Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebookอัลกอริทึม

ebookอัลกอริทึม

Published by apinsinemoon, 2020-08-15 04:38:16

Description: computingp3

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จัดท�ำโดย : บริษัท อิมเมจิเนียร่ิง เอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด 138 ถนนอ่อนนุช ประเวศ กรุงเทพ 10250 ผเู้ รยี บเรยี ง : นางสาววนั มาฆะ ปะวรณา นางสาวอลสิ ษา หงสท์ อง นางสาวสรุ ยี ร์ ตั น์ วงิ สกลุ ผตู้ รวจ : ผศ.ดร.อมรรตั น์ เลศิ วรสริ กิ ลุ ผศ.รวนิ ทร์ ไชยสทิ ธพิ ร ดร.มนตอ์ มร ปรชี ารตั น์ บรรณาธิการ : นางบุหงา ติภิ พิมพ์ครั้งที่ 1 : กุมภาพันธ์ 2563 จ�ำนวน : 5,000 เล่ม ISBN : 978-616-93054-7-7 ราคา : 115 บาท

ค�ำนิยม หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำนวณ) เป็นหนังสือที่สร้างสรรค์จากแรงบันดาลใจท่ีจะผลิตสื่อ ท่ีมีความทันสมัย สอดคล้องกับยุคสมัยและธรรมชาติของผู้เรียนในศตวรรษ ท่ี 21 ซ่ึงเป็นเด็ก GEN-M Multitasker ท่ีต้องรู้จักใช้ส่ือสารสนเทศและ เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมด้วยความคิดพิจารณา คิดวิเคราะห์ และใช้เป็น เคร่ืองมือในการแก้ปัญหา บูรณาการกับทักษะชีวิตให้เป็นเด็กท่ีมีคุณภาพ มีคุณธรรมและมีความสุข กระผมขอชื่นชมท่ี อิมเมจิเนียร่ิง เอ็ดดูเคชั่น กล้าที่จะคิดนอกกรอบและมุ่งเน้นเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของเด็ก ไทย คิดว่าทุกท่านคงตั้งความหวังต่อคุณภาพและมาตรฐานของการศึกษา ไทยซ่ึงเป็นเรื่องใกล้ตัวและเป็นเรื่องของคนไทยทุกคน เราทุกคนอยากให้ ลูกหลานเรารู้จักเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ และปฏิบัติได้จริง เราคงต้องช่วย กันทุกฝ่าย ดังนั้น ผมจึงอยากเชิญชวนให้ทุกท่านได้ลองอ่านหนังสือเล่มนี้ และช่วยกันวิพากษ์วิจารณ์เพ่ือการพัฒนาการเรียนการสอนเทคโนโลยีให้ เป็นการใช้ที่มีประโยชน์กับเด็กไทยอย่างแท้จริง ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 สาระวิชา มีความส�ำคัญ แต่ไม่เพียงพอส�ำหรับการ เรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนจ�ำเป็นต้องมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทกั ษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (4Cs) ทกั ษะชวี ติ สาระวิชาหลกั (3Rs) ทกั ษะ และอาชีพ เทคโนโลยี สารสนเทศ และการ สื่อสาร

โลกทุกวันน้ีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจนแทบตามไม่ทันโดยเฉพาะเทคโนโลยี และนวัตกรรม เราปฏิเสธไม่ได้ว่าเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ของเด็กๆ ในยุคศตวรรษที่ 21 ในยุคของดิจิทัล เราไม่ได้เรียนเพื่อให้ได้ความรู้แต่ เพียงอย่างเดียว เราต้องได้ทักษะด้วย ทักษะที่ว่า ก็คือ ทักษะการเรียนรู้ ทักษะการคิด ทักษะ การสร้างสรรค์ ทักษะการท�ำงานร่วมกันกับผู้อื่น และด้วยนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ท่ีเน้นให้ ผู้เรียนได้สร้างนวัตกรรมโดยใช้เทคโนโลยี ท�ำให้วิชาเทคโนโลยีย้ายจากกลุ่มสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี มาอยู่กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ในสาระที่ 4 เพ่ือให้เกิดการบูรณาการร่วมกับวิชา วิทยาศาสตร์อย่างแท้จริงหรือเป็น สะเต็มศึกษา (STEM Education) อย่างแท้จริง อิมเมจิเนียริ่ง เอ็ดดูเคชั่น ตระหนักถึงการพัฒนาเพื่อสร้างทักษะแห่งอนาคตให้แก่ เด็กไทย เพื่อให้สามารถแข่งขันกับประชาคมโลก จึงปรับหลักสูตรให้เด็กๆ ได้สนุกเรียนรู้ด้วยการ คิดไปกับการใช้ PBL (Problem Based Learning) ในรูปแบบการ์ตูนแอนิเมชัน พร้อมท้ัง กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบสะเต็มศึกษา (STEM Workshop) มาพร้อมกับโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน โครงสร้างของหนังสือนี้ ท�ำบนพื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรู้ของ กระทรวงศึกษาธิการฉบับปรับปรุง ปี 2560 อิมเมจิเนียร่ิง เอ็ดดูเคชั่น หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นอีกหน่ึงฟันเฟืองเล็กๆ ในการ ขับเคล่ือนเพ่ือให้เด็กไทยใช้เทคโนโลยีได้อย่างชาญฉลาด มีความรักในการเรียนรู้ และพร้อมที่จะ ท�ำให้สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องต่อไปในอนาคตและน�ำองค์ความรู้มาต่อยอดสร้างสรรค์ งานในรูปแบบของตนเองได้ เพื่อใช้ประโยชน์เทคโนโลยีได้อย่างแท้จริง บริษัท อิมเมจิเนียร่ิง เอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด

สCาoรmบpuัญational thi แสดงอัลกอรทิ ึมในการทำ�งานหรอื การแก้ปัญหา hin อย่างงา่ ยโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ 8 king king king กกิจิจกกรรรรมม กกาารรแแสสดดงงออััลลกกออรริทิทึมึม 1. (Com11p04utational Thin หน่วยที่ 1 โกดายรกแาสรดเงขอียลันกขออ้ รคิทวมึาโมดยบกอCากรเวลoาา่ ดmภาพp uat16ional กจิ กรรม thi hin กจิ กรรม การแสดงอัลกอรทิ มึ โดยการใชส้ ัญลกั ษณ ์ 18 hin กจิ กรรม การใช้แนวคดิ เชงิ คำ�นวณในการแกป้ ัญหา 24 กใบิจกกจิรกรมรรทมกา้ oใากห1ราล้ทoรอำแ1�งคสทวดำาง�มออสลััลCะกกoอออาmรรดทิิทpหึมมึ อ้u สงtอเeรนCrียเ นsลocน่ iเemก nมc 1ep . (Cuoamt33p42iuotantioa2nl.aCltTohhmiinp หน่วยที่ 2 เขยี นโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือสือ่ หน่วยท่ี 3 แกจิลเกะปรลตรีย่ รมนวเป จกน หารรูปาเขขอยีปุ ้อกนผรโณดิปกรพบัแลกกาารรดมเช ขอ่ื มอโยงง โปรแ กร ม3 1 ..I(CCTomlit33pe86ruatcaytional Thin ใบกจิ กรรม การเขียนโปCรแoกmรมp uter science 40-41 2. Comp กจิ กรรม กกoาารร1เเoขขีียย1นนโโปปรรแแกกรรมมใโดหย้ตใวั ชล้สะื่อคร cทo�ำdงeา.นoวrgน ซ้�ำ 44 กิจกรรม 48 กิจกรรม การตรวจสอบหาข้อผดิ พลาด 52 กกเจิิจปกกลเปยี่รรลนรรีย่ เมมปนนเ ปอเกรนทูปoาารครณ1ปูโลเโoขานกอจยี1กุปโลกับันกกรยรโณบัปขีสเกอรรชบัแา้อ่ืงCกงเมกราสoโรายรรมmเมงชรขา่ือคSอpชมม ์cโuว่ ูลrยยatงteก cนัrhปs c กiปe อ้n ง c43 e. . IInCfTolrimt65e46araticoyn L2it.eCroamcyp ใกกชิจจิ ้อกกเเปปรรินลลรรเ่ยีย่ีมมทนนเอเ ปปเอวรนนิน็บรเ์รนเูปปูเทบต็อNอรุปคeรากtเ์้นวwรน์เณหoซ็ตกrอาคkับรคือwก์ อวาiเfiวระาเบ็ชไมรอ่ืไซรมมตู้ โยีป์ งเรวะบ็ โเยพชจนค์อือยอ53า่ ะ..งไDIไรCร i gTiltiat667el486rLaitceyracy กกกเิจิจิจปกกกลรรรย่ี รรรนมมมเป นเกกรทูปาาครรโใสโลชนกืบอ้กโคลบัินน้ยกเทบัขีสเอ้อรช้าม่ือรงมเ์ลู นสโบยร็ตงนรอขคออย์ มนิ ่าลู เงทปอล รอเ์ ดนภ็ตยั 64 .. Inform78ation Literacy ขอ้ มลู อะไรดนี ะเน่ีย Digita88l48citizenship เปลี่ยนเปนรูป Network wifi 54.. DInifgoirtmalaLtiitoenraLciyteracy เปลยี่ นเปนรูป โลกกบั กับเชอื่ มโยงขอมูล

king สารบัญ Computer science 2. Com หน่วยที่ 4 o1o1 หน่วยที่ 5 รวบรวม ประมวลผล และนำ�เสนอขอ้ มลู 90 กกจิจิ กกเรรปรรลมมยี่ น เปกขนอ้ารรมปูรูลวอแบุปลกระรวแณมหกขบัลอ้ กง่มาขรลู อ้เแชม่ือลูลมะโคปยอืงรอะะมไวรล ผลข3้อ.มICูล T 92 กิจกรรม การนำ�เสนอขอ้ มูล lite9r6acy 104 กิจกรรม เทคโนโลยีสรา้ งสรรค์ ไทยเที่ยวไทย 112 4. Information Litera กาเปรลใยี่ ชนซ้เปอน รฟูปตโล์แกวกรับ์ทกบั ำ�เชงื่อามนโยตงขาอ มมวลู ัตถปุ ระสงค ์ 114 กิจกรรม ซอฟตแ์ วรต์ ามวตั ถปุ ระสงค ์ 116 กิจกเรปรลมย่ี นเเโปทปน คสรโปูเนตNอโลeรtย์แwสีสoรrนkา้ สงwวสifiยร รค์ 5. D igita1l2L8iteracy กิจกรรม เทคโนโลยีสร้างสรรค์ 144 ซอฟต์แวรต์ ารางทำ�งานชว่ ยเราด้วย กจิ กรรม เพทรคะโมนหโลายราีสชราา้ งสรรค ์ 6. D igita1l5c4itizenship หน่วยที่ 6 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย 156 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงในการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ 158 กจิ กรรม การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภัย 166 และการปกปอ้ งขอ้ มูลว่ นตวั 174 กิจกรรม พบขอ้ มลู หรอื บุคคลทที่ ำ�ใหไ้ มส่ บายใจ ในอนิ เทอร์เนต็ ควรทำ�อย่างไร 180 กจิ กรรม ขอ้ ดีและข้อเสียในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร บรรณานุกรม

หน่วยท่ี 1 แสดงอัลกอริทมึ ในการทำ�งานหรอื แก้ปัญหา อยา่ งงา่ ยโดยใชภ้ าพ สญัCลoักmษpณu์ หaรtiอื oขn้อaคlวtาhมi nking สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเ1ช.ิง(คC�ำoนmวpณutใaนtกioาnรaแlกTh้ปiัญnkหinาg) ที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้การท�ำงาน และการ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม การใช้แนวคิดเชิงค�ำCนoวmณpใuนtกerาsรcแieกn้ปceัญหา 2. Computer science (pro เป็นทักษะกoา1รoแ1ก้ปัญหา โดยใช้วิธีการคิดอย่างเป็นระบบ โดยต้อง รู้จักแยกแยะปัญหา เข้าใจความส�ำคัญของปัญหา รู้จักวิเคราะห์ รูปแบเปบลี่ยขนอเปงนปรปู ัญอุปหการณแก ับลกะารแเชสอื่ มดโยงงล�ำดับขั้น3ต. IอCนTกlitาeรrแacกy้ปัญหา ตวั ชี้วดั ว 4.2 ป 3/1 แสดงอัลกอริทึมในการท�ำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ 4. Information Literacy เปล่ียนเปนรูป โลกกบั กับเช่ือมโยงขอ มลู Education is not the learning of เปลยี่ นเปนรปู Network wfiafi cts but the5.trDaiginitianlgLitoefratchye mind to think. ...การศกึ ษาไมใ่ ชก่ ารเรยี นรขู้ อ้ เทจ็ จรงิ แ6ต.เ่Dปiน็ gกitาaรlฝcกึitฝizนeเnพsอ่ื hทipจ่ี ะคดิ ... -- อลั เบริ ต์ ไอนส์ ไตน์ (Albert Einstein) --

อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนท่ีใช้ในการแก้ปัญหา การแสดงอัลกอริทึม ท�ำได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetris เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การท�ำความสะอาดห้องเรียน จุดเร่ิมต้น นักเรียนสามารถแสดงอัลกอริทมึ การเล่นเกมบันไดงูได้หรอื ไม่

?10 การแสดงอลั กอรทิ มึ หรอื การแสดง ล�ำ ดบั ขน้ั ตอนการท�ำ งานหรอื แกป้ ญั หา แสดงอัลกอรทิ ึมในการทำ�งานหรอื การแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรอื ข้อความ (ว.4.2 ป.3/1) ทุกวันลิปดามักจะไปโรงเรียนสายแม้ว่าจะตื่นตามเวลาปกติ สาเหตุ เนื่องจากลิปดาสับสนเกี่ยวกับการทำ�กิจวัตรประจำ�วันในตอนเช้าของตนเอง คุณแม่จึงแนะนำ�ให้ลิปดาแสดงอัลกอริทึมหรือการแสดงลำ�ดับขั้นตอนการทำ� กิจวัตรประจำ�วันในตอนเช้าจะได้ไม่สับสน อย่างนั้นลิปดา ควรแสดงอัลกอริทึมหรือการ คุณแม่คะลิปดาตื่น แสดงล�ำดับขั้นตอนภารกิจ มาแล้วไม่รู้ว่าควรท�ำ วัตรประจ�ำวันตอนเช้านะคะ กิจวัตรประจ�ำวันตอนเช้า อะไรก่อนหลังดีคะ การแสดงลำ�ดับข้ันตอนการทำ�งานหรอื การแกป้ ญั หา (อัลกอรทิ มึ ) คืออะไร Primary 3

?11 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3-4 คน อ่านใบความรู้หน้า 12-13 2. ให้นักเรียนแต่ละคนแสดงอัลกอริทึมหรือการแสดงลำ�ดับ ขั้นตอนการทำ�กิจวัตรประจำ�วันในตอนเช้าของนักเรียน โดยเขียนลงในกระดาษ A4 4. ให้นักเรียนส่งตัวแทนออกมานำ�เสนอหน้าชั้นเรียน 1. ให้นักเรียนเปรียบเทียบอัลกอริทึมของแต่ละกลุ่มที่นำ�เสนอ ว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 2. ให้นักเรียนลงคะแนนว่า อัลกอริทึมของกลุ่มใดแสดงได้ละเอียด ชัดเจนและเป็นลำ�ดับขั้นตอนมากที่สุด 1. การแสดงอัลกอริทึมหรือลำ�ดับขั้นตอนการทำ�งานคืออะไร 2. การแสดงลำ�ดับขั้นตอนการแก้ปัญหามีประโยชน์อย่างไร 3. ให้นักเรียนเปรียบเทียบการทำ�งานหรือการแก้ปัญหาที่มี และไม่มีลำ�ดับขั้นตอนว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร นักเรียนสามารถนำ�ความรู้เรื่องการแสดงอัลกอริทึมในการทำ�งาน หรือการแก้ปัญหาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรในชีวิตประจำ�วัน จากกิจกรรมนี้นักเรียนคิดว่านักเรียนได้รับทักษะอะไรบ้าง

?12 อัลกอริทึม (Algorithm) อัลกอริทึม คือการแสดงล�ำดับการแก้ปัญหาท่ีสามารถอธิบายออกมาเป็น ขั้นตอนหรือค�ำส่ังการท�ำงานท่ีชัดเจนและละเอียด โดย การแสดงอัลกอริทึม สามารถทำ� ได้โดยการเขยี น บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ โดยการเขยี น นัน้ ต้องเขยี นให้ ละเอยี ด ชดั เจน เป็นข้นั ตอนเขา้ ใจง่ายและมกี ารเรยี งล�ำดบั ข้ัน ตวั อยา่ งปญั หาและการแสดงล�ำดบั ขน้ั ตอนการแก้ปญั หา (อัลกอริทึม) เด็กชายเคนมักมาโรงเรียนสาย คุณครูจึงถามว่าเพราะเหตุใด เด็กชายเคน จึงตอบว่า ก็ตื่นมาแล้วไม่แน่ใจว่าต้องท�ำอะไรบ้างจึงท�ำให้สับสน คุณครูจึงให้ แสดงล�ำดับข้ันตอนการท�ำกิจวัตรประจ�ำวันในตอนเช้าก่อนไปโรงเรียนเพ่ือน�ำ ไปใช้ในการเรียงล�ำดับการท�ำกิจวัตรประจ�ำวันในตอนเช้า ต่ืนนอนก่ีโมง อาบน�้ำแต่งตัว เข้าห้องน้�ำ รับประทานอาหาร ออกจากบ้าน แปรงฟัน ขึ้นรถโรงเรียน Primary 3

การเรยี งลำ�ดบั ของคำ�สง่ั ?13 การเรียงล�ำดับของค�ำส่ัง (Order) การเขียนอัลกอริทึมนั้นจ�ำเป็นต้องเรียงล�ำดับขั้นตอนให้ถูกต้อง เม่ือน�ำ อัลกอริทึมไปใช้แก้ปัญหาหรือท�ำงานแล้วจะได้ผลลัพธ์ท่ีถูกต้อง ตัวอย่างการเขยี นอัลกอรทิ ึม (Algorithm) การทำ� คพั เคก้ 1. เตรยี มส่วนผสม 2. น�ำส่วนผสมรวมกนั 3. คนส่วนผสมใหเ้ ขา้ กัน 5. เข้าเตาอบ 20 นาที 4. เทใสแ่ มพ่ มิ พ์ 5. แตง่ หน้าคัพเค้ก 6. คพั เค้กเสรจ็ สมบูรณ์ Note ซ่ึงจากตัวอย่างอัลกอริทึมการท�ำคัพเค้ก หากการแสดงล�ำดับข้ันตอนการท�ำงานหรือ การแก้ปัญหาไม่ถูกต้องจะท�ำให้การท�ำงานหรือการแก้ปัญหาเกิดความผิดพลาดได้ ดังน้ันการเรียงลำ� ดับข้นั ตอนการทำ� งานหรือการแก้ปญั หาใหถ้ กู ต้องจงึ เป็นสิ่งทีส่ ำ� คัญ

?14 การแสดงอลั กอรทิ มึ โดยการเขยี นขอ้ ความ บอกเลา่ แสดงอลั กอริทมึ ในการทำ�งานหรือการแกป้ ญั หาอย่างงา่ ย โดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรือขอ้ ความ (ว.4.2 ป.3/1) ลิปดาพาตุ๊กตาหมีตัวโปรดไปเท่ียวในสวนสาธารณะกับคุณแม่ ขณะเดิน ชมสวนอย่างมีความสุข ลิปดาลืมตุ๊กตาหมีท้ิงไว้บนเก้าอี้ พอนึกข้ึนได้ลิปดาก็หา ตุ๊กตาหมีไม่เจอแล้ว คุณแม่จึงให้ลิปดานึกและบอกหรือเขียนข้อความว่าลิปดา เดนิ หรือหยดุ พกั ในจดุ ไหนในสวนสาธารณะบา้ ง แย่แล้วลิปดา ลิปดานึกและ ลืมตุ๊กตาหมีไว้ไหน บอกซิว่าลิปดาไปเดิน ก็ไม่รู้ค่ะ ในสวนท่ีไหนบ้าง การแสดงอลั กอริทมึ ในการทำ�งานหรือการแก้ปญั หา ดว้ ยการเขยี นข้อความ บอกเล่า ทำ�อย่างไร Primary 3

?15 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3-4 คน อ่านใบความรู้หน้า 20-21 2. ให้นักเรียนในกลุ่มนำ�หนังสือไปวางในตำ�แหน่งใดก็ได้ในห้องเรียน 3. ให้นักเรียนช่วยกันเขียนลำ�ดับขั้นตอน (อัลกอริทึม) การเดินทางจากหน้าประตูห้องเรียนไปยังจุดที่วางหนังสือไว้ 4. ให้เพื่อนในกลุ่มช่วยกันบอกเล่าให้เพื่อนต่างกลุ่มปฏิบัติตาม 1. เพื่อนต่างกลุ่มสามารถเดินตามอัลกอริทึมที่นักเรียนบอกได้หรือไม่ 2. หากเพื่อนต่างกลุ่มไม่สามารถทำ�ตามขั้นตอนกลุ่มของนักเรียนได้ นักเรียนคิดว่าเกิดจากอะไรและจะแก้อัลกอริทึมของนักเรียนอย่างไร 1. การแสดงอัลกอริทึมหรือการแสดงลำ�ดับขั้นตอนการทำ�งานหรือ การแก้ปัญหาด้วยการเขียนข้อความ บอกเล่า มีประโยชน์อย่างไร 2. นักเรียนมีข้อเสนอแนะให้เพื่อนต่างกลุ่มในการแสดงอัลกอริทึม ด้วยการเขียนข้อความบอกเล่าหรือไม่อย่างไร นักเรียนสามารถนำ�ความรู้เรื่องการแสดงอัลกอริทึมโดยการเขียน ข้อความ บอกเล่าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรในชีวิตประจำ�วัน จากกิจกรรมนี้นักเรียนคิดว่านักเรียนได้รับทักษะอะไรบ้าง

?16 แสดงอัลกอรทิ มึ ในการท�ำ งานหรือ แก้ปัญหาการทำ�อาหารโดยใช้ภาพ แสดงอัลกอริทึมในการทำ�งานหรือการแก้ปญั หาอย่างงา่ ย โดยใช้ภาพ สัญลกั ษณ์ หรอื ข้อความ (ว.4.2 ป.3/1) วันนี้เปน็ วันเกิดคุณพ่อ ลิปดาอยากทำ�อาหารเช้าให้คณุ พอ่ ทานตอนตื่นนอน ลิปดานึกข้ึนได้ว่าคุณพ่อชอบทานไข่ดาว แต่ลิปดาไม่รู้ว่าต้องทำ�อย่างไร จึงไป ปรึกษาคุณแม่ คุณแม่จึงได้บอกข้ันตอนการทำ�ไข่ดาว แต่ลิปดาจำ�ไม่ได้คุณแม่จึง แนะนำ�ให้ใช้การวาดภาพเพื่อแสดงลำ�ดบั ข้ันตอนการทำ�งานแทน การแสดงอัลกอริทึม ไม่ยากเลยจ้า โดยการใช้ภาพ ลิปดาค่อยๆ วาดภาพ ท�ำอย่างไรคะ ทีละข้ันตอนซิจ๊ะ การแสดงอัลกอริทึมในการทำ�งานหรอื การแก้ปัญหา ดว้ ยการใชภ้ าพทำ�อย่างไร Primary 3

?17 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3-4 คน อ่านใบความรู้หน้า 20 - 21 2. ให้นักเรียนร่วมกันค้นหาข้อมูลการทำ�อาหาร 1 ชนิด เช่น การทำ�ไข่เจียว โดยค้นหาจากแหล่งข้อมูล เช่น หนังสือ อินเทอร์เน็ต 3. ให้นักเรียนร่วมกันออกแบบอัลกอริทึมโดยการวาดภาพลงบนกระดาษ 4. ให้นักเรียนนำ�เสนอหน้าชั้นเรียนหรือในรูปแบบนิทรรศการ 1. ให้นักเรียนเปรียบเทียบการแสดงอัลกอริทึมของกลุ่มตนเองกับ เพื่อนต่างกลุ่มว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 2. ให้นักเรียนพิจารณาและอธิบายข้อดีการแสดงอัลกอริทึม ของเพื่อนต่างกลุ่มว่ามีข้อดีอย่างไรบ้าง 1. การแสดงอัลกอริทึมหรือลำ�ดับขั้นตอนการทำ�งานหรือ การแก้ปัญหาด้วยการใช้ภาพคืออะไรและมีประโยชน์อย่างไร 2. นักเรียนมีข้อเสนอแนะให้เพื่อนต่างกลุ่มในการแสดงอัลกอริทึม ด้วยการใช้ภาพหรือไม่อย่างไร นักเรียนสามารถนำ�ความรู้เรื่องการแสดงอัลกอริทึมโดยการใช้ภาพ ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรในชีวิตประจำ�วัน จากกิจกรรมนี้นักเรียนคิดว่านักเรียนได้รับทักษะอะไรบ้าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook