Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฎ

ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฎ

Published by ao.point03, 2021-05-27 17:16:33

Description: ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฎ

Keywords: หลักสูตรพัฒนาอาจารย์

Search

Read the Text Version

รายงานผลการศึกษาฉบบั สมบรู ณ์ โครงการวจิ ยั ในโครงการพฒั นาองคค์ วามรูแ้ ละขับเคลอ่ื นการสง่ เสริมทกั ษะสมองเพอ่ื สุขภาวะเดก็ และเยาวชนในประเทศไทย ระยะที่ 2 โดยสถาบนั RLG (Rakluke Learning Group) ภายใตก้ ารสนับสนนุ ของสานักสนับสนุนสุขภาวะเดก็ เยาวชน และครอบครวั (สานกั 4) สสส. ----------------------------------------------------------------------------------- ชือ่ โครงการวจิ ยั (ภาษาไทย) “ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความ เขา้ ใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองและทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัย ศึกษาในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ” (ภาษาองั กฤษ) “The impacts of the profrssional development curriculum in early childhood education in Rajphat university on the university lecturers’ knowledge and understanding, self-efficacy, and skills for teaching brain and learning subject” 1. ผ้รู บั ผิดชอบ ประกอบดว้ ย 1.1 หวั หน้าโครงการ ชอ่ื ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร ตาแหน่ง อาจารย์ หนว่ ยงาน สถาบันแหง่ ชาติเพอ่ื การพฒั นาเดก็ และครอบครวั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล หมายเลขบัตรประจาตวั ประชาชน 3 1006 02686 24 9 สถานทตี่ ดิ ตอ่ สถาบนั แห่งชาติเพ่ือการพฒั นาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถ.พุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ. นครปฐม 73170 โทรศัพท์ 086-454-2426 โทรสาร 02-4410167 E-mail [email protected] 1.2 ผรู้ ว่ มงานวจิ ยั ชือ่ นางสาวนนั ทนชั สงศริ ิ ตาแหน่ง ผูช้ ่วยวิจัย หน่วยงาน สถาบนั แหง่ ชาติเพ่ือการพฒั นาเด็กและครอบครัว หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชน 1 1008 00303 98 6 สถานท่ีติดต่อ สถาบันแหง่ ชาติเพื่อการพัฒนาเดก็ และครอบครัว

2 999 ถ.พุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ. นครปฐม 73170 โทรศพั ท์ 024410602 # 1411 โทรสาร 02-4410167 E-mail [email protected] 1.3 ผู้รว่ มงานวจิ ัย ชอ่ื นางสาวสาลินี จนั ทร์เจริญ ตาแหน่ง เจา้ หน้าท่วี จิ ยั หนว่ ยงาน สถาบนั แหง่ ชาตเิ พอื่ การพฒั นาเด็กและครอบครวั มหาวิทยาลัยมหิดล หมายเลขบัตรประจาตวั ประชาชน 3 7704 00221 69 0 สถานท่ตี ิดต่อ สถาบนั แหง่ ชาตเิ พ่ือการพัฒนาเดก็ และครอบครัว 999 ถ.พทุ ธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ. นครปฐม 73170 โทรศัพท์ 0-2441-0602 # 1426 โทรสาร 02-4410167 E-mail [email protected] 1.4 ท่ีปรึกษาโครงการวิจัย 1. อาจารย์ธดิ า พิทักษ์สินสขุ อนุกรรมการเด็กเล็กในกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรปู การศกึ ษา 2. ดร. ปยิ วลี ธนเศรษฐกร 101 Educare Center 1.5 หน่วยงานหลัก ช่อื หน่วยงาน สถาบันแหง่ ชาตเิ พื่อการพฒั นาเด็กและครอบครวั มหาวทิ ยาลัย ม. มหิดล กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม สถานท่ีตัง้ 999 ถ.พุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑ จ.นครปฐม 73170 หมายเลขโทรศพั ท์ 02-4410602-8 ตอ่ 1517 โทรสาร 02-4410167 2. ประเภทการวจิ ยั  การวิจยั พน้ื ฐาน (Basic research)  การวิจยั ประยกุ ต์ (Applied research)  การพฒั นาทดลอง (Experimental development)  วิจัยและพัฒนา (Research and Development) 3. สาขาวชิ าการและกลุม่ วชิ าทท่ี าการวจิ ัย สาขาการศึกษา กลุม่ วชิ าการศกึ ษาปฐมวัย

3 4. คาสาคัญ (Keyword) ของการวจิ ัย ภาษาไทย : สมองและการเรยี นรู้, หลักสูตรพัฒนาอาจารย์,การศกึ ษาปฐมวยั ภาษาอังกฤษ : Brain and learning, professional development curriculum, early childhood education 5. ความสาคญั และท่ีมาของปญั หา โลกในศตวรรษท่ี 21 เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างรวดเร็วและคาดการณ์ ได้ยาก ไม่ว่าจะเป็นการเกิดอาชีพใหม่ หรือการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างมนุษย์และ AI ส่งผลให้ สภาพแวดล้อม และความเปน็ อยู่ของมนุษยม์ คี วามสลบั ซับซอ้ นมากข้ึน พลเมืองโลกถูกคาดหวังให้มีทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 เพอื่ การดารงอยรู่ ่วมกนั อยา่ งพัฒนาและสันติ ซ่ึงได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R ซ่ึงมีองค์ประกอบคือ การอ่าน (Reading), การเขียน (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4C ซึ่งมี องค์ประกอบคือ การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking), การสื่อสาร (Communication), การร่วมมือ (Collaboration) และความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะด้านสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี และการบรหิ ารจัดการ แต่อย่างไรก็ตาม จากการติดตามเฝ้าระวัง ลงภาคสนามการวิจัย และประมวลข่าวเหตุการณ์สาคัญที่ เก่ียวข้องกับเด็กและเยาวชน โดยนายสมพงษ์ จิตระดับ ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและนวัตกรรมด้านเด็กและ เยาวชน คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย พบวา่ เด็กไทยส่วนใหญย่ งั มปี ญั หาเร่ืองการขาดสมาธิในการ เรียน ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการงานและการดารงชีวิต ความสามารถในการควบคุม และ จัดการกับความเครียดของตนเอง และท่ีสาคัญคือ การขาดความสามารถในการคิดไปข้างหน้า และวางแผน อนาคตของตวั เอง ดังนัน้ การปฏริ ูปการศึกษา และเรง่ พัฒนาครูให้สามารถเตรียมความพร้อมของเด็ก ให้พร้อม เขา้ สูก่ ารดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 จึงมคี วามสาคัญเป็นอยา่ งมาก หลักฐานจากงานวจิ ัยมากมายทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ พบวา่ พฒั นาการและการทางานของ Executive Functions (EF) หรือ การคิดเชงิ บริหาร เป็นกระบวนการทางานของสมองที่เกี่ยวข้องกับทักษะท่ี สาคัญต่อความสาเร็จในชีวิตในศตวรรษที่ 21 จาการทบทวนวรรณกรรมพบว่า ทักษะในศตวรรษท่ี 21 และ ทักษะในการควบคุมจัดการตนเอง ให้สามารถพัฒนาทักษะเรียนรู้ และการดารงชีวิต สอดคล้องกับทักษะการ คิดเพื่อชีวิตท่ีสาเร็จ หรือ Executive Functions (EF) รศ.ดร.นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล ผู้เชี่ยวชาญด้าน ประสาทวิทยา ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล เผยว่า ทักษะ EF คอื กระบวนการทางความคดิ ในสว่ น “สมองส่วนหน้า” ท่ีเกี่ยวข้องกับความคิด ความรู้สึก และการ กระทา เป็นความสามารถของสมองท่ีใช้บริหารจัดการชีวิตในเรื่องต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้สามารถตั้งเป้าหมายใน ชวี ิต รูจ้ กั การวางแผน มคี วามมุ่งม่ัน จดจาสิ่งต่างๆ เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์ได้ สามารถย้ังคิด ไตร่ตรอง ควบคุม อารมณ์ได้ ยืดหยุ่นความคิดเป็น สามารถจัดลาดับความสาคัญในชีวิต รวมทั้งรู้จักริเร่ิมและลงมือทาส่ิงต่างๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ซ่ึงทักษะเหล่านี้เป็นส่ิงที่ทุกคนต้องใช้และมีผลต่อความสาเร็จในชีวิต ท้ังการงาน การ เรียน และการใชช้ วี ิต

4 เนื่องจากทักษะสมอง EF ไม่ได้ติดตัวมาแต่กาเนิด แต่เป็นทักษะที่ต้องสอน และฝึกฝนให้พัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งช่วงวัยท่ีดีท่ีสุดในการพัฒนาทักษะ EF ด้านต่างๆ ให้กับเด็กคือ ช่วงปฐมวัย เพราะเป็นช่วงเวลาที่ สมองส่วนหน้าพฒั นามากที่สุด รวมถงึ ตามพฒั นาการมนษุ ย์ EF เปน็ กระบวนการทางานของสมองส่วนหน้า ซึ่ง เป็นส่วนท่ีมีการเจริญเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไปจนเต็มที่เม่ืออายุประมาณ 25 ปี พัฒนาการท่ีเป็นพื้นฐาน สาคัญของ EF คอื พัฒนาการด้านการรบั รตู้ วั ตน พฒั นาการ 4 ด้าน และ EF ดงั นั้นการจัดการเรียนรู้ นอกจาก จะส่งเสริมความรู้แล้ว ยังจาเป็นต้องส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 6 ด้านอย่างเป็นองค์รวมด้วย การส่งเสริม พัฒนาการทกั ษะสมอง EF ในช่วงวยั เตรยี มอนุบาล และอนบุ าลจงึ มคี วามจาเป็นต้องได้รับการสนุน โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ครูปฐมวัยจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการสมอง EF ในเด็กปฐมวัย รวมถึงมีทักษะใน การจดั กระบวนการเรยี นการสอน และสภาพแวดล้อมท่เี อือ้ ต่อการส่งเสริมทกั ษะ EF ให้แก่เดก็ ปฐมวยั ดังน้ันการบูรณาการสมองและการเรียนรู้ในการศึกษาปฐมวัยจึงมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิง ครูผู้สอน หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย จาเปน็ ต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ และสามารถจัดการเรียน การสอนตามหลักการบูรณาการสมองและการเรียนรู้ เพ่ือถ่ายทอดให้นักศึกษาครูปฐมวัยได้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทั้งในระดับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติ มีกระบวนทัศน์ที่ตระหนักถึงความสาคัญของ บทบาทครูปฐมวัย ต่อการส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF ในเด็กปฐมวัย สามารถวางแผนการจัด ประสบการณ์ท่ีมีประสิทธิภาพ มีเป้าหมายชัดเจน มีการออกแบบกิจกรรม วิธีการเลือกสื่อ กระบวนการสอน และการประเมนิ จัดสิ่งแวดล้อม และ บรรยากาศการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับเป้าหมาย เอื้อต่อการสร้าง เสริมประสบการณ์การใช้ทักษะสมอง EF ในการเรียนรู้ และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ส่ิงแวดล้อมและการ ดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งข้ึนมาเพื่อผลิตครูที่มีคุณภาพ ในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แก่วิทยาลัยครูท่ัวประเทศ ชาวสถาบันราชภัฏร่วมใจกันถวายตน เป็น “คนของพระราชา” มุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่สนองพระมหากรุณาธิคุณอย่างเต็มความสามารถ ปัจจุบัน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จดั ตั้งข้ึนท้ังหมด 38 แห่ง มีหลักสูตรหลายสาขาวิชา เพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษาใน ระดับภูมิภาคและเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น นอกจากการศึกษาทั้งวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง การทาวิจัย บริการ ทางวิชาการแก่สังคม และการทะนุบารุงศิลปวัฒนธรรมแล้ว หนึ่งในภารกิจหลักท่ีสาคัญของมหาวิทยาลัย ราชภัฏที่มชี ื่อเสียงมาชา้ นานกว่า 120 ปี คอื การผลิต “ครูของประเทศชาติ” ให้มีความเป็นครูพร้อมประกอบ วชิ าชพี ดว้ ยคณุ ธรรม แม้ว่าตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยราชภัฏในแต่ละภูมิภาค จะมีวาระการปรับปรุงหลักสูตร ศึกษาศาสตรบัณฑิต ในแต่ละสาขาวิชาของแต่ละแห่งอยู่แล้ว เพื่อให้หลักสูตรของตนเองมีความทันสมัย ตอบสนองกับความต้องการของผู้เรียน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดรับกับ แผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทย แต่ในปีพ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ได้มีการ ปรับหลักสูตรครูการศึกษาปฐมวัย (4 ปี) ร่วมกัน และบรรจุเนื้อหาเรื่องสมองและการเรียนรู้ในการศึกษา ปฐมวยั สาหรบั สอนนกั ศกึ ษาในหลักสตู รน้ี

5 นบั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2557 เปน็ ตน้ มา สถาบัน RLG (รักลูกเลิร์นน่ิงกรุ๊ป) ร่วมกับภาคีเครือข่าย Thailand EF Partnership ได้ดาเนินโครงการพัฒนาองค์ความรู้และขับเคล่ือนการส่งเสริมทักษะสมองเพ่ือสุขภาวะเด็ก และเยาวชนไทยมาอย่างต่อเนื่อง มีความม่ันคงแข็งแรงในการดาเนินงาน สามารถทาให้องค์ความรู้ EF เป็น ความรฐู้ านรากของการพฒั นาเด็กปฐมวัยอย่างเปน็ องคร์ วมไดใ้ นระดับหน่งึ นอกจากนั้นสถาบันอาร์แอลจี และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยังได้ทาการตกลงในการทาโครงการความ ร่วมเพ่ือพัฒนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมทักษะสมองส่วนหน้า (ExecutiveFunctions - EF) และพัฒนา อาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ สสส. ในการจัดทา คมู่ อื และพฒั นาหลักสตู รสาหรบั อาจารย์ สาขาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏท้งั 38 แห่ง ด้วยเหตุน้ี สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบัน RLG (รกั ลูกเลริ ์นน่งิ กรปุ๊ ) จงึ ไดร้ ว่ มมอื กนั จดั ทาโครงการวจิ ยั “ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาใน มหาวิทยาลัยราชภฏั ต่อความรู้ ความเขา้ ใจ การรับรคู้ วามสามารถของตนเองและทักษะการสอนวิชาสมองและ การเรียนรู้ของอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ” เพ่ือทาการศึกษา และนาผลจากการวิจัย ครง้ั น้ีไปผลกั ดนั ใหเ้ กิดการพัฒนาหลักสูตรด้านการส่งเสริมทกั ษะสมองสว่ นหน้า ให้องค์ความรู้น้ีปักฝังหมุดเป็น ความรู้ฐานรากดา้ นการพัฒนาเด็กอยา่ งเป็นองค์รวมต่อไป 6. วัตถุประสงค์ของการวิจยั 6.1 เพ่ือศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจเรือ่ งสมองและการเรยี นรขู้ องอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 6.2 เพ่อื ศกึ ษาผลของหลักสตู รพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อทักษะการ จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (วัดโดย แผนการเรยี นการสอนของอาจารย์ และแบบประเมินการจัดกระบวนการเรียนร้โู ดยนักศกึ ษา) 6.3 เพ่ือศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อการรับรู้ ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์ในหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย 6.4 เพ่ือศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนร้ขู องนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 6.5 เพ่ือศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อการรับรู้ ความสามารถของตนเองเร่ืองการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ในเด็ก ปฐมวัย ของนกั ศกึ ษาในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั

6 7. ขอบเขตของการวจิ ัย 7.1 ศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความ เข้าใจ, การรับรู้ความสามารถของตนเอง, และทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของ อาจารยส์ าขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ 7.2 ศึกษาผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความ เข้าใจ, การรับรู้ความสามารถของตนเองของนกั ศึกษาสาขาการศกึ ษาปฐมวยั 8. คาถามการวิจยั 8.1 หลงั จากเข้าอบรมในหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวยั ศึกษา อาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมี คะแนนความรู้ ความเข้าใจเรือ่ งสมองและการเรียนร้เู พม่ิ ขึน้ หรือไม่ 8.2 หลงั จากเขา้ อบรมในหลกั สตู รพฒั นาอาจารยส์ าขาปฐมวัยศึกษา อาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมี คะแนนทกั ษะการจัดกระบวนการเรียนรู้เพอ่ื การเปล่ียนแปลงเพิ่มมากขน้ึ หรือไม่ 8.3 หลังจากเขา้ อบรมในหลกั สตู รพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษา อาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมี คะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ เพ่ิมมากข้ึน หรอื ไม่ 8.4 หลังจากเรียนวิชาสมองและการเรียนรู้นักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีคะแนนความรู้ ความเขา้ ใจเร่อื งสมองและการเรียนรู้เพ่ิมมากขึ้นหรือไม่ 8.5 หลังจากเรียนวิชาสมองและการเรียนรู้นักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมีคะแนนรับรู้ ความสามารถของตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ในเด็ก ปฐมวัยเพิม่ มากขนึ้ หรือไม่ 9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (Information) ที่เกี่ยวข้อง การควบคมุ ตนเองและการทางานของสมอง ในชีวติ ประจาวนั นัน้ กระบวนการคดิ ข้ันสูง หรือ executive functions มีบทบาทกับมนุษย์เรามากใน การวางแผน และแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ในแต่ละวัน เพ่ือการดารงชีวิตอยู่รอด นอกจากน้ี เพื่อให้มนุษย์อยู่ในสังคม ไดอ้ ยา่ งปกติสุข มนษุ ยย์ ังจาเปน็ ต้องมคี วามสามารถในการควบคุมอารมณ์ และพฤติกรรมตามท่ีสังคมคาดหวัง ดว้ ยเชน่ กนั (Ardila, 2008) จากการศึกษาเกี่ยวกับกรทางานของกระบวนการคิดขั้นสูง สัมพันธ์กับการทางาน ของสมองสว่ น dorsolateral prefrontal areas บรเิ วณสมองส่วนหน้า (Prefrontal Area) ซ่ึงสมองส่วนนี้ทา หนา้ ท่ีหลัก คือ การวางแผนควบคุมการเคลื่อนไหว(motor planning), การจัดการ (organization), และการ กากับ (regulation) สาหรับการควบคุมการทางานด้านอารมณ์ แรงจูงใจ และการควบคุมพฤติกรรมให้ เหมาะสม มกี ารศกึ ษาพบวา่ เก่ียวขอ้ งกับการทางานสมองสว่ น Ventromedial prefrontal areas สรุปไดว้ า่ การทาหนา้ ที่ของสมองส่วน Prefrontal Cortex ดา้ นการประสานงานระหว่าง กระบวนการ คิด (cognitive) และ อารมณ์ (emotion) เป็นส่วนสาคัญท่ีช่วยในการควบคุมการทางานของสมองส่วน

7 Limbic System ซ่ึงเป็นบริเวณที่ทาหน้าที่ด้านอารมณ์ โดยท่ีสมองบริเวณ Ventromedial prefrontal areas ทาหนา้ ท่คี วบคุมอารมณแ์ ละความตอ้ งการ เพ่อื หลกี เล่ียงการทาพฤตกิ รรมที่ไม่เหมาะสมตามบริบทของ สังคมในขณะเดียวกัน สมองบริเวณ dorsolateral prefrontal areas ทาหน้าท่ีด้าน Cognitive executive functions ดังน้ันสมองส่วนนี้ จึงทาให้มนุษย์สามารถควบคุมตนเอง และมีพฤติกรรมเหมาะสมถูกต้องตาม คณุ ธรรม จริยธรรม ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการควบคมุ ตนเองและExecutive Function การศึกษาในเด็กอายุ 4 – 5 ขวบ จานวน 53 คนโดยการสังเกตพฤติกรรมให้ห้องที่ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ แบ่งเป็นการวัดด้านการควบคุมยับย้ังการควบคุมอารมณ์และวัดจากแบบสอบถามของผู้ปกครองเร่ืองการ ควบคุมตนเอง และเรื่องการควบคุมอารมณ์ของบุตร ผลการศึกษาพบว่า ถ้าเด็กมีการควบคุมยับยั้งดีก็จะ ควบคุมอารมณ์ได้ดีด้วยจากน้ันผู้วิจัยนาตัวแปรเข้าสมการการทานายพบว่าเด็กท่ีมีการควบคุมยับยั้งในระดับ ปานกลางจะมีการควบคุมอารมณ์ดี ข้อค้นพบท่ีน่าสนใจในเรื่องของ Executive function และการควบคุม อารมณ์ คือ ตัวแปรท้ังสองตัวนี้ทางานร่วมกันส่งผลต่อกันและกัน (bidirectional) (Carlson & Wang, 2007) จากการศึกษาน้ีจะเห็นได้ว่าเด็กท่ีมีการควบคุมยับย้ังตนเองในระดับปานกลางจะมีการควบคุมอารมณ์ได้ดี แสดงให้เห็นว่าการควบคุมยับยั้งที่มากหรือน้อยเกินไปส่งผลให้เด็กเกิดความขัดแย้งในตนเองทาให้ไม่สามารถ จดั การหรือควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีนัก สิ่งท่ีสังเกตได้จากการศึกษาคร้ังนี้คือ Executive function และการ ควบคุมอารมณ์ส่งผลเกี่ยวเนื่องต่อกันและกัน เน่ืองจากการควบคุมอารมณ์เป็นองค์ประกอบหน่ึงใน Executive function ดงั นน้ั จงึ ไมส่ ามารถแยกวัดเพียงด้านใดด้านหนึง่ เพยี งอย่างเดียวได้ ในปี ค.ศ. 2008 มกี ารศึกษาระยะยาวในเด็กอายุ 4.5 – 5.5 ขวบ โดยสังเกตพฤติกรรมเด็กจากการให้ ทา task ตา่ งๆ แบ่งเปน็ ด้านการแสดงออก และควบคมุ อารมณ์ด้านการควบคุมพฤติกรรม/การเคล่ือนไหวด้าน Executive function และด้าน Theory of mind ผลการศึกษาพบว่าเด็กท่ีมี Executive function ดีจะมี การควบคุมพฤติกรรมดีและมีพฤติกรรมก้าวร้าวน้อยด้วย ข้อค้นพบจากงานวิจัย คือ เด็กท่ีมีการควบคุม อารมณ์ท่ีไม่ดีจะมีการแสดงออกใน Executive functiontask และใน task การควบคุมพฤติกรรมไม่ดีด้วย ดังน้ันหากต้องการให้เด็กประสบความสาเร็จในการควบคุมพฤติกรรมเด็กจะต้อง ควบคุมอารมณ์ทางลบให้ได้ (Laudan B. Jahromi, 2008) การควบคมุ ตนเองและพฒั นาการทางสังคมอารมณ์ จากการศึกษาโดยการสังเกตพฤติกรรมเด็กผู้ชายอายุ 8.2 - 10.7 ปี จานวน122 คน จาก task ท่ีให้ เด็กทา ในค่ายฤดูร้อนจากโครงการ the larger Pittsburgh Mother and Child Project จากนั้นเม่ือเด็ก กลุม่ นี้เข้าสู่วัยรุน่ จึงส่งแบบสอบถามเก่ยี วกับพฤติกรรมการต่อตา้ นสังคมใหเ้ ดก็ พ่อแม่และครูตอบแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า การควบคุมตนเองในช่วงปฐมวัยมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการปฏิเสธเพื่อนและยังมี ความสัมพันธ์ทางอ้อมกับพฤติกรรมต่อต้านสังคมในวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นการสนับสนุนให้เด็กมีความสามารถ ด้านการกากับ ควบคุมอารมณ์ตัวเอง (Emotional self-regulation) มีแนวโน้มที่จะลดความเส่ียงการเกิด ปัญหาสังคมในภายหลงั ได้ (Trentacosta & S.Shaw, 2009) นอกจากนี้การศึกษาลักษณะเดียวกันในกลุ่มเด็ก ทก่ี าลังเรียนระดับช้ันประถม 3 ถึงประถม 5 พบว่า Emotional self-regulation สามารถทานายการปรับตัว

8 ของเด็กได้ โดยเด็กที่มีอารมณ์ฉุนเฉียวจะมีทักษะสังคมต่า และมีพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาทั้งท่ีแสดงออกและไม่ แสดงออกให้เห็น ในขณะท่ีเด็กท่ีมีอารมณ์ดี และมีความยับยั้งช่ังใจจะมีทักษะสังคมสูง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี (Lengua, 2003) สาหรับงานวิจัยในเด็กปฐมวัย ผลการศึกษาทั้งระยะส้ันและระยะยาว พบว่า การควบคุมอามณ์ ตนเอง (emotion regulation) ของเด็กเล็กมีความสัมพันธ์กับทักษะทางสังคม และพฤติกรรมของเด็กใน ห้องเรียนในปี ค.ศ. 2003 Denham และคณะ ทาการศึกษาความสัมพันธ์ของการควบคุมอารมณ์ตัวเองกับ ทักษะสังคมในกลุ่มเด็กอายุ 3 - 4 ปี จานวน 143 คนพบว่าระดับความสามารถในการควบคุมตนเองของเด็ก สามารถทานายความสามารถทางสังคมได้ ซึ่งความสามารถทางอารมณ์และความสามารถทางสังคมในวัยน้ียัง สง่ ผลต่อเนือ่ งในระยะยาวสวู่ ัยตอ่ ไปอีกดว้ ย (Denham, Blair,และDeMulder, 2003 ) อีกหนึ่งผลการศึกษาระยะยาวโดยการสังเกตพฤติกรรมเด็ก 3 และ4 ขวบ จานวน 32 คนในห้อง สังเกตุการณ์ เพ่ือวัดด้านการควบคุมสมาธิ (Attentional Control), การยับย้ังช่ังใจ (Delay of Gratification), การยับยั้งการเคลื่อนไหว (Motor Inhibition), การอดทนต่อสิ่งจูงใจ (Resistance to Temptation) และ การใช้แบบสอบถามผ้ปู กครอง และครดู ้านพฤติกรรมของเด็ก รวมทัง้ การสังเกตพฤติกรรม ในห้องเรียนตามปกติโดยจะสังเกตพฤติกรรมด้านการเข้าสังคมการพูดคุยการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ผล การศึกษาพบว่า เด็กท่ีมีความยับยั้งช่ังใจ (Delay of Gratification) ดีจะมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเพ่ือนดีด้วย นอกจากนี้เด็กทีย่ บั ยั้งพฤติกรรมได้ดี จะมีพฤติกรรมทเ่ี ปน็ ปญั หานอ้ ย มที ักษะทางสังคมดี อดทนต่อการทางาน ในห้องเรียนได้นาน (Winsler, De Leon, Carlton, Barry, Jenkins, & Carter, 1997) จะเห็นได้ว่าผลจาก งานวิจยั หลายช้นิ เสนอแนะให้เห็นถึงความสาคัญของการเสริมสร้างความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และ กากับตนเองให้กับเด็กปฐมวัย เน่ืองจากการควบคุมอารมณ์ และกากับตนเองน้ัน ส่งผลต่อความสามารถทาง สังคม และพฤติกรรมที่เหมาะสม ซึ่งเป็นทักษะเริ่มต้นท่ีสาคัญในการเรียนรู้ทักษะอื่นๆ ในวัยต่อไปอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทกั ษะด้านกระบวนการคิด (Cognitive Self-regulation) ในการศึกษาทักษะด้านกระบวนการคิดในเด็กปฐมวัย Esther และคณะ (2008) ศึกษาความสัมพันธ์ ระหวา่ งความสามารถด้านการควบคุมเข้าใจอารมณ์ และด้านกระบวนการรู้คิด ในกลุ่มเด็กอายุเฉล่ีย 3.5 ขวบ จานวน 141 คนโดยเก็บคะแนนจาก task ท่ีเด็กทา และจากแบบสอบถามพฤติกรรมเด็กที่สังเกตโดย ผูป้ กครอง ผลการศึกษาพบวา่ เดก็ ทม่ี ีความเขา้ ใจอารมณแ์ ละการรู้คิดดี มีความสัมพันธ์กับการมีความสามารถ ควบคมุ อารมณแ์ ละการรู้คิดดีด้วย นอกจากน้ีเด็กท่ีมีความเข้าใจอารมณ์ดี ยังมีแนวโน้มที่จะควบคุมอารมณ์ได้ ดี ไมม่ ีปัญหาดา้ นสังคมอารมณ์ และยังมีผลการเรียนดีอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาไม่พบความสัมพันธ์ ระหว่าง ความเข้าใจการรู้คิดและการประสบความสาเร็จในการเรียน ผู้วิจัยได้อธิบายไว้ว่า เน่ืองจากช่วงอายุ ของกลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยศึกษา เป็นช่วงที่ทักษะด้านการรู้คิดเพิ่งจะพัฒนา ผลความสัมพันธ์จึงยังไม่ชัดเจน ซึ่ง งานวิจัยในอนาคต ควรทาการศึกษาด้านการรู้คิดในเด็กที่ช่วงอายุโตกว่านี้ (Esther M. Leerkes; Laudan B. Jahromi, 2008) อย่างไรก็ตาม การศึกษาระยะยาวในกลุ่มเด็กปฐมวัยจนถึงชั้นอนุบาล เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่าง ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ พฤติกรรม และผลการเรียนจากแบบสอบถามที่ตอบโดยผู้ปกครอง และ

9 ครู กับคะแนนผลการเรียน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าเด็กท่ีมีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ และ พฤติกรรมในช่วงปฐมวัยดี จะมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในชั้นอนุบาลท่ีดีด้วย นอกจากนี้เ ด็กท่ีมี ความสามารถในการควบคุมพฤตกิ รรมนอ้ ยเมื่ออยทู่ ี่บ้าน มีแนวโน้มที่จะไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ เมื่ออยู่ทโ่ี รงเรียนเช่นกัน (Howse, Calkins, & Anastopoulos, 2003) จากการศึกษาข้างต้นจะเห็นได้ว่าทักษะทางอารมณ์สังคม (Social - Emotional self-regulation) และทักษะการรู้คิด (cognitive self-regulation) เป็นทักษะเบ้ืองต้นท่ีสาคัญของการควบคุมตนเองโดย จาเป็นต้องเร่ิมพัฒนาต้ังแต่วัยเยาว์ เพราะการควบคุมตนเองเป็นทักษะท่ีไม่สามารถเกิดข้ึนได้เองตามวัย แต่ ต้องได้รับการปลูกฝังและสั่งสอนเพื่อให้เด็กสามารถควบคุมความรู้สึ กและความคิดของตนได้ในวัยต่อมา นอกจากนี้ทกั ษะดงั กลา่ วยงั ช่วยสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กมคี วามสามารถทางการเรียนที่ดขี ึน้ อีกด้วย 10. เอกสารอ้างอิงของการวิจัย 1. Garon N, Bryson SE, Smith IM. Executive function in preschoolers: A review using an integrative framework. Psychological Bulletin. 2008; 134(1): 31-60. 2. Isquith PK, Gioia GA, Espy KA. Executive Function in Preschool Children: Examination Through Everyday Behavior Developmental Neuropsychology. Developmental Neuropsychology. 2004; 26(1): 403-422. 3. Howes, P. C., & E., P.-F. The consistency of perceived teacher-child relationships between preschool and kindergarten. Journal of Psychology. 2000; 38(2): 113-132. 4. Thanasetkorn P. The impact of The 101s: A Guide to Positive Discipline parent training: A case study of kindergarteners and their parents in Bangkok, Thailand. Old Dominion University, Norfolk, VA. 2009 5. Ardila, A. On the evolutionary origins of executive functions. Brain and Cognition 2008; 68 :92–99. 6. Carlson, S. M., & Wang, T. S. Inhibitory control and emotion regulation in preschool children. Cognitive Development. 2007; 22: 489–510. 7. Laudan B. Jahromi. Individual differences in preschoolers' self-regulation and theory of mind. Merrill-Palmer Quarterly.2008; 54(1): 125-150. 8. Trentacosta, C. J., & S.Shaw, D. Emotional self-regulation, peer rejection, and antisocial behavior: Developmental associations from early childhood to early adolescence. Journal of Applied Developmental Psychology 2009; 30 : 356-365. 9. Lengua, L. J. (2003). Associations among emotionality, self-regulation, adjustment problems, and positive adjustment. Applied Developmental Psychology. 2003; 24: 595–618.

10 10. Denham, S. A., Blair, K. A., & DeMulder, E. Preschool Emotional Competence: Pathway to Social Competence? Child Development. 2003; 74(1):, 238-256. 11. Winsler, A., De Leon, J. R., Carlton, M., Barry, M. J., Jenkins, T., & Carter, K. L. (1997). Component of Self-Regulation in the Preschool Years: Developmental Stability, Validity, and Relationship to Classroom Behavior. the Biennial Meeting of the Socirty for Research in Child Development, (pp. 1-20). Washington, DC. 12. Esther M. Leerkes., Matthew Paradise., Marion O'Brien., Susan D.Calkins., Garrett Lange. Merrill-Palmer Quarterly, 2008; 54(1): 102-124 13. Howse, R. B., Calkins, S. D., & Anastopoulos, A. D. Regulatory contributors to children's kindergarten achievement. Early Education and Development. 2003; 14(1) : 101s-119. 14. Bodrova, E., & Leong, D. J. Developing Self-Regulation in kindergarten. Can we keep all the Crickets in the basket? Beyond the Journal-Young Children on th Web(March) 2008; 1-3. 15. Fantuzzo, J., Bulotsky-Shearer, R., McDermott, P. A., McWayne, C., Frye, D., & Perlman, S. Investigation of Dimensions of Social-Emotional Classroom Behavior and School Readiness for Low-Income Urban Preschool Children. School Psychology Review 2007; 36(1):, 44-62. 16. Feldman, R., & Klein, P. S. Toddlers' Self-Regulated Compliance to Mothers, Caregivers, and Fathers: Implications for Theories of Socialization Personal. Developmental Psychology. 2003; .39(4): 680-692. 17. Vittrup, B., & Holden, G. W. Children's assessments of corporal punishment and other disciplinary practices: The role of age, race, SES, and exposure to spanking. Journal of Applied Developmental Psychology 2010; 31 (31): 211-220. 11. ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 11.1 หลักสูตรการอบรมพัฒนาอาจารย์ภาควิชาการศึกษาปฐมวัยเรื่องการจัดการเรียนการสอนสาระ วชิ าสมองและการเรียนรู้ 11.2 หลักสูตรการเรียนการสอนนักศกึ ษาการศกึ ษาปฐมวยั เร่ืองสมองและการเรยี นรู้ 12. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยหี รอื ผลการวจิ ยั สูก่ ล่มุ เปา้ หมายเมื่อสิ้นสุดการวิจัย มดี าเนนิ การจัดประชุมรายงานวจิ ยั ผลการวิจยั 13. วิธกี ารดาเนินการวจิ ัย และสถานทท่ี าการทดลอง/เกบ็ ข้อมูลของการอบรมครแู ละการอบรมผปู้ กครอง 13.1 วธิ กี ารดาเนนิ การวิจัย และสถานที่ทาการทดลอง/เกบ็ ขอ้ มูลในสว่ นการอบรมครู 13.1.1 คณะผู้วิจัยยน่ื เสนอขอจริยธรรมการทาวจิ ัยในคน

11 13.1.2 คณะผู้วิจัยติดต่อสถาบันอาร์แอลจี หัวหน้าโครงการความร่วมเพ่ือพัฒนาหลักสูตรด้านการ ส่งเสรมิ ทักษะสมองส่วนหน้า (ExecutiveFunctions - EF) และพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัย ศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ สสส. เพ่ืออธิบาย เก่ียวกับภาพรวมของโครงการ, วัตถุประสงค์, ชี้แจงข้อมูล, ระบบการรักษาความลับของ ข้อมูล และทาหนังสือขอข้อมูลคะแนนความรู้ ความเข้าใจ การรับรู้ความสามารของตนเอง ก่อนและหลังการอบรม และคะแนนความรู้ความเข้าใจ และการรับรู้ความสามารถของ ตนเอง กอ่ นและหลังเรียนวิชาสมองและการเรียนรู้ เพือ่ นามาวเิ คราะหข์ อ้ มูล 13.1.3 ทาหนังสอื ขอใหค้ รูอาจารย์และนกั ศึกษาท่ีบรรลนุ ิตภิ าวะทส่ี มัครใจเข้าร่วมการวิจัยลงลายมือ ชื่อในหนงั สือยินยอมเขา้ ร่วมการวิจัยโครงการวจิ ัย 13.1.4 คณะวิจัยเก็บข้อมูลทักษะการสอนวิชาสมองและการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการ จากนักศึกษาหลงั จากจบคอรส์ วชิ าสมองและการเรียนรู้ 13.1.5 คณะวิจัยประเมินแผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 13.1.6 วเิ คราะห์ขอ้ มลู 14. ระยะเวลาทาการวิจัยและแผนการดาเนนิ งานตลอดโครงการวจิ ยั กิจกรรม เดอื น พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ย่นื แบบเสนอขอจรยิ ธรรมงานวิจัยในคน แจกเอกสารช้แี จงและยินยอมเข้ารว่ มวจิ ยั เกบ็ ข้อมูล บันทกึ ขอ้ มูลทางสถติ ิ วิเคราะหข์ ้อมลู สรปุ ผลเขียนรายงานการวจิ ยั 15. เป้าหมายของผลผลิต (output) และตัวช้ีวัด ตารางท่ี 1 แสดงผลผลติ และตวั ช้ีวดั ของแผนงานวจิ ยั ผลผลติ ตัวชี้วดั เชงิ ปริมาณ เชิงคณุ ภาพ เวลา ตน้ ทุน หลกั สตู รพัฒนาอาจารย์ หลักการและองคป์ ระกอบ วิธีการจดั การศึกษาปฐมวยั การเรยี นการสอนเรือ่ งสมองและการ เรียนรู้

12 ผลผลติ ตัวชว้ี ดั เวลา ตน้ ทนุ เชงิ ปรมิ าณ เชิงคุณภาพ คมู่ อื การจัดการเรียนการ 1 เล่ม สอนสาระวชิ าสมองและการ เรียนรู้ รายงานวิจัยฉบบั สมบูรณ์ 1 เล่ม บทสรุปสาหรับผู้บรหิ ารเพอื่ ให้ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายในการ จดั ทาหลักสูตรพฒั นาวชิ าชีพครู ปฐมวยั 16. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการศกึ ษาครัง้ นสี้ ามารถแบ่งออกเปน็ 3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารยส์ าขาปฐมวัยศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ และ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชา สมองและการเรยี นรู้ ของอาจารยใ์ นหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ร่นุ ที่ 1 และ รนุ่ ที่ 2 ตอนที่ 2 ผลของหลกั สูตรพฒั นาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อทักษะ ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนร้ขู องอาจารยใ์ นหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั ตอนท่ี 3 ผลของหลักสตู รพัฒนาอาจารยส์ าขาปฐมวัยศึกษาในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจเร่อื งสมองและการเรยี นรู้ และ การรบั รู้ความสามารถของตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์ เรยี นรู้เพือ่ สง่ เสริมทักษะสมอง EF ในเดก็ ปฐมวยั ของนกั ศึกษาในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย 16.1 ตอนที่ 1 ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ และ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและ การเรยี นรู้ ของอาจารยใ์ นหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั รุ่นท่ี 1 และ รุ่นท่ี 2 16.1.1 รุ่นท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ความรู้ ความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ และ การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรยี นรู้ อาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีเข้าร่วมโครงการ รุ่นท่ี 1 มีจานวน 38 คน ตารางท่ี 2 แสดง ระดับความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง เป็นจานวนร้อยละของระดับความรู้แต่ละ ระดับ จากระดบั น้อยทีส่ ดุ ไปสรู่ ะดบั มากที่สุด

13 ตารางที่ 2 ระดับความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลองของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย รนุ่ ท่ี 1 ระดบั ความรู้ รนุ่ ท่ี 1 กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ น้อยทสี่ ดุ (0 – 2 คะแนน) 12 31.6 - - นอ้ ย (3 – 5 คะแนน) 10 26.3 1 2.6 ปานกลาง (6 – 7คะแนน) 8 21.1 9 23.7 มาก (8 – 10 คะแนน) 6 15.8 8 21.1 มากทส่ี ดุ (11 – 12 คะแนน) 2 5.3 20 52.6 รวม 38 100 38 100 จากตารางท่ี 2 ระดับความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ก่อนการ ทดลอง รอ้ ยละ 58 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด ถึง ระดับน้อย โดยมีความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 31.6 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด และ มีความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อย จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 26.3 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด อย่างไรก็ตาม หลังการทดลอง พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ในระดับมากท่ีสุด จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 52.6 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด ซ่ึงเป็นจานวนมากท่ีสุด โดยไม่พบอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการที่มี ความรเู้ รอ่ื งสมองและการเรยี นร้รู ะดับน้อยทีส่ ดุ หลังการทดลอง ตารางท่ี 3 แสดงระดบั ความเขา้ ใจเร่อื งสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง เป็นจานวนร้อย ละของระดับความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้แต่ละระดับ จากระดับน้อยท่ีสุด ไปสู่ระดับมากที่สุด ของ อาจารย์ในหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยที่เข้ารว่ มโครงการ รุ่นท่ี 1 มีจานวน 38 คน ตารางท่ี 3 ระดับความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลองของอาจารย์ในหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวัย รุ่นท่ี 1 ระดบั ความเขา้ ใจ รุ่นที่ 1 ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ น้อยทส่ี ุด (0 – 1 คะแนน) 35 92.1 14 36.8 นอ้ ย (2 – 3 คะแนน) 2 5.3 7 18.4 ปานกลาง (4 คะแนน) 1 2.6 17 44.7 มาก (5 – 6 คะแนน) - - - -

14 ระดับความเข้าใจ ร่นุ ที่ 1 ก่อนการทดลอง หลงั การทดลอง จานวน (คน) ร้อยละ มากทสี่ ดุ (7 – 8 คะแนน) จานวน (คน) ร้อยละ รวม -- -- 38 100 38 100 จากตารางที่ 3 ระดับความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ก่อนการ ทดลอง อาจารย์ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ มีความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด มีจานวนมาก ท่ีสุดถึง 35 คน คิดเป็นร้อยละ 92.1 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และหลังการท ดลอง พบว่า อาจารยผ์ เู้ ข้ารว่ มโครงการ มคี วามเขา้ ใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ ในระดับปานกลางมากท่ีสุด จานวน 17 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 44.7 ของอาจารย์ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทั้งหมด ตารางท่ี 4 แสดงระดับภาพรวมความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง เป็นจานวนร้อยละของระดับภาพรวมความรู้เข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้แต่ละระดับ จากระดับน้อยที่สุด ไปสู่ระดบั มากทส่ี ุด ของอาจารย์ในหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ รุ่นท่ี 1 มีจานวน 38 คน ตารางท่ี 4 ระดับภาพรวมความรคู้ วามเข้าใจเรือ่ งสมองและการเรียนรู้กอ่ นและหลงั การทดลอง รนุ่ ที่ 1 ระดบั ภาพรวม กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง ความรู้ความเข้าใจร่นุ ที่ 1 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ นอ้ ยทส่ี ุด (0 – 5คะแนน) 22 57.9 - - น้อย (6 – 9 คะแนน) 13 34.2 11 28.9 ปานกลาง (10 – 14 คะแนน) 2 5.3 14 36.8 มาก (15 – 17 คะแนน) 1 2.6 13 34.2 มากทีส่ ุด (18 – 20 คะแนน) - - -- รวม 38 100 38 100 จากตารางที่ 4 ระดับภาพรวมความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด จานวนมากท่ีสุด 22 คน คิดเป็นร้อยละ 57.9 และในระดับน้อย 13 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ทัง้ หมด และหลงั การทดลอง พบว่า อาจารย์ผู้เข้ารว่ มโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในระดับปานกลาง จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 36.8 และระดับมาก จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการท้งั หมด

15 ต่อไปเป็นการแสดงระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย รุ่นท่ี 1 โดยแบ่งออกเป็น 3 มิติ โดยตารางที่ 5 แสดงระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ตารางท่ี 6 แสดงระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมติ ิความเปน็ ไปไดใ้ นการสอนสาระวชิ าสมองและการเรียนรู้ ตารางท่ี 7 แสดงระดับ การรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ และ ตารางที่ 8 แสดงระดับภาพรวมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ เป็นจานวน ร้อยละของระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้แต่ละระดับ จาก ระดับน้อยที่สุด ไปสู่ระดับมากที่สุด ของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการ รุ่นที่ 1 มี จานวน 38 คน ตารางท่ี 5 ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลัง การทดลอง รนุ่ ท่ี 1 ระดบั การรับร้คู วามสามารถของตนเอง ก่อนการทดลอง หลงั การทดลอง มติ ิความร้รู ่นุ ท่ี 1 จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ ระดบั น้อย (1.00 – 2.24 คะแนน) 21 55.3 - - ระดับปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 15 39.5 7 18.4 ระดับมาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 2 5.3 31 81.6 ขอ้ มลู ไม่ครบ ---- รวม 38 100 38 100 จากตารางที่ 5 พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับน้อย จานวนมากที่สุด คือ 21 คน คิดเป็น ร้อยละ 55.3 ของผู้เข้าร่วมท้ังหมด และ ภายหลังการทดลอง ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในระดับมาก จานวน 31 คน คิดเป็น ร้อยละ 81.6 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด และอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการอีกร้อยละ 18.4 อยู่ใน ระดับปานกลาง โดยไม่พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระ วิชาสมองและการเรียนรู้ในระดับน้อย ตารางท่ี 6 ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการ เรียนรู้ กอ่ นและหลงั การทดลอง รนุ่ ที่ 1 ระดับการรับรคู้ วามสามารถของตนเอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง มติ คิ วามเป็นไปได้ รนุ่ ที่ 1 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ ระดับนอ้ ย (1.00 – 2.24 คะแนน) 6 15.8 2 5.3

16 ระดบั การรบั ร้คู วามสามารถของตนเอง ก่อนการทดลอง หลงั การทดลอง จานวน (คน) รอ้ ยละ มติ ิความเป็นไปได้ รุ่นท่ี 1 จานวน (คน) ร้อยละ 26 68.4 ระดบั ปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 18 47.4 9 23.7 1 2.6 ระดบั มาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 13 34.2 38 100 ข้อมูลไมค่ รบ 1 2.6 รวม 38 100 จากตารางที่ 6 พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับปานกลาง จานวนมาก ที่สุด คือ 18 คน คิดเป็นร้อยละ 47.4 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด และภายหลังการทดลอง ระดั บ การรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ ผู้เข้าร่วมโครงการท่ีอยู่ในระดับปานกลางยังคงมีจานวนมากท่ีสุด คือ 26 คน คิดเป็นร้อยละ 68.4 ของ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด โดยมีจานวนอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับน้อยลงน้อยลงจากก่อนการทดลอง ร้อย ละ 15.8 เหลือเพียงร้อยละ 5.3 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และระดับการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากก็ลดลงเช่นเดียวกันจาก ก่อนการทดลอง ร้อยละ 34.2 เหลอื เพยี งรอ้ ยละ 23.7 ของอาจารยผ์ ู้เข้ารว่ มโครงการทง้ั หมด ตารางท่ี 7 ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการสอนสาระวิชาสมองและการ เรียนรู้ กอ่ นและหลังการทดลอง รุ่นท่ี 1 ระดับการรับรคู้ วามสามารถของตนเอง ก่อนการทดลอง หลงั การทดลอง มติ คิ วามมุ่งมัน่ รุน่ ที่ 1 จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ ระดบั นอ้ ย (1.00 – 2.24 คะแนน) 4 10.5 7 18.4 ระดับปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 28 73.7 21 55.3 ระดับมาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 6 15.8 9 23.7 ข้อมูลไมค่ รบ - - 1 2.6 รวม 38 100 38 100 จากตารางท่ี 7 พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความม่งุ ม่ันในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับปานกลาง จานวนมากท่ีสุด คือ 28 คน คิดเป็นร้อยละ 73.7 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และภายหลังการทดลอง ระดับการ รับร้คู วามสามารถของตนเองในมติ ิความมุ่งมน่ั ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการ ท่ีอยู่ในระดับปานกลางยังคงมีจานวนมากที่สุด คือ 21 คน คิดเป็นร้อยละ 55.3 ของอาจารย์

17 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทั้งหมด โดยมีจานวนอาจารยผ์ ู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองใน มิติความมุ่งมั่นในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากเพ่ิมจานวนข้ึนจากก่อนการทดลอง จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15.8 เป็น จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 23.7 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ท้ังหมด ตารางที่ 8 ระดับภาพรวมการรับรคู้ วามสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ก่อนและ หลงั การทดลอง รุ่นท่ี 1 ระดับภาพรวม กอ่ นการทดลอง หลงั การทดลอง การรบั รู้ความสามารถของตนเอง รุ่นท่ี 1 จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) ร้อยละ ระดบั นอ้ ย (1.00 – 2.24 คะแนน) 18 47.4 1 2.6 ระดบั ปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 19 50.0 11 28.9 ระดับมาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 1 2.6 26 68.4 ขอ้ มลู ไม่ครบ ---- รวม 38 100 38 100 จากตารางท่ี 8 พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวม ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับปานกลาง จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 50.0 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ท้ังหมด และระดับน้อย จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 47.4 โดยภายหลังการทดลอง ระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองในภาพรวมของอาจารย์ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่ีอยใู่ นระดบั มาก มีจานวนมากท่ีสุด คือ 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 68.4 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด รองลงมาคือ ระดับปานกลาง จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 28.9 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด โดยมีอาจารย์จานวนผู้เข้าร่วมโครงการท่ีมีระดับ การรับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับน้อยเพียง 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6 ของอาจารย์ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการท้งั หมด ตอ่ ไปตาราง 9 จะแสดงค่าเฉลีย่ คะแนนความรู้ ความเข้าใจเรือ่ งสมองและการเรยี นรู้ และการประเมิน การรบั รู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย รุ่นที่ 1 จานวน 38 คน

18 ตารางที่ 9 แสดงค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ และการประเมินการรับรู้ ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวชิ าสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่ เขา้ ร่วมโครงการ รุ่นท่ี 1 หัวข้อ กอ่ นอบรม หลงั อบรม t p-value คา่ เฉลี่ย SD ค่าเฉล่ีย SD แบบทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจเรอ่ื งสมองและการเรยี นรู้ - ความรู้เรื่องสมองและการเรียนรู้ (คะแนนเตม็ 12) 5.03 3.08 9.92 1.65 -10.17 0.000 - ความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรยี นรู้ (คะแนนเตม็ 8) .63 1.07 2.99 1.26 -11.26 0.000 - ภาพรวมความรู้ความเข้าใจ (คะแนนเต็ม 20) 5.66 3.678 12.86 2.374 -14.24 0.000 แบบประเมินการรบั ร้คู วามสามารถของตนเอง - มิตคิ วามรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ (คะแนนเตม็ 48) 27.53 8.19 46.71 5.22 -12.25 0.000 - มิตคิ วามเปน็ ไปไดใ้ นการสอนสาระวิชาสมองและการเรยี นรู้ (คะแนนเตม็ 16) 8.32 2.23 8.95 2.18 -1.35 .183 - มติ คิ วามมุง่ ม่นั ในการสอนสาระวชิ าสมองและการเรียนรู้ (คะแนน 10.58 1.67 10.26 3.04 11.231 .522 เต็ม 16) - ภาพรวมการรับรคู้ วามสามารถของตนเอง (คะแนนเต็ม 80) 46.42 9.30 65.92 8.936 -9.690 0.000 จากตารางท่ี 9 แสดงให้เห็นว่า ในด้านความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนนความรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนน ความรู้ก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.03 และคะแนนความรู้หลังการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 9.92 ใน ด้านความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนความเข้าใจแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนนความเข้าใจก่อนการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.63 และคะแนน ความเข้าใจหลังการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.99 และในภาพรวมด้านความรู้ความเข้าใจ อาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการ มีความรู้ความเข้าใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 โดยคะแนนความรู้ความ เข้าใจก่อนการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 5.66 และคะแนนความรู้ความเข้าใจหลังการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.86 ในด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง มิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการ ทดลอง พบวา่ อาจารยผ์ เู้ ขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความรู้ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระวิชา สมองและการเรยี นรู้ ก่อนการทดลองมีค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 27.53 และคะแนนการรบั รู้ความสามารถของตนเอง ใน มิตคิ วามรูส้ าระวิชาสมองและการเรยี นรู้ หลงั การทดลองมีคา่ เฉล่ียเทา่ กบั 46.71

19 ในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระ วิชาสมองและการเรียนรู้ ไม่แตกต่างกัน โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ใน การสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.32 และคะ แนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ หลังการทดลองมี คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 8.95 ในมติ ิความมุ่งมั่นในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการสอนสาระวิชาสมองและ การเรียนรู้ ไม่แตกตา่ งกนั โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการสอนสาระวิชา สมองและการเรยี นรู้ กอ่ นการทดลองมีค่าเฉลยี่ เท่ากับ 10.58 และคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองใน มติ คิ วามมงุ่ ม่ันในการสอนสาระวิชาสมองและการเรยี นรู้ หลังการทดลองมคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 10.26 ในด้านภาพรวมการรับรู้ความสามารถของตนเอง พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการ มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวม ก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 46.42 และ คะแนนการรับร้คู วามสามารถของตนเองในภาพรวม หลังการทดลองมคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ 65.92 ภาพประกอบ 1 แสดงแผนภมู ิแทง่ เพือ่ สรุปผลค่าเฉลีย่ คะแนนความรู้ ความเข้าใจ เรอื่ งสมองและการ เรียนรู้ และการประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ท้ังก่อน และหลงั การเข้าร่วมอบรมของอาจารย์ในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยที่เขา้ รว่ มโครงการ รนุ่ ท่ี 1

20 50 46.71 ก่อนการทดลอง 45 40 35 30 27.53 25 20 15 9.92 8.32 8.95 10.58 10.26 10 5.03 5 2.99 0.63 0 ความรเู้ ร่อื งสมอง ความเข้าใจเร่ือง การรบั รูค้ วามรู้ การรับรู้ความเป็นไป การรับร้คู วามม่งุ มัน่ และการเรยี นรู้ สมองและการ ในการสอนสาระ ได้ในการสอนสาระ ในการสอนสาระ วชิ าสมองและ วชิ าสมองและการ วิชาสมองและการ เรียนรู้ การเรียนรู้ เรียนรู้ เรยี นรู้ Note *** p< .001 ภาพประกอบ 1 แผนภูมิแท่งแสดงค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความเข้าใจ เรื่องสมองและการเรียนรู้ และการ ประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ท้ังก่อนและหลังการเข้า ร่วมอบรมของอาจารย์ในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยท่เี ขา้ รว่ มโครงการ ร่นุ ที่ 1 16.1.2 รุ่นที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความรู้ ความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ และ การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวชิ าสมองและการเรียนรู้ อาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการ รุ่นท่ี 2 มีจานวน 91 คน ตารางท่ี 10 แสดง ระดับความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง เป็นจานวนร้อยละของระดับความรู้แต่ละ ระดับ จากระดับนอ้ ยที่สดุ ไปสรู่ ะดับมากทสี่ ุด ตารางที่ 10 ระดบั ความรเู้ รือ่ งสมองและการเรยี นรกู้ อ่ นและหลังการทดลองของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษา ปฐมวยั รุ่นท่ี 2 ระดบั ความรู้ รุน่ ที่ 2 กอ่ นการทดลอง หลงั การทดลอง จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ นอ้ ยทส่ี ดุ (0 – 2 คะแนน) 28 30.8 1 1.1

21 ระดับความรู้ รุ่นที่ 2 กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง จานวน (คน) รอ้ ยละ นอ้ ย (3 – 5 คะแนน) จานวน (คน) รอ้ ยละ ปานกลาง (6 – 7คะแนน) 4 4.4 มาก (8 – 10 คะแนน) 21 23.1 34 37.4 มากที่สดุ (11 – 12 คะแนน) 26 28.6 36 39.6 26 28.6 รวม 91 100 6 6.6 -- 91 100 จากตารางที่ 10 ระดับความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ก่อนการ ทดลอง รอ้ ยละ 54 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องสมองและการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด ถึง ระดับน้อย โดยมีความรู้เรื่องสมองและการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อยที่สุด จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด และ มีความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้อยู่ในระดับน้อย จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 23.1 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด อย่างไรก็ตาม หลังการทดลอง พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เร่ือง สมองและการเรียนรู้ในระดับมากท่ีสุด จานวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ท้ังหมด ซึ่งเป็นจานวนมากท่ีสุด โดยพบผู้เข้าร่วมท่ีมีความรู้เร่ืองสมองและการเรียนรู้ระดับน้อยที่สุด หลังการ ทดลอง จานวน 1 คน ตารางที่ 11 แสดงระดับความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง เป็นจานวน ร้อยละของระดับความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้แต่ละระดับ จากระดับน้อยท่ีสุด ไปสู่ระดับมากท่ีสุด ของอาจารย์ในหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยท่เี ขา้ รว่ มโครงการ รนุ่ ท่ี 2 มีจานวน 91 คน ตารางท่ี 11 ระดับความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลองของอาจารย์ในหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวัย รุ่นท่ี 2 ระดับความเข้าใจ รนุ่ ที่ 2 กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ นอ้ ยทสี่ ุด (0 – 1 คะแนน) 81 89.0 5 5.5 น้อย (2 – 3 คะแนน) 7 7.7 10 11.0 ปานกลาง (4 คะแนน) 3 3.3 40 44.0 มาก (5 – 6 คะแนน) - - 29 31.9 มากทีส่ ุด (7 – 8 คะแนน) - - 7 7.7 รวม 91 100 91 100

22 จากตารางท่ี 11 ระดบั ความเขา้ ใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ก่อนการ ทดลอง อาจารย์ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ มีความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับน้อยที่สุด มีจานวนมาก ที่สดุ ถึง 81 คน คิดเป็นร้อยละ 89 ของผู้เขา้ ร่วมท้งั หมด และหลงั การทดลอง พบวา่ อาจารย์ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ มีความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ ในระดับปานกลางมากท่ีสุด จานวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 44 ของ อาจารยผ์ ้เู ขา้ รว่ มโครงการท้ังหมด ตารางที่ 12 แสดงระดับภาพรวมความรคู้ วามเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ก่อนและหลังการทดลอง เป็นจานวนร้อยละของระดับภาพรวมความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้แต่ละระดับ จากระดับน้อย ทส่ี ดุ ไปสู่ระดับมากทส่ี ุด ของอาจารย์ในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ รุ่นท่ี 1 มจี านวน 38 คน ตารางที่ 12 ระดับภาพรวมความร้คู วามเขา้ ใจเรื่องสมองและการเรยี นรู้ก่อนและหลงั การทดลอง รนุ่ ที่ 2 ระดบั ภาพรวม กอ่ นการทดลอง หลงั การทดลอง ความรู้ความเข้าใจ รุน่ ท่ี 2 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ น้อยที่สุด (0 – 5คะแนน) 40 44.0 1 1.1 น้อย (6 – 9 คะแนน) 50 54.9 15 16.5 ปานกลาง (10 – 14 คะแนน) 1 1.1 32 35.2 มาก (15 – 17 คะแนน) - - 34 37.4 มากทสี่ ดุ (18 – 20 คะแนน) - - 9 9.9 รวม 91 100 91 100 จากตารางท่ี 12 ระดับภาพรวมความร้คู วามเขา้ ใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ก่อนการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับน้อย จานวนมากท่ีสุด 50 คน คิดเป็นร้อยละ 54.9 และในระดับน้อยที่สุด 40 คน คิดเป็นร้อยละ 44 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ทั้งหมด และหลังการทดลอง พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในระดับมาก จานวนมาก ที่สุด 34 คน คิดเป็นร้อยละ 37.4 และระดับปานกลาง จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2 ของอาจารย์ ผู้เข้ารว่ มโครงการทง้ั หมด ต่อไปเป็นการแสดงระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ในหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ร่นุ ที่ 2 โดยแบง่ ออกเปน็ 3 มิติ โดยตารางท่ี 13 แสดงระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ตารางที่ 14 แสดงระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ตารางท่ี 15 แสดง ระดับการรบั รู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งมัน่ ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ และ ตาราง ที่ 16 แสดงระดับภาพรวมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ เป็น

23 จานวนรอ้ ยละของระดบั การรบั รูค้ วามสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้แต่ละระดับ จากระดับน้อยท่สี ดุ ไปสรู่ ะดบั มากทีส่ ดุ ของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีเข้าร่วมโครงการ รุ่นที่ 2 มี จานวน 91 คน ตารางที่ 13 ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลัง การทดลอง รุ่นท่ี 2 ระดับการรับร้คู วามสามารถของตนเอง กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง มติ ิความรู้รุ่นท่ี 2 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ ระดบั นอ้ ย (1.00 – 2.24 คะแนน) 61 67.0 - - ระดับปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 24 26.4 37 40.7 ระดับมาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 5 5.5 54 59.3 ข้อมูลไมค่ รบ 1 1.1 - - รวม 91 100 91 100 จากตารางท่ี 13 พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับน้อย จานวนมากท่ีสุด คือ 61 คน คิดเป็น ร้อยละ 67 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และ ภายหลังการทดลอง ระดับการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในมิตคิ วามรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในระดับมาก จานวน 54 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 59.3 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด และอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการอีก 37 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 40.7 อยู่ในระดบั ปานกลาง โดยไม่พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในมติ คิ วามรู้สาระวิชาสมองและการเรยี นรู้ในระดับน้อย ตารางที่ 14 ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการ เรยี นรู้ ก่อนและหลงั การทดลอง ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเอง กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง มติ ิความเป็นไปได้ รุ่นท่ี 2 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ ระดับนอ้ ย (1.00 – 2.24 คะแนน) 31 34.1 9 9.9 ระดับปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 46 50.5 66 72.5 ระดบั มาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 10 11.0 16 17.6 ขอ้ มลู ไมค่ รบ 4 4.4 - - รวม 91 100 91 100

24 จากตารางที่ 14 พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติ ความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับปานกลาง จานวนมาก ท่ีสุด คือ 46 คน คิดเป็นร้อยละ 50.5 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และภายหลังการทดลอง ระดับ การรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่อี ยใู่ นระดบั ปานกลางยังคงมีจานวนมากที่สดุ คือ 66 คน คิดเป็นร้อยละ 72.5 ของอาจารย์ ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด โดยมีจานวนอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ท่ีมีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเอง ในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับน้อย น้อยลงจากก่อนการทดลอง จากร้อยละ 34.1 เหลือเพียงร้อยละ 9.9 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด และระดับการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ก็ เพิม่ ขนึ้ จากกอ่ นการทดลอง จากร้อยละ 11 เพิม่ เปน็ ร้อยละ 16 ของอาจารยผ์ เู้ ขา้ รว่ มโครงการท้ังหมด ตารางท่ี 15 ระดบั การรับรู้ความสามารถของตนเองในมติ ิความมุง่ มั่นในการสอนสาระวชิ าสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการทดลอง ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเอง กอ่ นการทดลอง หลังการทดลอง มิตคิ วามมุ่งมั่น รนุ่ ท่ี 2 จานวน (คน) ร้อยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ ระดบั นอ้ ย (1.00 – 2.24 คะแนน) 26 28.6 7 7.7 ระดบั ปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 54 59.3 56 61.5 ระดบั มาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 7 7.7 28 30.8 ขอ้ มลู ไม่ครบ 4 4.4 - - รวม 91 100 91 100 จากตารางท่ี 15 พบว่า ผู้เข้าร่วมมีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการ สอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับปานกลาง จานวนมากท่ีสุด คือ 54 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 59.3 ของอาจารย์ผู้เขา้ ร่วมโครงการท้งั หมด และภายหลงั การทดลอง ระดับการรับรู้ความสามารถ ของตนเองในมิติความมุ่งมั่นในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ ท่ีอยู่ใน ระดบั ปานกลางยงั คงมีจานวนมากทส่ี ดุ คือ 56 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 61.5 ของอาจารยผ์ ูเ้ ข้าร่วมโครงการท้ังหมด โดยมีจานวนอาจารยผ์ ู้เข้าร่วมโครงการที่มีระดับการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการสอน สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากเพิ่มจานวนขึ้นจากก่อนการทดลอง จานวน 7 คน คิดเป็นร้อย ละ 7.7 เป็น จานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 30.8 ของอาจารย์ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทง้ั หมด

25 ตารางที่ 16 ระดับภาพรวมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ก่อน และหลงั การทดลอง ระดับภาพรวม กอ่ นการทดลอง หลงั การทดลอง การรบั ร้คู วามสามารถของตนเอง รุน่ ท่ี 2 จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) ร้อยละ ระดบั น้อย (1.00 – 2.24 คะแนน) 50 54.9 - - ระดบั ปานกลาง (2.25 – 3.24 คะแนน) 38 41.8 52 57.1 ระดบั มาก (3.25 – 4.00 คะแนน) 2 2.2 39 42.9 ข้อมูลไมค่ รบ 1 1.1 - - รวม 91 100 91 100 จากตารางท่ี 16 พบวา่ อาจารย์ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมรี ะดับการรบั รคู้ วามสามารถของตนเองในภาพรวม ก่อนการทดลอง อยู่ในระดับน้อย มีจานวนมากท่ีสุด คือ 50 คน คิดเป็นร้อยละ 54.9 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการทั้งหมด และระดับปานกลาง จานวน 38 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 41.8 โดยภายหลังการทดลอง ระดับการ รับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวมของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท่ีอยู่ในระดับปานกลาง มีจานวนมาก ที่สุด คือ 52 คน คิดเป็นร้อยละ 57.1 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด รองลงมาคือ ระดับมาก จานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 42.9 ของอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด และไม่มีอาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการท่ีมี ระดบั การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ต่อไปตาราง 17 จะแสดงค่าเฉล่ียคะแนนความรู้ ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ และการ ประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ในหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย รุน่ ท่ี 2 จานวน 91 คน ตารางที่ 17 แสดงค่าเฉล่ียคะแนนความรู้ ความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ และการประเมินการรับรู้ ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ของอาจารย์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่ เข้าร่วมโครงการ รุ่นท่ี 2 หัวข้อ ก่อนอบรม หลังอบรม t p-value คา่ เฉลีย่ SD ค่าเฉล่ยี SD แบบทดสอบวดั ความรู้ ความเข้าใจเร่อื งสมองและการเรียนรู้ รนุ่ ท่ี 2 - ความรู้เรอื่ งสมองและการเรียนรู้ (คะแนนเตม็ 12) 4.99 2.51 9.14 2.07 -13.86 0.000 - ความเขา้ ใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ (คะแนนเตม็ 8) .94 1.22 5.38 2.461 -15.48 0.000 - ภาพรวมความรู้ความเข้าใจ (คะแนนเต็ม 20) 5.92 3.05 14.40 2.861 -22.11 0.000

26 หวั ข้อ กอ่ นอบรม หลังอบรม t p-value ค่าเฉลีย่ SD ค่าเฉลย่ี SD แบบประเมนิ การรบั รูค้ วามสามารถของตนเอง - มติ คิ วามรู้สาระวชิ าสมองและการเรยี นรู้ (คะแนนเตม็ 48) 26.70 8.83 43.54 5.21 -17.13 0.000 - มิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวชิ าสมองและการเรยี นรู้ (คะแนนเต็ม 16) 6.97 2.51 8.52 1.59 -5.06 0.000 - มิตคิ วามมุ่งม่นั ในการสอนสาระวชิ าสมองและการเรยี นรู้ (คะแนน 9.29 2.96 11.09 2.020 -5.151 0.000 เต็ม 16) - ภาพรวมการรับรู้ความสามารถของตนเอง (คะแนนเต็ม 80) 42.96 12.24 63.14 7.313 -14.75 0.000 จากตารางที่ 17 แสดงให้เห็นว่า ในด้านความรู้เรื่องสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนนความรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 โดยคะแนน ความรู้ก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.99 และคะแนนความรู้หลังการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.14 ใน ด้านความเข้าใจเร่ืองสมองและการเรียนรู้ อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนความเข้าใจแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 โดยคะแนนความเข้าใจก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.94 และคะแนน ความเข้าใจหลังการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.38 และในภาพรวมด้านความรู้ความเข้าใจ อาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการ มีความรู้ความเข้าใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนนความรู้ความ เข้าใจก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.92 และคะแนนความรู้ความเข้าใจหลังการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 14.40 ในด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง มิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลังการ ทดลอง พบว่า อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความรู้สาระวิชา สมองและการเรยี นรู้ แตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .001 โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในมิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 26.70 และคะแนนการ รับรู้ความสามารถของตนเอง ในมิติความรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ หลังการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 43.54 ในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระ วิชาสมองและการเรียนรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลองมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.97 และคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความเป็นไปได้ในการสอนสาระวิชา สมองและการเรียนรู้ หลังการทดลองมคี า่ เฉล่ียเท่ากบั 8.52

27 ในมติ ิความมุ่งม่ันในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งมั่นในการสอนสาระวิชาสมองและ การเรยี นรู้ ไม่แตกตา่ งกัน โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในมิติความมุ่งม่ันในการสอนสาระวิชา สมองและการเรียนรู้ ก่อนการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 9.29 และคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองใน มติ คิ วามม่งุ มน่ั ในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ หลังการทดลองมีคา่ เฉลย่ี เท่ากบั 11.09 ในด้านภาพรวมการรับรู้ความสามารถของตนเอง พบว่า ก่อนและหลังการทดลอง อาจารย์ผู้เข้าร่วม โครงการ มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในภาพรวม ก่อนการทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 42.96 และ คะแนนการรับรูค้ วามสามารถของตนเองในภาพรวม หลังการทดลองมคี า่ เฉล่ียเท่ากบั 63.14 ภาพประกอบ 2 แสดงแผนภมู ิแทง่ เพ่ือสรุปผลค่าเฉล่ียคะแนนความรู้ ความเข้าใจ เรอ่ื งสมองและการ เรียนรู้ และการประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ท้ังก่อน และหลงั การเข้าร่วมอบรมของอาจารย์ในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ รนุ่ ที่ 2

28 50 43.54 ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 45 40 35 30 26.70 6.97 8.52 9.29 11.09 25 20 15 10 9.14 4.99 5.38 5 0.94 0 ความรู้เรอ่ื งสมอง ความเขา้ ใจเรือ่ ง การรบั รู้ความรู้ การรบั รู้ความเปน็ ไป การรับรคู้ วามมงุ่ มนั่ และการเรียนรู้ สมองและการ ในการสอนสาระ ไดใ้ นการสอนสาระ ในการสอนสาระ วชิ าสมองและ วชิ าสมองและการ วิชาสมองและการ เรยี นรู้ การเรยี นรู้ เรยี นรู้ เรียนรู้ Note *** p< .001 ภาพประกอบ 2 แผนภูมิแท่งแสดงค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความเข้าใจ เรื่องสมองและการเรียนรู้ และการ ประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองในการสอนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ ทั้งก่อนและหลังการเข้า รว่ มอบรมของอาจารย์ในหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ รุ่นท่ี 2 16.2 ตอนท่ี 2 ผลของหลกั สตู รพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อทักษะใน การสอนสาระวชิ าสมองและการเรยี นรขู้ องอาจารยใ์ นหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั สาหรับตัวชี้วัดด้านทักษะในการวางแผนการจัดกระบวนการสอนตามหลักการทางานของสมอง EF และกระบวนการเรียนรู้แบบ PL มาบูรณาการร่วมกันเป็นวิธีการสอน ใช้การเปิดเวทีให้ผู้เข้าอบรมสาธิตการ ประยุกต์ใช้เน้ือหาความรู้ด้านสมองในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการทวนแผนการ จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องตามหลักการบูรณาการฯ รวมถึงการติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงทักษะ ในการจดั การเรียนการสอน ดว้ ยการสงั เกตการณ์ในพ้ืนที่จริง และการทาสนทนากลุ่ม อาจารย์ท้ัง 2 รุ่น มีการ เปลย่ี นแปลงทโี่ ดดเด่นในประเดน็ ดังต่อไปน้ี 2.1 มีการวางแผนการเรียนการสอนตามหลักการบูรณาการสมองและการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง หลงั การอบรม 2.2 มกี ารเปลยี่ นรูปแบบการเรียนการสอนจาก ครูเป็นศูนย์กลาง ไปเป็น นกั ศกึ ษาเป็นศูนยก์ ลาง

29 2.3 ปรับเน้ือหาท่ีใช้ในการเรียนการสอนใหม้ คี วามหมายกบั นักศึกษาในชน้ั เรยี นมากขึ้น 2.4 เปลย่ี นจากการเรียนการสอนแบบบรรยายอย่างเดียว ไปเป็นการใช้กิจกรรมในการเรียนการสอน มากขน้ึ 2.5 มีการสะท้อนความคิดหลังการสอน ทาให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ ระบบการคิด ของตนเองมากขึน้ 2.6 หลังจากการเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอน ทาให้รู้จักนักศึกษามากขึ้น เห็นศักยภาพของ นักศกึ ษามากขึน้ เหนื่อยนอ้ ยลง 2.7 ใชเ้ วลาในการเตรียมการเรียนการสอนมากขึน้ แต่อาจารย์ก็มีความสขุ ในการสอนมากขน้ึ เช่นกัน 2.8 นักศึกษามีความสขุ ในการเรยี นมากขนึ้ 2.9 นกั ศึกษาให้ความรว่ มมอื มากข้ึน 16.3 ตอนที่ 3 ผลของหลักสูตรพัฒนาอาจารย์สาขาปฐมวัยศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อความรู้ ความเข้าใจเรื่องสมองและการเรียนรู้ และการรับรู้ความสามารถของตนเองเร่ืองการจัดประสบการณ์เรียนรู้ เพ่ือส่งเสริมทกั ษะสมอง EF ในเด็กปฐมวัย ของนักศึกษาในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั 16.3.1 ผลคะแนนประเมินความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภฏั 18 แหง่ สาหรับการรายงานผลคะแนนความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษา ในหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ จะเริ่มจากการรายงานภาพรวมผลคะแนนความรู้ความเข้าใจก่อน เรียนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้ และหลังจากได้เรียนรายวิชานี้แล้ว โดยเร่ิมจากการรายงานผลตามราย ภาค 5 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ ต่อด้วยการ รายงานผลคะแนนตามรายชอื่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จานวน 18 แห่ง ดังน้ี นักศึกษาที่เข้าร่วมทาแบบประเมินความรู้ความเข้าใจก่อนการเรียนสาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ มี จานวนทง้ั หมด 889 คน คะแนนแบบทดสอบความรคู้ วามเข้าใจเรอ่ื งสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษาในกลุ่มท่ี เข้าร่วมการวิจัยโดยจาแนกตามรายภาค ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือมีนกั ศกึ ษาทเี่ ข้าร่วมมากท่ีสุด จานวน 343 คน คิดเป็นร้อยละ 38.6 รองลงมาคือ ภาคใต้ จานวน 194 คน คิดเป็นร้อยละ 21.8 (ตารางท่ี 18) ตารางที่ 18 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักศึกษาท่เี ข้าร่วมการวจิ ัย จาแนกตามรายภาค รายภาค จานวน (คน) รอ้ ยละ ภาคเหนือ 170 19.1 ภาคกลาง 133 15.0

รายภาค 30 ร้อยละ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 38.6 ภาคตะวนั ตก จานวน (คน) 5.5 ภาคใต้ 343 21.8 49 100.0 รวม 194 889 เมื่อพิจารณาแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษาตามรายภาค ก่อน การเรยี นรู้สาระวิชาสมองกับการเรยี นรู้ พบว่า ทกุ ภาคมีคะแนนความรคู้ วามเขา้ ใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ อยู่ ในระดับน้อย มากท่ีสุด ได้แก่ ภาคเหนือ ร้อยละ 47.6 (81 คน) ภาคกลาง ร้อยละ 81.2 (108 คน) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 72.6 (249 คน) ภาคตะวันตก ร้อยละ 87.8 (43 คน) และภาคใต้ ร้อยละ 65.5 (127 คน) ดงั ตารางท่ี 19 ตารางที่ 19 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจ เรื่องสมองกับการเรียนรู้ ตามรายภาค ก่อนการเรียนรสู้ าระวชิ าสมองกบั การเรียนรู้ ระดับ ภาคเหนอื ภาคกลาง รายภาค ภาคตะวนั ตก ภาคใต้ คะแนน ภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ นอ้ ย 81 47.6 108 81.2 249 72.6 43 87.8 127 65.5 ปานกลาง 48 28.2 16 12 58 16.9 5 10.2 45 23.2 ดี 39 22.9 8 6 32 9.3 1 2 21 10.8 ดมี าก 2 1.2 1 0.8 4 1.2 0 0 1 0.5 รวม 170 100 133 100 343 100 49 100 194 100 เม่ือจาแนกคะแนนความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัย ก่อน การเรยี นรู้สาระวิชาสมองกบั การเรยี นรู้ ตามรายช่ือมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ จานวน 18 แห่ง พบว่า มหาวิทยาลัย ราชภัฎมหาสารคาม มคี ะแนนความร้คู วามเขา้ ใจเร่อื งสมองกับการเรียนรู้ อยู่ในระดับน้อย จานวน 61 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 100 และเกอื บทกุ มหาวิทยาลัยมีคะแนนอยูใ่ นระดบั น้อย มากท่ีสุด โดยเรยี งลาดับมหาวิทยาลัยท่ีมี ร้อยละสูงทสี่ ุด ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลยั ราชภฎั สุรนิ ทร์ รอ้ ยละ 98.2 (54 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ร้อย ละ 96.2 (25 คน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครราชสีมา รอ้ ยละ 93.4 (57 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ร้อย ละ 88 (22 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ร้อยละ 86.4 (51 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง

31 ร้อยละ 78.3 (18 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ร้อยละ 75.4 (43 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรธี รรมราช ร้อยละ 74.6 (47 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนนั ทา ร้อยละ 71.4 (35 คน) มหาวิทยาลัย ราชภัฎเลย ร้อยละ 66.7 (20 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ร้อยละ 66.2 (45 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎ สงขลา ร้อยละ 61.3 (19 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร้อยละ 52.8 (2คน) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎรอ้ ยเอด็ ร้อยละ 51.9 (40 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ร้อยละ 50 (16 คน) ท้ังนี้ มีเพียงมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ที่มีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากที่สุด ร้อยละ 51.7 (31 คน) และ มหาวิทยาลยั ราชภัฎบรุ ีรัมย์ทีม่ คี ะแนนอยูใ่ นระดับปานกลาง มากทีส่ ดุ รอ้ ยละ 49.2 (29 คน) ดังตารางที่ 20 ตารางท่ี 20 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจ เรอื่ งสมองกบั การเรยี นรู้ ตามรายชื่อมหาวทิ ยาลัย ก่อนการเรยี นร้สู าระวิชาสมองกบั การเรยี นรู้ ระดับคะแนน รายชื่อมหาวิทยาลัย จานวนคน (รอ้ ยละ) น้อย ปานกลาง ดี ดีมาก รวม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม 61 (100) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 61 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สุรินทร์ 54 (98.2) 1 (1.8) 0 (0) 0 (0) 55 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั กาญจนบรุ ี 25 (96.2) 1 (3.8) 0 (0) 0 (0) 26 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั นครราชสีมา 57 (93.4) 4 (6.6) 0 (0) 0 (0) 61 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเทพสตรี 22 (88) 3 (12) 0 (0) 0 (0) 25 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครสวรรค์ 51 (86.4) 5 (8.5) 3 (5.1) 0 (0) 59 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั หม่บู ้านจอมบึง 18 (78.3) 4 (17.4) 1 (4.3) 0 (0) 23 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อตุ รดิตถ์ 43 (75.4) 14 (24.6) 0 (0) 0 (0) 57 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช 47 (74.6) 8 (12.7) 8 (12.7) 0 (0) 63 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั สวนสนุ ันทา 35 (71.4) 8 (16.3) 5 (10.2) 1 (2) 49 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเลย 20 (66.7) 10 (33.3) 0 (0) 0 (0) 30 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ยะลา 45 (66.2) 19 (27.9) 4 (5.9) 0 (0) 68 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั สงขลา 19 (61.3) 9 (29) 3 (9.7) 0 (0) 31 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณใ์ น 2 (52.8) 17 (32.1) 8 (15.1) 0 (0) 53 (100) พระบรมราชูปถัมภ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎร้อยเอ็ด 40 (51.9) 14 (18.2) 19 (24.7) 4 (5.2) 77 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั ภเู ก็ต 16 (50) 9 (28.1) 6 (18.8) 1 (3.1) 32 (100)

32 ระดับคะแนน รายช่ือมหาวิทยาลัย จานวนคน (ร้อยละ) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บรุ ีรัมย์ นอ้ ย ปานกลาง ดี ดีมาก รวม มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงราย 17 (28.8) 29 (49.2) 13 (22) 0 (0) 59 (100) 10 (16.7) 60 (100) 17 (28.3) 31 (51.7) 2 (3.3) หลังจากเข้าเรียนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้เป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา นักเรียนท่ีเข้าร่วมตอบ แบบประเมินความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ มีท้ังหมด 615 คน คะแนนแบบทดสอบความรู้ความ เข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษาในกลุ่มท่ีเข้าร่วมการวิจัยโดยจาแนกตามรายภาค หลังการเรียนรู้ สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีนักศึกษาที่เข้าร่วมมากที่สุด จานวน 256 คน คดิ เป็นร้อยละ 41.6 รองลงมาคอื ภาคกลาง จานวน 124 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.2 (ตารางท่ี 21) ตารางท่ี 21 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาที่เข้าร่วมการวจิ ัย จาแนกตามรายภาค รายภาค จานวน (คน) รอ้ ยละ ภาคเหนือ 54 8.8 ภาคกลาง 124 20.2 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 256 41.6 ภาคตะวนั ออก 24 3.9 ภาคตะวันตก 47 7.6 ภาคใต้ 110 17.9 รวม 615 100.0 เม่ือพิจารณาแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามรายภาคหลัง การเรยี นร้สู าระวิชาสมองกบั การเรียนรู้ พบว่า ภาคเหนือและภาคกลางมีคะแนนความรู้ความเข้าใจเรื่องสมอง กับการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี มากที่สุด คือ ร้อยละ 46.3 (25 คน) และร้อยละ 46 (57 คน) สาหรับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ พบว่า มีคะแนนอยู่ในระดับดีมาก มากที่สุด ได้แก่ ร้อยละ 66.4 (170 คน) ร้อยละ 95.3 (23 คน) ร้อยละ 70.2 (33 คน) และร้อยละ 66.4 (73 คน) ดัง ตารางที่ 22

33 ตารางท่ี 22 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจ เรอ่ื งสมองกับการเรยี นรู้ตามรายภาค หลังการเรยี นร้สู าระวชิ าสมองกบั การเรยี นรู้ รายภาค ระดบั ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ คะแนน เฉียงเหนอื น้อย จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ ปานกลาง ดี 1 1.9 2 1.6 4 1.6 0 0 0 0 2 1.8 ดีมาก 4 7.4 20 16.1 19 7.4 0 0 1 2.1 3 2.7 รวม 25 46.3 57 46 63 24.6 1 4.2 13 27.7 32 29.1 24 44.4 45 36.3 170 66.4 23 95.3 33 70.2 73 66.4 54 100 124 100 256 100 24 100 47 100 110 100 เมือ่ จาแนกคะแนนความรู้ความเขา้ ใจเรอ่ื งสมองกับการเรยี นรู้ของนักศึกษาทเี่ ข้าร่วมการวิจัย หลังการ เรยี นรู้สาระวิชาสมองกบั การเรียนรู้ พบว่า เกือบทุกมหาวิทยาลยั มคี ะแนนความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการ เรียนรู้ อยู่ในระดับดีมาก มากท่ีสุด โดยเรียงลาดับมหาวิทยาลัยที่มีร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครราชสีมา ร้อยละ 97.8 (44 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ ร้อยละ 95.8 (23 คน) มหาวิทยาลัย ราชภัฎมหาสารคาม ร้อยละ 86.4 (51 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ร้อยละ 85.3 (58 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ร้อยละ 83.3 (15 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ร้อยละ 76.2 (32 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ร้อยละ 69.2 (9 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี ร้อยละ 60.7 (17 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ ร้อยละ 41.9 (13 คน) มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครศรีธรรมราช ร้อยละ 58.2 (32 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ร้อยละ 58.1 (25 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ร้อยละ 46.4 (13 คน) ทั้งน้ี มีมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เชียงรายทม่ี ีคะแนนอยู่ในระดับดี มากท่ีสุด ร้อยละ 66.7 (32 คน) ร้อยละ 67.9 (38 คน) และร้อยละ 46.3 (25 คน) ตามลาดับ สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา มีนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัย จานวน 2 คน โดยมีคะแนนอยู่ในระดับดีและดีมากเท่ากันคือ ร้อยละ 50 (1 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฎ เพชรบุรี มีนักศึกษาท่เี ข้ารว่ มการวจิ ัย 1 คนมคี ะแนนอยู่ในระดับดีมาก ดังตารางที่ 23

34 ตารางที่ 23 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนความรู้ความเข้าใจ เรอ่ื งสมองกับการเรียนรู้ตามรายชือ่ มหาวิทยาลยั หลังการเรียนรูส้ าระวชิ าสมองกบั การเรียนรู้ ระดบั คะแนน รายชอ่ื มหาวิทยาลัย จานวนคน (รอ้ ยละ) น้อย ปานกลาง ดี ดีมาก รวม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบรุ ี 0 (0) 0 (0) 0 (0) 1 (100) 1 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั นครราชสมี า 0 (0) 0 (0) 1 (2.2) 44 (97.8) 45 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ราชนครนิ ทร์ 0 (0) 0 (0) 1 (4.2) 23 (95.8) 24 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม 0 (0) 1 (1.7) 7 (11.9) 51 (86.4) 59 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎอุบลราชธานี 0 (0) 0 (0) 10 (14.7) 58 (85.3) 68 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎหมู่บา้ นจอมบึง 0 (0) 0 (0) 3 (16.7) 15 (83.3) 18 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ยะลา 1 (2.4) 0 (0) 9 (21.4) 32 (76.2) 42 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต 1 (7.7) 1 (7.7) 2 (15.4) 9 (69.2) 13 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎกาญจนบุรี 0 (0) 1 (3.6) 10 (35.7) 17 (60.7) 28 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั นครศรีธรรมราช 0 (0) 2 (3.6) 21 (38.2) 32 (58.2) 55 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครสวรรค์ 1 (2.3) 4 (9.3) 13 (30.2) 25 (58.1) 43 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สวนสนุ ันทา 0 (0) 0 (0) 1 (50) 1 (50) 2 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสุรินทร์ 3 (10.7) 5 (17.9) 7 (25) 13 (46.4) 28 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั เชยี งราย 1 (1.9) 4 (7.4) 25 (46.3) 24 (44.4) 54 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเพชรบรู ณ์ 1 (3.2) 6 (19.4) 11 (35.5) 13 (41.9) 31 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั วไลยอลงกรณ์ ใน 0 (0) 10 (20.8) 32 (66.7) 6 (12.5) 48 (100) พระบรมราชปู ถมั ภ์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั ร้อยเอด็ 1 (1.8) 13 (23.2) 38 (67.9) 4 (7.1) 56 (100) 16.3.2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ของ นกั ศึกษาก่อนละหลงั การเรยี นสาระวชิ าสมองกบั การเรียนรู้ ในการวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บผลคะแนนกอ่ น และ หลงั การเรียนรสู้ าระวิชาสมองกับการเรียนรู้ จะต้อง ใช้คะแนนของนักศึกษาที่ตอบแบบประเมิน ทั้งก่อนและหลังการเรียนสาระวิชาการเรียนรู้ แบบประเมินของ นกั ศึกษาทตี่ อบไดส้ มบรู ณ์ สามารถนามาวิเคราะห์ได้ มีจานวน 439 คน จากนักศึกษาจานวน 439 คนท่ีได้รับการทดสอบความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ พบว่า คะแนนความรู้ความเข้าใจเร่อื งสมองกับการเรียนรู้เฉล่ียของคะแนนรวมกอ่ นการเรียนรู้สาระวิชาสมองและการ

35 เรยี นรู้ อย่ทู ี่ 5.53 คะแนน และคะแนนเฉล่ียของคะแนนรวมหลังการเรียนรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ ที่ 13.64 คะแนน โดยนักศึกษามีความร้คู วามเข้าใจเรื่องสมองกบั การเรียนรู้ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองและ การเรียนรู้ อยู่ในระดับน้อย มากที่สุด จานวน 308 คน คิดเป็นร้อยละ 70.2 รองลงมาคือ ระดับปานกลาง จานวน 75 คน คดิ เป็นร้อยละ 17.1 และหลังการเรียนรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ อยู่ในระดับดีมาก มาก ที่สุด จานวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 57.4 รองลงมาคือ ระดับดี จานวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ดัง ตารางที่ 24 และ 25 ตารางท่ี 24 แสดงจานวนและร้อยละของระดับคะแนนของความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ก่อน การการเรียนรู้สาระวชิ าสมองกับการเรียนรู้ ระดับคะแนน จานวน (คน) รอ้ ยละ นอ้ ย 308 70.2 ปานกลาง 75 17.1 ดี 53 12.1 ดมี าก 3 0.7 รวม 439 100.0 ตารางท่ี 25 แสดงจานวนและรอ้ ยละของระดับคะแนนของความรู้ความเข้าใจเรอ่ื งสมองกับการเรียนรู้หลังการ เรยี นรสู้ าระวิชาสมองกับการเรียนรู้ ระดับคะแนน จานวน (คน) รอ้ ยละ น้อย 4 0.9 ปานกลาง 33 7.5 ดี 150 34.2 ดมี าก 252 57.4 รวม 439 100.0 ภาพประกอบ 3 แสดงภาพรวมของร้อยละคะแนนความรู้ ความเข้าใจ เร่ืองสมองกับการเรียนรู้ ท้ัง ก่อนและหลังการเรียนรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้ของนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีเข้าร่วม โครงการ จานวน 439 คน เปน็ แผนภมู ิแท่ง

36 80 70.2 17.1 34.2 7.5 12.1 70 ปานกลาง ดี 0.7 2.8 60 ก่อนการอบรม หลังการอบรม ดมี าก 50 40 30 20 10 0.9 0 นอ้ ย ภาพประกอบ 3 แผนภูมิแท่งแสดงร้อยละคะแนนความรู้ ความเข้าใจ เร่ืองสมองกับการเรียนรู้ ทั้งก่อนและ หลังการเรยี นรสู้ าระวิชาสมองกับการเรยี นรู้ของนักศึกษาในหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยท่เี ข้ารว่ มโครงการ เมื่อนาคะแนนของความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้มาวิเคราะห์ เพื่อเปรียบเทียบด้วย คะแนนก่อน และหลงั การเรยี นรูส้ าระวชิ าสมองกบั การเรยี นรู้ พบว่า ระดับคะแนนของความรู้ความเข้าใจเรื่อง สมองกบั การเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองและการเรียนรู้สูงกว่าหลังการเรียนรู้สาระวิชา สมองและการเรยี นรูอ้ ยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 (ตารางที่ 26) ตารางท่ี 26 แสดงผลการเปรียบเทียบระดับคะแนนของความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ก่อนและ หลงั การเรยี นรู้สาระวิชาสมองและการเรยี นรู้ การอบรม N X S.D. t Sig. ก่อน 439 1.43 .727 -43.922 .000* หลัง 439 3.48 .675 *ระดับนยั สาคญั ที่ .05 ภาพประกอบ 4 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ความเข้าใจ เรื่องสมอง และการเรียนรู้ ก่อนและหลังการเข้าร่วมอบรมนักศึกษาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีเข้าร่วมโครงการ เป็น แผนภูมแิ ท่ง

37 4 หลงั การอบรม, 3.48 3.5 3 2.5 2 กอ่ นการอบรม, 1.43 1.5 1 0.5 0 ความรู้ความเขา้ ใจเร่อื งสมองกบั การเรยี นรู้ Note *** p< .05 ภาพประกอบ 4 แผนภมู แิ ทง่ แสดงคา่ เฉล่ยี คะแนนความรู้ ความเขา้ ใจ เรอ่ื งสมองและการเรียนรู้ ก่อนและหลัง การเขา้ รว่ มอบรมนกั ศกึ ษาในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ 16.3.3 ผลคะแนนประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อ สง่ เสริมทักษะสมอง EF ของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภฏั 18 แหง่ ผลคะแนนประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองเร่ืองการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริม ทักษะสมอง EF จาแนกตามรายภาค ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า มีนักศึกษาท่ีตอบ แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองเร่ืองการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF จานวนทั้งหมด 1,370 คน โดยพบนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด จานวน 577 คน คิดเป็นร้อยละ 42.1 รองลงมาคือ ภาคกลาง จานวน 319 คน (ร้อยละ 23.3) และ ภาคใต้ จานวน 200 คน (ร้อยละ 14.6) ตามลาดับ ดงั ตารางท่ี 27 ตารางที่ 27 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาทเี่ ข้ารว่ มการวิจัย จาแนกตามรายภาค รายภาค จานวน (คน) ร้อยละ ภาคเหนือ 119 8.7 ภาคกลาง 319 23.3 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 577 42.1 ภาคตะวนั ออก 33 2.4

รายภาค 38 รอ้ ยละ ภาคตะวันตก 8.9 ภาคใต้ จานวน (คน) 14.6 122 100.0 รวม 200 1,370 ผลคะแนนประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริม ทักษะสมอง EF ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า มีนักศึกษาที่ตอบแบบประเมินการรับรู้ ความสามารถของตนเอง เรื่องการจัดประสบการณ์เรยี นรเู้ พื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ท้งั 3 ดา้ น ดังน้ี การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ ในภาคเหนือ และ ภาคตะวันตกมีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากที่สุด ได้แก่ ร้อยละ 39 (46 คน) และร้อยละ 38.5 (47 คน) สาหรบั ในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้มีคะแนนอยู่ในระดับน้อย มากท่ีสุด คือ ร้อยละ 34.2 (109 คน) ร้อยละ 41.3 (236 คน) ร้อยละ 72.7 (24 คน) และร้อยละ 54 (108 คน) ตามลาดับ (ตารางท่ี 28) ตารางท่ี 28 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ ตามรายภาค ก่อนการเรียนรู้สาระ วิชาสมองกับการเรยี นรู้ รายภาค ระดบั ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ คะแนน เฉียงเหนือ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ น้อย 32 27.1 109 34.2 236 41.3 24 72.7 41 33.6 108 54 ปานกลาง 39 33.1 103 32.3 119 20.8 4 12.1 30 24.6 49 24.5 มาก 46 39 100 31.3 203 35.5 5 15.2 47 38.5 40 20 มากทีส่ ุด 1 0.8 7 2.2 14 2.4 0 0 4 3.3 3 1.5 รวม 118 100 319 100 572 100 33 100 122 100 200 100 การรบั รู้ความสามารถของตนเองดา้ นความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริม EF เด็ก ปฐมวัย พบภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง มากท่ีสุด ได้แก่ ร้อยละ 56.8 (67 คน) ร้อยละ 46.5 (148 คน) ร้อยละ 54.5 (18 คน) และร้อยละ 49.7 (99 คน) ตามลาดับ สาหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันตก มีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากที่สุด คือ ร้อยละ 42 (242 คน) และรอ้ ยละ 40.5 (49 คน) ดังตารางที่ 29

39 ตารางท่ี 29 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความสามารถในการจดั ประสบการณเ์ รียนรู้เพ่ือสง่ เสริม EF เด็กปฐมวัย ตามราย ภาค กอ่ นการเรยี นรู้สาระวชิ าสมองกับการเรยี นรู้ รายภาค ระดับ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ตก ภาคใต้ คะแนน เฉียงเหนอื จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ น้อย 11 9.3 33 10.4 97 16.8 4 12.1 28 23.1 37 18.6 ปานกลาง 67 56.8 148 46.5 221 38.4 18 54.5 37 30.6 99 49.7 มาก 36 30.5 120 37.7 242 42.0 9 27.3 49 40.5 60 30.2 มากทสี่ ดุ 4 3.4 17 5.3 16 2.8 2 6.1 7 5.8 3 1.5 รวม 118 100 318 100 576 100 33 100 121 100 199 100 การรบั รคู้ วามสามารถของตนเองด้านความมุ่งมั่นต้ังใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัย พบ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ทุกภาคมีคะแนน อยู่ในระดับมาก มากที่สุด ได้แก่ ร้อยละ 79.8 (95 คน) ร้อยละ 71.8 (229 คน) ร้อยละ 69.5 (401 คน) ร้อย ละ 75.8 (25 คน) ร้อยละ 63.1 (77 คน) และร้อยละ 68 (136 คน) ตามลาดับ (ตารางที่ 30) ตารางที่ 30 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความมุ่งม่ันต้ังใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัยตามรายภาค ก่อน การเรยี นร้สู าระวชิ าสมองกับการเรยี นรู้ รายภาค ระดับ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก ภาคใต้ คะแนน เฉยี งเหนอื จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ นอ้ ย 2 1.7 6 1.9 55 9.5 2 6.1 13 10.7 18 9 ปานกลาง 19 16 72 22.6 108 18.7 5 15.2 25 20.5 42 21 มาก 95 79.8 229 71.8 401 69.5 25 75.8 77 63.1 136 68 มากทส่ี ดุ 3 2.5 12 3.8 13 2.3 1 3.0 7 5.7 4 2 รวม 119 100 319 100 577 100 33 100 122 100 200 100 เมื่อจาแนกคะแนนของนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เรื่องการจัด ประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ด้านความรู้ความเข้าใจเร่ืองสมองกับการเรียนรู้ ตามรายช่ือ มหาวทิ ยาลยั ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า มหาวิทยาลัยที่คะแนนอยู่ในระดับมาก มาก

40 ที่สุด จานวน 5 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ร้อยละ 56.1 (92 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎ อบุ ลราชธานี รอ้ ยละ 57.9 (44 คน) มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงราย รอ้ ยละ 52.5 (32 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมบู่ า้ นจอมบงึ ร้อยละ 60 (18 คน) และมหาวทิ ยาลัยราชภัฎเลย ร้อยละ 50 (16 คน) สาหรับมหาวิทยาลัยท่ี คะแนนอยู่ในระดับน้อย มากที่สุด พบ 7 แห่ง เรียงตามลาดับร้อยละสูงที่สุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ร้อยละ 90.6 (58 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ร้อยละ 84.8 (28 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี ร้อยละ 78.6 (22 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด ร้อยละ 76.7 (46 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุรนิ ทร์ รอ้ ยละ 73.7 (42 คน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ ร้อยละ 72.7 (24 คน) และมหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลา ร้อยละ 51.4 (37 คน) ดงั ตารางที่ 31 ตารางท่ี 31 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัยจาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความรู้ความเข้าใจตามรายช่ือมหาวิทยาลัย ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับ การเรียนรู้ ระดับคะแนน รายชอ่ื มหาวิทยาลัย จานวนคน (ร้อยละ) นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่สี ดุ รวม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 58 (90.6) 5 (7.8) 1 (1.6) 0 (0) 64 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั ภูเก็ต 28 (84.8) 4 (12.1) 1 (3) 0 (0) 33 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี 22 (78.6) 4 (14.3) 2 (7.1) 0 (0) 28 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั รอ้ ยเอ็ด 46 (76.7) 7 (11.7) 7 (11.7) 0 (0) 60 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสรุ ินทร์ 42 (73.7) 9 (15.8) 5 (8.8) 1 (1.8) 57 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั ราชนครินทร์ 24 (72.7) 4 (12.1) 5 (15.2) 0 (0) 33 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั อตุ รดิตถ์ 30 (52.6) 13 (22.8) 14 (24.6) 0 (0) 57 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา 37 (51.4) 18 (25) 16 (22.2) 1 (1.4) 72 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฎชัยภูมิ 28 (48.3) 13 (22.4) 17 (29.3) 0 (0) 58 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา 33 (47.8) 20 (29) 14 (20.3) 2 (2.9) 69 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั 29 (45.3) 15 (23.4) 18 (28.1) 2 (3.1) 64 (100) นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลยั ราชภัฎสงขลา 14 (45.2) 12 (38.7) 5 (16.1) 0 (0) 31 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั บุรีรมั ย์ 26 (42.6) 14 (23) 21 (34.4) 0 (0) 61 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ 25 (42.4) 17 (28.8) 15 (25.4) 2 (3.4) 59 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั วไลยอลงกรณ์ 17 (31.5) 18 (33.3) 19 (35.2) 0 (0) 54 (100) ในพระบรมราชูปถมั ป์

41 รายชอื่ มหาวิทยาลัย น้อย ระดับคะแนน รวม 10 (31.3) จานวนคน (รอ้ ยละ) 32 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั เลย 16 (26.7) ปานกลาง มาก มากท่สี ุด 60 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์ 18 (23.7) 6 (18.8) 16 (50) 0 (0) 76 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี 7 (23.3) 23 (38.3) 20 (33.3) 1 (1.7) 30 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ 12 (18.8) 25 (32.9) 31 (40.8) 2 (2.6) 64 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี 20 (12.2) 4 (13.3) 18 (60) 1 (3.3) 164 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา 6 (7.9) 22 (34.4) 27 (42.2) 3 (4.7) 76 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั อบุ ลราชธานี 2 (3.3) 46 (28) 92 (56.1) 6 (3.7) 61 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เชยี งราย 19 (25) 44 (57.9) 7 (9.2) 1 (100) มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 0 (0) 26 (42.6) 32 (52.5) 1 (1.6) 0 (0) 1 (100) 0 (0) เมื่อจาแนกคะแนนของนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัด ประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ด้านความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริม EF เด็กปฐมวัยตามรายช่ือมหาวิทยาลัย ก่อนการเรียนรู้สาระวิชาสองและการเรียนรู้ พบว่า มหาวิทยาลัยที่ คะแนนอยู่ในระดับมาก มากท่ีสุด มี 9 แห่ง เรียงตามลาดับร้อยละ ดังนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี รอ้ ยละ 67.1 (51 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎบรุ รี มั ย์ ร้อยละ 54.8 (34 คน) มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์ ร้อย ละ 51.7 (31 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสมี ารอ้ ยละ 51.5 (84 คน) มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง รอ้ ยละ 50 (15 คน) มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี รอ้ ยละ 49.2 (31 คน) มหาวิทยาลัยราชภฎั เทพสตรี ร้อยละ 44.7 (34 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ ร้อยละ 43.1 (25 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ร้อยละ 41.9 (13 คน) และพบมหาวิทยาลัยท่ีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง มากท่ีสุด จานวน 11 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร้อยละ 54.2 (32 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ร้อยละ 50 (29 คน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎภเู ก็ต รอ้ ยละ 54.5 (18 คน) มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช ร้อยละ 56.3 (36 คน) มหาวิทยาลัยราชภฎั เชยี งราย ร้อยละ 61.7 (37 คน) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมป์ ร้อยละ 62.3 (33 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ร้อยละ 51.7 (30 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ร้อยละ 40.6 (13 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ ร้อยละ 54.5 (18 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร้อยละ 46.5 (33 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทารอ้ ยละ 43.5 (30 คน) สาหรับมหาวทิ ยาลัยท่ีคะแนนอยู่ใน ระดบั นอ้ ย มากท่ีสุด มี 3 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ร้อยละ 57.8 (37 คน) มหาวิทยาลัยราช ภฎั รอ้ ยเอ็ด ร้อยละ 41.3 (26 คน) และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี ร้อยละ 64.3 (18 คน) ดงั ตารางท่ี 32

42 ตารางที่ 32 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัยจาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริม EF เด็กปฐมวัยตาม รายชอื่ มหาวทิ ยาลัย กอ่ นการเรียนรู้สาระวิชาสองและการเรียนรู้ ระดบั คะแนน รายชื่อมหาวิทยาลัย จานวนคน (รอ้ ยละ) น้อย ปานกลาง มาก มากทส่ี ุด รวม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ี 18 (64.3) 6 (21.4) 3 (10.7) 1 (3.6) 28 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 37 (57.8) 20 (31.3) 7 (10.9) 0 (0) 64 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั รอ้ ยเอ็ด 26 (41.3) 24 (38.1) 13 (20.6) 0 (0) 63 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ภูเกต็ 9 (27.3) 18 (54.5) 6 (18.2) 0 (0) 33 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา 18 (25.4) 33 (46.5) 19 (26.8) 1 (1.4) 71 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฎสรุ ินทร์ 12 (20.7) 29 (50) 16 (27.6) 1 (1.7) 58 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเลย 6 (18.8) 13 (40.6) 12 (37.5) 1 (3.1) 32 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ 10 (16.9) 32 (54.2) 15 (25.4) 2 (3.4) 59 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา 5 (16.1) 12 (38.7) 13 (41.9) 1 (3.2) 31 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อตุ รดติ ถ์ 8 (13.8) 30 (51.7) 16 (27.6) 4 (6.9) 58 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ 4 (13.3) 9 (30) 15 (50) 2 (6.7) 30 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั ชยั ภูมิ 7 (12.1) 24 (41.4) 25 (43.1) 2 (3.4) 58 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั ราชนครนิ ทร์ 4 (12.1) 18 (54.5) 9 (27.3) 2 (6.1) 33 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั วไลยอลงกรณ์ 6 (11.3) 33 (62.3) 10 (18.9) 4 (7.5) 53 (100) ในพระบรมราชปู ถมั ป์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบุรี 6 (9.5) 22 (34.9) 31 (49.2) 4 (6.3) 63 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเทพสตรี 7 (9.2) 30 (39.5) 34 (44.7) 5 (6.6) 76 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ 5 (8.3) 23 (38.3) 31 (51.7) 1 (1.7) 60 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั 5 (7.8) 36 (56.3) 22 (34.4) 1 (1.6) 64 (100) นครศรีธรรมราช มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา 5 (7.2) 30 (43.5) 29 (42) 5 (7.2) 69 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บรุ ีรัมย์ 4 (6.5) 24 (38.7) 34 (54.8) 0 (0) 62 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเชยี งราย 3 (5) 37 (61.7) 20 (33.3) 0 (0) 60 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครราชสีมา 5 (3.1) 64 (39.3) 84 (51.5) 10 (6.1) 163 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั อุบลราชธานี 0 (0) 23 (30.3) 51 (67.1) 2 (2.6) 76 (100) มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 0 (0) 0 (0) 1 (100) 0 (0) 1 (100)

43 เมื่อจาแนกคะแนนของนักศึกษาที่ตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัด ประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ด้านความมุ่งม่ันตั้งใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็ก ปฐมวยั ตามรายชื่อมหาวทิ ยาลัย ก่อนการเรยี นรู้สาระวิชาสองและการเรียนรู้ พบว่า มหาวิทยาลัยที่คะแนนอยู่ ในระดับน้อย มากท่ีสุด มีเพียง 2 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ร้อยละ 46.9 (30 คน) และ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ร้อยละ 39.3 (11 คน) สาหรับมหาวิทยาลัยอีก 22 แห่ง พบคะแนนอยู่ใน ระดับมาก มากท่ีสุด เรียงตามลาดับร้อยละสูงท่ีสุด ดังน้ี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ร้อยละ 100 (1 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ร้อยละ 93.4 (71 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ ร้อยละ 85.5 (53 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ร้อยละ 82.8 (53 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ร้อยละ 81 (47 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร้อยละ 79.7 (47 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ร้อยละ 78.7 (48 คน) มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ ร้อยละ 78.3 (47 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ร้อยละ 76.7 (23 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ร้อยละ 75.8 (25 คน มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ ร้อยละ 75.8 (25 คน) มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครราชสีมา ร้อยละ 75.6 (124 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย ร้อยละ 75 (24 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ร้อยละ 74.2 (23 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ร้อยละ 73.4 (47 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ร้อยละ 72.5 (50 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ ร้อยละ 72.4 (42 คน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชปู ถัมป์ ร้อยละ 64.8 (35 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ร้อยละ 64.5 (49 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ร้อยละ 55.2 (32 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด ร้อย ละ 52.4 (33 คน) และมหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา ร้อยละ 48.6 (35 คน) ดงั ตารางท่ี 33 ตารางท่ี 33 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัยจาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความมุ่งมั่นต้ังใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัยตามรายชื่อ มหาวิทยาลัย ก่อนการเรยี นรูส้ าระวิชาสองและการเรียนรู้ ระดับคะแนน รายชอ่ื มหาวิทยาลัย จานวนคน (รอ้ ยละ) น้อย ปานกลาง มาก มากที่สดุ รวม มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม 30 (46.9) 11 (17.2) 22 (34.4) 1 (1.6) 64 (100) มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี 11 (39.3) 9 (32.1) 7 (25) 1 (3.6) 28 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 13 (18.1) 23 (31.9) 35 (48.6) 1 (1.4) 72 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั ร้อยเอ็ด 9 (14.3) 21 (33.3) 33 (52.4) 0 (0) 63 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สุรนิ ทร์ 8 (13.8) 18 (31) 32 (55.2) 0 (0) 58 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั ภเู กต็ 4 (12.1) 4 (12.1) 25 (75.8) 0 (0) 33 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ราชนครินทร์ 2 (6.1) 5 (15.2) 25 (75.8) 1 (3) 33 (100)

44 รายชอ่ื มหาวิทยาลัย นอ้ ย ระดับคะแนน รวม 4 (5.3) จานวนคน (ร้อยละ) 76 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เทพสตรี 3 (5.2) ปานกลาง มาก มากทีส่ ุด 58 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ 18 (23.7) 49 (64.5) 5 (6.6) มหาวิทยาลยั ราชภฎั วไลยอลงกรณ์ 2 (3.7) 13 (22.4) 42 (72.4) 0 (0) 54 (100) ในพระบรมราชปู ถัมป์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎอตุ รดิตถ์ 2 (3.4) 16 (29.6) 35 (64.8) 1 (1.9) 58 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หม่บู ้านจอมบงึ 1 (3.3) 30 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั สงขลา 1 (3.2) 8 (13.8) 47 (81) 1 (1.7) 31 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎเลย 1 (3.1) 5 (16.7) 23 (76.7) 1 (3.3) 32 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครราชสีมา 3 (1.8) 6 (19.4) 23 (74.2) 1 (3.2) 164 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบุรี 1 (1.6) 6 (18.8) 24 (75) 1 (3.1) 64 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฎบรุ รี ัมย์ 1 (1.6) 28 (17.1) 124 (75.6) 9 (5.5) 62 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั อบุ ลราชธานี 0 (0) 11 (17.2) 47 (73.4) 5 (7.8) 76 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา 0 (0) 7 (11.3) 53 (85.5) 1 (1.6) 69 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 4 (5.3) 71 (93.4) 1 (1.3) นครศรีธรรมราช 0 (0) 17 (24.6) 50 (72.5) 2 (2.9) 64 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชยี งราย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์ 0 (0) 9 (14.1) 53 (82.8) 2 (3.1) 61 (100) มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ 0 (0) 60 (100) มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 0 (0) 11 (18.0) 48 (78.7) 2 (3.3) 59 (100) 0 (0) 11 (18.3) 47 (78.3) 2 (3.3) 1 (100) 10 (16.9) 47 (79.7) 2 (3.4) 1 (100) 0 (0) 0 (0) หลังจากเข้าเรียนสาระวิชาสมองและการเรียนรู้เป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา ผลคะแนนประเมินการ รับรู้ความสามารถของตนเองจาแนกตามรายภาค หลังการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า มี นักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริม ทักษะสมอง EF จานวนท้งั หมด 227 คน โดยพบนกั ศกึ ษาที่ตอบแบบประเมินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาก ที่สุด จานวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2.2 รองลงมาคือ ภาคเหนือ จานวน 54 คน (ร้อยละ 23.8) และ ภาค กลาง จานวน 48 คน (ร้อยละ 21.1) ตามลาดบั ดงั ตารางที่ 34

45 ตารางที่ 34 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทเ่ี ข้าร่วมการวิจัย จาแนกตามรายภาค รายภาค จานวน (คน) ร้อยละ ภาคเหนอื 54 23.8 ภาคกลาง 48 21.1 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 73 32.2 ภาคตะวันตก 24 10.6 ภาคใต้ 28 12.3 รวม 227 100.0 ผลคะแนนประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเองหลังการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า มีนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เรื่องการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อ สง่ เสรมิ ทกั ษะสมอง EF ทั้ง 3 ดา้ น ดังนี้ การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านความรู้ความเข้าใจเรื่องสมองกับการเรียนรู้ พบว่าทุกภาค มี คะแนนอยู่ในระดับมาก มากที่สุด ดังน้ี ภาคเหนือ ร้อยละ 64.8 (35 คน) ภาคกลาง ร้อยละ 56.3 (27 คน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 56.2 (41 คน) ภาคตะวันตก ร้อยละ 79.2 (19 คน) และภาคใต้ ร้อยละ 82.1 (23 คน) ดงั ตารางท่ี 35 ตารางท่ี 35 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองดา้ นความร้คู วามเข้าใจเรื่องสมองกบั การเรยี นรู้ ตามรายภาค หลงั การเรียนรู้สาระวิชา สมองกับการเรยี นรู้ รายภาค ระดับ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก ภาคใต้ คะแนน เฉียงเหนอื จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ นอ้ ย 0 0 0 0 4 5.5 0 0 0 0 ปานกลาง 7 13 8 16.7 2 2.7 1 4.2 1 3.6 มาก 35 64.8 27 56.3 41 56.2 19 79.2 23 82.1 มากทีส่ ดุ 12 22.2 13 27.1 26 35.6 4 16.7 4 14.3 รวม 54 100 48 100 73 100 24 100 28 100 การรบั รูค้ วามสามารถของตนเองด้านความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริม EF เด็ก ปฐมวยั พบภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง มากที่สุด ได้แก่ ร้อยละ 61.1

46 (33 คน) ร้อยละ 54.2 (13 คน) และร้อยละ 71.4 (20 คน) ตามลาดับ สาหรับภาคกลางและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากที่สุด คือ ร้อยละ 43.8 (21 คน) และร้อยละ 42.5 (31 คน) ดงั ตารางท3ี่ 6 ตารางท่ี 36 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความสามารถในการจัดประสบการณเ์ รียนรู้เพ่ือสง่ เสริม EF เด็กปฐมวัย ตามราย ภาค หลงั การเรยี นรสู้ าระวชิ าสมองกบั การเรียนรู้ รายภาค ระดับ ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ คะแนน เฉียงเหนอื จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ นอ้ ย 2 3.7 2 4.2 4 5.5 0 0 2 7.1 ปานกลาง 33 61.1 19 39.6 27 37.0 13 54.2 20 71.4 มาก 17 31.5 21 43.8 31 42.5 10 41.7 5 17.9 มากทีส่ ุด 2 3.7 6 12.5 11 15.1 1 4.2 1 3.6 รวม 54 100 48 100 73 100 24 100 28 100 การรับรู้ความสามารถของตนเอง ด้านความมุ่งม่ันตั้งใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัย พบว่าทุกภาค มีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากท่ีสุด ดังน้ี ภาคเหนือ ร้อยละ 87 (47 คน) ภาคกลาง ร้อยละ 81.3 (39 คน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 68.5 (50 คน) ภาคตะวันตก ร้อยละ 87.5 (21 คน) และ ภาคใต้ ร้อยละ 82.1 (23 คน) ดงั ตารางท่ี 37 ตารางท่ี 37 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัย จาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ด้านความมุ่งมั่นตั้งใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัยตามรายภาค หลัง การเรยี นรู้สาระวิชาสมองกบั การเรียนรู้ รายภาค ระดับ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ คะแนน เฉยี งเหนือ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ปานกลาง 5 9.3 6 12.5 11 15.1 1 4.2 3 10.7 มาก 47 87 39 81.3 50 68.5 21 87.5 23 82.1 มากทสี่ ดุ 2 3.7 3 6.3 12 16.4 2 8.3 2 7.1

47 ระดบั ภาคเหนือ ภาคกลาง รายภาค ภาคตะวนั ตก ภาคใต้ คะแนน ภาคตะวนั ออก จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ รวม เฉยี งเหนือ 54 100 48 100 24 100 28 100 จานวน ร้อยละ 73 100 เม่ือจาแนกคะแนนของนักศึกษาที่ตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัด ประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ด้านความรู้ความเข้าใจตามรายชื่อมหาวิทยาลัย หลังการ เรียนรู้สาระวิชาวมองกับการเรียนรู้ พบว่า เกือบทุกมหาวิทยาลัยท่ีมีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากท่ีสุด โดย เรียงลาดับตามร้อยละที่สูงที่สุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ร้อยละ 83.3 (15 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ร้อยละ 81.5 (22 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ร้อยละ 66.7 (10 คน) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ รอ้ ยละ 65 (13 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ร้อยละ 64.8 (35 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร้อยละ 54.2 (13 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ร้อยละ 53.4 (31 คน) นอกจากนย้ี ังพบมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง มาก และมากที่สุด เท่ากันคือ ร้อยละ 33.3 (1 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มีคะแนนอยู่ในระดับมาก และมากท่ีสุด เท่ากันคอื รอ้ ยละ 50 (1 คน) สาหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พบว่า มีนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมิน เพียง 1 คน โดยมีคะแนนอยู่ในระดับมากที่สุด และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาที่พบว่า มีนักศึกษาท่ีตอบแบบ ประเมนิ เพียง 1 คนเช่นเดียวกัน ซงึ่ มีคะแนนอยู่ในระดบั มาก ดงั ตารางท่ี 38 ตารางท่ี 38 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมการวิจัยจาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองด้านความรคู้ วามเข้าใจตามรายช่ือมหาวิทยาลยั หลงั การเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการ เรยี นรู้ ระดบั คะแนน รายช่ือมหาวิทยาลัย จานวนคน (ร้อยละ) น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสดุ รวม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม 0 (0) 0 (0) 0 (0) 1 (100) 1 (100) มหาวิทยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี 0 (0) 0 (0) 1 (50) 1 (50) 2 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม 1 (1.7) 1 (1.7) 31 (53.4) 25 (43.1) 58 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ 0 (0) 2 (8.3) 13 (54.2) 9 (37.5) 24 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา 0 (0) 1 (33.3) 1 (33.3) 1 (33.3) 3 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี 0 (0) 0 (0) 3 (75) 1 (25) 4 (100) มหาวิทยาลัยราชภฎั เชียงราย 0 (0) 7 (13) 35 (64.8) 12 (22.2) 54 (100)

48 ระดบั คะแนน รายช่อื มหาวิทยาลัย จานวนคน (ร้อยละ) น้อย ปานกลาง มาก มากทีส่ ดุ รวม มหาวิทยาลัยราชภัฏ 0 (0) 1 (3.7) 22 (81.5) 4 (14.8) 27 (100) นครศรีธรรมราช มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง 0 (0) 1 (5.6) 15 (83.3) 2 (11.1) 18 (100) มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ์ 0 (0) 5 (25) 13 (65) 2 (10) 20 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สรุ นิ ทร์ 3 (20) 1 (6.7) 10 (66.7) 1 (6.7) 15 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา 0 (0) 0 (0) 1 (100) 0 (0) 1 (100) เมื่อจาแนกคะแนนของนักศึกษาที่ตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัด ประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ด้านความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริม EF เด็กปฐมวัยตามรายชื่อมหาวิทยาลัย หลังการเรียนรู้สาระวิชาสมองกับการเรียนรู้ พบว่า มหาวิทยาลัยท่ี คะแนนอยู่ในระดับมาก มากท่ีสุด มีจานวน 3 แห่ง เรียงตามลาดับร้อยละ ดังนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ร้อยละ 46.7 (7 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร้อยละ 45.8 (11 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ร้อยละ 41.4 (24 คน) และพบมหาวิทยาลัยทค่ี ะแนนอยู่ในระดับปานกลาง มากท่ีสุด มีจานวน 5 แห่ง เรียงตามลาดับร้อยละ ดังน้ี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ร้อยละ 75 (3 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช ร้อยละ 70.4 (19 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ร้อยละ 61.1 (33 คน) มหาวิทยาลัย ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ รอ้ ยละ 55.6 (10 คน) และมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ ร้อยละ 50 (10 คน) สาหรับ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พบว่า มีนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินเพียง 1 คน โดยมีคะแนนอยู่ในระดับ มาก และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาที่พบว่า มีนักศึกษาที่ตอบแบบประเมินเพียง 1 คนเช่นเดียวกัน มีคะแนน อย่ใู นระดบั ปานกลาง และมหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี พบนักศึกษาท่ีตอบแบบประเมินจานวน 2 คน ซ่ึงมี คะแนนอยูใ่ นระดบั มาก ดงั ตารางท่ี 39 ตารางที่ 39 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัยจาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองด้านความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือส่งเสริม EF เด็กปฐมวัยตาม รายชอ่ื มหาวิทยาลยั หลังการเรยี นรู้สาระวิชาสมองกับการเรยี นรู้ ระดบั คะแนน รายชือ่ มหาวิทยาลัย จานวนคน (รอ้ ยละ) นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทีส่ ุด รวม มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา 0 (0) 1 (33.3) 1 (33.3) 1 (33.3) 3 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี 0 (0) 3 (75) 0 (0) 1 (25) 4 (100)

49 รายช่ือมหาวิทยาลัย น้อย ระดับคะแนน รวม 3 (5.2) จานวนคน (รอ้ ยละ) 58 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 1 (4.2) ปานกลาง มาก มากที่สดุ 24 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ 1 (6.7) 21 (36.2) 24 (41.4) 10 (17.2) 15 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ 2 (3.7) 8 (33.3) 11 (45.8) 4 (16.7) 54 (100) มหาวิทยาลยั ราชภฎั เชยี งราย 6 (40.0) 7 (46.7) 1 (6.7) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั 2 (7.4) 33 (61.1) 17 (31.5) 2 (3.7) 27 (100) นครศรีธรรมราช มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมูบ่ ้านจอมบงึ 0 (0) 19 (70.4) 5 (18.5) 1 (3.7) 18 (100) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ 1 (5) 20 (100) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 0 (0) 10 (55.6) 7 (38.9) 1 (5.6) 2 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา 0 (0) 10 (50) 8 (40) 1 (5) 1 (100) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ลู สงคราม 0 (0) 0 (0) 2 (100) 0 (0) 1 (100) 1 (100) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 1 (100) 0 (0) เม่ือจาแนกคะแนนของนักศึกษาที่ตอบแบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง เร่ืองการจัด ประสบการณ์เรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะสมอง EF ด้านความมุ่งม่ันตั้งใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็ก ปฐมวัยตามรายช่ือมหาวิทยาลัย หลังการอบรม พบว่า ไม่มีมหาวิทยาลัยท่ีมีคะแนนอยู่ในระดับน้อย และส่วน ใหญ่พบมหาวิทยาลัยมีคะแนนอยู่ในระดับมาก มากท่ีสุด ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ร้อยละ 69 (40 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ร้อยละ 91.7 (22 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ ร้อยละ 66.7 (10 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ร้อยละ 85.2 (23 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ร้อยละ 87 (47 คน) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ร้อยละ 83.3 (15 คน) และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ รอ้ ยละ 75 (15 คน) สาหรบั มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี พบว่า มีนักศึกษาที่ตอบแบบประเมิน จานวน 4 คน โดยมีคะแนนอย่ใู นระดบั มากทุกคน (รอ้ ยละ 100) ดังตารางท่ี 40 ตารางที่ 40 แสดงจานวนและร้อยละของนักศึกษาท่ีเข้าร่วมการวิจัยจาแนกระดับคะแนนการรับรู้ ความสามารถของตนเองด้านความมุ่งมั่นต้ังใจในการส่งเสริมทักษะสมอง EF เด็กปฐมวัยตามรายช่ือ มหาวทิ ยาลัย หลงั การเรียนรสู้ าระวิชาสมองกับการเรยี นรู้ ระดับคะแนน รายชอื่ มหาวิทยาลัย จานวนคน (รอ้ ยละ) ปานกลาง มาก มากท่ีสุด รวม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา 0 (0) 1 (33.3) 2 (66.7) 3 (100)