Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการพัฒนาการสอนเพื่อพัฒนา “ปัญญารู้แจ้ง” : การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร

แนวทางการพัฒนาการสอนเพื่อพัฒนา “ปัญญารู้แจ้ง” : การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร

Published by ao.point03, 2021-05-28 02:41:41

Description: แนวทางการพัฒนาการสอนเพื่อพัฒนา “ปัญญารู้แจ้ง” : การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร

Search

Read the Text Version

แนวทางการพฒั นาการสอนเพอื่ พฒั นา “ปัญญารู้แจ้ง” : การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาหลกั สูตร Instruction Guidelines for “Wisdom” Development: A research project for Curriculum Development โดย ดร.นนทสรวง กลีบผ้งึ สถาบนั แห่งชาติเพ่อื การพฒั นาเดก็ และครอบครัว มหาวทิ ยาลยั มหิดล พฤษภาคม 2559

Wisdom Education แนวทางการพฒั นาการสอนเพอ่ื พฒั นา “ปัญญารู้แจ้ง”: การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตร Instruction Guidelines for “Wisdom” Development: A research Project for Curriculum Development ทม่ี าและความสาคัญ ประเทศไทยทุ่มเทงบประมาณในการลงทุนด้านการศึกษาในระดบั อุดมศึกษาเป็ นเงินถึง412,540.3 ล้านบาท ในระยะ5 ปี ทผี่ ่านมา หรือคิดเป็ นเป็ นอตั ราการลงทุนทเี่ พม่ิ สูงขึน้ ถงึ 36% ระหว่างปี 2554 ถึง ปี 2558(กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย,์ 2558)แตผ่ ลการศึกษาของเยาวชนไทยกลบั ไม่ เป็นท่ีน่าพอใจ ขอ้ มลู การจดั อนั ดบั การศึกษาโลกจากสถาบนั วจิ ยั เพยี ร์สันระบุวา่ การศึกษาของประเทศไทย อยใู่ นกลุ่มสุดทา้ ยซ่ึงมีคะแนนต่าท่ีสุด และอยใู่ นอนั ดบั ท่ี 35 จากการเปรียบเทียบท้งั สิ้น 40 ประเทศ (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2557)ขณะเดียวกนั สานกั นโยบายและแผนการอุดมศึกษา สานกั งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา วเิ คราะห์จุดอ่อนและอุปสรรคของการศึกษาในระดบั อุดมศึกษาในประเทศ ไทยไวว้ า่ สถาบนั อุดมศึกษาโดยส่วนใหญ่ ผลิตบณั ฑิตท่ีไมส่ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ไมไ่ ดม้ าตรฐานคุณภาพในระดบั อาเซียน และไมต่ รงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน บณั ฑิตจบใหมย่ งั ขาดความรู้และทกั ษะท่ีจาเป็นยง่ิ ไปกวา่ น้นั ยงั พบวา่ นกั เรียนเลือกเรียนต่อระดบั อุดมศึกษาตามกระแสค่านิยม ขาดความมุง่ มนั่ ต้งั ใจที่จะเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ (แผนพฒั นาการศึกษาระดบั อุดมศึกษา ฉบบั ที่ 11 พ.ศ. 2555-2559, 2554: 23-25)นักเรียนในระดบั อดุ มศึกษาทสี่ านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวถงึ นี้ คอื ประชากรวยั 18-24 ปี จานวน 2,506,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 39.59 ท่ีสถาบนั อุดมศึกษามี หนา้ ท่ีและความรับผิดชอบท่ีจะตอ้ งพฒั นา จากประชากรวยั 18-24 ปี ท้งั สิ้น 6,332,000 คน (สานกั งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา,2556: 5) อยา่ งไรกต็ าม งบประมาณการลงทุนดา้ นการศึกษาใน ระดบั อุดมศึกษา ผลการจดั การศึกษา และจานวนเยาวชนที่ควรไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพที่ไมเ่ ป็น เหตุเป็นผลกนั อาจสะทอ้ นความลม้ เหลวในทิศทางหรือแนวทางการจดั การศึกษาในประเทศไทย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ระบุไวเ้ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรชดั เจนวา่ การจดั การศึกษาควรเป็นไปเพ่ือจุดมุง่ หมายในการ “พฒั นาคน ไทยใหเ้ ป็นมนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ เป็นคนดี มปี ัญญา มีความสุข…” (หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544, 2545 :4) แตค่ าวา่ “ปัญญา” น้ีไม่ไดถ้ ูกนิยามใหเ้ ป็นท่ีเขา้ ใจตรงกนั หรือมีแนวทางการพฒั นาท่ีชดั เจน NonthasruangKleebpung, Ph.D 2 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education สถาบนั อุดมศึกษาแตล่ ะแห่งจึงตอ้ งตีความและกาหนดแนวทางการพฒั นาตามแตป่ ระสบการณ์ของตน ซ่ึง ส่งผลตอ่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพฒั นาปัญญาของเยาวชนไทย คณะผูท้ รงคุณวุฒิด้านการศึกษาของชาติ ร่วมประชุมหารืออย่างไม่เป็ นทางการ เร่ืองการปฏิรูป อุดมศึกษานโยบายการศึกษา พร้อมลงความเห็นวา่ “การศึกษาไทยอยู่ในสภาวะวิกฤตเชิงคุณภาพ การศึกษา ไม่ สามารถสร้ างองค์ ความรู้ และปัญญาท่ีตอบสนองต่ อความต้ องการของสั งคมปัจจุบันที่มีความซับซ้ อน และมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ขาดการพิจารณาองค์รวมที่เช่ือมโยงเป็ นระบบ และประสานสัมพนั ธ์ กบั ชุมชน รวมท้งั การใชป้ ระโยชนจ์ ากองคค์ วามรู้และประสบการณ์จากชีวติ การทางาน” และมีขอ้ เสนอต่อ การปฏิรูปการศึกษาว่า จาเป็ นตอ้ งเนน้ การปฏิรูปการศึกษาเชิงคุณภาพท้งั ระบบโดย “สถาบันอุดมศึกษา จะต้องเอาความรู้ปัญญาเป็ นท่ีต้ัง”การศึกษาในระดบั อุดมศึกษาควรเป็ นกาลงั ทางวิชาการท่ีเขา้ ไปมีส่วน ช่วยเหลือ และเช่ือมโยงการศึกษาทุกระดบั เขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาในระดบั อื่นๆ โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2552: ค-ง) หากสถาบันอุดมศึกษาความเข้าใจทถ่ี ่องแท้ในการจัดการศึกษาย่อมเป็ นอปุ สรรคสาคัญในการ กาหนดนโยบายและแนวทางการจัดการศึกษา รูปแบบการจัดประสบการณ์สาหรับผู้เรียน ภายใน บทบาท และแนวทางการพฒั นาผ้สู อน ตลอดจนการประเมินผลการจัดการศึกษาทมี่ ปี ระสิทธิผล ผ้วู จิ ัยใคร่ขอ จาแนกสาเหตุสาคญั ของปัญหาด้านการศึกษาในปัจจุบนั 3 ประการประการแรก คอื ความไม่ถ่องแท้ใน ปรัชญาการศึกษาประการท2ี่ คอื ความไม่แตกฉานในความหมายของคาว่า “ปัญญา”และประการที่ 3 คอื การแยกส่วนระหว่างวชิ าชีพและวชิ าชีวติ โดยวเิ คราะห์สถานการณ์และปัญหาได้ดงั นี้ ประการแรก ความไม่ถ่องแท้ในปรัชญาการศึกษาย่อมส่งผลต่อแนวทางการจัดการเรียนการ สอนในระดับอดุ มศึกษา สถาบนั อุดมศึกษาโดยส่วนมากใหค้ วามสาคญั กบั การพฒั นาความรู้และทกั ษะ ทางดา้ นวชิ าชีพเพ่ือพฒั นาบณั ฑิตใหม้ ีคุณลกั ษณะ ความรู้และทกั ษะที่เหมาะสมและเป็นท่ีตอ้ งการของ ตลาดแรงงาน ในทางตรงกนั ขา้ ม พระพรหมคุณาภรณ์(2518: 1-26)อธิบายท่ีมาและความสาคญั ของปรัชญา การศึกษาไวอ้ ยา่ งลุ่มลึกวา่ ชีวติ เกิดจากการรวมตวั ขององคป์ ระกอบทางร่างกายและจิตใจ และจาเป็นตอ้ ง เกี่ยวขอ้ ง พ่งึ พา ส่ิงท่ีจะอานวยประโยชน์แก่ตนเพ่ือเก้ือกลู การดารงชีวติ ดว้ ยเหตุน้ีชีวติ จึงขาดอิสรภาพ (พระราชวรมุนี อา้ งในทิศนา แขมณี,2557: 30) หรือเรียกวา่ ขาดอิสระในตนเองดังน้ัน การศึกษาที่แท้จริงควร NonthasruangKleebpung, Ph.D 3 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education เป็ นไปเพอ่ื การมุ่งพฒั นาสตปิ ัญญาและยกระดับจิตใจของบุคคล ให้มีความเห็น ความรู้ความสามารถ และ พฤตกิ รรมทถ่ี ูกต้องและเป็ นประโยชน์ต่อการดารงชีวติ และการดารงอยู่ในสังคมอย่างสมดุล วตั ถุประสงค์ของการศึกษาตามทศั นะของพระพรหมคุณาภรณ์ (2518: 5) จึงให้ความสาคัญกบั การ ทาให้ชีวติ เข้าถึง “อสิ รภาพ” ซ่ึงหมายถึงช่วยให้ชีวติ หลดุ พ้นจากอานาจและการครอบงาของปัจจัยภายนอก ให้ชีวติ มคี วามเป็ นใหญ่ในตนเอง และกาหนดความเป็ นอยู่ของตนเองมากทสี่ ุดและกระบวนการศึกษาจึงต้อง ช่วยพฒั นา “ความเป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์” กล่าวคือ ช่วยให้บุคคลค้นพบจุดมุ่งหมายในชีวติ ว่า “ควรอยู่เพอื่ อะไรและอย่างไร”(พระธรรมปิ ฎก,2518: 27-47)จากความสาคญั ดงั กล่าว สถาบนั อุดมศึกษาจึงควรมุ่ง ส่งเสริมและหนุนนาชีวิตของผเู้ รียนให้เป็นอิสระท้งั ทางดา้ นร่างกาย ความคิด จิตใจและสังคม เช่น การหลุด พน้ จากความไมร่ ู้ การเป็นอิสระจากการครอบงาทางความคิด การเป็ นอิสระจากการบริโภคนิยม เป็นอิสระ จากความเห็นแก่ประโยชนส์ ่วนตน เป็นตน้ ประการท่ี 2ความไม่แตกฉานในความหมายของคาว่า “ปัญญา”สถาบนั อุดมศึกษาโดยส่วนใหญม่ กั ตีความคาวา่ \"ปัญญา\"ในความหมายของความฉลาดทางสติปัญญา (Intelligent) ซ่ึงส่งผลตอ่ การจดั การศึกษา ท่ีมุง่ เนน้ การพฒั นาศกั ยภาพทางดา้ นสมอง (Cognitive) ในขณะท่ี ศาตราจารย์ นายแพทยว์ จิ ารณ์ พานิช ได้ อธิบายความหมายของคาวา่ ปัญญา ไวใ้ น “Go to Know” ชุมชนออนไลน์เพ่อื การจดั การความรู้วา่ “ปัญญา” หมายถึง “การตระหนกั รู้”ซ่ึงจาแนกออกเป็น 1) ปัญญาภายนอก คือการรู้จริงเก่ียวกบั เหตุ-ปัจจยั ของส่ิงตา่ งๆ รอบตวั และ 2) ปัญญาภายใน คือการรู้จริงเกี่ยวกบั กาย -ใจ ตนเอง (วจิ ารณ์ พานิช, 2553) งานนิพนธ์ของท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต)นกั ปราชญด์ า้ นการศึกษา ผไู้ ดร้ ับรางวลั การศึกษาเพอ่ื สันติภาพจากองคก์ ารยเู นสโก พ.ศ. 2537 (กองบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั มหิดล, 2558) ที่ จาแนกปัญญาออกเป็ น3 ระดบั คือ สุตมยปัญญา จินตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา (พระพรหมคุณา ภรณ์, 2557 :61) ซ่ึงสามารถอธิบายไดด้ งั น้ี 1) สุตมยปัญญา เป็นปัญญาที่เกิดจากการถ่ายทอดความรู้ การศึกษาเล่าเรียนจากรุ่นหน่ึงสู่รุ่นหน่ึง มนุษยส์ ่วนใหญ่อาศยั การเรียนรู้และคาแนะนาจากผอู้ ื่นดว้ ยวธิ ีน้ี2) จินตามยปัญญา เป็นปัญญาท่ีเกิดจากการคิดและพจิ ารณาตามหลกั เหตุผล เม่ือผเู้ รียนไดย้ นิ ไดฟ้ ังสิ่งท่ีเรียนรู้ มาแลว้ นามาคิดตาม ก็จะช่วยใหม้ ีความรู้ที่กวา้ งข้ึน ลึกข้ึน 3)ภาวนามยปัญญา เป็ นปัญญาท่ีเกิดจากการ ปฏิบตั ิ ฝึกฝน จนเกิดเป็นความรู้ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์ตรงของตนเองผเู้ รียนสามารถพฒั นาปัญญารู้แจง้ น้ีได้ โดยการนาส่ิงที่ไดเ้ รียนรู้มาและสิ่งท่ีตนเองคิด มาพจิ ารณาเปรียบเทียบกบั สิ่งท่ีตนรับรู้ไดด้ ว้ ยประสบการณ์ NonthasruangKleebpung, Ph.D 4 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ตรง จนเกิดเป็นความรู้ท่ีแทจ้ ริง หรือที่เรียกวา่ “ปัญญารู้แจง้ ”หรือท่ีเรียกวา่ ปัญญา“รู้จริง รู้แจง้ ”(วจิ ารณ์ พานิช, 2553) คาว่า “ปัญญา” จึงสามารถนิยามได้ว่า เป็ นความสามารถในการรับรู้และเข้าใจสิ่งต่างๆ ท้งั ทอ่ี ยู่ ภายในและภายนอกตนเอง “ตามความจริง” โดยปราศจากการนาความคิด ความเหน็ ความเช่ือของตนเอง หรือผู้อนื่ มาปนกบั ส่ิงทกี่ าลงั รับรู้ เมอ่ื บุคคลสามารถรับรู้และเข้าใจ “ความจริง” ได้เป็ นอย่างดีแล้ว ย่อม เกดิ เป็ นความรู้ ความเห็น และความคดิ ทส่ี อดคล้องตามความเป็ นจริง เม่ือเห็นตามจริงได้กย็ ่อมนาไปสู่การ ตดั สินใจและการกระทาทอ่ี ยู่บนพนื้ ฐานความจริง บุคคลจะสามารถพจิ ารณา วเิ คราะห์ เลอื กส่ิงทเี่ ป็ นจริง เป็ นประโยชน์ และเกอื้ กูลต่อการพฒั นาตนเองและส่วนรวมได้อย่างแท้จริง ดงั น้นั ความแตกฉานในปรัชญาการศึกษาและการนิยามความหมายของคาวา่ “ปัญญา” เป็นปัจจยั สาคญั ท่ีจะส่งผลต่อความสาเร็จในการพฒั นาศกั ยภาพเยาวชนในประเทศไทย หากสถาบนั อุดมศึกษา ตีความหมายของคาวา่ “ปัญญา” ไวเ้ พียงแคเ่ ป็นความฉลาดทางสติปัญญา ยอ่ มนาไปสู่การจดั การศึกษาที่ มุง่ เนน้ การอา่ นออก เขียนได้ ความสามารถในการจดจา และการเรียนรู้ผา่ นแนวคิดและทฤษฎี ซ่ึงเป็น“องค์ ความรู้มือสอง” (Second-Hand Knowledge) ที่ถูกถ่ายทอดมาพร้อมความคิดเห็น ความเชื่อ และ ประสบการณ์ของผอู้ ื่น ในขณะทผ่ี ้เู รียนจาเป็ นต้องได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง (Direct Experience) ทจี่ ะช่วยให้ได้รู้ ได้เหน็ ได้พสิ ูจน์“ความจริง”ด้วยตนเอง และนาไปใช้เป็ นข้อมูลการ อ้างองิ สาหรับการคิด วเิ คราะห์อย่างมวี จิ ารณญาณ ประการที่ 3 ปัญหาการแยกส่วนในการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะด้านวิชาชีพและวชิ าชีวิต ความ ต้ืนเขินในวิสัยทศั น์และนโยบายการบริหารและจดั การระบบการศึกษาในประเทศไทย เป็ นอีกประเด็น สาคญั ท่ีศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี วพิ ากษไ์ วใ้ นการประชุมหารืออย่างไม่เป็ นทางการ เร่ืองการปฏิรูปอุดมศึกษานโยบายการศึกษา เมื่อวนั พุธท่ี 4 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2552 (สานกั งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา, 2552: 5) NonthasruangKleebpung, Ph.D 5 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education “ระบบการศึกษาขณะนีต้ ามไม่ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่ตามไม่ทันเพราระบบ การศึกษาเป็ นระบบท่แี ยกส่วน แยกส่วนจากชีวิต ไปเอาวิชาเป็ นตัวต้ัง ไม่ได้เอาชีวิตเป็ นตัว ตั้ง เพราะวิชาเป็ นตวั ตงั้ กอ็ ย่กู บั ศาสตร์ต่างๆ กม็ องไม่เห็นความเปล่ียนแปลงทางสังคมต่างๆ แยกส่วนออกมา ถ้าเอาสังคมเป็นตัวต้งั มนั กจ็ ะเห็นสังคมเปลี่ยนไปยงั ไง จะต้องทายงั ไง อันนี้ กจ็ ะไม่เห็น เพราะฉะน้นั จะเห็นว่า มหาวิทยาลยั เป็นขุมกาลังทางความรู้ แต่ว่าจะไม่รู้เร่ือง สังคมว่าเป็นยงั ไง เลยไม่สามารถใช้ศักยภาพที่ตัวมีอย่ไู ป address ปัญหา แต่ผมคิดว่ากห็ นีไม่ พ้น ท่ีว่าระบบการศึกษาจะต้องเป็ นพลังทางปัญญาทพ่ี าชาติออกจากวกิ ฤต … จุดสาคัญถ้าจะ พูดถึงตัวอุดมศึกษาเอง … ระบบอุดมศึกษาจะต้องไม่เป็ นทเ่ี รียกว่า Knowledge Oriented University ควรจะเป็ น Wisdom Oriented University เป็ นปัญญา” ดร. วชิ ิต สุรพงษช์ ยั วิเคราะห์เพิม่ เติมในการประชุมวาระเดียวกนั น้ีวา่ ขอ้ มูลความรู้มีแนวโนม้ จะเพ่มิ สูงข้ึนเป็ นอีกเท่าตวั ภายในระยะเวลา 5 ปี ในเกือบทุกสาขาวชิ า เนื่องจากสภาพสงั คมที่เปลี่ยนแปลงเขา้ สู่ยคุ สังคมความรู้ (Knowledge Society) องคค์ วามรู้ในเชิงทฤษฎี (Explicit Knowledge) จะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ประสบการณ์ภายในบุคคลอยา่ งรวดเร็ว (Tacit Knowledge) ซ่ึงเป็นที่คาดการณ์วา่ การศึกษาท่ีมุง่ เนน้ ทฤษฎีจะมี บทบาทนอ้ ยลง แตก่ ารศึกษาท่ีเนน้ Experiential Learning จะมีบทบาทท่ีสาคญั มาก (สานกั งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา, 2552: 13-14) จากการวเิ คราะห์สถานการณ์ดงั กล่าว การศึกษาในระดบั อุดมศึกษาจึงจาเป็นตอ้ ง “integrate [บูรณาการ] ระหว่างความรู้ กบั Wisdom” (สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2552: 15) หาก มหาวิทยาลยั ยงั คงมุ่งเนน้ การเรียนแบบบรรยายและใหค้ วามสาคญั กบั ทฤษฎี หรือมุ่งเนน้ เพียงแต่การถ่ายทอด ความรู้ เป็ นไปไดว้ า่ มหาวทิ ยาลยั น้นั ๆ อาจจะตอ้ งประสบกบั สภาพวกิ ฤติ แมว้ ่าสถาบนั อุดมศึกษาจะกาหนดให้มีการฝึ กปฏิบตั ิในบางรายวิชาหรือบางหลักสูตรเพื่อเปิ ด โอกาสใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ แต่การเรียนรู้ส่วนมากก็เป็ นไปเพื่อการพฒั นาความรู้ ความสามารถทางดา้ นวชิ าชีพและยงั ขาดการเช่ือมโยงสู่ความรู้เก่ียวกบั ตนเองและทกั ษะการดาเนินชีวติ เมื่อ เยาวชนไดร้ ับการศึกษาในระดบั สูงสุดก็ไม่มีผูใ้ ดสามารถรับประกนั ไดว้ า่ เยาวชนเหล่าน้นั จะมีแนวทางการ ดาเนินชีวติ ที่ถูกตอ้ งและดีงาม NonthasruangKleebpung, Ph.D 6 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education การศึกษาทส่ี มบูรณ์ จึงจาเป็ นต้องพฒั นาผู้เรียนให้เข้าถงึ “อสิ รภาพ” หรือความเป็ นอสิ ระท้งั ทาง ความคดิ การกระทา และจิตใจ กล่าวคอื การศึกษาจะต้องพฒั นาผู้เรียนให้เป็ นผู้ทม่ี ีปัญญารู้แจ้ง เข้าใจใน เหตุและปัจจัยของส่ิงต่างๆ ตามความเป็ นจริง มวี จิ ารณญาณในการเลอื ก ตดั สินใจ และกาหนดการกระทาท่ี เป็ นประโยชน์และเกอื้ กลู ต่อตนเอง ผ้อู ื่น และสังคม ตลอดจนค้นพบจุดมุ่งหมายในชีวติ ของตนเองงานวจิ ยั ชิ้นน้ีจึงมีเจตนารมณ์ในการพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการสอน ท่ีจะส่งเสริมการพฒั นาทกั ษะดา้ นปัญญารู้แจง้ แก่เยาวชน(Wisdom)เพือ่ นาพามหาวทิ ยาลยั มหิดลไปสู่ความเป็นมหาวทิ ยาลยั ช้นั นาที่เป็นเลิศดา้ นการจดั การศึกษาภายใตป้ ณิธาน“ปัญญาของแผ่นดิน”ที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงจากภายในผเู้ รียน จนเกิดเป็น ปัญญา “การรู้ข้นั สูงสุด” หรือ“สัมโพธิ ความรู้แจง้ ”อยา่ งแทจ้ ริง (สมศีล, 2551) วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 1. เพอ่ื ศึกษาขอบเขต คาจากดั ความของคาวา่ “ปัญญารู้แจง้ ” และปัจจยั ท่ีส่งเสริมใหเ้ กิดปัญญารู้แจง้ ที่สามารถถอดเป็นกระบวนการเรียนการสอนและการประเมินทกั ษะปัญญารู้แจง้ ใหแ้ ก่นกั ศึกษา ระดบั อุดมศึกษา 2. เพื่อศึกษาแนวทางการพฒั นาหลกั สูตรกระบวนการเรียนการสอนและการประเมินการพฒั นาปัญญา รู้แจง้ สาหรับนกั ศึกษาระดบั อุดมศึกษา คาถามการวจิ ยั 1. ขอบเขต คาจากดั ความของคาวา่ “ปัญญารู้แจง้ ” ในหลกั สูตรการพฒั นาปัญญารู้แจง้ สาหรับนกั ศึกษา ระดบั อุดมศึกษา สามารถครอบคลุมเรื่องใดไดบ้ า้ ง 2. หลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน และการประเมินการพฒั นา ปัญญารู้แจง้ สาหรับนกั ศึกษา ระดบั อุดมศึกษา ควรเป็ นอยา่ งไร NonthasruangKleebpung, Ph.D 7 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ผวู้ จิ ยั ทาการศึกษาเอกสารทางวชิ าการและผลงานวจิ ยั ท้งั ในและต่างประเทศที่ศึกษาเก่ียวกบั พฒั นาการมนุษย์ แนวทางพฒั นาปัญญาและการศึกษา โดยมีรายละเอียดของทฤษฎีและแนวคิดดงั น้ี ส่วนที่ 1พฒั นาการมนุษย์ (Human Development)  แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั พฒั นาการมนุษยต์ ามช่วงวยั Human Development Theory  ทฤษฏีพฒั นาการทางสติปัญญา(Cognitive Development Theory)  ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Theory)  กระบวนการตดั สินใจ(The Cognitive Process of Decision Making)  ทฤษฎีพหุปัญญา Theory of Multiple Intelligences ดา้ น ปัญญาดา้ นการเขา้ ใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)  ทฤษฎีจิตวทิ ยาเชิงบวก (Theory of Positive Psychology)  ทฤษฎีเกี่ยวกบั ตนเอง (Self-Concept Theory)  การพฒั นาแนวคิดเกี่ยวกบั ตนเอง (Self-Concept Development)  มโนทศั น์ดา้ นวชิ าการของตนเอง (Academic Self-Concept)  การประเมินตนเอง (Self-Assessment)  ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Theory of personality)  จิตวทิ ยาเหนือตน (Transpersonal Psychology)  แนวทางการพฒั นาจิตวญิ ญาณ (Spirituality Development)  พงึ พอใจในชีวติ (Life Satisfaction) และชีวติ ที่มีความหมาย (Meaningful Life) NonthasruangKleebpung, Ph.D 8 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ส่วนท่ี 2 แนวทางการพฒั นาปัญญา (Wisdom Development)  ทฤษฎีการพฒั นาปัญญา (Theory of Wisdom Development)  สัมมาสมาธิและสติ (Consciousness and Mindfulness)  รูปแบบการคิดเพื่อพฒั นาปัญญา  การคิดแบบมีวจิ ารณญาณ (A Theory of Critical Thinking)  วธิ ีคิดตามหลกั พทุ ธธรรม แบบโยโสมนสิการ (Critical Reflection)  กระบวนการเรียนรู้เพ่ือพฒั นาปัญญา  การเรียนรู้เพ่ือการเปล่ียนแปลง (Transformative Education)  การเรียนรู้ดว้ ยใจอยา่ งใคร่ครวญ(Contemplative Education)  การเรียนรู้ดว้ ยประสบการณ์จริง (Experienced-Based Learning)  ตวั อยา่ งรายวชิ าและที่ส่งเสริมการพฒั นาปัญญา  การศึกษาทวั่ ไปเพ่ือสร้างบณั ฑิต  รายวชิ าการศึกษาทวั่ ไปเพอื่ การพฒั นามนุษย์ (มมศท 101) มหาวทิ ยาลยั มหิดล  หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าจิตตปัญญาศึกษามหาวทิ ยาลยั มหิดล ส่วนที่ 3การศึกษา (Education)  การประกนั คุณภาพการศึกษาอาเซียน(AUN-QA: Asean University Network Quality Assurance)  ปรัชญาการศึกษา (Philosophy of Education)  แนวคิดเกี่ยวกบั การพฒั นาหลกั สูตร (Model of Curriculum Development)  จิตวทิ ยาการศึกษาEducational Psychology  การศึกษาแบบองคร์ วม (Holistic Education)  การจดั การเรียนการสอนแบบคน้ พบ(Discovery Method)  การจดั การเรียนรู้แบบนิรนยั (Deductive Method) NonthasruangKleebpung, Ph.D 9 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education  การจดั การเรียนรู้แบบอุปนยั (Induction Method) (อย่รู ะหว่างการทบทวนวรรณกรรมเพ่ิมเติม) แนวทางการพฒั นาปัญญา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต) ไดใ้ หน้ ิยามปัญญาไวว้ า่ เป็น “ความสามารถในการมองเห็น ตามความเป็นจริง” (พระพรหมคุณาภรณ์) เช่นความหมายท่ีแทจ้ ริง ประโยชน์ท่ีแทจ้ ริง เหตุผล ปัจจยั สัมพนั ธ์ท่ีแทจ้ ริง โดยปัญญาแบ่งเป็น 3 ระดบั คือ สุตมยปัญญา คือปัญญาในระดบั ท่ีเป็ นความรู้ความเขา้ ใจที่ เกิดจากการรับฟัง จินตมยปัญญา คือปัญญาหรือความรู้ที่เกิดจากการคิดพจิ ารณา และภาวนามยปัญญา คือปัญญาหรือความรู้ที่เกิดจากการปฏิบตั ิ จนรู้แจง้ เห็นจริงดว้ ยตนเอง อาจกล่าวไดว้ า่ ภาวนามยปัญญาใน ระดบั ท่ีสามน้ีเป็ น “สัมมาทิฏฐิ” หรือความเห็นท่ีถูกตอ้ งที่สอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติความจริงสูงสุดของส่ิงต่างๆ งานวจิ ยั ของ Ursula M. Staudinger (2000) กล่าวถึง “ปัญญา” หรือ “Wisdom” ในความหมายของ ความเขา้ ใจในชีวิตอยา่ งถ่องแทล้ ึกซ้ึง ปัญญามีองคป์ ระกอบสาคญั 4 ดา้ น ดา้ นแรกคือ ความสามารถในการ เขา้ ใจตนเอง ผอู้ ่ืนและความเป็นไปในโลก ดา้ นที่สองคือ ความสามารถในการควบคุมตนเอง ซ่ึงหมาย รวมถึงความสามารถในการจดั การอารมณ์ ความสามารถในการตดั สินใจอยา่ งเหมาะสมในเวลาที่ถูกตอ้ ง และความสามารถในการอดทนอดกล้นั และสามารถเรียนรู้จากสถานการณ์ท่ีโศกเศร้าได้ ดา้ นท่ีสามคือ คา่ นิยมที่บุคคลใหค้ วามสาคญั เช่น ความสามารถในการขา้ มพน้ ตวั เอง (Self-Transcendence) เพื่อไปสู่ความ สมดุลและคุณภาพชีวติ ที่ดี หรือความมุ่งมนั่ สู่การพฒั นา และดา้ นที่ส่ีคือการปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั เช่น การ รู้จกั กาลเทศะ การช่วยเหลือผอู้ ่ืน นอกจากน้ี Ursula M.Staudinger ยงั ระบุปัจจยั สาคญั ในการพฒั นา “ปัญญา” หรือ “Wisdom” ได้แก่ บคุ ลิกภาพทางสติปัญญา (Personal Intelligence) เป็นลกั ษณะส่วนบุคคลที่เก่ียวขอ้ งกบั วธิ ีการคิด เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ความมีเหตุผล ความรอบคอบ ซ่ึงมีผลตอ่ การพฒั นาปัญญาในระดบั สูงเป็นอนั ดบั หน่ึง คิดเป็นร้อยละ 35 ปัจจยั ที่มีส่งเสริมปัญญา หรือความเขา้ ใจในชีวติ อยา่ งถ่องแทล้ ึกซ้ึงเป็นอนั ดบั ที่สองคือ ประสบการณ์ชีวติ (Experiential Factors) หมายรวมถึง ประสบการณ์ชีวติ ทวั่ ไปและประสบการณ์เฉพาะ ดา้ นวชิ าชีพ นอกจากน้ียงั รวมถึงการมีแรงบนั ดาลใจ ความมุ่งมน่ั สู่ความเป็นเลิศ และความรู้สึกเป็นห่วงเป็น ใยเพอื่ นมนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 26 อนั ดบั สามคือบุคลิกภาพส่วนบุคคล เช่น ความใจกวา้ งท่ีจะเรียนรู้ผา่ น NonthasruangKleebpung, Ph.D 10 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ประสบการณ์ และความเจริญงอกงามส่วนบุคคล (Personal Growth) คิดเป็นร้อยละ 21 ในขณะท่ีความ ฉลาดหรือการคิดอยา่ งมีเหตุผล สามารถส่งเสริมปัญญาคิดเป็นร้อยละ 15 ตามลาดบั นอกจากน้ียงั มีปัจจยั อ่ืนๆ ที่มีอิทธิพลในส่งเสริมการพฒั นาปัญญา ไดแ้ ก่ โครงสร้างทางสงั คมในระดบั มหภาค (Macro Structural Context) เช่น อายุ อาชีพ คา่ นิยม สังคม เป็นตน้ ในวดี ิทศั น์เรื่อง “ฝึกคน เร่ิมตน้ ท่ีไหน” พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต) กล่าวถึง “วสิ ุทธิ 7” วา่ เป็นข้นั ตอนในการพฒั นาปัญญา หรือแนวทางในการทาใหเ้ กิดความรู้ท่ีแทจ้ ริง โดยอธิบายไวต้ ามหลกั ไตรสิกขา ซ่ึงประกอบดว้ ยสีลสิกขา สมาธิสิกขา และปัญญาสิกขา ดงั น้ีคือ 1. สีลวสิ ุทธิ หมายถึง การสารวมทางกาย วาจาและใจ ศีลวสิ ุทธิน้ีครอบคลุมต้งั แตก่ ารเสพบริโภคดว้ ย ความพอดี รู้จกั ประมาณ และการใชส้ ิ่งตา่ งตามคุณค่าที่แทจ้ ริงเพื่อประโยชนใ์ นการพฒั นาคุณภาพ ชีวติ และการใชอ้ ายตนะในการรับรู้ที่ตรงตามความจริง ไม่ลาเอียงไปตามความรู้สึกชอบหรือไม่ ชอบ ศีลวสิ ุทธิยงั หมายความรวมถึงการประกอบอาชีพที่สุจริต ใชก้ ารประกอบอาชีพเป็นโอกาส ในการพฒั นาตนเอง และรวมไปถึงการต้งั เป้ าหมายท่ีสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคท์ ี่แทจ้ ริงของอาชีพ 2. จิตวสิ ุทธิ หมายถึง การมีสมาธิ (ระดบั อุปจาระหรืออปั ปาสมาธิ กเ็ พยี งพอ) 3. ทิฐิวสิ ุทธิ หมายถึง ความเห็นความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งตามความเป็นจริง 4. กงั ขาวติ รณวสิ ุทธิ หมายถึง การเขา้ ใจส่ิงตา่ งๆ ตามเหตุและผล ตามกระบวนการ ตามเหตุและปัจจยั ปราศจากความสงสัย 5. มคั คามคั คญาณทสั สนวสิ ุทธิ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะส่ิงที่พงึ ปฎิบตั ิและสิ่งที่ไม่พึง ปฏิบตั ิ และการมีความเขา้ ใจในไตรลกั ษณ์ในระดบั เบ้ืองตน้ วา่ ทุกส่ิงเปลี่ยนแปลง เป็นไปตามเหตุ ปัจจยั และอยเู่ หนืออานาจการควบคุม 6. ปฏิปทาญาณทสั สนวสิ ุทธิ ความสามารถในการรู้แนวทางที่มุง่ ตรงในแนวทางปฏิบตั ิท่ีถูกตอ้ ง 7. ญาณทสั สนวสิ ุทธิ เขา้ ถึงไตรลกั ษณ์อยา่ งสมบูรณ์ ทาใหส้ าเร็จเป็นมรรคผล สาเร็จจุดหมาย NonthasruangKleebpung, Ph.D 11 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education การจดั การเรียนรู้แบบนิรนยั (Deductive Method) และแบบอุปนยั (Induction Method) อริสโตเติล (Aritotls) เป็นผแู้ รกท่ีริเริ่มใชก้ ารเรียนรู้แบบนิรนยั หรือการอนุมาน (Deductive) หรือที่ เรียกวา่ “วธิ ีการแสวงหาความรู้โดยอาศยั หลกั เชิงเหตุผล” (Syllogistic Reasoning) การเรียนรู้แบบดงั กล่าวมี ปัจจยั สาคญั 3 ประการคือ 1) ขอ้ เท็จจริงใหญ่ (Major Premise) เป็นขอ้ ตกลงท่ีถูกกาหนดข้ึน 2) ขอ้ เทจ็ จริง ยอ่ ย (Minor Premise) คือ เหตุการณ์เฉพาะท่ีตอ้ งการนามาศึกษาถึงความสมั พนั ธ์หรือความเช่ือมโยงกบั ขอ้ เทจ็ จริงใหญ่ และ 3) ขอ้ สรุป (Conclusion) ซ่ึงเป็นผลท่ีไดจ้ ากการพจิ ารณาความสมั พนั ธ์ในขอ้ 1) และขอ้ 2) (วชิ ญวชั ญ์ เชาวนีรนาท, ม.ป.ป.) วธิ ีคิดแบบนิรนยั เป็น “การสอนท่ีเร่ิมจากกฎหรือหลกั การ” โดยมี รูปแบบคือการคิดคือการมองภาพกวา้ งก่อนพิจารณาขอ้ มูลที่เป็นส่วนยอ่ ย เพื่อทาการหาขอ้ สรุป (พชั รา สิน ลอยมา, 2553) นกั การศึกษาจานวนมากนาวธิ ีคิดแบบนิรนยั น้ีมาใชเ้ ป็นแนวทางในการสอนใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจ ถึงเหตุและผล ผา่ นการคิดหาหลกั ฐานหรือเหตุผลมายนื ยนั การจดั การเรียนการสอนแบบนิรนยั ทาไดด้ ว้ ยข้นั ตอน 4 ข้นั ตอน กล่าวคือ ข้นั ตอนแรกเป็นข้นั ของ การอธิบายปัญหา (Statement of the Problem) ปัญหาที่มีความเก่ียวขอ้ งกบั สถานการณ์ในชีวติ จริง หรือมี ความสอดคลอ้ งกบั ระดบั ความสามารถและวฒุ ิภาวะของผเู้ รียน จะยง่ิ กระตุน้ ใหเ้ กิดความสนใจในการเรียนรู้ ข้นั ท่ีสองคือข้นั อธิบายขอ้ สรุป (Generalization) โดยผสู้ อนจะนาเอาขอ้ สรุปหรือนิยามมาอธิบายแก่ผเู้ รียน และตามดว้ ยข้นั ท่ีสามคือข้นั ตกลงใจ (Inference) เพ่ือทาการพจิ ารณาเลือกขอ้ สรุปใดเพียงขอ้ สรุปหน่ึง จากน้นั จะเขา้ สู่ข้นั ตอนสุดทา้ ยคือข้นั ตอนการพสิ ูจน์ (Verification) ข้นั ตอนน้ีจะเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียน ทาการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู เพิ่มเติมจากแหล่งขอ้ มูลที่หลากหลาย เพ่ือยนื ยนั ขอ้ สรุป แนวคิดหรือความคิดเห็น ตนเอง (Heinmiller, 1925 อา้ งตาม สุภาพ อ่อนนอ้ ม, 2545) กล่าวโดยสรุปคือ วธิ ีการเรียนรู้แบบนิรนยั จะสอนให้ผเู้ รียนมองภาพกวา้ งก่อนแลว้ ค่อยทาความ เขา้ ใจไปสู่ภาพยอ่ ย (ถนอมศกั ด์ิ เหล่ากุล, 2555) อยา่ งไรก็ตามในช่วงศตวรรษที่ 16 ฟรานซิส เบคอน เป็นผหู้ น่ึงท่ีตระหนกั ถึงจุดอ่อนของการสอนวธิ ีการดงั กล่าว เนื่องจากเห็นวา่ การท่ีผสู้ อนเป็นผถู้ ่ายทอดกฎ หรือหลกั การที่มีอยเู่ ดิมน้นั อาจทาใหผ้ เู้ รียนไมไ่ ดร้ ับความรู้ใหม่ใดๆ นอกจากน้ีวธิ ีการคิดแบบนิรนยั ไมไ่ ด้ อธิบายความสัมพนั ธ์ท่ีเป็นเหตุและผลของขอ้ เทจ็ จริงในภาพรวมกบั ขอ้ เทจ็ จริงในส่วนยอ่ ย ฟรานซิส จึงได้ NonthasruangKleebpung, Ph.D 12 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education เสนอแนวคิดเกี่ยวกบั วธิ ีอุปนยั (Induction Method) ที่สอนใหผ้ เู้ รียนมองภาพยอ่ ยก่อนแลว้ จึงทาความเขา้ ใจ ไปสู่ภาพกวา้ ง (พชั รา สินลอยมา, 2553) สมประสงค์ น่วมบุญลือ (2548 อา้ งตาม เตือนใจ คดดี, 2554 ) อธิบายวา่ วธิ ีการคิดแบบอุปนยั เป็นการแสวงหาความจริงจากประสบการณ์ ในการจดั การเรียนการสอน เอก็ เกน (Eggen n.d. อา้ งตาม นวพล วชิ ยั , 2555) อธิบายวา่ วธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบอุปนยั จะเปิ ดโอกาสผเู้ รียน ไดเ้ ปรียบเทียบขอ้ มลู ท่ีตนเองสังเกตพบและขอ้ มูลที่ผสู้ อนถ่ายทอด ก่อนจะถึงข้นั ตอนการสรุปผล สจว๊ ต มิลล์ (เตือนใจ คดดี, 2554) อธิบายข้นั ตอนการเรียนรู้แบบอุปนยั ออกเป็น 5 ข้นั ตอนเพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดท้ ราบถึง แนวทางในการคิดหาสาเหตุและขอ้ บกพร่องในการอา้ งถึงเหตุผลน้นั ๆ ข้นั ตอนแรกคือข้นั นา เป็นข้นั ตอนท่ี ผสู้ อนทาการเตรียมความพร้อมใหก้ บั ผเู้ รียนผา่ นสื่อประเภทต่างๆ ข้นั ตอนท่ีสองคือการสอน ผสู้ อนจะให้ ความรู้เก่ียวกบั วธิ ีการหาเหตุผล 5 วธิ ีการคือ 1) การหาความสอดคลอ้ ง หมายถึงการพิจารณาขอ้ มูลท้งั หมด ร่วมกนั 2) การหาความแตกต่าง หมายถึงการพิจารณาสภาพแวดลอ้ มที่หายไป 3) การหาความสอดคลอ้ ง ร่วมกบั การหาความแตกตา่ ง 4) การหาส่วนท่ีเหลือ หมายถึงการพจิ ารณาผลของความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเหตุ และผล 5)การหาความต่างระดบั หมายถึงการพจิ ารณาสภาพแวดลอ้ มที่เปล่ียนแปลงไป ท่ีส่งผลต่อ ปรากฏการณ์อ่ืนๆ ข้นั ตอนที่สามคือ ข้นั ตอนการเปรียบเทียบ ในข้นั น้ีผสู้ อนจะสอนใหผ้ เู้ รียนฝึ กการสังเกต วเิ คราะห์และเปรียบเทียบขอ้ มลู ที่ไดร้ ับตามแนวทางของจอห์น สจว๊ ต มิลล์ เมื่อผเู้ รียนมองเห็นความสัมพนั ธ์ หรือความเชื่อมโยงระหวา่ งขอ้ มูลแลว้ จะเขา้ สู่ข้นั ตอนการสรุป โดยผเู้ รียนประเมินคุณค่าของขอ้ มูลท้งั หมด และสรุปผลโดยการใชเ้ หตุและผลเป็นแนวทางในการประเมิน ก่อนเขา้ สู่ข้นั ตอนการนาความรู้ความเขา้ ใจ ไปใชค้ ือ ผเู้ รียนสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อจดั การกบั สถานการณ์ต่างๆ การเรียนรู้แบบคน้ พบ (Discovery Method) การเรียนรู้แบบคน้ พบ (Discovery Method) เป็นแนวคิดเพ่ือพฒั นาแนวทางการเรียนรู้ที่นาเสนอ โดยบรูนเนอร์ (Bruner) โดยมีพ้ืนฐานแนวคิดวา่ การที่ผเู้ รียนมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ส่ิงแวดลอ้ มจะนาไปสู่การ คน้ พบความรู้ใหมห่ รือการจดั การปัญหา ซ่ึงไม่เพียงแต่จะกระตุน้ ความสนใจในการเรียนรู้แต่ยงั เป็นการ ส่งเสริมความสามารถในการจดจาในระยะยาวแก่ผเู้ รียนได้ บรูนเนอร์ เชื่อวา่ การเรียนรู้แบบวธิ ีคน้ พบเป็ น วธิ ีการที่สามารถพฒั นาทกั ษะและปัญญาใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียนได้ โดยผสู้ อนสามารถส่งเสริมวธิ ีการเรียนรู้ แบบดงั กล่าวไดโ้ ดยการต้งั คาถามหรือจาลองสถานการณ์เพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้ (Jerome S. Bruner, 1977) การศึกษาของ Wilke และ Straits (อา้ งตาม สุนีย์ เหมะประสิทธ์ิ, 2557) ยงั สนบั สนุนประสิทธิภาพของการ NonthasruangKleebpung, Ph.D 13 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education เรียนรู้แบบคน้ พบ ในงานวิจยั ระบุวา่ การนาวธิ ีการการเรียนรู้แบบดงั กล่าวมาใชใ้ นระดบั อุดมศึกษาจะช่วยทา ใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีความหมาย (Meaningful Learning) รวมท้งั ยงั สร้างทศั นคติท่ีดีและเพ่ิม แรงจูงใจต่อการเรียน นอกจากน้ี บรูนเนอร์ยงั ตระหนกั ถึงความแตกต่างทางพฒั นาการดา้ นสติปัญญาของผเู้ รียนแต่ละคน เขาจึงมุ่งเนน้ ความสาคญั กบั การเช่ือมโยงความรู้และการจดั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียน ผเู้ รียนจึงควรปรับ เน้ือหาและวธิ ีการสอนใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั ความสามารถของผเู้ รียน บรูนเนอร์ (cited in Sheldon Clark, 2011) เช่ือวา่ หากผเู้ รียนไดร้ ับวธิ ีการสอนท่ีประสิทธิภาพ ผเู้ รียนจะสามารถเรียนรู้ไดด้ ีไม่วา่ จะอยใู่ นช่วงวยั ใดก็ตาม นอกจากน้ีประสบการณ์ตรงของผเู้ รียนท่ีไดร้ ับจากการปฏิสมั พนั ธ์กบั ส่ิงแวดลอ้ มต่างๆ เช่น ผสู้ อน กิจกรรม วสั ดุอุปกรณ์ ผนวกกบั ความรู้เดิมของผเู้ รียน จะช่วยส่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้ที่เป็นขอ้ คน้ พบใหม่ ของบุคคลน้นั ๆ (วนิดา ฉตั รวริ าคม, 2542) NonthasruangKleebpung, Ph.D 14 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education นิยามศัพท์ หมายถึง ความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองต่างๆ เป็นความเขา้ ใจท่ียงั อาศยั กระบวนการคิด ปัญญา พจิ ารณา การแปลและการใหค้ วามหมาย ปัญญาแบง่ เป็น 3 ระดบั คือ 1) สุตมยปัญญา ความรู้ความเขา้ ใจที่เกิดจากการรับฟัง 2) จินตมยปัญญา ความรู้ที่เกิดจากการคิดพจิ ารณา 3)ภาวนามยปัญญา ความรู้ท่ีเกิดจากการปฏิบตั ิ จนรู้แจง้ เห็นจริง ดว้ ยตนเอง ปัญญารู้แจง้ หมายถึง สัมมาทิฏฐิ หรือความเห็นท่ีถูกตอ้ ง ท่ีสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะสากลของ สรรพสิ่ง(ไตรลกั ษณ์) ปัญญารู้แจง้ เป็นปัญญาระดบั ท่ี 3 ภาวนามยปัญญา กล่าวคือเป็นความรู้ที่เกิดจากการรับรู้สิ่งตา่ งๆผา่ นอายตนะ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) และเกิดเป็นความรู้ความเขา้ ใจจากประสบการณ์ตรง ที่ถูกตอ้ ง และสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติความจริงสูงสุดของสิ่งน้นั ๆ โดยปราศจากการ ใชค้ วามคิดเพื่อใหค้ วามหมาย แต่งเพิ่มเติม ไตรลกั ษณ์ หมายถึง ความเป็นจริงหรือลกั ษณะสากลของสรรพส่ิง3 ประการ คือ 1) อนิจจลกั ษณะ ลกั ษณะที่แสดงถึงความเปล่ียนแปลง ชวั่ คราว เส่ือม 2) ทุกขลกั ษณะ ลกั ษณะท่ีแสดงถึงการถูกบีบค้นั การทนอยใู่ นสภาพ เดิมไมไ่ ด้ มีการสิ้นสุด มีการสูญสลาย 3) อนตั ตลกั ษณะ ลกั ษณะท่ีแสดงถึงความไม่มีตวั ตน แต่เป็ นการรวมตวั กนั ของเหตุและปัจจยั ซ่ึงอยเู่ หนือการควบคุม และไม่สามารถเป็นไป ตามปรารถนา NonthasruangKleebpung, Ph.D 15 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีการวจิ ัย งานวจิ ยั ชิ้นน้ีเป็นการวจิ ยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ที่มุ่งศึกษาแนวทางการส่งเสริมและ พฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” โดยยดึ การเรียนรู้ และประสบการณ์ของผเู้ รียนเป็ นสาคญั ผวู้ จิ ยั เกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ีการ สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) จากผทู้ รงคุณวุฒิ ผบู้ ริหาร การศึกษา ผสู้ อน และผเู้ รียน เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ มูลปฐมภูมิท้งั เชิงลึกและเชิงกวา้ งอนั จะเป็นประโยชน์ในการ พฒั นาหลกั สูตรและออกแบบการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพฒั นาปัญญารู้แจง้ ใหก้ บั ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิผลสูงสุด ข้นั ตอนการดาเนินการวจิ ัย ข้นั ตอนท่ี 1 การศึกษาและวเิ คราะห์ข้อมูล ผวู้ จิ ยั ศึกษาและวเิ คราะห์แนวคิดทฤษฎี งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาปัญญารู้แจง้ แนวทางการ จดั การเรียนการสอน การพฒั นาหลกั สูตร และการประเมินผล ข้นั ตอนที่ 2 พฒั นาและตรวจสอบเครื่องมอื วจิ ัยโดยผ้เู ชี่ยวชาญ ผวู้ จิ ยั สร้างเครื่องมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู และเกณฑก์ ารประเมินเพือ่ เช่น แบบประเมิน ความเหมาะสมในการร่างหลกั สูตร แนวคาถามสัมภาษณ์เชิงลึก ประเดน็ การสนทนาสาหรับการสนทนา กลุ่ม จากน้นั ผวู้ จิ ยั นาเสนอผเู้ ช่ียวชาญเพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ งเหมาะสม ก่อนดาเนินการเก็บขอ้ มลู ข้นั ตอนท่ี 3 เกบ็ ข้อมูลการวจิ ัย ผวู้ จิ ยั ดาเนินการติดต่อประสานงานและขอความอนุเคราะห์กลุ่มตวั อยา่ งเพื่อสมั ภาษณ์เชิงลึกและ จดั การสนทนากลุ่มเพ่ือศึกษาแนวทางการพฒั นาปัญญารู้แจง้ ตามหลกั พฒั นาการมนุษย์ และแนวทางการจดั กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล ข้นั ตอนที่ 4 การพฒั นาร่างหลกั สูตรและการประเมินผล ผวู้ จิ ยั พฒั นาร่างหลกั สูตรเพ่อื พฒั นาปัญญารู้แจง้ ตามหลกั พฒั นาการมนุษย์ และร่างวธิ ีการวดั และ ประเมินผล ตามขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม จากน้นั นาเสนอต่อผทู้ รงคุณวุฒิเพื่อ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และปรับปรุงแกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะของผทู้ รงคุณวฒุ ิ โดยมีข้นั ตอนยอ่ ยดงั น้ี NonthasruangKleebpung, Ph.D 16 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ข้นั ตอนการพฒั นาร่างหลกั สูตร  สรุปขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม ตามหลกั การจดั การเรียนการสอน  วนิ ิจฉยั ความตอ้ งการของกลุ่มตวั อยา่ งไดแ้ ก่ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นการพฒั นาปัญญา กลุ่มผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ น จิตวทิ ยาพฒั นาการ หลกั สูตรและการสอน กลุ่มผบู้ ริหารการศึกษา กลุ่มผสู้ อนและกลุ่มผเู้ รียน  ตรวจสอบยนื ยนั ผลการศึกษาโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ  กาหนดจุดมุ่งหมาย เน้ือหาสาระ และประสบการณ์การเรียนรู้ของผเู้ รียนและการประเมินผลเพอ่ื พฒั นากรอบหลกั สูตรและการประเมินผล  ร่างหลกั สูตรและการประเมินผลตามจุดมุง่ หมาย  ตรวจสอบคุณภาพร่างหลกั สูตรการประเมินผลโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิ  ปรับปรุงแกไ้ ขหลกั สูตรการประเมินผลตามขอ้ เสนอแนะของผทู้ รงคุณวฒุ ิ ศึกษาแนวคิดทฤษฎี งานวจิ ยั พฒั นาและตรวจสอบเคร่ืองมือวจิ ยั สมั ภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) สนทนากลุ่ม (Focus Group) พฒั นาร่างหลกั สูตร ตรวจสอบ/แกไ้ ข การคดั เลือกกลุ่มตวั อยา่ ง NonthasruangKleebpung, Ph.D 17 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ผ้วู จิ ัยทาการคดั เลอื กกลุ่มตัวอย่างทต่ี ้องการศึกษาในคร้ังนี้ โดยใช้วธิ ีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยเลอื กกลุ่มตัวอย่างผู้ทม่ี ีความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ในการปฏบิ ัตงิ านเป็ น ระยะเวลามากกว่า 5 ปี ท้งั น้ีไดก้ าหนดเกณฑใ์ นการคดั เลือกกลุ่มตวั อยา่ งออกเป็น 5 กลุ่ม ดงั น้ี กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ยั กล่มุ ตัวอย่างที่ 1 กลุ่มผ้ทู ม่ี ปี ระสบการณ์ตรงในการเจริญปฏิบัติวปิ ัสสนากรรมฐานเป็ นระยะเวลามากกว่า 5 ปี ท่ีเขา้ ใจแนวทางในการทาใหเ้ กิดปัญญารู้แจง้ อยา่ งแทจ้ ริง และสามารถถ่ายทอดแนวทางการปฎิบตั ิและให้ แนวทางในการจดั การเรียนการสอนไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ท้งั น้ีผวู้ จิ ยั ใชห้ ลกั วิสุทธิ 7 ของพระพรหมคุณาภรณ์ เป็ น เกณฑเ์ บ้ืองตน้ ในการคดั เลือกผมู้ ีประสบการณ์ดงั กล่าวจานวน 5 ท่าน เพอ่ื ศึกษาถึงความหมายที่ถูกตอ้ งของ ศีล สมาธิ สติและปัญญา ปัจจยั ที่เอ้ือต่อการส่งเสริมและปัจจยั ที่บน่ั ทององคป์ ระกอบดงั กล่าว ตลอดจนการ ประเมินผล และเพอื่ ศึกษาแนวทางการจดั การเรียนรู้เพ่อื ส่งเสริมปัญญารู้แจง้ ในเยาวชน กล่มุ ตวั อย่างท่ี 2 ผู้วจิ ัยได้กาหนดคุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิไว้ในเบือ้ งต้น คือ ต้องเป็ นผู้มีความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในด้านน้ันๆ เป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี ในสาขาวิชาทเี่ ก่ียวข้อง กลุ่ม ผูท้ รงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขาวิชา จานวน 15 ท่าน ได้แก่ ผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นจิตวิทยาพฒั นาการ ดา้ น การศึกษา ดา้ นหลกั สูตรและการสอน เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมและพฒั นาปัญญา การจดั การเรียนการ สอน การจดั สภาพแวดลอ้ มในห้องเรียน ตลอดจนการพฒั นาศกั ยภาพผูส้ อนท่ีจะเอ้ือต่อการพฒั นาปัญญา ใหก้ บั ผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งสูงสุด กลุ่มตัวอย่างที่ 3 กลุ่มผู้บริหารการศึกษาที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการบริหารการศึกษา ระยะเวลารวม ไม่น้อยกว่า 5 ปี ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จานวน 5 ท่าน เพ่ือศึกษาถึงการตระหนักถึง ความสาคญั ในการพฒั นาปัญญารู้แจง้ แก่ผูเ้ รียน ขอ้ มูลเก่ียวกบั สถานการณ์ การแข่งขนั และโอกาสดา้ น การศึกษา รวมถึงศึกษาปัญหาและอุปสรรคท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งและเป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาหลกั สูตรและการนา หลกั สูตรไปใชอ้ นาคต กลุ่มตัวอย่างท่ี 4 กลุ่มคณาจารย์ผู้สอนท่ีมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานระยะเวลารวม ไม่น้อยกว่า 5 ปี ใน สาขาวชิ าทเี่ กยี่ วข้อง จานวน 5 ทา่ น จากจานวนประชากรท้งั สิ้น 33,744 ราย (มหาวิทยาลยั มหิดล, 2558) เพ่ือ ศึกษาการตระหนกั ถึงความสาคญั ของการพฒั นาปัญญารู้แจง้ แก่นกั ศึกษา รูปแบบการเรียนการสอน วิธีการ NonthasruangKleebpung, Ph.D 18 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education และเทคนิคถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์เพอื่ ส่งเสริมความรู้และทกั ษะที่เก่ียวขอ้ งกบั การพฒั นาปัญญารู้ แจง้ ตลอดจนปัญหาอุปสรรคใ์ นการประเมินผลการเรียนรู้ของนกั ศึกษา กล่มุ ตัวอย่างท่ี 5 กลุ่มนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ช้ันปี ที่ 1-ช้ันปี ที่ 4 มหาวทิ ยาลัยมหิดล ตวั อยา่ งรายช่ือผทู้ รงคุณวฒุ ิที่ผวู้ จิ ยั จะดาเนินการขอความอนุเคราะห์สมั ภาษณ์เชิงลึก ประชากรกลุ่มที่ 1 ผทู้ ี่มีประสบการณ์ตรงในการเจริญปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน  ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต)  พระอาจารยอ์ นนั ต์ อกิญจโน เจา้ อาวาสวดั มาบจนั ทร์  พระอาจารยก์ ลั ยาโณ เจา้ อาวาสวดั พทุ ธโพธิวนั  นายมนสั พนั ธุวงคร์ าช ประชากรกลุ่มที่ 2 ผทู้ รงคุณวฒุ ิดา้ นจิตวทิ ยาพฒั นาการ หลกั สูตรและการสอน ฯลฯ  ศ. ดร. เกรียงศกั ด์ิ เจริญวงศศ์ กั ด์ิ  รศ. พญ.นิตยา คชภกั ดี  รศ. ดร. ทิศนา แขมมณี  ผศ.นพ.ชาญวทิ ย์ พรนภดล  ผศ.ดร.วรี เทพ ปทุมเจริญวฒั นา  ผศ. ดร. อรรถพล อนนั ตวรสกุล  ดร.วฒั นา อคั คพานิช ประชากรกลุ่มท่ี 3 ผบู้ ริหารการศึกษาระดบั อุดมศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั ต่างๆ  ศ.นพ. วจิ ารณ์ พานิช  ศ.นพ. ศ.นพ.อุดม คชินทร  รศ.นพ. ทวี เลาหพนั ธ์  รศ.ศรีสนิท อินทรมณี  ผศ.เชิญโชค ศรขวญั  ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยธุ ยา NonthasruangKleebpung, Ph.D 19 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั การวจิ ยั ในคร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั เก็บขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) ผวู้ จิ ยั เลือกใชค้ าถามแบบปลายเปิ ดแบบก่ึงโครงสร้างในการเกบ็ ขอ้ มูลสัมภาษณ์ และนาบางประเดน็ คาถามเพื่อใชใ้ นการสนทนากลุ่ม การปรับเปลี่ยน ขยายความ หรือเพ่มิ เติมขอ้ คาถามให้ เหมาะสมกบั กลุ่มตวั อยา่ งแต่ละบุคคล สถานการณ์และส่ิงแวดลอ้ มไดต้ ามความเหมาะสม ผวู้ จิ ยั กาหนด ประเด็นคาถามสาหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก สาหรับการสัมภาษณ์กลุ่มผมู้ ีประสบการณ์ตรงในการเจริญ วปิ ัสสนากรรมฐาน และกลุ่มผทู้ รงคุณวุฒิดา้ นการศึกษา หลกั สูตรการสอน และจิตวิทยาพฒั นาการ ไวโ้ ดย คร่าว เช่น ความสาคญั และแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพทางดา้ นปัญญาในระดบั สูงสุด จิตวทิ ยาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ดว้ ยประสบการณ์ตรง และ แนวทางการส่งเสริมการโยโสมนสิการ เป็นตน้ นอกจากน้ี ผวู้ จิ ยั ไดก้ าหนดประเด็นคาถามสาหรับการ สัมภาษณ์นกั ศึกษาและคณาจารยไ์ วโ้ ดยคร่าว เช่น การตระหนกั ถึงความสาคญั และประสบการณ์การส่ือสาร ภายในตนเอง แนวทางในการพฒั นาปัญญา การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง การประมวลและเทียบเคียงองค์ ความรู้ท่ีไดร้ ับกบั ประสบการณ์ตรงและความสามารถในการใชท้ กั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ เป็นตน้ ผวู้ จิ ยั ไดก้ าหนดโครงสร้างของแนวคาถามสาหรับการสมั ภาษณ์ออกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 ความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกบั ปัญญา และปัญญารู้แจง้ ส่วนท่ี 2 ความรู้และความคิดเห็นเก่ียวกบั การจดั ทา หลกั สูตร การจดั การเรียนรู้เพื่อพฒั นาปัญญารู้แจง้ และการประเมินผล ประเด็นสาคญั ในการสัมภาษณ์เชิงลึกผทู้ รงคุณวุฒิ  บทบาทสถาบนั อุดมศึกษา และบทบาคณาจารยใ์ นการพฒั นาปัญญารู้แจง้ แก่ผเู้ รียน  แนวทางการพฒั นาและการจดั กระบวนการเรียนการสอนเพือ่ ส่งเสริมปัญญารู้แจง้ ตามหลกั พฒั นาการมนุษย์  แนวทางการพฒั นาหลกั สูตรและการประเมินการพฒั นาปัญญารู้แจง้ NonthasruangKleebpung, Ph.D 20 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ตวั อยา่ งคาถามสาหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมมนากลุ่ม ส่วนท่ี 1 ความรู้และความคิดเห็นเก่ียวกบั ปัญญา และปัญญารู้แจง้  ท่านใหน้ ิยามคาวา่ “ปัญญา” อยา่ งไร?  คาวา่ “ปัญญา” และ “ปัญญารู้แจง้ ” มีความหมายเหมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร?  “ปัญญารู้แจง้ ” ตามทศั นะของท่านควรมีองคป์ ระกอบใดบา้ ง?  อะไรคือปัจจยั หลกั ปัจจยั ส่งเสริม และปัจจยั /เหตุท่ีบน่ั ทอน “ปัญญารู้แจง้ ”?  การพฒั นาปัญญารู้แจง้ ในเดก็ และเยาวชนมีความสาคญั มีความจาเป็นหรือไม่? อยา่ งไร?  ทา่ นคิดวา่ สถาบนั ครอบครัวสามารถส่งเสริม “ปัญญารู้แจง้ ” ในเดก็ และเยาวชนหรือไม่? ควรส่งเสริมอยา่ งไร? ดว้ ยวธิ ีการใด? ส่วนที่ 2 ความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกบั การจดั ทาหลกั สูตร การจดั การเรียนรู้เพื่อพฒั นาปัญญารู้แจง้ และการประเมินผล  ปัจจุบนั ทา่ นทางานท่ีไหน? ดารงตาแหน่งหนา้ ที่ใด? มีความรับผดิ ชอบที่เกี่ยวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาในระดบั อุดมศึกษาหรือไม่? อยา่ งไร? ท่านมีประสบการณ์ในการพฒั นาหลกั สูตร และ การจดั การเรียนการสอนใดบา้ ง?  ท่านคิดวา่ สถาบนั อุดมศึกษาควรจดั การศึกษาใหเ้ พอ่ื พฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” ในเยาวชนหรือไม่? ควร ส่งเสริมอยา่ งไร? ดว้ ยวธิ ีการใด?  ผสู้ อนควรมีบทบาท ความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ใด เพื่อส่งเสริม “ปัญญารู้แจง้ ”?  ในทศั นะของท่าน ความรู้ ทกั ษะใดบา้ งท่ีจาเป็นสาหรับการพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ”?  การจดั การเรียนการสอนแบบใดที่จะช่วยพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” ใหก้ บั ผเู้ รียน?  ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) สามารถส่งเสริม “ปัญญารู้แจง้ ” ไดอ้ ยา่ งไร?  วธิ ีคิดแบบโยโสมนสิการ (Critical Reflection ) สามารถส่งเสริม “ปัญญารู้แจง้ ” ไดอ้ ยา่ งไร?  ในทศั นะของทา่ น รูปแบบการเรียนรู้ดว้ ยประสบการณ์จริง (Experienced-Based Learning) สามารถส่งเสริมกระบวนการพฒั นาปัญญารู้แจง้ ไดห้ รือไม่? อยา่ งไร?  ทา่ นคิดวา่ เทคนิคการสอนแบบใดท่ีจะช่วยส่งเสริม “ปัญญารู้แจง้ ” ใหก้ บั ผเู้ รียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี?  กรุณายกตวั อยา่ งกิจกรรม ที่ทา่ นคิดวา่ อาจจะช่วยพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” ใหก้ บั ผเู้ รียนได้ NonthasruangKleebpung, Ph.D 21 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education  จากที่กล่าวมาท้งั หมด หลกั สูตรที่สามารถพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” ควรมีลกั ษณะอยา่ งไร?  แนวทางในการพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” สาหรับแต่ละช่วงวยั ควรมีความเหมือนหรือตา่ งกนั อยา่ งไร?  ควรมีแนวทางในการพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” สาหรับเด็กและเยาวชนอยา่ งไร?  ในการพฒั นา “ปัญญารู้แจง้ ” จาเป็นตอ้ งทาเป็ นลาดบั ข้นั หรือไม่? อยา่ งไร? ควรมีข้นั ตอนใดบา้ ง?  ผทู้ ่ีมีปัญญารู้แจง้ ควรมีลกั ษณะหรือพฤติกรรมอยา่ งไร?  การประเมินผล “ปัญญารู้แจง้ ” ควรมีแนวทางอยา่ งไร? มีประเด็นใดบา้ งท่ีผสู้ อนควรพจิ ารณา?  ปัญญาสามารถสร้างจากภายในไดห้ รือไมอ่ ยา่ งไร?  เด็กและเยาวชนสามารถพฒั นา/เสริมสร้าง “ปัญญารู้แจง้ ” ใหก้ บั ตนเองไดอ้ ยา่ งไร?  หากเดก็ และเยาวชนมี “ปัญญารู้แจง้ ” จะดีกบั สงั คมหรือประเทศอยา่ งไร? การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ จิ ยั จะดาเนินการติดต่อประสานงานไปยงั กลุ่มเป้ าหมายทุกกลุ่ม จดั ทาจดหมายราชการเพ่ือขอ ความอนุเคราะห์เกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการจดั สนทนากลุ่ม เม่ือไดร้ ับการตอบรับ ผวู้ จิ ยั จะ ติดต่อประสานงานอีกคร้ังเพ่ือกาหนดวนั และเวลาที่เหมาะสมเพือ่ แนะนาตวั ช้ีแจงวตั ถุประสงคข์ อง โครงการวจิ ยั และสอบถามความสมคั รใจในการใหข้ อ้ มูล หากกลุ่มตวั อยา่ งยนิ ดีใหข้ อ้ มลู ผวู้ จิ ยั จะ ดาเนินการช้ีแจงรายละเอียดและข้นั ตอนการวจิ ยั ตามระบุไวใ้ นเอกสารช้ีแจงผเู้ ขา้ ร่วมการวจิ ยั และเปิ ด โอกาสใหก้ ลุ่มตวั อยา่ งไดซ้ กั ถามขอ้ มูลเพม่ิ เติม จากน้นั ผวู้ จิ ยั และกลุ่มตวั อยา่ งลงนามในหนงั สือแสดงเจตนา ยนิ ยอมเขา้ ร่วมการวิจยั และเกบ็ เอกสารดงั กล่าวไวฝ้ ่ ายละหน่ึงฉบบั และดาเนินการเก็บขอ้ มลู เมื่อแลว้ เสร็จ ผวู้ จิ ยั กล่าวขอบคุณกลุ่มตวั อยา่ งท่ีสละเวลาและแสดงความคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ในการวจิ ยั ประโยชน์ที่จะไดร้ ับจากงานวจิ ยั  การศึกษาในคร้ังน้ีจะช่วยตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ดา้ นการพฒั นาปัญญา การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ การพฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอน ตลอดจนการประเมินผลการเรียนรู้สาหรับ นกั ศึกษาระดบั อุดมศึกษา  ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการวจิ ยั ในคร้ังน้ี จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผบู้ ริหารการศึกษา นกั นโยบายและผทู้ ี่ เกี่ยวขอ้ ง เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการกาหนดนโยบายและวางแผนยทุ ธศาสตร์ดา้ นการศึกษา การ พฒั นาศกั ยภาพผสู้ อน การกาหนดคุณภาพและตวั ช้ีวดั เชิงคุณภาพดา้ นการศึกษาในประเทศไทย NonthasruangKleebpung, Ph.D 22 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education ระยะเวลาการดาเนินงาน เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 NonthasruangKleebpung, Ph.D 23 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education แผนการวจิ ยั ดาเนินงานวจิ ยั ระยะเวลาการดาเนินงาน ต้งั แต่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ แผนการดาเนินงาน ปี 2559 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ทบทวนวรรณกรรม พฒั นาเครื่องมือการวิจยั เก็บขอ้ มูล วเิ คราะห์และสรุปผลการวจิ ยั จดั ส่งรายงานฉบบั สมบูรณ์ NonthasruangKleebpung, Ph.D NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol Universit

ศ. 2560 ปี 2560 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ty 24

Wisdom Education การประมาณการคา่ ใชจ้ ่าย ค่าใช้จ่าย รวม (บาท) เงนิ เดอื น 1 ท่าน x 12 เดือน x 7,000 บาท 84,000 คา่ ตอบแทนนกั วจิ ยั ค่าตอบแทน คา่ ตอบแทนผทู้ รงคุณวฒุ ิ ท่ีปรึกษาโครงการวจิ ยั 2 ทา่ น x 5,000 บาท 10,000 19,000 ค่าตอบแทนผทู้ รงคุณวฒุ ิ สมั ภาษณ์เชิงลึก 19 ทา่ น x 1 คร้ัง x 1,000 บาท ค่าใช้สอย 39 ท่าน x 90 นาที x 12 บาท 42,120 ค่าจา้ งเหมาบริการถอดเทปบทสัมภาษณ์ 39 ท่าน x 1 คร้ัง x 45 บาท 3,000 ค่าธรรมเนียมยนื่ จริยธรรมการวจิ ยั 1,755 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่มรับรองกลุ่มตวั อยา่ ง 12 เดือน x 300 5,000 คา่ ใชจ้ ่ายอื่น ค่าสาเนา พมิ พเ์ อกสาร 30,000 คา่ ใชจ้ ่ายอ่ืน เหมาจา่ ยคา่ เดินทางเพ่ือเกบ็ ขอ้ มลู 3,600 คา่ โทรศพั ท์ และอินเตอร์เน็ท ค่าวสั ดุ 29 ทา่ น x 500 10,000 ค่าวสั ดุสานกั งาน 15,000 ค่าวสั ดุคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ 10,000 ค่าวสั ดุหนงั สือ วารสารและสิ่งพมิ พ์ 14,500 ค่าวสั ดุของที่ระลึกสาหรับกลุ่มตวั อยา่ ง สารองจ่าย 3,000 รายจ่ายอื่น สารอง 250,975 รวม (*ถวั เฉลยี่ ทกุ รายการ) NonthasruangKleebpung, Ph.D 25 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education รายละเอียดเงินงวดจาแนกตามหมวดคา่ ใชจ้ า่ ย งวดท่ี 1 งวดที่ 2 งวดท่ี 3 รวม (บาท) (60%) (30%) (10%) รายละเอียด (บาท) (บาท) (บาท) 50,400 25,200 1. งบบุคลากร 17,400 8,700 8,400 84,000 คา่ ตอบแทนนกั วจิ ยั 51,285 25,642.50 2,900 29,000 2. งบดาเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน 31,500 15,750 8,547.50 85,475 ค่าตอบแทนผทู้ รงคุณวฒุ ิ 150,585 75,292.50 5,250 52,500 2.2 คา่ ใชส้ อย 25,097.50 250,975 คา่ จา้ งเหมาบริการถอดเทปบทสมั ภาษณ์ คา่ ธรรมเนียมยนื่ จริยธรรมการวจิ ยั คา่ อาหารวา่ งและเครื่องด่ืมรับรองกลุ่มตวั อยา่ ง คา่ ใชจ้ ่ายอื่น คา่ สาเนา พมิ พเ์ อกสาร คา่ ใชจ้ ่ายอ่ืน เหมาจ่ายค่าเดินทางเพอ่ื เก็บขอ้ มูล คา่ โทรศพั ท์ และอินเตอร์เน็ท 2.3 คา่ วสั ดุ คา่ วสั ดุสานกั งาน คา่ วสั ดุคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ค่าวสั ดุหนงั สือ วารสารและสิ่งพิมพ์ คา่ วสั ดุของที่ระลึกสาหรับกลุ่มตวั อยา่ ง รายจ่ายอื่น สารอง รวมท้งั สิ้น NonthasruangKleebpung, Ph.D 26 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education บรรณานุกรม Panya Vasutapitak. (23 ตุลาคม 2556). ปัญญาภาวนาดว้ ยสติปัฏฐาน โดยพระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ ปยตุ ฺโต 1/2 [Video file]. คน้ จาก https://www.youtube.com/watch?v=VetEEKds32Y Paul B. Baltes and Ursula M. Staudinger. 2000. Wisdom: A Metaheuristic (Pragmatic) to Orchestrate Mind and Virtue Toward Excellence. American Psychologist. Retrieved from http://mina.education.ucsb.edu/janeconoley/ed197/documents/balteswisdom.pdf Prawit Supjit. (6 ตุลาคม 2556). ฝึกคน เริ่มตน้ ท่ีไหน -- พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) 2 [Video file] . คน้ จาก https://youtube.com/watch?v=DTZ7yOhvB20 Wisdom Research at the University of Chicago. (2015, june 5). Wisdom Research Forum: \"Improving Wisdom\" by Ursula Staudinger, PhD [Video file]. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=EtNvyD3eaGk เตือนใจ คดดี. (2554). การพฒั นาความสามารถในการอา่ นอยา่ งมีวจิ ารญาณ ดว้ ยวธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบ อุปนยั ของจอห์น สจว๊ ต มิลล์ สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 (ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต) มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร เธอผไู้ ม่แพ้ ตลอดกาล. (2 ธนั วาคม 2557). ปัญญาภาวนาดว้ ยสติปัฏฐาน โดยพระพรหมคุณาภรณ์ ป อ ปยตุ ฺ โต 2 2 [Video file]. คน้ จาก https://youtube.com/watch?v=n1uiq12n--M เยาวพา สาครเจริญ. (2555). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ และ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง ทศนิยมและเศษส่วน ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ระหว่างการจัดการ เรียนรู้แบบอุปนัยกับการจัดการเรียนรู้แบบนิรนยั (การศึกษามหาบณั ฑิต). คน้ จาก Academic Resource Center, Mahasarakham University. ถนอมศกั ด์ิ เหล่ากุล. (2555). การให้เหตผุ ล (PowerPoint Slides). คน้ จาก www.mwit.ac.th/~t2010117/PowerPoint/Funda_Math/Resoning.ppt ธีรพงศ์ แก่นอินทร์. (2557). ผลของการบรู ณาการการเรียนการสอนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณกบั การเรียน การสอนปกติ ต่อความสามารถในการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณของนกั ศึกษาปริญญาตรี. ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 25(2), 66-78. พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต). (2532). ความม่งุ หมายของวิชาพืน้ ฐานท่ัวไป. คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/the_objective_of_basic_subjects.pdf NonthasruangKleebpung, Ph.D 27 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2539).การสร้างสรรค์ปัญญาเพื่ออนาคตของมนุษยชาติ . คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/creating_wisdom_for_the_future_of_ma nkind.pdf พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2541). การศึกษา: เครื่องมือพฒั นาที่ยงั ตอ้ งพฒั นา (2nd ed.). คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/education_a_development_mechanism_in_ne ed_of_development.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต). (2557). พทุ ธธรรม (ฉบบั ปรับขยาย). คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhadhamma_extended_edition.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (1997). การศึกษาเพื่อสร้างบณั ฑิต หรือการศึกษาเพ่อื เพม่ิ ผลผลิต. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร (ปาฐกถาพิเศษ ในการสัมมนาทางวชิ าการ เรื่อง ‘วชิ าศึกษาทวั่ ไปของ หลกั สูตรการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี’ ณ ทบวงมหาวทิ ยาลยั 14 กนั ยายน 2538). คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/education_in_pursuit_of_wisdom_or_wealth. pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2002). พฒั นาปัญญา: เล่าเร่ืองให้โยมฟัง ชุดที่ ๒.คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/wisdom_development_(dhamma_story_colle ction_2).pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2013). โยนิโสมนสิการ-วิธีคิดตามหลกั พทุ ธธรรม . คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/yonisomanasikara_thinking_in_ways_of_bud dhadhamma.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2550). การศึกษาทั่วไปเพื่อสร้างบณั ฑิต . คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/general_education_for_building_scholars.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2551). การเสริมสร้างคุณลักษณะเดก็ ไทย . คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/culturing_good_personality_in_thai_children. pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2551). จะพัฒนาคนกันได้อย่างไร? . คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/how_to_develop_people.pdf NonthasruangKleebpung, Ph.D 28 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2551). พทุ ธธรรมกับการฝึ กหัดครู. คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddhadhamma_and_teaching_training.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2551). รู้ไว้เสริมปัญญาและพฒั นาคน (3rd ed.). คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/for_community_of_education.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2556). ขอ้ คิดเพ่อื การศึกษา . คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/a_thought_for_education.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2556). ชีวิตที่ดีงาม: หลักการท่ัวไปของการปฏิบัติธรรม. คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/a_fruitful_and_harmonious_life_the_basic_pr inciples_of_dhamma_practising.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2556). พุทธวิธีในการสอน (18th ed.). คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/buddha_s_teaching_method.pdf พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม. คน้ จาก http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/dictionary_of_buddhism_pra-muan- dhaama.pdf พชั รา สินลอยมา. (2553). ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกบั การวิจัย. คน้ จาก http://ajarnpat.com/data_Silpakorn_University/Methodology2553_02.doc วจิ ารณ์ พานิช. (2553). KM (แนวปฏิบตั ิ) วนั ละคา : ๕๔๓. ความหมายของคาวา่ “รู้” คน้ จาก gotoknow เวบ็ ไซด:์ https://www.gotoknow.org/posts/347897 วจิ ารณ์ พานิช. (2553). เปลี่ยนกระบวนทัศน์ของอุดมศึกษาไทย. เชียงใหม่: สถาบนั นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ วจิ ารณ์ พานิช. (2556). การเรียนรู้เกิดขึน้ อย่างไร. กรุงเทพฯ:สยามกมั มาจล. วจิ ารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้ สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ:สยามกมั มาจล. วจิ ารณ์ พานิช. (2556). สอนเดก็ ให้เป็นคนดี. กรุงเทพฯ:สยามกมั มาจล. สมศีล ฌานวงั ศะ ราชบณั ฑิต. (2551). ปณิธานใหม่ของมหาวทิ ยาลยั มหิดล: \"ปัญญาของแผน่ ดิน\" คน้ จาก มหาวทิ ยาลยั มหิดล เวบ็ ไซด์: http://www.mahidol.ac.th/th/wisdom_of_the_Land.htm NonthasruangKleebpung, Ph.D 29 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University

Wisdom Education สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน. ระบบคลงั ขอ้ มลู วชิ าการ. (ม.ป.ป.). หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544. คน้ จาก สานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน http://academic.obec.go.th/resources/node/1/7/multimedia_sec_detail/313 สานกั งานนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). รายงานผลการประชุมหารืออยา่ งไมเ่ ป็นทางการ นโยบายการศึกษา: การปฏิรูปอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ:สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สุนีย์ เหมะประสิทธ์ิ. (2557). การยกระดบั คุณภาพการจดั การเรียนรู้ภายใตก้ รอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ ระดบั อุดมศึกษาสาหรับนิสิตครูโดยการเรียนรู้แบบคน้ พบ. ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพฒั นา (สาขามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(11), 199-211 สุพิน บุญชูวงศ.์ (ม.ป.ป.). เทคนิคการสอน. คน้ จาก http://fe.rmutl.ac.th/2012/wpcontent/uploads/technic_teach.pdf สุภาพ ออ่ นนอ้ ม. (2545). เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากส่ือประสมวิชาจริยศึกษา เรื่อง ความมี ระเบียบวินัยของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 5 โดยการสอนแบบอุปนยั กับแบบนิรนยั (การศึกษามหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม NonthasruangKleebpung, Ph.D 30 NICFD: National Institution for Child and Family Development, Mahidol University