหู นวก - การใหเ้ ดก็ หูหนวกไดพ้ บปะพูดคยุ กบั เพ่ือนเด็กหูหนวกและคนหูหนวกผ้ใู หญเ่ พ่ือเรียนรูภ้ าษา และวฒั นธรรมของคนหหู นวก - การสอนภาษามือไทยโดยครูหหู นวกทีไ่ ดร้ ับการฝกึ อบรมวิธีสอนภาษามือ - การสอนโดยครหู หู นวกและครทู ี่มีการไดย้ นิ ท่ีใชภ้ าษามือไทยได้ดี - การจัดช้นั เรียนทแ่ี ตกตา่ งกับชน้ั เรียนท่วั ไปเพ่ือใหเ้ ด็กได้มองเหน็ การใชภ้ าษามือของเพ่ือนได้ ชดั เจน ตัวอย่างภาพ การจัดห้องเรียน ของผทู้ ่มี ีความบกพร่องทางการได้ยนิ หลกั การจดั การศกึ ษาสาหรับบุคคลทม่ี คี วามบกพร่องทางการได้ยนิ การจัดการเรียนการสอนเร่ิมแรกของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน เป็นการจัดการเรียนการ สอนโดยใชภ้ าษามือเพยี งอย่างเดียว จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2512 กรมการฝึกหัดครูได้เร่ิมโครงการฝึกและอบรมครู เพ่ือการศึกษาพิเศษข้ึนและได้มอบหมายให้โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ วิทยาลัยครูสวนดุสิตเป็นผู้ดําเนิน

22 โครงการเพ่ือเป็นการสาธิตการสอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน โดยเน้นการสอนพูดและการอ่านริม ฝปี ากเป็นหลักในการสอน ทําใหเ้ กิดแนวโนม้ ให้มกี ารเน้นเรอื่ งการพูด และการอ่านริมฝปี ากมากขึ้น ในการเรียนการสอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กได้รับการศึกษา และสามารถปรับตัวอยู่ได้พอสมควรกับสังคมของคนปกติ ดังน้ันโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศจึงประสานกับ โรงเรยี นพญาไทจดั ให้เด็กทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ท่ีมคี วามสามารถในการพูดและอ่านริมฝีปากได้เรียน รว่ มในช้นั เรยี นกบั เด็กปกตเิ มื่อปกี ารศกึ ษา 2515 เปน็ ตน้ มา และแนะนําให้เด็กที่สามารถพูดและอ่านริมฝีปาก ได้เก่งเข้าเรียนในโรงเรียนปกติอื่นๆ ด้วยหลักการจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สามารถจัดได้หลายรปู แบบขึน้ อยู่กับความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลหรอื ความต้องการจําเป็นเฉพาะบุคคล ดังนี้ การศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Education) คือกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมตัวเองเข้ากับโลก ความสัมพันธ์นี้ครอบคลุมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความรู้สึกตลอดจน จิตวิญญาณต้องเป็นการศึกษาที่ ไม่ยดึ ตดิ กับเทคนิคหรือหลกั สตู รใดๆ สอนใหเ้ ด็กเรียนรู้ที่จะเช่ือมโยงโลกภายนอกกับตนเองและตนเองกับโลก ภายนอกครตู ้องยอมรบั ศักยภาพที่แตกตา่ งกนั ของเด็กแต่ละคน ต้องไม่พยายามใช้มาตรฐานใดมาตรฐานหน่ึง ในการตดั สนิ เดก็ การศึกษาตามมอนเตสเซอรี่ (Montessori) เป็นการจัดส่ิงแวดล้อมและส่ือการเรียนให้เหมาะสมเพื่อ กระตุ้นใหเ้ ด็กแสดงศกั ยภาพของตนเองออกมา เนน้ ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีแนวคดิ เปน็ อิสระและมีทักษะในการเรียนรู้ ทีด่ ี เน้นการใชส้ ่ือท่เี รียบงา่ ย ใกล้ชิดธรรมชาติ การจัดการศึกษาแบบซัมเมอร์ฮิล (Summer hill) คือ แนวคิดการศึกษาท่ีเน้นให้สิทธิเสรีภาพอย่าง เต็มที่แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและการปกครองตนเองโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกอย่าง การศึกษาแบบน้ีมีความเช่ือว่าเด็กเกิดมาพร้อมกับความเฉลียวฉลาด โรงเรียนตามการศึกษาแบบน้ีจะจัด โครงสร้างในโรงเรียน หลักสูตรการเรียนการสอนที่นักเรียนเป็นผู้ที่สามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ นักเรียนจะเป็นผู้ท่ีค้นคว้า แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เด็กจะไม่ถูกบังคับให้เชื่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือนับถือ ศาสนาใดศาสนาหนึ่งโดยเฉพาะ การปฏิบัติต่อกันเป็นเรื่องท่ีเด็กจะต้องตัดสินใจหรือวางข้อตกลงร่วมกันใน รูปแบบของคณะกรรมการร่วม การศึกษาตามแนวของวอลดอร์ฟ (Waldorf Education) คือ การจัดการศึกษาท่ีเน้นการพัฒนาแบบ รอบด้าน โดยเด็กแต่ละช่วงอายุจะมีพัฒนาการทางบุคลิกภาพท่ีแตกต่างกัน โดย เด็กอายุ 0-7 ปีจะเน้นการ พัฒนาบุคลิกภาพด้วยการเลียนแบบ เด็กอายุ 7-14 ปีจะเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอารมณ์ความรู้สึก เดก็ อายุ 14 ปีข้นึ ไปจะเน้นกระบวนการคดิ และความมเี หตุผล กระบวนการเรยี นการสอน ใช้ดนตรี ศลิ ปะการเคล่ือนไหวร่างกาย ตลอดจนการให้เด็กคิดค้นส่ิงต่างๆ เองเป็นสอื่ สาํ คญั ในการสร้างความเข้าใจและยอมรับตนเองเป็นพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาในทุกช่วงอายุสอน ใหม้ นุษยร์ ้จู ักจุดยนื ท่ีสมดลุ ของตนในโลกมนษุ ย์ ปรัชญาเน้นความสําคัญของการสร้าง ความสมดุลใน 3 วิถีทางในกิจกรรมของการเรียนการสอน เป็นเรื่องของการเลือก ไม่ใช่การบังคับเพราะต้องการให้เด็กมีความเป็นตัวของตัวเอง การจัดการคือ ผ่าน กจิ กรรมทางกายผ่านอารมณ์ความรู้สกึ และผา่ นกระบวนการคิด เน้นให้เกิดความสมดุลสอดคล้องกลมกลืนใน แต่ละชว่ งวยั ของเดก็ เพ่ือท่ีเขาจะได้เตบิ โตขน้ึ มาพร้อมกบั ศกั ยภาพสูงสุดและพร้อมสําหรับการเผชิญกับส่ิงท้า

23 ทายใหม่ๆ ในโลกที่กว้างใหญ่ ครูผู้สอนเป็นผู้อํานวยความสะดวกให้นักเรียนเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ด้วยความ กระตอื รอื ร้น ใช้ปัญญาท่มี ีอย่ใู นตนเองให้เกดิ คณุ ภาพสูงสุด กลยุทธใ์ นการสอนนกั เรียนท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการได้ยิน การแสดงสหี น้า ท่าทาง และภาษามือจะช่วยให้เดก็ เขา้ ใจได้ดีขึน้ ใหเ้ รยี กหรือทาํ ให้เดก็ รวู้ ่าเรากาํ ลังจะพูดด้วยก่อนเสมอ โดยการแตะไหล่ หรือแขนเบาๆ และ ต้องหันหน้าไปทางเดก็ เวลาพูดกับเดก็ อย่าตกใจ ถ้าเด็กไม่เข้าใจเรา หรือเราไม่เข้าใจเด็ก เด็กกับเราจะค่อยๆพัฒนาความคุ้นเคย เม่ือเวลาผา่ นไป ใหส้ อนคําศพั ทใ์ หม่ในบรบิ ทตา่ งๆกันเพ่อื เป็นการเสรมิ และความจําท่ถี าวร ให้จัดลําดับหัวเรื่อง ความสําคัญ ของแผนการสอน ใช้สื่อการสอนท่ีมีความสัมพันธ์กับส่ิงที่ จะเรยี น และต้องบอกโครงร่างของเน้ือเร่อื งหรือแผนการสอน หรอื กจิ กรรมทจ่ี ะให้นักเรียนทําล่วงหน้า และส่ิง ท่คี าดวา่ จะได้รบั จากทํากจิ กรรมน้ัน การใช้ภาพประกอบในการสอนจะเป็นประโยชน์อย่างมาก ซ่ึงเด็กใช้การมองเป็นวิธีหลักใน การรับขอ้ มูล ถ้าการบ้านยากหรือกํากวม ให้ผู้ปกครองช่วยแจ้งว่าสิ่งท่ียากคืออะไร และครูควรแก้ไข ให้เขียน คําส่ัง การบ้านหรือการเปลี่ยนแปลงในเร่ืองต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นบนกระดานหรือปูาย ประกาศ และต้องใช้เป็นประจํา จนเด็กเกิดการเรียนรู้ว่าการเขียนบนกระดานหรือข้ึนปูายประกาศ เป็นส่ิง สําคญั ทต่ี อ้ งอา่ น ไม่ควรพดู ในขณะทเี่ ขียนกระดาน ควรเขยี นใหเ้ รียบร้อยก่อนแล้วค่อยอธิบาย ให้ใชส้ ่อื ทม่ี ีคาํ บรรยายร่วมกบั เสียง เชน่ สื่อ CAI วีดทิ ศั น์ ภาพยนตร์ ให้ใช้ล่าม ถ้าจําเป็น และล่ามควรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่แปลเป็นอย่างดี อย่าจับเด็กนั่งในท่ีๆ มีคนพลุกพล่าน หรือสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ควรหลีกเล่ียงการใช้ เสียงท่ีสั่นรัวหรือเสียงดังเกินไป จัดที่นั่งให้เหมาะสมกับเด็กท่ีจะได้ยิน มองเห็น และสามารถส่ือสารได้ดีท่ีสุด ลดเสียงรบกวนเบื้องหลัง คนท่ัวไปท่ีได้ยินมักไม่ค่อยคํานึงถึงเสียงรบกวนเท่าไรนัก แต่คนที่ ใช้เคร่ืองช่วยฟังนั้นเสียงดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อเด็กเพราะเครื่องขยายเสียง ในเครื่องช่วยฟังจะขยายเสียง ทัง้ หมดที่รบั เข้ามา ทําให้เดก็ ไดร้ บั เสียงรบกวนทด่ี ังไปด้วย สร้างระบบไว้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น ข้อตกลงในการซ้อมหนีไฟ โดยคุณครูอาจจะเขียนไว้บน กระดานว่า ซ้อมหนีไฟ เมื่อไฟไหม้ ให้ออกไปประตูหลัง ถ้ามีเด็กท่ีใช้ภาษามือ ให้ครูเรียนภาษามือคําว่า “ฉุกเฉิน” “ไฟไหม”้ “เดิน” เปน็ ต้น ให้ใช้การเขียนในการส่ือสารร่วมด้วย เพื่อให้เด็กมีความรู้ทางด้านการอ่านและการเขียน ใหแ้ ทนเสียงออดเตือนภยั ด้วยแสงไฟกระพรบิ เป็นต้น

24 นวตั กรรม และเทคโนโลยี ส่งิ อานวยความสะดวก ส่อื บรกิ ารและความช่วยเหลอื อืน่ ใดทาง การศกึ ษา นวัตกรรม หมายถึง ส่ิงใหม่ที่กระทําซ่ึงเกิดจากการใช้ความรู้ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ส่ิงใหม่ในท่ีน้ี อาจจะอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ แนวคิด หรือกระบวนการที่สามารถนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษย์พัฒนาขึ้น เพ่ือช่วยในการทํางานหรือแก้ปัญหาต่างๆ เช่น อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร วัสดุ หรือแม้กระทั่งท่ีไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่างๆ เทคโนโลยี เปน็ การประยกุ ต์ นาํ เอาความร้ทู างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ให้กอ่ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด สอ่ื หมายถึง ส่งิ ท่ีช่วยคนพิการแต่ละประเภทให้สามารถเขา้ ถึงข้อมูลข่าวสาร สิ่งอานวยความสะดวก หมายถึง อุปกรณ์เครื่อง ช่วยคนพิการ เคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โครงสรา้ งทางสถาปัตยกรรมส่ิงแวดล้อมและบุคคลท่ีช่วยคนพิการแต่ละประเภทให้สามารถศึกษา และพัฒนาการเรียนรไู้ ดโ้ ดยสะดวก บริการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการทั้งในและนอกระบบการศึกษาที่ส่งเสริมและสนับสนุน การศึกษาเพ่อื คนพิการแต่ละประเภทให้มปี ระสทิ ธิภาพดยี ิ่งข้นึ ความช่วยเหลืออ่ืนใด หมายถึง สิทธิประโยชน์ที่คนพิการแต่ละประเภทพึงได้รับนอกเหนือจากสื่อ สง่ิ อาํ นวยความสะดวก และบรกิ ารเพื่อพัฒนาการศึกษาและการเรยี นรู้ การใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยี สื่อ สิ่งอํานวยความสะดวก บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทาง การศึกษาสําหรับบคุ คลทม่ี ีความบกพร่องทางการไดย้ ิน ดังนี้ 1. เครื่องช่วยฟัง (HearingAids) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กท่ีติดกับหูสามารถถอดใส่ได้ อยา่ งสะดวก เพอื่ ทําการขยายเสยี งใหด้ ังขึ้น ซ่ึงเหมาะสําหรับผู้ที่มีปัญหาทางการได้ยิน หรือได้ยินไม่ชัด จะทํา ให้รบั รเู้ สยี งได้ดขี ึน้ โดยมสี ว่ นประกอบท่ีสาํ คัญ คอื สว่ นประกอบเครอื่ งช่วยฟงั 1. ตวั ขยายเสียง หรือ Amplify 2. ไมโครโฟน หรอื Microphone 3. ลําโพง หรอื Receiver เครือ่ งช่วยฟงั มี 3 ระบบ คือ 1. ระบบอนาล็อค (Analog) 2. ระบบกึง่ ดจิ ิตอล 3. ระบบดิจติ อล (Digital)

25 รูปลกั ษณะของเครื่องช่วยฟังแบ่งได้ 3 แบบ ดังนี้ 1. แบบกล่อง เป็นเคร่ืองช่วยฟังระบบเกา่ หรอื ระบบอนาล็อค ขนาดเท่ากลอ่ งไมข้ ีด และมักมีสายต่อจากเครื่องสูห่ ูของผฟู้ งั สามารถเหนบ็ กระเป๋าเสื้อ มีตวั ปรบั ความดงั (Volume) ผู้ใชส้ ามารถปรบั เพมิ่ และลด ความดังของเสยี งได้ตามต้องการ ใชถ้ ่านอัลคาไลน์ชนดิ AA 2. แบบแขวนหลงั หู ตวั เครอื่ งโค้งคล้ายกล้วยหอม คล้องหรอื เก่ียวอยูด่ ้านหลังใบหู มที ้งั ระบบอนาล็อค และระบบดิจิตอล โดยตอ้ งใชค้ ู่กับแบบพมิ พ์หู (Ear Mould) ที่ ทาํ ข้นึ เฉพาะของใครของมนั จะชว่ ยลดปญั หาเร่ืองเสยี งวดี้ ไดด้ ี และใช้กับถ่าน สาํ หรบั เคร่ืองชว่ ยฟงั เบอร์ 675 หรอื เบอร์ 13 3. แบบใส่ในชอ่ งหู เป็นเครือ่ งช่วยฟงั ชนดิ ท่ตี ้องสงั่ ทําโดยการหลอ่ แบบพิมพ์หู เพอ่ื ให้ได้ ขนาดของเครื่องเทา่ กบั ชอ่ งหูของผใู้ ชง้ าน ซ่งึ ประสทิ ธิภาพและราคาจะแตกตา่ งกันไป นักวจิ ัยบอกวา่ ในอดตี เคร่อื งช่วยฟังมักเป็นแบบอนาล็อค แต่ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยีไม โครชิป ทําให้เคร่ืองช่วยฟังดิจิตอลมีขนาดเล็กและสามารถทัดหลังหูหรือใส่ในรูหู เป็นท่ีนิยมมากขึ้นโดย หลกั การทาํ งานเคร่อื งช่วยฟงั ดจิ ทิ ัล จะเปล่ียนสัญญาณเสียงท่ีได้รับผ่านไมโครโฟน จากสัญญาณอนาล็อคตาม ธรรมชาติเป็นสัญญาณดิจตอล (A/D) เพ่ือประมวลผล โดยใช้อัลกอริทึ่มชั้นสูง (Digital Signal Processing: DSP) รองรับการคาํ นวนทางคณิตศาสตรช์ นั้ สงู สามารถสร้างวงจรขยายและกรองสัญญาณที่มีความซับซ้อนสูง ไดก้ อ่ นที่จะถูกเปล่ียนกลับเปน็ สญั ญาณเสียงผ่านReceiver อกี คร้ัง

26 การใช้เคร่ืองช่วยฟัง 1. เปิดทใ่ี สถ่ า่ น ใสถ่ ่านให้ขวั้ บวก (+) ของถ่านตรงกับข้วั บวกของท่ีใสถ่ า่ น แลว้ ปิดช่องใส่ถา่ นใหส้ นทิ 2. ใสพ่ ิมพห์ โู ดยจับบริเวณฐานของพิมพห์ ขู ยบั หรือดันแบบพมิ พห์ ูให้เขา้ ไปพอดีกับช่องหูหลังจากนน้ั ให้คล้องเครอื่ งไว้ที่ใบหู (เครื่องทัดหลังหู) ถ้าเปน็ เคร่ืองแบบกลอ่ งให้เหน็บตัวเครอ่ื งติดกระเป๋าเส้ือ 3. เปดิ เครื่องโดยปรับสวทิ ชไ์ ปท่ี “M” หรอื “+” แล้วหมุนปรบั ขณะปรับให้นบั 1-10 ใชเ้ สยี งปกติ ปรบั จนได้ยนิ เสยี งตวั เองดังพอดี 4. เมือ่ เลิกใช้ปดิ สวิทช์ไปท่ี “O” และถอดเคร่ืองออกโดยใช้นิ้วหัวแม่มือและน้ิวช้ีจับบริเวณใบหูของ แบบพิมพห์ แู ละดึงแบบพมิ พ์หูออก 5. ถอดถา่ นออก เพ่ือปูองกนั ถา่ นชน้ื หรือเป็นสนิม 6. ใช้ผ้าเช็ดทําความสะอาดเคร่อื ง เพือ่ ลดปญั หาเร่อื งความชน้ื 7. เก็บเครอื่ งใสก่ ล่อง จดั สายฟังไม่ให้พันกัน (แบบกล่อง) การเรมิ่ ใสเ่ ครอ่ื งช่วยฟงั การดูแลรกั ษาเครอื่ งช่วยฟัง 1. ปดิ เครอ่ื งทุกครั้งหลังเลกิ ใชง้ าน และควรเอาถา่ นออกจากตัวเคร่อื ง 2. ระวังอย่าให้เครือ่ งตก ควรเปล่ยี นถ่านหรือทาํ ความสะอาดเคร่ืองบนโตะ๊ 3. ระวงั อย่าใหเ้ ครอ่ื งโดนน้าํ นํา้ มันใสผ่ ม เจล สเปรย์ฉีดผม 4. ทําความสะอาดเครื่องโดยใช้ผ้าแห้งเช็ด ห้ามใช้แอลกอฮอล์น้ํา หรือน้ํามันทําความสะอาดเครื่อง 5. ควรใช้ถ่านสําหรับเครื่องช่วยฟังโดยเฉพาะห้ามนําถ่านนาฬิกามาใช้กับเครื่องเพราะเป็นสาเหตุทํา ใหเ้ คร่อื งเสียงา่ ย 6. เกบ็ เครือ่ งช่วยฟังให้พน้ มือเด็กหรอื สตั วเ์ ล้ยี งและอยา่ วางเคร่ืองไวใ้ นที่อบั ชื้นร้อนหรือเยน็ เกนิ ไป เชน่ ในรถยนตท์ ่ีจอดตากแดด ข้างเตาไฟ หลังตู้เย็น หรอื บนเคร่อื งปรบั อากาศ เปน็ ตน้ 7. เพือ่ เป็นการยืดอายุการใช้งานของเครอ่ื งชว่ ยฟังควรมีการเกบ็ ใส่กล่องดดู ความชน้ื สัปดาห์ละ 1 – 2 คร้งั (ถอดถ่านออกก่อน) 8. ไม่ควรซ่อมเคร่ืองช่วยฟังเอง เม่ือเครื่องมีปัญหาควรนํากลับมาปรึกษาผู้เช่ียวชาญที่โรงพยาบาล หรอื บรษิ ทั ท่รี ับผิดชอบ 2. ประสาทหูเทยี ม ประสาทหเู ทียม (Cochlear implant) เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ท่ีช่วยให้ผู้ปุวยท่ีสูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรงหรือหูหนวกสามารถได้ยินได้ น่ันก็คือ การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม หลายท่านคงจะสงสัยว่า ประสาทหูเทียมคืออะไร ก่อนอื่น ตอ้ งกล่าวถึง การทํางานของระบบการได้ยินของคนเราก่อน เร่มิ จากหูชนั้ นอกและใบหูทีร่ บั เสียงท้ังหมดเข้าไป ยังแก้วหู ทําให้แก้วหู กระดูกหูชั้นกลาง และนํ้าในหูช้ันในท่ีเรียกว่าโคเคลีย (cochlea) เกิดการสั่นสะเทือน ตามลําดับ โดยภายในโคเคลียจะมีเซลล์ประสาทเล็กๆ ทําหน้าที่รับเสียงที่มาในรูปแบบการสั่นสะเทือน จากนั้นก็จะแปลงเป็นสัญญาณไฟฟูาและส่งต่อไปตามเส้นประสาทการได้ยินสู่สมอง เพื่อแปลความหมายของ เสยี งนั้นๆ สดุ ทา้ ยเรากจ็ ะไดย้ นิ และร้วู า่ เสยี งน้ันหมายความวา่ อะไร หรือเป็นเสียงอะไรนั่นเอง

27 ส่วนสําหรับผู้ปุวยท่ีสูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรงหรือหูหนวก มีสาเหตุความผิดปกติจากส่วนโคเคลีย ท่ไี มส่ ามารถแปลงสญั ญาณเสยี งให้เป็นสัญญาณไฟฟูาได้ จงึ ทําใหส้ มองไม่ได้รับการกระตุ้นจากเสียงจึงไม่ได้ยิน และปจั จุบันมีวิวัฒนาการใหม่โดยการผ่าตัดใส่ประสาทหูเทียมท่ีทําหน้าท่ีแทนเซลล์ประสาทในโคเคลียในการ แปลงสัญญาณเสียงเป็นสัญญาณไฟฟูาและส่งต่อไปยังสมอง ดังน้ันผู้ปุวยที่ใช้เคร่ืองช่วยฟังไม่ได้ผลหรือได้ผล น้อย ไม่ว่าจะเป็นเด็กเล็กที่หูหนวกแต่กําเนิดหรือผู้ท่ีเพ่ิงมาสูญเสียการได้ยินในภายหลัง เม่ือได้รับการผ่าตัด และการฟ้นื ฟูท่ถี ูกตอ้ งภายหลงั การผ่าตดั จะมโี อกาสไดย้ ินและมีพัฒนาการท่ีปกตไิ ด้ ประสาทหเู ทยี ม (Cochlear implant) คอื อะไร ประสาทหูเทียมเป็นอุปกรณ์ทางอิเลคโทรนิคท่ีทําหน้าที่แทนเซลล์ประสาทในโคเคลีย (cochlea) ของหูช้ันใน ในการแปลงพลงั งานเสยี งให้เป็นสญั ญาณไฟฟาู เพอ่ื กระตุน้ เสน้ ประสาทการได้ยินและสมองให้รับรู้ อุปกรณ์นี้มีส่วนประกอบ 2 ส่วน ได้แก่ อุปกรณ์ภายนอกเป็นอุปกรณ์ประมวลสัญญาณเสียงเรียกว่า Sound processor และอุปกรณ์ภายในท่ีต้องผ่าตัดฝังไว้ในกะโหลกศีรษะ เรียกว่า Implant อุปกรณ์ภายนอก (Sound processor) ทําหน้าท่ีรับสัญญาณเสียงจากสิ่งแวดล้อมด้วยไมโครโฟนและแปลงสัญญาณเสียงเป็น ระบบดิจิตอลส่งสัญญาณเสียงที่ถูกแปลงเป็นระบบดิจิตอลผ่านไปยังอุปกรณ์นําเสียง (Transmitting antenna) และอุปกรณ์ติดศีรษะ (Headpiece) เพื่อส่งเข้าสู่อุปกรณ์ภายในอุปกรณ์ภายใน (Implant) ทําหน้าท่ีรับสัญญาณระบบดิจิตอลท่ีส่งมาจากอุปกรณ์ภายนอกและแปลงกลับเป็นสัญญาณไฟฟูา ส่งสัญญาณไฟฟูาผ่านทางสายอิเลคโทรด (Electrode array) ไปยังปุมอิเลคโทรด (Electrodes) ที่ผ่าตัดสอด ฝงั ไว้ตามความยาวของโคเคลยี (cochlea) ของหูช้ันใน สัญญาณไฟฟูาจะกระตุ้นปลายประสาทการได้ยินและ ส่งสัญญาณต่อไปยังสมองเพื่อแปลความหมายของเสียงที่ได้ยิน อุปกรณ์ภายนอกและอุปกรณ์ภายในยึดแนบ ติดกันด้วยแม่เหล็กผ่านหนังศีรษะบริเวณหลังใบหู โดยแม่เหล็กช้ินนอกอยู่ท่ีอุปกรณ์ติดศีรษะ (Headpiece) และแม่เหลก็ ช้นิ ในอยู่ที่ Implant ของอปุ กรณ์ภายในกะโหลกศรี ษะ ผ้ทู ี่เหมาะสมในการผา่ ตดั ฝงั ประสาทหเู ทียม 1. เดก็ เลก็ ที่สูญเสยี การได้ยนิ อย่างรนุ แรงแตก่ ําเนดิ โดยเฉพาะถ้าไดร้ ับการผ่าตัดกอ่ นอายุ 2 ขวบ จะได้ผลดีมาก สามารถมพี ัฒนาการเท่าเด็กปกตไิ ด้

28 2. ผใู้ หญ่ท่ีสูญเสีย การได้ยินอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในภายหลังและใช้เครื่องช่วยฟังไม่ได้ผลหรือได้ผล น้อยมาก พบว่าประสาทหเู ทียมจะช่วยในการสือ่ สาร ช่วยทางด้านอารมณ์ และสงั คมของผู้ปุวย 3. เด็กท่ีอายุมากกว่า 2 ขวบ ท่ีประสาทหูพิการมากกว่า 90 เดซิเบล ที่ได้พอรับประโยชน์จากการใช้ เครอ่ื งช่วยฟังบ้าง ก็มีความเหมาะสมท่ีจะพิจารณาผ่าตัดเพราะจะช่วยให้เด็กสามารถรับฟังดีขึ้น แต่ต้องใช้ผล การตรวจการไดย้ ินอืน่ ๆ มาประกอบการพิจารณาความเหมาะสมในการผ่าตดั 4. ผู้ที่จะเข้ารับการผา่ ตดั ตอ้ งผ่านการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CTscan) ของหูช้ันในตรวจเลือด และตรวจรา่ งกายอนื่ ๆ เพ่ือพิจารณาความเหมาะสมในการผ่าตดั 5. การตรวจทางด้านจิตวิทยา (Psychosocial) เป็นการประเมินโดยจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาเพ่ือดู ระดบั สตปิ ญั ญา ความปกตทิ างดา้ นอารมณ์และสงั คม ซ่ึงเป็นปัจจัยสําคัญอันหน่ึงในการพิจารณาว่าผู้ปุวยควร ไดร้ บั การผ่าตัดหรอื ไม่ อย่างไรกต็ ามแพทย์จะทําการพิจารณาเป็นรายๆ ไปเนื่องจากพบว่าผู้ท่ีมีความบกพร่อง บางรายเมื่อไดร้ บั การผา่ ตดั ฝังประสาทหเู ทยี มแลว้ อาจสามารถช่วยใหผ้ ู้ปวุ ยมอี ารมณท์ ี่ดขี น้ึ ปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้องกับพัฒนาการทางภาษาและการพดู หลงั ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม ลักษณะทางกายภาพ ศักยภาพทางการได้ยิน และทัศนคติของผู้ที่รับการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม รวมถึงครอบครัวของแต่ละคนมีความหลากหลายแตกต่างกันไป ภายหลังผ่าตัดพัฒนาการทางการได้ยินและ ความสามารถทางภาษาและการพูด ขน้ึ อยปู่ จั จัยตา่ งๆ พอสรปุ ไดด้ งั ต่อไปนี้ -อายทุ ีเ่ รม่ิ มกี ารสญู เสียการไดย้ ิน -การได้ยินที่เหลอื อยู่ (Residual hearing) -การสูญเสยี การได้ยินเกิดขน้ึ ก่อนหรือหลังมพี ัฒนาการทางภาษาและการพดู -ระยะเวลาทมี่ กี ารสูญเสียการได้ยนิ -อายทุ ีท่ าํ การผ่าตัดฝังประสาทหูเทยี ม -ภาษาท่ใี ช้กอ่ นการผ่าตดั เช่น ใช้การพดู ใช้ภาษามือ เปน็ ต้น -ความสมบรู ณข์ องโครงสร้างหชู ้นั ใน และระบบประสาทการได้ยิน -ความผิดปกตซิ ้ําซ้อนอนื่ ๆ ทน่ี อกเหนือจากการสูญเสยี การไดย้ นิ -ทัศนคตแิ ละความพร้อมของครอบครวั -เทคโนโลยีของประสาทหูเทยี ม ปจั จยั ต่างๆ ดงั ท่กี ลา่ วมาข้างต้น จะเป็นข้อมูลท่ีช่วยเป็นแนวทางในการคาดหวังผลของการผ่าตัดให้ ใกล้เคียงกับความเป็นจริง และช่วยเป็นแนวทางในการวางแผนฟ้ืนฟูสมรรถภาพการได้ยินให้เหมาะสมกับผู้ท่ี ผ่าตดั ฝงั ประสาทหเู ทยี มใหเ้ หมาะสมกบั แต่ละบุคคลต่อไป การฝึกฟังภายหลังผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมเป็นสิ่งท่ีมีความสําคัญท่ีสุดสําหรับพัฒนาการทางภาษา และการพูด โดยเฉพาะในเด็กซ่ึงต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างต่อเน่ืองเพ่ือช่วยให้การรับรู้และการเข้าใจ ความหมายของเสียงท่ีได้ยินดีขึ้น เปรียบได้กับนักกีฬาสามารถฝึกฝนเพ่ือให้กล้ามเน้ือมีความแข็งแรงฉันใดผู้ท่ี ได้รับการผา่ ตัดประสาทหูเทยี มย่อมสามารถท่ีจะฝกึ ฝนสมองใหม้ คี วามสามารถในการรบั ฟังเสยี งไดฉ้ นั นน้ั นอกจากปัจจัยดังที่กล่าวมาข้างต้นและการฝึกฝนแล้ว เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าของประสาทหูเทียมก็มี ส่วนช่วยเพ่ิมศักยภาพของการได้ยิน หลักการทํางานของประสาทหูเทียมสัญญาณเสียงจะส่งตรงไปกระตุ้นท่ี

29 เส้นประสาทการได้ยินโดยตรง ไม่ผ่านส่วนของเซลล์ขน ในหูช้ันในท่ีมีความบกพร่องหรือเสียหาย ทําให้ผู้ท่ี สูญเสียการได้ยินสามารถรับฟังเสียงได้เต็มศักยภาพ ดีกว่าการใส่เครื่องช่วยฟังท่ีเพียงแต่ขยายเสียงให้ดัง ยิ่งเซลล์ขนในหูช้ันในบกพร่องหรือเสียหายมากความชัดเจนในการฟังเสียงและความสามารถในการฟังเข้าใจ ความหมายของเสียงก็ยิ่งลดลง ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการผา่ ตัดฝงั ประสาทหูเทยี ม เชน่ -รับร้เู สียงต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมในชวี ติ ประจําวนั เชน่ เสยี งออดประตู เสียงนกร้อง และเสียงคน ดูแล -ตะหนักร้เู สยี งตา่ งๆ ในส่ิงแวดลอ้ ม และเป็นอิสระไมต่ ้องพ่งึ พาผอู้ ่ืน -สามารถรบั ฟังเสียงโทรศพั ท์ -จดจาํ เสียง และสื่อสารด้วยเสียงพูด -สามารถในการฟัง และมคี วามประทับใจในการฟังดนตรี -สามารถรบั ร้เู สยี งท่ีมีความซับซอ้ น ขน้ั ตอนในการผ่าตดั ฝงั ประสาทหูเทยี ม ขั้นท่ี 1 ปรกึ ษาหาขอ้ มลู ผู้ท่เี หมาะสมจะไดร้ ับการผา่ ตดั ฝงั ประสาทหูเทียมต้องได้รับคําปรึกษาหาข้อมูลเบ้ืองต้น และทําความ เข้าใจก่อนการผ่าตัดเดก็ ท่จี ะทําการผา่ ตัดประสาทหูเทียม 1. อายุ 12 เดือนขึ้นไปสูญเสียการได้ยินระดับหูหนวก ค่าเฉลี่ยการสูญเสียการได้ยินมากกว่าหรือ เท่ากับ 90 เดซเิ บล (การวินิจฉยั ส้นิ สดุ แลว้ ) 2. การใส่เคร่ืองช่วยฟังเด็กต้องได้รับการใส่เคร่ืองช่วยฟังท่ีมีกําลังขยายสูงอย่างเหมาะสมและได้รับ การฟื้นฟสู มรรถภาพการไดย้ นิ มาอย่างน้อย 3 เดอื น 3. ไม่มีพฒั นาการทางภาษาและการพดู 4. สุขภาพแขง็ แรง ไม่มีการเจ็บปุวยอย่างอืน่ ท่จี ะส่งผลตอ่ การผ่าตดั 5. ครอบครวั มีความพรอ้ มในการดูแลเดก็ หลงั การผ่าตัด ผูใ้ หญท่ ่จี ะทาํ การผา่ ตดั ประสาทหเู ทียม 1. อายุ 18 ปขี น้ึ ไป - มีพฒั นาการด้านภาษามาก่อนเริม่ มีการสญู เสยี การไดย้ ิน - การสูญเสียการได้ยินระดับรุนแรงถึงหูหนวกท้ัง 2 ข้าง (ค่าเฉลี่ยการสูญเสียการได้ยินเท่ากับ หรือมากกวา่ 70 เดซิเบล) 2. ไม่ได้รับประโยชน์หรือได้ประโยชน์น้อยจากการใส่เครื่องช่วยฟังได้รับการใส่เคร่ืองช่วยฟังที่มี กาํ ลังขยายอย่างเหมาะสม โดยความสามารถในการฟงั เขา้ ใจน้อยกว่า 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ในหขู ้างดี ขนั้ ที่ 2 การผา่ ตัดและหลงั ผ่าตดั หลังการผ่าตัดเพ่ือฝังประสาทหูเทียม อาจอยู่โรงพยาบาลประมาณ 2-3 วัน หรือถ้าเร็วสุดอาจกลับ บา้ นได้ในวันรงุ่ ข้นึ

30 ขนั้ 3 การเปิดอุปกรณป์ ระมวลสัญญาณเสยี ง หลังผา่ ตดั 3-6 สปั ดาห์ เมอื่ แผลจากการผา่ ตัดหายดีแล้วจะต้องกลับมาพบนักแก้ไขการได้ยินเพื่อเปิด และปรับอุปกรณ์ประมวลสัญญาณเสียง ผู้ท่ีทําผ่าตัดจะได้ยินเสียงเป็นคร้ังแรกผ่านทางประสาทหูเทียม สําหรับผู้ใหญ่ต้องบอกนักแก้ไขการยินขณะปรับอุปกรณ์ประมวลสัญญาณเสียงว่าเสียงที่ได้ยินน้ันดังในระดับ ดังพอดี เบาหรือดังเกินไป ส่วนในเด็กอาจจะใช้การเล่นเกมส์เพื่อให้เด็กบอกว่าเม่ือไรได้ยินดังพอดี ในชว่ ง 1 ปีแรกหลงั ผ่าตัด นกั แก้ไขการไดย้ นิ จะนัดปรับอุปกรณ์ประมวลสัญญาณเสียงเป็นระยะๆ เพื่อติดตาม ผล รวมถึงการทดสอบทางการได้ยินการประเมินทางภาษาและการพูด ซ่ึงผลการทดสอบจะช่วยบอกถึง ความกา้ วหน้าของผปู้ ุวยและเปน็ ขอ้ มูลที่ชว่ ยในการปรับอปุ กรณร์ ับเสยี งหชู ั้นในภายหลังการผ่าตัด 1 ปีการนัด การประเมินการไดย้ นิ การประเมนิ ทางภาษาและการพูด รวมถึงการปรับอุปกรณ์ประมวลสัญญาณเสียงข้ึนอยู่ กับผปู้ วุ ยแต่ละคน ในเด็กอาจจะทาํ การนดั ตดิ ตามทุก 3 เดอื น สว่ นในผ้ใู หญท่ ุก 6 เดอื นหรอื 1 ปี ขนั้ ที่ 4 เรยี นรูก้ ารฟังเสียงผา่ นประสาทหูเทียม การฟืน้ ฟูสมรรถภาพการได้ยินมีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล อย่างไรตามการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ทางการพูดและการไดย้ นิ ภายหลงั การผ่าตัดฝังประสาทหูเทยี มถอื เปน็ กุญแจสําคัญที่จะบอกถึงความสําเร็จของ การผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม พึงระลึกไว้เสมอว่าการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมไม่ใช่การรักษาให้หายจากการ สูญเสียการได้ยิน ผู้ท่ีได้รับการฝังประสาทหูเทียมจําเป็นต้องฝึกฝนการฟังเสียงเพื่อให้สามารถใช้การได้ยินได้ อย่างเต็มศักยภาพ ในเด็กการฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการได้ยินและการพูดผู้ปกครองมีความสําคัญมากในการ ชว่ ยเหลอื เด็กให้มีพัฒนาการทางภาษาการพูด โดยนักแก้ไขการได้ยินหรือนักแก้ไขการพูดจะช่วยวางแผนการ ฝกึ ใหเ้ หมาะสมกับผู้ทาํ ผา่ ตัดฝังประสาทหเู ทยี มแตล่ ะบุคคล ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ ประสทิ ธิภาพในการใช้ประสาทหูเทยี ม 1. การรับรู้เสียงของตัวผู้ปุวยว่าสามารถแยกแยะสียงพูด หรือเสียงต่างๆ ในส่ิงแวดล้อมมาก่อนได้ หรือไม่ ซึ่งปัจจัยนเี้ ปน็ ส่ิงสาํ คญั อันหนงึ่ ที่ทาํ ใหผ้ ู้ใชป้ ระสาทหูเทยี มไดร้ บั ประโยชน์แตกต่างกนั ในแต่ละคน 2. สาเหตุของการสญู เสยี การไดย้ ินผทู้ ี่สูญเสยี การไดย้ นิ จากโรคบางชนิดอาจเป็นข้อจํากัดในการผ่าตัด ไดแ้ ก่ ผทู้ ่สี ญู เสียการไดย้ ินจากโรคเย่ือหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) หรือเป็นการสูญเสียที่ประสาทส่วนกลาง และสมอง (Central Hearing Loss) 3. อายุที่เริ่มมีการสูญเสียการได้ยิน ถ้าเป็นผู้ปุวยท่ีเคยมีภาษามาก่อนและมาสูญเสียการได้ยิน ภายหลัง จะได้รับประโยชนจ์ ากประสาทหเู ทยี มมากกวา่ ผู้ที่ไมเ่ คยมีภาษามาเลย 4. อายทุ ไ่ี ด้รับการผ่าตดั ฝังประสาทหูเทียม ผู้ที่ไดร้ บั การผา่ ตดั เมอ่ื อายุน้อยๆ จะได้รับประโยชน์จาก ประสาทหูเทียมมากกว่าเม่ือผ่าตัดเมื่ออายุมาก โดยเฉพาะในเด็กถ้าทําการผ่าตัดก่อนอายุ 2 ขวบจะได้รับ ประโยชนส์ งู สดุ 5. ระยะเวลาท่สี ญู เสียการได้ยินการทีไ่ ด้รบั การผา่ ตดั หลังมกี ารสูญเสียการไดย้ นิ โดยเร็วจะทําให้ผู้ปุวย สามารถฟืน้ ฟกู ารได้ยนิ และการฟังไดด้ กี ว่ามากเนือ่ งจากประสาทการได้ยินและสมองส่วนท่ีแปลเสียงยังคงการ รับรไู้ ว้อยู่ 6. ระดบั การสญู เสยี การได้ยินไม่เป็นปัจจัยที่สําคัญมากนัก เน่ืองจากผู้ท่ีมีระดับการสูญเสียการได้ยิน ในระดบั รนุ แรงหรือหูหนวก จะไดร้ บั ประโยชน์จากการผ่าตัดฝงั ประสาทหูเทียม

31 7. ชนิดของประสาทหเู ทยี มประสาทหเู ทียมแต่ละย่ีห้อแต่ละรุ่นมีเทคโนโลยีท่ีต่างกัน ทั้งเร่ืองจํานวน ช่องของสัญญาณรบั เสียง วิธกี ารประมวลสญั ญาณเสียง วิธีการส่งสัญญาณที่ประมวลแล้วไปท่ีประสาทหูเทียม ท่ีฝังอย่ภู ายในและการส่งสัญญาณไปกระตุน้ ประสาทการไดย้ นิ ทางเลือกในการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมควรใช้ ในรายทีใ่ ช้เครื่องช่วยฟงั แลว้ ไมไ่ ดผ้ ล หรอื ได้ผลนอ้ ย แพทย์เฉพาะทางหู คอ จมูก ร่วมกับนักแก้ไขการได้ยินจะ ร่วมการประเมินความเหมาะสมใหผ้ ูป้ วุ ยแตล่ ะราย ท่านลองพิจารณาข้อดังต่อไปน้ีว่าเด็กของท่าน ควรจะมาปรึกษาแพทย์หรือทีมผู้เช่ียวชาญประสาท ด้านหเู ทียมแลว้ หรอื ยัง 1. เดก็ มกี ารสูญเสียการไดย้ นิ ระดับรุนแรงหรือไม่ 2. เดก็ มกี ารตอบสนองวา่ ไดย้ ินสียงในชีวติ ประจําวนั เช่นเสียงสุนขั เห่า เสยี งกระดิง่ หนา้ บา้ นหรอื ไม่ 3. เดก็ มีพฒั นาการทางภาษาลา่ ชา้ กวา่ วยั หรือไม่ 4. เด็กได้ยินเม่ือเรยี กชอ่ื ตัวเองหรอื ไม่ 5. ท่านใหค้ วามสาํ คัญกบั เดก็ เข้าเรยี นในโรงเรยี นเดก็ ปกติหรอื เรยี นร่วมกับเด็กปกตหิ รอื ไม่ 6. ท่านให้ความสําคัญในการช่วยให้เด็กได้ยินเสียงพูดในสิ่งแวดล้อมที่มีเสียงรบกวนได้ดีข้ึนหรือไม่ถ้า ท่านมีคําตอบว่าใช่ ข้อใดข้อหนึ่ง ขอแนะนําให้พบแพทย์และผู้เช่ียวชาญเพ่ือประเมินหรือปรึกษาเรื่องการ ผ่าตัดฝังประสาทหเู ทียม ล่ามภาษามอื ในปัจจุบัน ล่ามภาษามือมีความรู้ในการใช้ภาษามือ มีความเป็นวิชาชีพ มีมาตรฐานและกฎหมาย รองรับมากข้ึน ทําให้บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างถูกต้อง และ สามารถขอใช้บริการล่ามภาษามือ ในกิจกรรมต่างๆ ได้ เช่น การอบรม สัมมนา ศาล โรงพยาบาล สถานี ตาํ รวจ (ดูรายละเอยี ดไดท้ ่ีwww.m-society.go.th) 1. หนังสือภาษามือและส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ

32 2. เครอ่ื งส่อื สารระบบ TTRS 3. โทรศัพท์สําหรบั บุคคลท่ีมีความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน 4. รายการโทรทัศน์สาํ หรับคนหูหนวก

33 5. การจดขนึ้ ทะเบยี นเป็นบุคคลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน ตัวอยา่ งสมุด/บัตรประจาํ ตัวคนพกิ าร 6. โทรศัพทเ์ คลื่อนที่ เเทบเลต ไอโฟน ฯลฯ สทิ ธปิ ระโยชนข์ องบัตรประจาตัวคนพิการ 1. เบยี้ ความพิการ 500 บาทตอ่ เดือน 2. ฟรใี ช้บรกิ ารรถไฟฟูา บีที เอส (BTS) ทกุ สถานี [โทร.02-6177340] 3. ฟรีใชบ้ ริการรถไฟฟาู ใต้ดนิ (MRT) ทกุ สถานี [โทร.02-6245200] 4. ฟรีใชบ้ ริการรถเมล์ BRT [โทร.02-6438855] 5. ฟรีเคร่ืองชว่ ยฟัง (ใชส้ ิทธ์บัตรทอง สิทธยิ์ ่อยคนพิการขอรบั ทโ่ี รงพยาบาลของรฐั )

34 6. ลดราคาตัว๋ รถทวั รบ์ ขส. และบริษทั รถทัวรบ์ างแห่ง 7. ลด 50 % ราคาตวั๋ การบนิ ไทยภายในประเทศ (โทร.02-3561111) 8. บัตรทองสิทธิคนพกิ ารรักษาฟรที ุกโรงพยาบาลของรฐั (โทร.1330) 9. กู้ยืมเงนิ ประกอบอาชีพไม่เกิน 40,000 บาท ข้ึนอยู่กบั ดุลยพินิจของคณะกรรมการและความ เป็นไปได้ในการประกอบอาชีพผ่อน 5 ปี ไม่มีดอกเบีย้ 10. ฟรใี ช้บริการรถไฟฟูา แอรพ์ อร์ต เรล ลิงค์ ธรรมดา CITY LINE (โทร.02-3085600 ต่อ 2906, 2907) 11. ลดคร่ึงราคาราคาค่าโดยสารรถประจาํ ทาง (รถเมล์) 12. ฟรีใชบ้ ริการเรือด่วนเจา้ พระยา (ธงธรรมดา ธงด่วนพิเศษสม้ ธงดว่ นพเิ ศษเหลอื ง) เรอื โดยสาร คลองแสนแสบ เรอื ขา้ มฟาก หลกั สตู รสาหรับบุคคลท่มี ีความบกพร่องทางการได้ยิน ในปัจจบุ นั ใชห้ ลักสูตร ดงั น้ี 1. ใชห้ ลักสตู รเดียวกับเดก็ ปกติ คอื หลกั สตู รการศึกษาระดบั ปฐมวัยฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2546 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 โดยมกี ารปรบั ปรุง เปลย่ี นแปลง ให้สอดคล้องกับความต้องการและความสามารถของบุคคลที่มีความ บกพร่องทางการได้ยิน 2. หลักสตู รกิจกรรมบาบดั ทางการศกึ ษา เป็นหลักสูตรเพ่ือบําบัดฟ้ืนฟู เตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย การเข้าถึงด้านการเรียนรู้ เช่น การฝึกฟงั และพดู การใชภ้ าษามอื การอา่ นริมฝีปากเป็นต้น 3. หลักสตู รอาชพี เพอื่ การมงี านทา เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมด้านการประกอบอาชีพให้กับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ภายหลังจบการศกึ ษาแล้ว การประเมนิ ผล เป็นกระบวนการวัดผลความก้าวหน้าทางด้านการเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยปรับให้เหมาะกับ ความสามารถทางการเรียนรขู้ องบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน การวัดผลตามหลักสูตรกิจกรรมบําบัด ทางการศึกษา เช่น การฝึกพูด การใช้ภาษามือ เพื่อเป็นการประเมินผลตามหลักสูตรกิจกรรมงานวิชาชีพ รวมทั้งการวัดผลจากแผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบพฤติกรรมต่างๆ ในทุกดา้ นของเด็ก และชว่ ยเหลอื พัฒนาเด็กต่อไปได้ถูกต้อง

35 กรณีศกึ ษา 1. เผยผลสาเรจ็ งานวจิ ัยเพอื่ คนหหู นวก ใหส้ ามารถประกอบวิชาชพี ช่างอตุ สาหกรรมได้ นางนาตยา แก้วใส นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิจัยและพัฒนาการสอนเทคนิคศึกษา ภาควิชาครุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เปิดเผยถึงงานวิจัย “รปู แบบการพัฒนาคนหูหนวกเพื่อการประกอบอาชีพช่างอุตสาหกรรม” ว่างานวิจัยดังกล่าวเป็นวิทยานิพนธ์ ระดับดุษฎีบัณฑิต (Dissertation) ท่ีได้จัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเปิดโอกาสให้คนหูหนวกสามารถ ประกอบอาชีพช่างเช่ือมได้ ด้วยการเรียนรู้อย่างเป็นระบบผ่านส่ือและรูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม่ท่ีจะ ทําให้คนหูหนวกสามารถเรียนรู้งานช่างเชื่อมตามมาตรฐานสากลและสามารถฝึกฝนทักษะเพิ่มเติม เพ่ือสร้าง ความชํานาญทางอาชีพ จนสามารถประกอบอาชีพช่างเช่ือมในงานอุตสาหกรรมที่ต้องการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยงานวิจัยนี้เกิดข้ึนจากปัญหาความต้องการตลาดแรงงานในประเทศไทยซึ่งพบว่ามีแนวโน้ม ความต้องการแรงงานช่างสูงมาก โดยเฉพาะช่างเชื่อมและพบว่าคนหูหนวกมีความต้องการและพร้อมรับการ พัฒนาศักยภาพตนเองให้สามารถประกอบอาชีพน้ีได้ เพียงขาดโอกาสท่ีจะเรียนรู้ในสาขาอาชีพดังกล่าว ใน ส่วนของการเตรียมคนหูหนวกให้เป็นช่างเชื่อมเป็นที่น่ายินดีที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้ ง ภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็น ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม มจพ.สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศ ไทย โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครปฐม สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 2 สุพรรณบุรี และภาค 10 ลําปาง บริษัท เอ็มบีเค จํากัด มหาชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงบริษัท ที่นอนดาร์ลิ่ง ขอนแก่น จํากัด และบริษัท โตว่องไว จํากดั ทใี่ ห้การสนับสนนุ เงนิ ทุนสําหรับการเตรียมคนหหู นวกใหเ้ ป็นช่างเชือ่ มในคร้ังนี้ 2. การวจิ ยั และพฒั นารปู แบบบทเรียนวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ เรื่อง \"สุริยุปราคาและจันทรุปราคา บนเว็บสาหรับคนหหู นวก\" ชอ่ื นักวิจยั : ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เบญจพร ศักดิ์ศิริ และ พฤหัส ศุภจรรยา บทคดั ย่อ การวจิ ัยน้ีมีจดุ มุ่งหมาย เพ่ือการออกแบบและสร้างบทเรียนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติต้นแบบ ให้คน หูหนวกสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้ โดยกระบวนการวิจัยและพัฒนาเริ่มจากการ วิเคราะห์ลักษณะการเรียนรู้ของคนหูหนวก กําหนดวัตถุประสงค์และออกแบบโครงสร้างของบทเรียน มีการ ออกแบบส่ือภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Macromedia Flash ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ตกแต่ง รูปภาพ ตัวอักษรและปุมต่างๆ ออกแบบและสร้างแบบทดสอบเนื้อหา ออกแบบแบบประเมินผลรูปแบบ บทเรียน โดยจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม PHP สร้างบทเรียนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Macromedia Dreamweaver สร้างวีดิทัศน์ภาษามือประกอบการบรรยาย และสุดท้ายเป็นการทดสอบ บทเรียนที่พัฒนาขึ้น โดยให้คนหูหนวกที่มีความสามารถในการใช้อินเตอร์เน็ตทดลองใช้บทเรียนดังกล่าว นาํ ขอ้ มูลท่ไี ด้จากปัญหาการเข้าถึงขอ้ มลู ในลกั ษณะตา่ งๆ และขอ้ เสนอแนะจากผู้ใช้มาทําการปรับปรุงแก้ไขจน ได้รูปแบบบทเรียนที่เหมาะสม หลังจากนั้นจึงนําบทเรียนที่ได้ไปทําการวิจัยเพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียน ต่อไป ผลการวิจัยทําให้ได้รูปแบบบทเรียนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เรื่อง สุริยุปราคาและจันทรุปราคาบนเว็บ สาํ หรับคนหูหนวกที่เหมาะสมสําหรับการเรียนรูข้ องคนหหู นวก โดยทําการประมวลผลจากการทําแบบทดสอบ

36 และแบบประเมินความคิดเห็นของคนหูหนวกที่มีต่อบทเรียนบนเว็บเพจ ซึ่งพบว่าโดยเฉล่ียแล้วผู้เรียนมีความ พงึ พอใจตอ่ รูปแบบบทเรียนวิทยาศาสตรธ์ รรมชาตินี้อยู่ในระดับดี

37 สรปุ สาระสาคญั บุคคลท่ีมีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน เป็นบุคคลที่ควรได้รับการบริการทางการศึกษาเช่นเดียวกับคน ทั่วไป ผูบ้ ริหาร ครแู ละบุคลากรที่เก่ียวข้องควรมีความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน เพ่ือนําไปเป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการศึกษาให้แก่บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ใน สถานศึกษาได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพ และเหมาะสม

38 แหล่งขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ทต่ี ้องศึกษา สําหรับผู้ที่ศึกษาข้อมูลบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน นอกจากหนังสือ ชุดการศึกษาด้วย ตนเองแล้ว ผู้ศึกษาเองน้ันควรหาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม เพื่อให้เข้าใจ และมีความรู้เก่ียวกับบุคคลที่บกพร่อง ทางการได้ยินให้ครบในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นลักษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน การฟ้ืนฟู สมรรถภาพทางร่างกาย จติ ใจ การจดั การเรียนการสอน การใชส้ อ่ื และเทคโนโลยใี นการชว่ ยสอน การใช้ภาษา มือ การฝึกพูด ฯลฯ เพราะในปัจจุบัน การศึกษาของผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการได้ยิน ได้มีการพัฒนาองค์ ความรทู้ างดา้ นตา่ งๆ ไปมาก ผทู้ ี่ศกึ ษาจงึ ควรหาความรู้เพม่ิ เตมิ เพ่ือให้ทันต่อเหตุการณ์ในปัจจุบัน แหล่งข้อมูล เพมิ่ เตมิ ท่ีตอ้ งศึกษา เช่น 1. พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ 2542 2. พระราชบัญญัติการจัดการศกึ ษาสําหรับคนพกิ าร พ.ศ. 2551 3. เว็บไซต์ สาํ นักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ www.special.obec.go.th 4. เวบ็ ไซต์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ www.m-society.go.th 5. เวบ็ ไซต์ วิทยาลัยราชสดุ า มหาวิทยาลยั มหิดล www.rs.mahidol.ac.th 6. เว็บไซต์ ภาควิชาการศึกษาพเิ ศษ มหาวิทยาลยั ศรีนครรินทรวโิ รฒ www.special.edu.swu.ac.th 7. เว็บไซตฝ์ าุ ยบริการสนบั สนุนนกั ศกึ ษาพกิ ารเรยี นรว่ ม(DSS) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสวนดสุ ิต www.dssdusit.com 8. เวบ็ ไซตโ์ ลกของคนหหู นวก www.nadt.thport.com 9. เวบ็ ไซต์ มูลนธิ ิอนเุ คราะห์คนหูหนวกในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ www.deafthai@foundation4deaf. ซึ่งหนังสือและเวบ็ ไซต์เหล่านี้จะสามารถหาข้อมลู เกี่ยวกับบุคคลที่มีความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ดังน้ี ขอ้ มูลสําคญั ทางด้านต่างๆ เกีย่ วกับบคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการไดย้ ิน กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับบุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางการได้ยิน หน่วยงานและสถานศกึ ษาเก่ยี วข้องกับบุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน องค์กรท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั บุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางการไดย้ ิน วฒั นธรรมของบคุ คลท่มี คี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน บรษิ ัททจ่ี าํ หน่ายเครอื่ งช่วยฟัง หนังสอื ภาษามอื ไทย

39 หนงั สือที่นา่ สนใจเกีย่ วกับบุคคลท่มี คี วามบกพร่องทางการได้ยิน เช่น หนังสือ ชือ่ “นางนวลในโลกเงียบ” นางนวลในโลกเงียบ / เอม็ มานูแอล ลาบอริ (เขียน) / งามพรรณ เวชชาชีวะ (แปล) จดั พิมพ์โดยสาํ นกั พิมพส์ ุริวงศ์บคุ๊ เซน็ เตอร์ ความหนา 230 หน้า ISBN 9747047845 ราคา 120 บาท ผู้หญงิ หหู นวกเขียนหนังสือเล่มน้จี ากประสบการณ์ชวี ติ ความพิการกับทุกปญั หาที่ต้องเผชญิ เธอไม่ร้จู ะสือ่ สาร กับโลกนีอ้ ยา่ งไรลองจินตนาการดวู ่า ถ้าเราตกอยใู่ นสภาพเดยี วกบั เธอชวี ิตเราจะเป็นเช่นไร มา่ นฟูา...อญั มณีแห่งโลกเงียบ (หวั ใจสั่งไม่ใหห้ นวก) /กาํ พลสวุ รรณรตั ถา่ ยทอดจากประสบการณ์ของคณุ กําพล สวุ รรณรัต และเรียบเรียงโดย พ.สวัสดพ์ิ ร เป็นหนังสือชวี ประวัตขิ องคณุ ม่านฟูา สุวรรณรตั คูช่ ีวิตของคุณกําพลเธอเป็น ตัวอยา่ งของนักต่อสเู้ พ่อื คนพิการความพกิ ารทางหแู ละการท่ีเกิดมาเป็นผ้หู ญงิ ไมไ่ ด้เป็นอุปสรรค สําหรบั นักตอ่ สู้คนน้ีเลยและยังเปน็ เพชรเม็ดงามในใจของคนหหู นวกดว้ ย จดั พมิ พ์โดยมุลนธิ ิสง่ เสริมและพฒั นาคนหหู นวกไทย ความหนา 168 หน้า ISBN 974-93773-7-0 ราคา 199 บาท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook