Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore linux

linux

Published by Witchakorn Sarasung, 2018-11-12 03:36:49

Description: นาย วิชชากร สารสังข์ เลขที่ 7 ปวช.1 เรียนร่วม รส.ล
นาย พัชธชัย บำเพ็ญ เลขที่ 13 ปวช.1 เรียนร่วม รส.ล
นาย สิทธินนท์ สวัดดีมงคล เลขที่ 5 ปวช.1 เรียนร่วม รส.ล
นาย อัครพล วิทยศักดิ์ เลขที่ 7 ปวช.1 เรียนร่วม รส.ล
นาย พิสิทธิ์ พิพิธชวนชม เลขที่ 35ปวช.1 เรียนร่วม รส.ล

Search

Read the Text Version

(ลีนุกซ์)

รู้จกั กบั ลนี ุกซ์ลีนุกซ์ เป็นระบบปฏิบตั ิการเช่นเดียวกบั ดอส ไมโครซอฟตว์ นิ โดวส์ หรือยนู ิกซ์ โดยลีนุกซ์น้นั จดั วา่เป็นระบบปฏิบตั ิการยนู ิกซ์ประเภทหน่ึง การที่ลีนุกซ์เป็นท่ีกล่าวขานกนั มากขณะน้ี เน่ืองจากความสามารถของตวั ระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมประยกุ ตท์ ่ีทางานบนระบบลีนุกซ์ โดยเฉพาะอยา่ งยรงะ่ิ โบปบรปแฏกิบรมตั ิใกนารตปรระะกเลูภขทอฟงรGีแNวรU์ ((FGrNeUe'sWNaoret )UคNือIXไ)มแ่เสลียะคส่า่ิงใทช่ีสจ้ ่าาคยใญั นทก่ีสาุรดซก้ือค็ โือประรบแกบรลมีนรุกะซบ์เบป็ลนีนุกซ์ต้งั แต่เวอร์ชนั่ 4 น้นั สามารถทางานไดบ้ นซีพยี ทู ้งั 3 ตระกลู คือบนซีพียขู องอิลเทล (PC Intel)ดิจิตอลอลั ฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer) และซนั สปาร์ค (SUN SPARC) เน่ืองจากใช้เทคโนโลยที ่ีเรียกวา่ RPM (Red Hat Package Management) ถึงแมว้ า่ ในขณะน้ีลีนุกซ์ยงั ไม่สามารถแทนที่ไมโครซอฟต์ วนิ โดวส์ บนพีซีหรือแมคโอเอส (Mac OS) ไดท้ ้งั หมดกต็ าม แต่ผใู้ ช้จานวนไม่นอ้ ยท่ีหนั มาใชแ้ ละช่วยพฒั นาโปรแกรมประยกุ ตบ์ นลีนุกซ์กนั และเร่ืองของการดูแลระบบลีนุกซ์น้นั ภายในระบบลีนุกซ์เองมีเคร่ืองมือช่วยสาหรับดาเนินการใหส้ ะดวกยงิ่ ข้ึน

การนาลนี ุกซ์มาใช้งานปัจจุบนั ไดม้ ีการนาระบบปฏิบตั ิการลีนุกซ์ไปประยกุ ตเ์ ป็นระบบปฏิบตั ิการสาหรับงานดา้ นต่างๆเช่นงานดา้ นการคานวณทางวทิ ยาศาสตร์ใชเ้ ป็นสถานีงาน สถานีบริการ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือใชใ้ น การเรียนการสอนและการทางิจยั ทางคอมพิวเตอร์ใชพ้ ฒั นาโปรแกรมเน่ืองจาก มีเครื่องมือมากมาย เช่น โปรแกรมภาษาซี(C) ซีพลสั พลสั (C++) ปาสคาล (Pascal) ฟอร์แทรน (Fortran) ลิสป์ (Lisp) โปรลอ็ ก (Prolog) เอดา (ADA) มีภาษาสคริปต์ เช่น เชลล์ (Shell) บาสชเ์ ชลล์ (Bash Shell) ซีเชลล์ (C Shell) คอร์นเชลล์ (Korn Shell) เพิร์ล(Perl) พายตนั (python) TCL/TKนอกจากน้ียงั มีโปรแกรมประยกุ ตใ์ นสาขาต่างๆ อีกมากมาย โดยขอ้ มูลของโปรแกรมเหล่าน้ีไดร้ วบรวมไวท้ ี่Linux Software Map (LSM)

อนาคตของลนี ุกซ์ลีนุกซ์น้นั มีนกั พฒั นาโปรแกรมจากทวั่ โลกช่วยกนั ทาใหก้ ารขยายตวั ของลีนุกซ์เป็นไปอยา่ งรวดเร็วโดยในส่วนของแกนระบบปฏิบตั ิการ หรือเคอร์เนลน้นั จะมีการพฒั นาเป็นรุ่นที่ 2.2 (Linux Kernel 2.2) ซ่ึงได้เพ่ิมขีดความสามารถและสนบั สนุนการทางานแบบหลายตวั ประมวลผลแบบ SMP (SymmetricalMulti Processors) ซ่ึงทาใหร้ ะบบลีนุกซ์สามารุนาไปใชส้ าหรับทางานเป็นเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ได้ และยงั มีโครงการสนบั สนุนการใชง้ านบรระบบลีนุกซ์อีกหลายโครงการ เช่น KDE (The K DesktopEnvironment) และ GNOME (GNU Network Object Model Environment) ซ่ึงจะช่วยพฒั นาdesktop บนลีนุกซ์ใหส้ มบูรณ์เทียบเท่ากบั Windows 98 ของไมโครซอฟท์ และบรรดาบริษทั ผผู้ ลิตซอฟทแ์ วร์ทางดา้ นระบบฐานขอ้ มูลช้นั นา อยา่ งเช่น Informix, Oracle, IBM DB2 กเ็ ริ่มใหม้ ีสนบั สนุนการใชง้ านบนระบบลีนุกซ์ แลว้ เช่นเดียวกนั

เตรียมความพร้อมก่อนใช้ลนี ุกซ์ก่อนที่จะทาการติดต้งั กต็ อ้ งเตรียมความพร้อมทางดา้ นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ใหเ้ ป็นท่ีเรียบร้อยก่อน ระบบลีนุกซ์ตอ้ งการฮาร์ดแวร์ท่ีมีคุณสมบตั ิ ข้นั ต่าสุดดงั ต่อไปน้ี1. หน่วยประมวลผลกลางของ Intel 80386 ข้ึนไป2. หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ มีหรือไม่มีกไ็ ด้ เพราะระบบปฏิบตั ิการ Red Hat Linux ไดม้ ีการจาลอง หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ไวใ้ นระดบั ของเคอร์เนล (Kernel) แลว้3. หน่วยความจาอยา่ งนอ้ ย 8 เมกะไบต์ แต่แนะนาใหม้ ีอยา่ งนอ้ ย 16 เมกะไบตจ์ ะทาใหร้ ะบบมีประสิทธิภาพที่ดีกวา่4. ฮาร์ดดิสกอ์ ยา่ งนอ้ ย 101 เมกะไบต์ สาหรับการติดต้งั แบบพ้ืนฐาน 266 เมกะไบต์ สาหรับการติดต้งั แบบทว่ั ไป และ 716 เมกะไบต์ สาหรับการติดต้งั แบบท้งั หมดตวั เลขท่ีระบุท้งั หมดเฉพาะส่วนระบบปฏิบตั ิการ ถา้ ตอ้ งการใชเ้ ป็น File Server หรือDatabase Server จะ ตอ้ งเผอ่ื เน้ือท่ีไวส้ าหรับใชง้ านดว้ ย ส่วนแหล่งของโปรแกรมลีนุกซ์น้นั สามารถหาไดฟ้ รีตามเวบ็ ไซท์เช่น www.linux.org/dist/ftp.html

ส่งิ ท่คี วรทราบก่อนการตดิ ตงั้

1.คุณสมบตั ิของฮาร์ดดิสกท็ ี่ตอ้ งการติดต้งั-จานวนของฮาร์ดดิสกท็ ่ีตอ้ งการติดต้งั-ขนาดความจุของฮาร์ดดิสกท์ ่ีจะใชใ้ นการติดต้งั-ประเภทการเช่ือมต่อของฮาร์ดดิสกท์ ่ีจะใชใ้ นการติดต้งั IDE, EIDE หรือ SCSI-มีการใชป้ ระเภทการเช่ือมต่อของฮาร์ดดิสกห์ ลายๆ ประเภทในเครื่องเดียวกนั หรือไม่2.ขนาดของหนว่ ยความจาหลกั เพื่อที่จะคานวณหาขนาดของ Linux Swap Partition3.ประเภทการเชื่อมตอ่ ของเครื่องอา่ นซีดีรอม IDE (ATAPI), SCSI4.รุ่นและย่ีห้อของแผงวงจรเช่ือมตอ่ SCSI5.รุ่นและย่ีห้อของแผงวงจรเช่ือมตอ่ เครือขา่ ย6.จานวนป่ มุ กด และประเภทเชื่อมตอ่ ของเมาส์7.รุ่นและย่ีห้อของแผงวงจรเชื่อมตอ่ จอภาพ รุ่นและยี่ห้อของจอภาพ8.รายละเอียดการกาหนดโปรโตคอลTCP/IPของเคร่ืองท่ีต้องการตดิ ตงั้ IP AddressNet MaskGateWay AddressName Server Address Domain Name Host Name

ข้อดขี อง Linux1.มีความเป็นอิสระ เสรี ไม่ตอ้ งกงั วลเรื่องซอฟตแ์ วร์ผี ซอฟตแ์ วร์เถ่ือน หรือ ไลนเซนตห์ มดอายุ2.ปลอดภยั ไม่มีไวรัสแน่นอน เพราะ Linux อพั เดทตวั เองตลอดเวลา ที่สาคญั นกั พฒั นาไวรัสมกั จะหนั ไปเล่นกบัระบบปฏิบตั ิการปิ ดมากกวา่3.สามารถเปิ ดเครื่องไดเ้ ป็นเดือนๆ โดยไม่คา้ ง หรือ Restart ตวั เอง จึงนิยมนาไปทา Server4.Linux Boot ตวั เองไดเ้ ร็วมากเพราะมีขนาดเลก็ ถูกพฒั นาดว้ ยภาษาระดบั ต่าไม่ตอ้ งเสียเวลาแปลภาษาทาให้ Hardwareทางานไดเ้ ตม็ ประสิทธิภาพ5.ติดต้งั รวดเร็ว หรือสามารถบูตตวั เองจากแผน่ เพอ่ื ทดสอบใชง้ านไดโ้ ดยยงั ไม่ตอ้ งติดต้งั6.ไม่ตอ้ งหาซอฟตแ์ วร์จากแผน่ CD มาติดต้งั เพยี งเขา้ Software Center กส็ ามารถหาซอฟตแ์ วร์ไดแ้ ลว้7.สามารถติดต้งั ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์เก่าๆได้ สามารลดการทิ้งขยะอีเลค็ ทรอนิกส์ได้8.มีการออกแบบ Disk Structure ท่ีดีกวา่ จึงไม่ตอ้ งการ Disk Defragment9.User Interface บอง Linux บางตวั ตอบสนองความตอ้ งการของคนไดด้ ีกวา่ ระบบปิ ด10.Multi User Multi Task ของ Linux ไดอ้ อกแบบมาตามโครงสร้างคอมพวิ เตอร์ระดบั โลก (Unix)

ข้อเสียของ Linux1.ตอ้ งใชเ้ วลาศึกษาค่อนขา้ งมาก2.Linux มีแต่ ซอฟตแ์ วร์ที่จาเป็นตอ่ การใชง้ าน คนท่ีเคยใชร้ ะบบอื่นมาอาจจะไม่ชิน จึงตอ้ งกลบั ไปขอ้ 13.Linux ตอ้ งมี Internet ในการเขา้ ถึงซอฟตแ์ วร์ การอบั เดทตวั เอง4.Driver ของ Linux อาจจะไม่รองรับ Hardware ใหม่ๆ เหมือนกบั ระบบปิ ด แต่ Linux จะมี Driver มาใหใ้ น Kernel แลว้ ทาใหไ้ ม่ตอ้ งเสียเวลาหา Driver5.Linux มี Distro หลายคา่ ย ผใู้ ชอ้ าจจะงงได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook