Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารทำEbook

เอกสารทำEbook

Published by daoriam soisoy, 2020-08-22 04:09:50

Description: เอกสารทำEbook

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ขนั้ ตอนการคิดและ การแกป้ ญั หาเชงิ ตรรกะ (Logical thinking and problem solving)

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ • รจู้ กั การคดิ เชิงตรรกะ • ฝกึ กระบวนการคดิ ใหเ้ ป็นเหตเุ ปน็ ผล หนา้ | 2

หวั ขอ้ เรอ่ื ง • ความหมายของการคดิ • ความสาคัญและรูปแบบของการคดิ • การคิดเชงิ ตรรกะคอื อะไร • ทาไมต้องคิดและแกป้ ญั หาอยา่ งมตี รรกะ • คิดแบบไหนไมม่ ีตรรกะ • ตวั อย่าง หนา้ | 3

ความหมายของ “การคดิ ” • “ คดิ ” แปลวา่ ทาให้ปรากฏเป็นรปู หรือเป็นเร่อื งข้นึ ในหัวใจ • “ คดิ ” แปลวา่ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คาดคะเน คานวณ มงุ่ จงใจ ต้ังใจ และนกึ ท่มี า : พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หนา้ | 4

ความสาคัญของการคดิ • การคดิ นาไปสู่การกระทาและการเปลยี่ นแปลง • การคิดทาให้ไดว้ ิธกี ารท่มี ีประสทิ ธภิ าพในการแก้ปญั หา • การคิดท่ถี กู ต้อง ช่วยลดเวลาในการแก้ปญั หา ลดการใชท้ รัพยากร ซ่งึ นาไปสู่ การป้องกนั และแก้ปัญหาทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ • การคิดทีไ่ ม่ถูกต้อง นอกจากจะไม่แกป้ ัญหาแล้ว ยงั เป็นการสรา้ งปัญหาและ ก่อใหเ้ กดิ ความสญู เสยี หนา้ | 5

รปู แบบของการคิด (รูปแบบของการคดิ 11 รปู แบบ) หนา้ | 6

รปู แบบท่ี 1 การคดิ เชิงวพิ ากย์ (Critical Thinking) เปน็ ความต้งั ใจที่จะพจิ ารณาตัดสนิ เรื่องใดเร่อื งหน่ึง โดยการไมเ่ หน็ คลอ้ ยตามข้อเสนออยา่ งง่ายๆ แตต่ ง้ั คาถาม หรือโตแ้ ย้ง และพยายามเปิด แนวทางความคิด เพ่ือใหส้ ามารถไดค้ าตอบท่ีสมเหตสุ มผลมากข้ึน เกย่ี วข้อง โดยตรงกับการประเมนิ สถานการณ์ ปญั หา หรอื ข้อโตแ้ ยง้ และเลอื กหนทางที่ ต้องการ เพอื่ นาไปสู่การค้นพบคาตอบทด่ี ีทีส่ ุด หน้า | 7

รูปแบบท่ี 2 การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การจาแนกแจกแจงองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของส่งิ ใดสง่ิ หน่งึ หรอื เร่อื งใด เร่อื งหนึ่ง และหาความสมั พันธเ์ ชงิ เหตผุ ล ระหวา่ งองค์ประกอบเหลา่ นนั้ เพ่ือ ค้นหาสาเหตทุ แี่ ทจ้ ริง ของสิง่ ที่เกิดข้ึน เปน็ การคิดอยา่ งละเอยี ดจากเหตไุ ปส่ผู ล คดิ หาทางเลอื ก ไปจนถึงการวเิ คราะห์เปรียบเทยี บ เพื่อตัดสินใจเลือกกรณที ม่ี ี ความเหมาะสมและคุ้มคา่ สงู สดุ หน้า | 8

รปู แบบที่ 3 การคดิ เชิงสังเคราะห์ (Synthesis-Type Thinking) ความสามารถในการดงึ องคป์ ระกอบต่าง ๆ มาผสมผสานเข้าดว้ ยกนั เพ่อื ให้ไดส้ ่งิ ใหม่ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีตอ้ งการ หนา้ | 9

รปู แบบที่ 4 การคิดเชิงเปรียบเทยี บ (Comparative Thinking) การพจิ ารณาเทยี บเคียงความเหมอื น และ/หรอื ความแตกต่าง ระหว่างสง่ิ นั้น กบั สงิ่ อื่น ๆ เพอื่ ให้เกิดความเขา้ ใจ สามารถอธิบายเร่อื งน้นั ได้ อย่างชัดเจน เพ่อื ประโยชน์ในการคดิ การแกป้ ัญหา หรอื การหาทางเลอื กเรอ่ื งใด เรือ่ งหน่ึง หน้า | 10

รปู แบบท่ี 5 การคดิ เชงิ มโนทัศน์ (Conceptual Thinking) ความสามารถในการประสานข้อมลู ทง้ั หมด ท่ีมีอยู่ เกย่ี วกับเรอ่ื งหนงึ่ เรื่องใด ได้อยา่ งไมข่ ดั แยง้ แลว้ นามาสรา้ งเปน็ ความคดิ รวบยอด หรอื กรอบ ความคดิ เกีย่ วกับเร่อื งนนั้ หนา้ | 11

รปู แบบท่ี 6 การคดิ เชิงประยุกต์ (Applicative Thinking) ความสามารถในการนาเอาส่ิงท่มี ีอยเู่ ดิม ไปปรบั ใช้ประโยชนใ์ นบรบิ ท ใหม่ ได้อยา่ งเหมาะสม โดยยงั คงหลกั การของสงิ่ เดิมไว้ หนา้ | 12

รปู แบบที่ 7 การคิดเชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic Thinking) ความสามารถในการกาหนดแนวทางทีด่ ที ี่สุด ภายใตเ้ งื่อนไขขอ้ จากดั ตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้อง เข้าหาแกนหลักได้อย่างเหมาะสม เพอ่ื อธบิ าย หรือใหเ้ หตผุ ล สนบั สนุนเร่ืองใดเรื่องหนึง่ หน้า | 13

รูปแบบท่ี 8 การคิดเชิงบูรณาการ (Integrative Thinking) ความสามารถในการเชื่อมโยงแนวคิด หรือองค์ประกอบตา่ ง ๆ ท่ี เก่ยี วขอ้ ง เข้าหาแกนหลักได้อย่างเหมาะสม เพื่ออธบิ าย หรอื ให้เหตุผลสนับสนนุ เรื่องใดเร่อื งหนงึ่ หน้า | 14

รูปแบบที่ 9 การคิดเชงิ อนาคต (Futuristic Thinking) ความสามารถในการคาดการณส์ ิ่งทอี่ าจเกิดขน้ึ ในอนาคต อย่างมี หลกั เกณฑ์ที่เหมาะสม หนา้ | 15

รปู แบบท่ี 10 การคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) รจู้ กั กันโดยทวั่ ไปวา่ “Lateral Thinking”เปน็ แบบที่ตอ้ งมีการ เปลยี่ นแปลง/ไม่หยดุ นงิ่ เพอ่ื ค้นหาคาถาม ทท่ี าใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลง จะเน้น ทกี่ ารคน้ หาและเสรมิ สรา้ งความคิดรเิ รม่ิ เปน็ แบบเร่งเรา้ (provocative) ท่ี สนใจสร้างความคิด (idea) เป็นเคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการทาให้สิง่ ตา่ ง ๆ เกิดขึน้ หนา้ | 16

รปู แบบที่ 11 การคดิ อย่างมเี หตมุ ีผล (Logical Thinking) รู้จักกันโดยทว่ั ไปวา่ “Vertical Thinking” เป็นแบบทางเลือก (selective) ท่ีต้องมกี ารตัดสินใจ หรือพิสจู น์ สง่ิ ใดส่ิงหนง่ึ เพื่อค้นหาคาตอบ เป็นแบบเชิงวิเคราะห์ (analytical) ท่สี นใจถงึ ท่มี าของความคดิ (idea) เปน็ เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการอธิบายเหตุผลท่เี กดิ ส่งิ ต่าง ๆ ข้นึ หนา้ | 17

การคิดอยา่ งมเี หตุมผี ล (Logical Thinking) หน้า | 18

กระบวนการคิดอย่างมเี หตุผล 1. การระบุปญั หาทแี่ ท้จรงิ 2. ระบุสาเหตทุ อ่ี าจทาให้เกิดปญั หา ปญั หาใดปญั หาหนึ่ง 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 4. ประเมินสาเหตทุ ีเ่ ปน็ ไปไดม้ ากทีส่ ุด 5. ระบุแนวทางแก้ไข 6. ตรวจสอบและประเมนิ ผล ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/373508 หนา้ | 19

เทคนคิ การคดิ แบบมเี หตมุ ผี ล 1. การเปิดกวา้ ง (ยอมรบั ขอ้ มูลใหม่ ๆ ที่เข้ามาเสมอ) 2. กลา้ เปลย่ี นจุดยนื (กลา้ ยอมรับ + การเปล่ยี นแปลง) 3. การหาเหตุผลและการใหเ้ หตุผล (จะนาไปสกู่ ารสรปุ ข้อมลู โดยมีเคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ คือ การวิเคราะห์) 4. มมุ มอง (การพิจารณาทกุ แงม่ ุมของปัญหา) 5. การวางตัวเป็นกลาง (ต้องระวงั ไม่ให้ถกู ชักนาไปทางข้างใดขา้ งหนง่ึ ) 6. การตัง้ คาถาม (ทาให้ทราบ + เขา้ ใจรายละเอียดไดอ้ ยา่ งครบถว้ น) ทมี่ า : https://www.gotoknow.org/posts/373508 หนา้ | 20

ทาไมต้องคดิ แก้ปญั หาอย่างมีตรรกะ • เพราะทาให้เกิดโอกาสผดิ พลาดน้อย • เพราะเม่ือเกิดความเคยชนิ กบั การคิดอย่างมีตรรกะ จะทาให้ไมเ่ ชื่อเรอ่ื งอะไร ง่ายๆ • เพราะจะทาใหค้ วามคดิ ทนี่ าเสนอไดร้ บั การยอมรับจากผู้อืน่ มากขน้ึ เนอื่ งจาก ฟงั ดูแล้วมเี หตมุ ผี ลเหมาะสม ที่มา : http://www.sahavicha.com /?name=knowledge&file=readknowledge&id=3310 หน้า | 21

คิดแบบไหนไมม่ ตี รรกะ • มขี ้อสนบั สนุนหรอื เหตุผลทนี่ ามาอ้างมีอคติ • ตดั สนิ จากความรสู้ ึกสว่ นตวั เชน่ ชอบหรือไม่ชอบ ทมี่ า : http://www.sahavicha.com/ ?name=knowledge&file=readknowledge&id=3310 หนา้ | 22

ตวั อยา่ งการคดิ อย่างมตี รรกะ หนา้ | 23

จากบทสนทนา • “มีเมฆมาก ท้องฟา้ มดื ครึม้ ” : เปน็ เหตุ • “ฝนน่าจะตกหนัก” : เป็นผล หนา้ | 24

การคดิ เชิงตรรกะ • รปู แบบหนึง่ ของการคิดเชิงตรรกะทพ่ี วกเราฝกึ ฝนมาตงั้ แตช่ ั้นมธั ยม คอื ตรรกศาสตร์ • ตรรกศาสตรป์ ระกอบดว้ ยองค์ประกอบหลกั 2 ส่วน • ประพจน์ • เครื่องหมายดาเนินการ หนา้ | 25

ทาความรจู้ กั ประพจน์ ประพจน์ คือ ประโยคบอกเล่าหรอื ปฏเิ สธท่ีมคี า่ ความจริงเป็นจริงหรอื เทจ็ อยา่ งใดอย่างหน่งึ เท่าน้นั ตวั อย่างประโยคท่เี ปน็ ประพจน์ โลกหมนุ รอบตัวเอง (จริง) พระอาทติ ย์ข้ึนทางทศิ เหนอื (เท็จ) หน้า | 26

ประโยคทไี่ มเ่ ปน็ ประพจน์ ไดแ้ ก่ ข้อความท่อี ยู่ในรูปของ คาถาม คาสั่ง คาขอรอ้ ง คาอทุ าน คา ออ้ นวอน คาแสดงความปรารถนา สุภาษติ คาพงั เพย ประโยคเปดิ เพราะ ข้อความดังกล่าวไม่สามารถบอกค่าความจรงิ ได้ ตวั อย่างประโยคท่เี ป็นประพจน์ - โปรดช่วยกันรกั ษาความสะอาด - 3 หาร 2 มีคา่ เท่าไร - กรุณาอย่าสง่ เสยี งดัง หน้า | 27

การเชือ่ มประพจน์ ถ้าให้ p และ q เปน็ ประพจน์ เมอื่ นาประพจน์มาเชอื่ มกันด้วยตวั เชื่อม แลว้ เราเรยี กประพจนใ์ หม่วา่ ประพจนเ์ ชงิ ประกอบ ซึง่ ตวั เช่อื มทใี่ ชจ้ ะมี 5 ตัว คอื 1) ตวั เช่อื ม “และ” ใชส้ ัญลกั ษณ์ \" ∧ \" 2) ตวั เชอ่ื ม “หรอื ” ใชส้ ญั ลกั ษณ์ \"∨\" 3) ตวั เชอื่ ม “ถ้า... แล้ว...” ใช้สญั ลกั ษณ์ \"→\" 4) ตัวเช่อื ม “กต็ ่อเมื่อ” ใชส้ ัญลักษณ์ \"↔\" 5) ตัวเช่ือม “นเิ สธ” ใช้สญั ลกั ษณ์ \" ~ \" หนา้ | 28

ตารางคา่ ความจริง p q p∧q p∨q p→q p↔q p ~p TTTTTT TF TFFTFF FT FTFTTF FFFFTT • F คอื False หรือ เทจ็ • T คือ True หรือ จริง หน้า | 29

ตวั อยา่ งที่ 1 • กาหนดให้ • r แทนประพจน์ “2 เปน็ จานวนคู่” • t แทนประพจน์ “2 เปน็ จานวนเต็ม” • จงหา r → t (ถ้า 2 เปน็ จานวนคแู่ ล้ว 2 จะเป็นจานวนเต็ม) หนา้ | 30

• r แทนประพจน์ “2 เปน็ จานวนคู่” r มีคา่ เป็นจรงิ • t แทนประพจน์ “2 เป็นจานวนเตม็ ” t มีค่าเป็นจริง ดงั นนั้ r → t จงึ เปน็ จรงิ → จริง หนา้ | 31

ทดสอบ • ถา้ a= 2+3 > 1 แล้ว b= 2 >-1 • ถ้า a= 2+3 > 1 แล้ว b= 2 > 3 • ถ้า a=ดวงอาทิตยข์ น้ึ ทางทศิ ตะวนั ออก แลว้ b= 3>4 • ถา้ a=กรงุ เทพอยูท่ างภาคใต้ของประเทศไทย แลว้ b=2+3>1 (a→b = T or F) หนา้ | 32

ตวั อย่างที่ 2 ร้านนมแห่งหนงึ่ มโี ปรโมช่นั พเิ ศษ นิสติ สามารถนาขวดนมเปลา่ 3 ขวด มาแลกนมขวดใหม่ไปดมื่ ได้ 1 ขวดทันที ถ้านสิ ติ มีเงนิ จานวนจากัดสามารถซอื้ นม ได้เพียง 9 ขวดเทา่ นั้น ถามว่านิสติ จะไดด้ มื่ นมท้งั หมดก่ขี วด (รวมท่นี าไปแลกฟรี ดว้ ย) หน้า | 33

1 23 456 789 ซ้อื 1 ซ้อื 2 ซือ้ 3 ซอ้ื 4 ซอื้ 5 ซื้อ 6 ซ้อื 7 ซ้ือ 8 ซอื้ 9 10 11 12 ฟรี 1 ฟรี 2 ฟรี 3 13 ฟรี 4 หน้า | 34

ดงั นน้ั นสิ ติ จะไดด้ ืม่ นมท้งั หมด 13 ขวด โดยจานวนขวดท้ังหมด มาจาก • การซ้อื 9 ขวด • แลกฟรี 4 ขวด สรปุ ได้วา่ เป็นเหตุ • นิสติ ซอ้ื นม 9 ขวด และนิสิตและนมฟรี 4 ขวด เป็นผล • นิสิตไดด้ ืม่ นมท้งั หมด 13 ขวด หน้า | 35

ตวั อย่างท่ี 3 • กาหนดให้มีบุคคล 3 คน คอื ตารวจ โจร และประชาชน โดยบคุ คลทงั้ 3 มี การกระทาท่แี ตกต่างกัน ดังน้ี • ตารวจ จะพูดความจรงิ เสมอ • โจร จะพดู โกหกเสมอ • ประชาชน จะพดู ความจรงิ บา้ ง พูดโกหกบ้าง ถ้ามขี อ้ มูลการสนทนาดงั ตอ่ ไปน้ี ถามนิสิตวา่ บคุ คลใดเป็นโจร ? หน้า | 36

ผมไมใ่ ชต่ ารวจ ผมไมใ่ ช่โจร ผมไมใ่ ชป่ ระชาชน หน้า | 37

A : “ผมไมใ่ ช่ตารวจ” • ตารวจจะพดู ความจริงเสมอ จงึ ไมส่ ามารถ บอกว่าตนเองไม่ใชต่ ารวจไม่ได้ • โจรจะพดู โกหกเสมอ จะบอกว่าตนเองไม่ใช่ ตารวจไม่ได้ ดงั นัน้ A จงึ เปน็ ประชาชน หน้า | 38

C : “ผมไมใ่ ชป่ ระชาชน” • A เป็นประชาชนไปแล้ว C จงึ มโี อกาสเปน็ โจร หรือตารวจเทา่ นน้ั • โจรจะพูดโกหกเสมอ จึงไม่สามารถบอกว่า ตนเองไม่ใชป่ ระชาชนไมไ่ ด้ (เพราะจะถอื วา่ พูด ความจริง) • ตารวจจะพูดความจรงิ เสมอ ตารวจจงึ สามารถบอกได้ว่าตนเองไม่ใชป่ ระชาชน ดังนน้ั C จงึ เปน็ ตารวจ หนา้ | 39

B : “ผมไมใ่ ชโ่ จร” • A เป็นประชาชนไปแล้ว และ C เป็นตารวจ ไปแล้ว C จึงมโี อกาสเป็นโจรเทา่ นน้ั • โจรจะพูดโกหกเสมอ จึงสามารถบอกได้ว่า ตนเองไม่ใช่โจร ดงั นน้ั B จึงเป็นโจร หน้า | 40

ประชาชน โจร ตารวจ หนา้ | 41

ตวั อย่างท่ี 4 ไม้เรียวเกม เปน็ กีฬาประเพณคี ณะครศุ าสตร์-ศกึ ษาศาสตร์ เป็นการแข่งขันกฬี า เพอื่ เชอื่ มความสัมพันธ์ ของ นสิ ติ -นกั ศกึ ษา ในสายวิชาชีพครู 5 สถาบัน ได้แก่ • คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย • คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ • คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ • คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร • คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา หนา้ | 42

เมือ่ จบการแข่งขนั กฬี าว่ิงผลดั มีการสัมภาษณ์ตัวแทนนักกฬี าจากท้ัง 5 มหาวิทยาลยั โดยบทสัมภาษณเ์ ปน็ ดังนี้ • จุฬา : ผมไม่ใช่ที่ 1 • บูรพา : ผมมาถงึ กอ่ นศิลปากร • มศว : ผมตามหลงั ศิลปากร • ศลิ ปากร : ผมเก่งมากครบั • เกษตร : ผมวง่ิ แพ้จุฬาแตไ่ มใ่ ชค่ นสุดท้าย ให้นิสติ เรยี งลาดับการเข้าเสน้ ชยั ของมหาวทิ ยาลัยท้งั 5 มหาวิทยาลัย หน้า | 43

1 2345 จฬุ า จุฬา จุฬา จฬุ า จฬุ า บรู พา บูรพา บูรพา บูรพา บรู พา มศว มศว มศว มศว มศว ศิลปากร ศิลปากร ศลิ ปากร ศิลปากร ศลิ ปากร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร จฬุ า : ผมไม่ใช่ที่ 1 หนา้ | 44

1 2345 จุฬา จฬุ า จุฬา จฬุ า จุฬา บูรพา บูรพา บูรพา บรู พา บูรพา มศว มศว มศว มศว มศว ศิลปากร ศลิ ปากร ศิลปากร ศลิ ปากร ศลิ ปากร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร บรู พา : ผมมาถงึ ก่อนศิลปากร หนา้ | 45

1 2345 จฬุ า จฬุ า จฬุ า จฬุ า จฬุ า บรู พา บูรพา บรู พา บูรพา บรู พา มศว มศว มศว มศว มศว ศิลปากร ศลิ ปากร ศลิ ปากร ศลิ ปากร ศิลปากร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร มศว : ผมตามหลงั ศลิ ปากร หนา้ | 46

1 2345 จุฬา จฬุ า จุฬา จฬุ า จุฬา บูรพา บรู พา บูรพา บูรพา บูรพา มศว มศว มศว มศว มศว ศลิ ปากร ศิลปากร ศิลปากร ศิลปากร ศิลปากร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร : ผมวิ่งแพ้จฬุ าแตไ่ ม่ใชค่ นสดุ ทา้ ย หนา้ | 47

1 2345 จฬุ า จฬุ า จุฬา จฬุ า จฬุ า บรู พา บูรพา บรู พา บรู พา บรู พา มศว มศว มศว มศว มศว ศิลปากร ศลิ ปากร ศลิ ปากร ศลิ ปากร ศิลปากร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร มศว : ตามหลังศลิ ปากรมา หนา้ | 48

1 2345 จฬุ า จฬุ า จุฬา จุฬา จุฬา บูรพา บรู พา บรู พา บรู พา บูรพา มศว มศว มศว มศว มศว ศิลปากร ศิลปากร ศิลปากร ศลิ ปากร ศลิ ปากร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร เกษตร : ผมแพจ้ ุฬา หนา้ | 49

สรุปผลการแขง่ ขัน 1 2345 บรู พา จุฬา เกษตร ศิลปากร มศว หน้า | 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook