Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาวิกา ชุดการเรียนรู้ เรื่อง เครือข่ายออนไลน์ มีอันตรายซ่อนอยู่

สาวิกา ชุดการเรียนรู้ เรื่อง เครือข่ายออนไลน์ มีอันตรายซ่อนอยู่

Published by Sa Sawika, 2021-11-25 10:26:08

Description: สาวิกา ชุดการเรียนรู้ เรื่อง เครือข่ายออนไลน์ มีอันตรายซ่อนอยู่

Search

Read the Text Version

ชุดการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มีอันตรายซ่อนอยู่ ตามแนวทางกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น สงั กดั สานักงาน กศน. ชื่อ.....................................................................................รหสั นักศกึ ษา ..................................... กศน.ตาบล/ศรช. ....................................................................ชือ่ ครูทปี่ รึกษา....................................... ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จังหวัดนครราชสมี า ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 1 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

ชุดการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เรือ่ ง เครือข่ายออนไลน์ มีอันตรายซ่อนอยู่ ตามแนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน สงั กดั สานกั งาน กศน. ชื่อ.....................................................................................รหัสนักศกึ ษา ..................................... กศน.ตาบล/ศรช. ....................................................................ชื่อครูทป่ี รึกษา....................................... ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองนครราชสีมา สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 2 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

เรือ่ ง กาหนดการรบั และส่งงาน ลายมอื ชื่อ หมายเหตุ เรอื่ งท่ี 1 เร่ือง เครือขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ รบั งานวันที่ ลายมอื ช่อื สง่ งานวันท่ี เร่อื งที่ 2 เรื่องที่ 3 ชดุ การเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 3 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

คานา ชุดการเรียนรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มีอนั ตรายซอ่ นอยู่ สาหรับนักศึกษา กศน. คณะผู้จัดทาได้ศึกษา วิเคราะหส์ ภาพปัญหาปัจจุบนั จากการสารวจความตอ้ งการของนักศึกษาหลกั สตู รการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยออกแบบการเรียนรใู้ หม้ คี วามหลากหลาย เหมาะสมกบั นกั ศึกษาและกรอบการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ONIE MODEI การวัดและประเมินผลเป็นไปตาม จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ซง่ึ ชุดการเรยี นรู้น้ีมจี านวน 3 เรอื่ ง ประกอบดว้ ยเรื่องท่ี 1.. 6 ขอ้ เสียของการเลน่ เฟสบ๊คุ เรอื่ ง ท่ี 2.. 7 นิสัยอันตรายในเฟสบุ๊ค เร่ืองที่ 3.. 9 มารยาทที่ทุกคนควรมีบน “Facebook ชุดการเรียนรู้ชุดน้ี ประกอบด้วย คาช้ีแจงสาหรบั นกั ศึกษา กศน. คาช้ีแจงสาหรับครู บทบาทของครูผู้สอน บทบาทของนักศึกษา ผัง ความคดิ การใชข้ ุดการเรียนรู้ ใบความรู้ ใบงาน และแบบทดสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ท่ีสามารถตรวจ ความถกู ตอ้ งด้วยตนเองได้ ซึง่ ครู กศน.สามารถนาไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนทงั้ ในการปกติ หรือจดั กิจกรรมการ พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น คณะผ้จู ดั ทาหวงั เปน็ อยา่ งยิง่ วา่ ชุดการเรียนรู้เล่มน้ี จะมีคุณค่าในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา กศน. ใหเ้ ป็นไปตามจดุ มงุ่ หมายของกรอบการจดั กจิ กรรมการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ตลอดจนมีประโยชน์สาหรับครูผู้สอน และผ้สู นใจ เพ่อื นาไปพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน ใหม้ คี ณุ ภาพการศึกษาสูงยง่ิ ข้นึ ไป คณะผู้จัดทา กศน.อาเภอโชคชัย ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 4 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

สารบญั หน้า ๔ คานา ๕ สารบญั คาช้ีแจงสาหรับนกั ศึกษา กศน. ๖ คาชี้แจงสาหรับครู ๗ บทบาทของครผู สู้ อน ๘ บทบาทของนกั ศึกษา ผงั ความคดิ การใช้ขุดการเรยี นรู้ ๙ ๑๐ เรอื่ งที่ 1. 6 ข้อเสียของการเล่นเฟสบคุ๊ ๑๑ -บนั ทกึ สรุปการเรียนรู้ -ใบงานท่ี 1. ๑๓ -แบบทดสอบหลงั เรียน ๑๔ ๑๕ เร่ืองที่ 2. 7 นิสยั อนั ตรายในเฟสบุ๊ค -บนั ทึกสรุปการเรยี นรู้ ๑๖ -ใบงานท่ี 2 ๑๘ -แบบทดสอบหลงั เรยี น ๑๙ เร่ืองที่ 3. 9 มารยาทท่ีทกุ คนควรมบี นเฟสบคุ๊ ๒๐ -บันทกึ สรปุ การเรียนรู้ ๒๒ -ใบงานที่ 3 ๒๕ -แบบทดสอบหลงั เรียน ๒๖ บรรณานุกรม ๒๗ คณะทางาน ๒๘ ๒๙ ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 5 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

คาช้แี จงสาหรบั นักศึกษา กศน. ชดุ การเรยี นรเู้ รอื่ ง เร่อื ง เครือขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ สาหรบั นักศึกษา กศน. ประกอบด้วย ชุดการเรยี นรู้ทง้ั หมด 3 เรื่อง ดังน้ี เรื่องท่ี 1 6 ข้อเสยี ของการเลน่ เฟสบุ๊ค เรือ่ งที่ 2 7 นิสัยอนั ตรายในเฟสบ๊คุ เร่ืองท่ี 3 9 มารยาทท่ีทกุ คนควรมบี น “Facebook” ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 6 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

คาชี้แจงสาหรบั ครู ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการใช้ชุดการเรยี นรู้ ชดุ การเรียนรู้เร่ือง เรื่อง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มีอนั ตรายซ่อนอยู่ สาหรบั นักศกึ ษา กศน. มีจดุ มงุ่ หมายเพอื่ ชว่ ย ใหก้ ารดาเนินกิจกรรมการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเุ้ รยี นเร่ือง เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ บรรลุ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรูแ้ ละมีประสิทธิภาพ ครผู สู้ อน ควรดาเนนิ การดงั น้ี 1. ข้ันเตรยี มการสอน 1.1 ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชดุ กิจกรรมใหเ้ ข้าใจกอ่ นอย่างละเอียดรอบคอบ 1.2 ศึกษาสาระสาคัญและจดุ ประสงค์การเรยี นรทู้ จ่ี ะดาเนินการจดั กจิ กรรม ใหเ้ ข้าใจชัดเจนเสียกอ่ น 2. ข้ันสอน/จดั กระบวนการ 2.1 ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการเรียนการสอนแบบ ONIE MODEL 4 ขน้ั คอื ข้ันที่ 1 กาหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O: Orientation) เป็นการเรียนรจู้ ากสภาพ ปญั หา หรอื ความต้องการของผเู้ รยี น และชุมชน สงั คม โดยให้เช่ือมโยงกบั ประสบการณเ์ ดิม และสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรขู้ อง หลกั สตู ร ข้นั ที่ 2 แสวงหาขอ้ มูลและจดั การเรยี นรู้ (N: New ways of learning) การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรยี นรู้ โดยศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้ และรวบรวม ขอ้ มูลของตนเอง ข้อมลู ของชมุ ชน สงั คม และขอ้ มลู ทางวชิ าการ จากส่ือและแหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลายมีการระดมความคดิ เห็น วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข้อมูล และสรุป เปน็ ความรู้ ขน้ั ท่ี 3 ปฏิบัติและนาไปประยกุ ต์ใช้ (I: Implementation) นาความรู้ท่ีได้ไปปฏบิ ัติ และประยุกตใ์ ชใ้ ห้สอดคล้องกับสถานการณ์ เหมาะสมกบั วัฒนธรรมและสังคม ขน้ั ท่ี 4 ประเมินผลการเรียนรู้ (E: Evaluation) ประเมนิ ทบทวน แก้ไขข้อบกพรอ่ ง ผลจากการนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้แลว้ สรปุ เป็นความรใู้ หม่ พรอ้ มกบั เผยแพรผ่ ลงาน 2.2 ขณะที่นกั ศกึ ษาทากิจกรรม ครคู อยใหค้ วามช่วยเหลือแนะนากระตนุ้ ให้นกั ศกึ ษาทากจิ กรรม อย่างกระตอื รอื ร้นและตอบข้อสงสัยต่าง ๆ ระหว่างเรยี นพรอ้ มทง้ั สงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมการทางาน ของนักศกึ ษา 2.3 ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น โดยใช้แบบทดสอบย่อย ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 7 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

บทบาทของครูผู้สอน 1. ศึกษาชดุ การเรียนรเู้ รอื่ ง เรื่อง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ ให้เขา้ ใจกอ่ นทจี่ ะนาไปใช้ 2. ครอู ธิบาย ชีแ้ จงเก่ยี วกบั การศึกษาและปฏบิ ตั ิตามชุดการเรียนรเู้ รอื่ ง เครือข่ายออนไลน์ มีอนั ตรายซอ่ นอยู่ และแจ้งจุดประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นกั ศกึ ษาเข้าใจ 3. ครดู าเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการเรยี นการสอนทก่ี าหนดไว้ 4. ครูกบั ติดตามการทาใบงาน และใหค้ าปรกึ ษาแนะนานักศกึ ษา 5. ครูทดสอบนกั ศึกษาโดยใช้แบบทดสอบ หลงั จากเรียนเนอื้ หาจบ เพ่อื วัดความรคู้ วามเขา้ ใจของนักศกึ ษา ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 8 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

บทบาทนักศกึ ษา 1. รบั ทราบจุดประสงคก์ ารเรยี นรจู้ ากครูผสู้ อน เพอ่ื ใหท้ ราบว่าเม่อื จบกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ล้ว นกั ศึกษา สามารถเรยี นรูอ้ ะไรไดบ้ า้ ง 2. ต้ังใจศกึ ษาใบความรู้ และปฏิบตั กิ จิ กรรมตามขนั้ ตอนหรอื คาชแ้ี จงของแตล่ ะเนอื้ หา อย่างจริงจงั ตรงต่อ เวลา และมคี วามซอ่ื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ ในการทากจิ กรรมแบบทดสอบ และสง่ งานครู 3. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น เพอ่ื วัดความรู้ความเขา้ ใจ ใหผ้ า่ นเกณท์รอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป หากทาได้ไม่ถึงเกณท์ ให้นกั ศกึ ษากลบั ไปทบทวนเนอ้ื หา และใบงาน อีกครง้ั 4. ชุดการเรยี นรเู้ ร่อื ง เรอื่ ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ นามาใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการพฒั นา คณุ ภาพผเู้ รยี น หรือ หากไมม่ เี วลามาพบกลมุ่ ทากจิ กรรมสามารถนาไปเรยี นรไู้ ดผ้ า่ นดิจิทลั โดย QR CODE นี้ ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 9 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

ขนั้ ตอนในการเรยี นด้วยชุดการเรยี นรู้ ศึกษารายละเอียดของชุดการเรียนรู้แตล่ ะเร่ือง ศกึ ษาผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง/จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ดาเนนิ การใช้ชดุ การเรยี นรู้ ๑. ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น - แจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ - บอกสง่ิ ท่ีนักศึกษาต้องปฏิบัติ - ทดสอบกอ่ นเรียน ๒. ข้ันเรียนรู้ นกั ศึกษาปฏิบัตกิ ิจกรรมตามทีร่ ะบุไว้ในใบงาน ๓. ข้ันสรุป สรุป อภิปราย แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ทดสอบหลงั เรียน ไม่ผ่าน ผา่ น ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หมายเหตุ ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รียนทาใบงานครบ ทาแบบทดสอบไดร้ ้อยละ 70 และแบบฝึกหัดครบ ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 10 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

เรอ่ื งท่ี 1 ... 6 ขอ้ เสียของการเล่นเฟสบุ๊ค จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเกย่ี วกับขอ้ เสยี ของการเลน่ เฟสบุค๊ ได้ 2. ยกตวั อยา่ งพร้อมนาขอ้ เสียทอ่ี าจมาจากสงั คมออนไลนท์ ี่เกิดขึน้ จรงิ ได้ 6 ข้อเสยี ของการเล่นเฟสบุ๊ค 1. ทาให้รสู้ ึกเหมอื นชวี ิตตวั เองแยก่ วา่ คนอนื่ เป็นเร่อื งปกตทิ ่ีใคร ๆ กม็ กั ชอบโพสตบ์ อกเล่าเร่ืองดี ๆ ในชีวติ ของตัวเองมากกว่าทีจ่ ะเปิดเผยเรอ่ื งแย่ ๆ ออกมาใหค้ นอืน่ ไดร้ ับรู้ โดยถา้ หากเราเห็นคนอืน่ มีความสุขหรือมีชวี ิตทีด่ ีบอ่ ย ๆ กอ็ าจทาใหเ้ รารสู้ กึ ว่าเขามชี ีวิตท่ี ดกี ว่าและมีความสุขกว่าเรา จนทาใหเ้ รารสู้ กึ ว่าชีวติ ตัวเองนน้ั แยก่ วา่ คนเหล่านน้ั และอาจสง่ ผลใหเ้ รารสู้ กึ แยแ่ ละพึง พอใจกบั ชีวิตของตวั เองนอ้ ยลงเรอื่ ย ๆ อีกดว้ ย 2. การทาความรจู้ กั กบั คนแปลกหน้าใช่ว่าจะดีเสมอไป ระบบแนะนาเพอ่ื นของเฟซบ๊กุ ทมี่ กั จะแนะนาใหเ้ รารูจ้ ักกบั เพือ่ นของเพอื่ นบนเฟซบกุ๊ ของเรานั้น จริงอยทู่ ี่ อาจจะชว่ ยใหเ้ ราได้รจู้ ักคนมากข้ึน รวมทง้ั ไดเ้ จอเพอ่ื นเก่า ๆ ท่อี าจหายหนา้ หายตากนั ไปนาน แต่น่นั ก็เป็นเหมือน ดาบสองคม เม่อื เฟซบกุ๊ แนะนาบุคคลทเ่ี ราไมไ่ ด้ต้องการอยากจะร้จู ักหรอื พบเจออกี ไม่วา่ จะเป็นคนทีไ่ มเ่ คยมีสว่ น เกี่ยวขอ้ งอะไรกบั ชีวติ เราเลย หรอื เพื่อนเก่าทเ่ี ราไม่ค่อยชอบหน้า รวมทงั้ บรรดานกั สแปมแท็กโฆษณาอีกมากมาย 3. ระวังหวั หนา้ หรอื ครูอาจารย์ของเราไวใ้ ห้ดี หากเราไดเ้ พม่ิ หวั หนา้ งานหรือครอู าจารย์ไวเ้ ป็นเพอ่ื นบนเฟซบกุ๊ แลว้ การโพสตส์ เตตสั หรอื รปู ภาพของคณุ อาจมผี ลกบั หนา้ ทกี่ ารงานหรอื อนาคตของคณุ กเ็ ป็นได้ เน่อื งจากมันสามารถแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พฤติกรรมและลักษณะ นสิ ัยของเราไดเ้ ปน็ อย่างดเี ลยทเี ดียว ไมว่ ่าจะเปน็ การองู้ านโพสตเ์ ฟซบกุ๊ ในเวลาทางาน หรอื โพสตร์ ปู ภาพตอนเทย่ี ว คร้ืนเครงกับเพ่ือนในคืนก่อนสอบ และอ่นื ๆ อกี มากมาย ซงึ่ แน่นอนวา่ ถา้ หัวหน้าหรอื อาจารยม์ าเหน็ คงจะไม่ปลืม้ เป็น แน่แท้ 4. โพสต์สเตตัสอพั เดทชวี ติ รายวัน อยา่ คดิ วา่ เพื่อนจะสนใจ เมือ่ เราดใี จกับเรอ่ื งเลก็ ๆ น้อย ๆ ในชวี ิตเรา หรอื มเี รอื่ งอยากเลา่ ใหเ้ พื่อน ๆ ฟงั แต่เม่ือโพสต์บนเฟซบุ๊กแลว้ กลับไมค่ ่อยมใี ครให้ความสนใจ โดยในบางครั้งอาจไม่มใี ครกดไลค์หรือคอมเมนตแ์ ม้แตค่ นเดียวเลยกเ็ ปน็ ได้ ซงึ่ น่นั ไมใ่ ช่เร่ืองแปลกแต่อยา่ งใด เพราะเพอ่ื น ๆ ของเราอาจไมไ่ ดส้ นใจหรอื ดใี จไปกบั เรอ่ื งเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ของเราด้วยน่นั เอง แต่เช่ือได้เลยว่าในใจลกึ ๆ เราก็ตอ้ งร้สู กึ นอ้ ยใจอยา่ งแน่นอน เปน็ อกี หน่งึ เหตผุ ลทที่ าใหเ้ ราสญู เสยี ความมน่ั ใจได้ 5. สบู เวลาชวี ติ เสียเวลาไปมหาศาล หลายคนเลน่ เฟซบ๊กุ จนตดิ งอมแงม ใช้เวลาวันหนงึ่ ไปกบั เฟซบุ๊กหลายชั่วโมง หรอื บางคนอาจเล่นจนลมื เรื่อง สาคัญอย่างอื่นในชวี ติ ท่ตี ้องทา ไม่ว่าจะเป็นการเรียนหรอื การทางาน หรอื อาจลมื แม้กระทง่ั การพดู คุยพบปะผูค้ นใน ชวี ิตจริง ๆ ซึ่งอาการดังกล่าวเรียกวา่ เสพติดโซเชยี ล ท่ีไมส่ ่งผลดใี นระยะยาวอยา่ งแน่นอน จงึ ควรเลน่ แตพ่ อดี และ แบ่งเวลาไปทากจิ กรรมอน่ื ๆ บา้ ง ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 11 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

6. ประจานตวั เองโดยไมร่ ตู้ ัว บางคร้ังทีเ่ ราทาผิดหรือทาเร่ืองไม่ดีเอาไว้ แตร่ ้สู กึ ผดิ หรอื อยากสารภาพ เราจงึ โพสตล์ งเฟซบกุ๊ เพอ่ื สารภาพ หรอื ขอโทษคนที่เราทาผดิ ต่อเขา แตแ่ ทจ้ ริงแลว้ อาจเป็นการประจานความผดิ ตัวเองใหส้ าธารณะรโู้ ดยไมจ่ าเป็น จริง อยู่ท่ีการสานึกผิดและสารภาพเป็นสิง่ ที่ดี แตเ่ รื่องบางเรอื่ งการไม่ประกาศใหค้ นรอู้ าจจะดีกวา่ ย่ิงถ้าเปน็ คนที่ไม่ เก่ียวขอ้ งมาอา่ นดว้ ยแล้ว เขาอาจเข้าใจผดิ และมองเราในแงล่ บกเ็ ป็นได้ อย่างไรกต็ าม ไม่จาเป็นวา่ คนเล่นเฟซบกุ๊ จะตอ้ งพบกับข้อเสยี ทง้ั 6 ข้อดงั กลา่ วนีเ้ สมอไป หลาย ๆ คนทีเ่ ล่นเฟ ซบกุ๊ แล้วได้ใช้ประโยชนจ์ ากเฟซบกุ๊ และมชี ีวิตท่ดี ขี ึ้นอกี มากมายก็มี แต่ไม่ว่าอย่างไร การเล่นเฟซบุ๊กอยา่ งมสี ติ คดิ กอ่ น โพสต์ ยอ่ มเป็นสง่ิ ทด่ี ที ส่ี ุดนะจ๊ะ ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 12 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

บันทึกสรุปการเรียนรู้ สรปุ เนอ้ื หา ............................................................................................................................................................. ................. ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. .............................................................................................................................................................................. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. การนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................ ...................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ชุดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 13 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

ใบงาน ให้นักศกึ ษายกตัวอยา่ งข้อเสยี ทอี่ าจมาจากสังคมออนไลน์ที่เคยเกดิ ข้ึนกับนกั ศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 14 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

แบบทดสอบ จงเขียน 6 ขอ้ เสียของการเล่นเฟสบ๊คุ 1. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 6. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 15 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

เรื่องท่ี 2 …7 นิสัยอนั ตรายในเฟสบุ๊ค จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอก 7 นิสัยอนั ตรายในเฟสบุ๊คได้ 2. ยกตวั อยา่ งพรอ้ มนาเสนอนิสยั อนั ตรายในเฟสบุ๊คได้ 7 นิสยั อนั ตรายในเฟสบุ๊ค 1. หลงใหลตัวเองมากขึ้น คนมกั โพสตร์ ปู ถา่ ยกบั รถใหม่ บา้ นใหม่ ของเลน่ ช้นิ ใหม่ บ้านใหม่ งานใหม่ สถานท่เี ที่ยวใหมๆ่ กระทงั่ อาหาร ทกี่ าลงั จะทานพวกเขากไ็ มว่ ายทจี่ ะถา่ ยรปู เพอ่ื เอามาอวดเพอื่ นๆ หรืออวดว่ามีจานวนคนมาขอเปน็ เพ่อื นมากมาย คน มากดชอบ แสดงความคดิ เหน็ กก็ ลายเปน็ การส่งเสริมใหพ้ วกเขาหลงตวั เองมากข้นึ ไปอกี 2. ขอ้ี ิจฉามากขึ้น เมือ่ มคี นโพสตเ์ รื่องตนเอง หนา้ ตาดี ชวี ิตดี ฐานะดี ดดู ี ดูเท่ คนอีกจานวนหนึ่งท่ีรสู้ ึกวา่ ชีวิตตนเองไม่ดแี บบ น้ัน จึงกลายเปน็ คนทข่ี ี้อจิ ฉามากขึน้ เพราะในโลกจรงิ ผ้คู นส่วนใหญ่ ก็ยังเปน็ คนจน ชนชน้ั กลาง หลายๆ คนไม่ไดเ้ ป็น คนเก่ง ไดร้ บั สถานะทางสงั คมเฉกเชน่ ดารา คนดัง หรอื บคุ คลสาธารณะ เพ่อื คนธรรมดาเหล่าน้ันเขา้ มาใช้เฟซบกุ๊ เขา กเ็ พียงแคอ่ ยากจะรูส้ กึ เป็นคนเด่น คนดงั คนสาคญั บา้ ง จึงต้องสรา้ งภาพตนเองให้ดดู ีในพนื้ ที่สาธารณะสกั เลก็ นอ้ ย เพ่อื หลอกตัวเองหรือผู้อ่ืน 3. มองโลกในแง่รา้ ย เฟซบุ๊คเป็นทที่ ่ีคนชอบโพสตเ์ รื่องสว่ นตวั ดๆี ขณะทเ่ี รื่องสว่ นรวมของสงั คมมกั เป็นเรอ่ื งร้ายๆ ดังนั้นคนทเ่ี สพ ขอ้ มูลขา่ วสารจานวนมาก จงึ มักเห็นเรอ่ื งปญั หาสงั คมต่างๆ ถกู หยบิ ขยายความ ตีความ ส่งต่อแพรห่ ลายกระจายวง กว้าง พวกเขาจึงรู้สกึ วา่ “โลกชา่ งโหดร้าย” และมลี กั ษณะไม่ไว้วางใจผูค้ นเร่อื งต่างๆ มากขน้ึ 4. ชอบสอดสอ่ งสอดร้ชู วี ติ คนอ่นื ๆ การสอดส่อง ติดตาม (stalker) หรอื การเข้าไปก้าวลว่ งชวี ิตของผู้อืน่ นนั่ แสดงว่าคุณมปี ญั หาสุขภาพจิตอยา่ ง หนัก เพราะคณุ เรมิ่ แยกไม่ออกระหวา่ ง พนื้ ทสี่ าธารณะ และความเปน็ สว่ นตัวของผ้อู น่ื และน่นั อาจทาใหค้ ณุ รู้สกึ “ยา่ มใจและมีอานาจเหนอื ชวี ติ ของผ้อู ่นื ” และกา้ วไปสู่ปญั หาความสมั พันธ์ในโลกจริงกบั เขาที่คณุ ชืน่ ชอบ 5. เปดิ เผยตวั เองมากขึ้น – กนั เองมากขึ้น ผู้คนในเฟซบกุ๊ ใช้ถอ้ ยคาภาษาท่กี ันเองมากข้ึน พวกเขาไม่รสู้ กึ แปลกท่จี ะบอกเล่าเรื่องราวความคดิ ความรู้สกึ ของตนเองกับคนแปลกหน้า และน่นั นามาสู่ การเปิดรบั รจู้ กั คนแปลกหนา้ มากขึ้น และกับดกั ของอาชญากรในเฟซบกุ๊ ทีพ่ วกเขามกั ใช้ คอื ถ้อยคาทส่ี ภุ าพ ท่าทางทด่ี ูคบได้ ไว้ใจได้ และการสรา้ งความไว้วางใจที่มาจากบทสนทนาที่ดเู ปน็ กันเอง 6. จมทกุ ข์แบกโลกซมึ เศร้า มหี ลายคนทไ่ี ม่มีความสขุ ในชวี ติ จรงิ พวกเขาจงึ แบกโลกที่พวกเขาอยู่มาสถติ ไวใ้ นเฟซบุ๊ก กลายเปน็ แหลง่ ระบายอารมณ์ จมทุกข์ โศกเศรา้ มากขึน้ การระบายอารมณ์ หรือแสดงความรสู้ กึ ผิดหวังเสยี ใจน้ันเป็นเรอื่ งปกติ เพราะเปน็ เรอ่ื งธรรมชาติ แต่คณุ อาจพบวา่ มีเพอื่ นบางคนมกั จะอยู่ในอารมณเ์ ศรา้ ตลอดเวลา น่นั แสดงว่าเขาไม่ สามารถหลุดพน้ กา้ วขา้ มสภาวะนนั้ ได้ และจะกลายเปน็ คนทม่ี ภี าวะซมึ เศรา้ แบบออนไลน์ตลอดเวลา และคนอ่นื ๆ ก็ จะพากนั เบือ่ หนา่ ยหรอื รงั เกียจพวกเขา แทนที่จะเขา้ ใจและชว่ ยรกั ษาพวกเขา ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 16 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

7. หลงใหลยึดตดิ แบบอย่างชวี ิตของผูอ้ ื่น คนท่หี ลงใหลในชวี ติ ผู้อน่ื จะสูญเสยี ความภูมใิ จในตนเองมากไปกวา่ น้ัน คอื เฝา้ รอเฝา้ คอยที่จะติดตอ่ ตดิ ตาม ส่อื สารกบั ผู้อน่ื เขาจะไมส่ นใจชวี ิตของตนเองอกี ตอ่ ไป รา้ ยกวา่ น้นั คอื เขาอนญุ าตใหช้ ีวิตคนอื่นเข้ามาควบคุมบงการ ชวี ิตของเขาเอง ร้ายทสี่ ดุ คอื สับสนในโลกจริง โลกเสมอื น และไปใชช้ วี ิตของตนเองในชวี ติ เฟซบคุ๊ ของคนอ่ืน! เฟซบกุ๊ นั้น มิใชเ่ ชอ้ื โรคหรือไวรสั แตเ่ ปน็ ปรากฏการณ์ทางสงั คมทบ่ี ม่ เพาะ ผลิต และเผยแพรโ่ รคอนั เกิดมา จากผ้คู นทมี่ าใชช้ วี ติ รว่ มกนั ในสังคมเสมือนจรงิ ผคู้ นตา่ งๆ เข้ามาเสพติดมนั และเปล่ียนนสิ ยั ตนเอง หรือย้าสรา้ งนสิ ยั เดิมตนเองใหม้ คี วามรนุ แรงมากขึ้น ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 17 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

บันทึกสรุปการเรียนรู้ สรปุ เนอ้ื หา ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................ .. การนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ชุดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 18 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

ใบงาน ให้นกั ศกึ ษายกตัวอย่างพร้อมนาเสนอนิสยั อนั ตรายในเฟสบุ๊คท่ีเคยเกิดข้ึนกบั นักศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชุดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 19 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

แบบทดสอบ จงเขยี น 7 นสิ ยั อันตรายในเฟสบุ๊ค 1. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 20 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

เรอ่ื งท่ี 3 ... 9 มารยาททท่ี ุกคนควรมีบน “Facebook” จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถบอก 9 มารยาทท่ีควรมีบนเฟสบุ๊คได้ 9 มารยาททที่ ุกคนควรมบี น “Facebook” 1. ถามแล้วหายไปดือ้ ๆ เชอ่ื ว่าหลายคนเคยเจอ มคี นทกั แชทเข้ามาหรอื มาคอมเมนตใ์ นโพสตเ์ พอื่ นถามนูน่ นีน่ ั่น แต่พอเราตอบแล้ว กลบั หายไปซะด้อื ๆ หายไปแบบงง ๆ ซ่ึงมันดูไม่ดเี อาเสียเลยที่เงียบไป ทางที่ดีควรจะตอบกลับบา้ งจะดีกว่า หรือ กดไลกส์ กั นดิ ก็ยงั ดี 2. โพสตถ์ ึงทท่ี างานในเชงิ ลบ การโพสตเ์ ชิงลบเกี่ยวกบั ท่ีทางาน ก็ไม่ต่างอะไรกบั การทาลายภาพลักษณ์ขององคก์ ร แน่นอนว่าถา้ คนในที่ งานเหน็ แล้วคาบข่าวไปบอกหวั หน้าหรอื ฝ่ายบคุ คล รับรองเลยวา่ เรื่องนค้ี งได้เคลียร์กันยาว ดไี ม่ดคี ณุ อาจโดนไลอ่ อก เลยกเ็ ป็นได้ ดังน้ันถ้ายงั ไม่อยากเปลยี่ นงานกอ็ ยา่ โพสตอ์ ะไรทส่ี มุ่ เสีย่ งแบบนจี้ ะดกี ว่า 3. คอมเมนต์พลอ่ ย ๆ การไปแสดงความคดิ เห็นทไ่ี ม่สร้างสรรคห์ รือไม่ทนั ได้คดิ อาจสง่ ผลกระทบแกผ่ อู้ นื่ ได้ เช่น สร้างความเสอ่ื ม เสยี สรา้ งความไมพ่ อใจ หรอื ทาใหเ้ กิดความแตกแยก ซึ่งถา้ ถกู กระแสตีกลบั ก็อาจถกู ชาวเน็ตรมุ จวกกเ็ ป็นได้ ดังนัน้ หากคอมเมนตแ์ บบสรา้ งสรรค์ไมไ่ ด้ก็ควรอย่เู ฉย ๆ เป็นผอู้ ่านท่ดี ีจะดกี วา่ 4. โพสต์เกย่ี วกับเร่ืองของผ้อู ื่น การทจ่ี ะมคี นโพสตส์ ิ่งใดลงบนพืน้ ที่ของเฟซบกุ๊ ท่อี าจดูเปน็ ที่สาธารณะ แตก่ ็ใช่ว่าคุณจะจะเอาเรอ่ื งเหล่าน้ัน ไปแสดงความคิดเหน็ แชร์ หรือแคปไปพดู คยุ กันอย่างสนุกปาก เพราะคนทโ่ี ดนเขาไมส่ นกุ กับคุณด้วยหรอกนะ นอกจากน้ียงั อาจถูกเลกิ คบทง้ั ในเฟซบกุ๊ และในชวี ิตจรงิ อีกดว้ ย 5. ไมอ่ ยากถกู มองไมด่ ี ก็อยา่ โพสตอ์ ะไรเช่นน้ัน การโพสตส์ งิ่ ใดกต็ ามบนหน้าไทมไ์ ลน์ของตนเอง กเ็ หมอื นการแสดงออกว่าคุณเปน็ คนอยา่ งไร หรือสนใจสง่ิ ไหน ดังนน้ั หากไมอ่ ยากใหใ้ ครมองเราในทางท่ีไม่ดี ก็ไม่ควรโพสต์หรอื แชรส์ งิ่ ใดท่ีไมด่ ี เช่น ไม่อยากถกู ใครมองวา่ เปน็ คนทะลึ่งตงึ ตัง กไ็ ม่ควรโพสต์อะไรสมุ่ เส่ยี งทลี่ ่อเป้าใหผ้ อู้ นื่ คดิ เช่นนั้น 6. ถ่ายภาพผอู้ น่ื มาลงโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต บางคนเห็นผอู้ ่นื แล้วนึกสนกุ อยากเอามาโพสตส์ นกุ ปาก เช่นขา่ วทีเ่ กิดขน้ึ บอ่ ย ๆ วา่ มีคนถ่ายภาพผอู้ ่ืนมา วพิ ากษ์วจิ ารณ์กันอย่างสนุกปาก ซง่ึ แบบนีก้ ไ็ มต่ ่างอะไรจากการประจาน ดังน้นั ให้ลองนกึ ถึงใจเคา้ ใจเรา ถ้าเราไม่ชอบ เขากต็ อ้ งไมช่ อบเหมอื นกนั นอกจากนค้ี ณุ อาจจะถูกฟอ้ งร้องได้อีกด้วย 7. ไมล่ ืมใหเ้ ครดิต จรงิ ๆ กไ็ มใ่ ช่เร่ืองทีท่ ่ดี เี ท่าไหร่ กับการนาสง่ิ ทผี่ ู้อน่ื สร้างขึ้นไปโพสต์ในพน้ื ที่ของตนเอง หรือพูดงา่ ย ๆ ก็ เหมอื นการ copy น่ันแหละ แต่ถา้ จะเอามาใชก้ ็ควรใหเ้ ครดติ เจา้ ของดว้ ย แต่วธิ ีทดี่ ที ่ีสุดก็คือการแชร์จากโพสต์ ต้นฉบบั 8. ไม่ฝากรา้ นส่มุ สส่ี ่มุ ห้า เขา้ ใจว่าการทาธุรกิจจะตอ้ งมีการประชาสมั พนั ธ์ แต่การไปฝากร้านพรา่ เพรื่อในพื้นทขี่ องผู้อ่ืนก็ไม่ใช่เร่ืองทีด่ ี เพราะเปน็ การรบกวนและทาใหผ้ อู้ ื่นราคาญ หากต้องการฝากร้านจริง ๆ กค็ วรดใู หเ้ หมาะสมวา่ โพสต์นนั้ ๆ สามารถ ฝากรา้ นไดห้ รือไม่ ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 21 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

9. ไม่นาเร่ืองบนเฟซบกุ๊ มาทกั ในชีวิตจริง บางคนทเี่ คา้ โพสตน์ ูน่ นี่นั่นกอ็ าจแค่ต้องการระบายอารมณ์ พอโพสตไ์ ปทุกอยา่ งกจ็ บ ดังนั้นคุณไม่จาเป็นตอ้ ง ไปทกั หรือขดุ ขน้ึ มาพูดต่อหน้าหรอกนะ เพราะน่นั อาจทาใหอ้ กี ฝา่ ยร้สู ึกไมด่ ี และทสี่ าคัญนัน่ ไม่ใชเ่ รอ่ื งของคณุ ! จากท้งั 9 ทีก่ ล่าวมานี้ พอจะเหน็ ภาพกนั หรอื ยังคะ วา่ สิ่งใดท่ีควรและไมค่ วรกระทาในการเลน่ เฟซบกุ๊ หากรู้ เชน่ นแ้ี ล้วก็ควรปฏบิ ตั ิตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยการมีมารยาท นึกถงึ ใจเขาและใจเรา หากยงั ใครทยี่ งั มีนสิ ยั เหล่านี้ แนะนาใหเ้ ลกิ เสียจะดกี วา่ เพ่ือทจ่ี ะเลน่ กันไดอ้ ยา่ งสบายใจทั้งผู้อื่นและตนเอง ชุดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 22 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

บันทึกสรุปการเรียนรู้ สรปุ เน้อื หา .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................... .......................................... การนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 23 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

ใบงาน ให้นักศกึ ษายกตวั อยา่ งมารยาทท่ไี มไ่ ด้บนเสบคุ๊ ท่ีเคยเกิดขึน้ กับนักศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชดุ การเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 24 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

แบบทดสอบ จงบอกบอก 9 มารยาทท่ีควรมีบนเฟสบ๊คุ 1. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชุดการเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 25 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

เกง่ มากจ้า ลองกลบั ไปทบทวนเนอ้ื หาอีกครั้ง ตรวจสอบใบงาน แบบทดสอบ ดว้ ยนะคะ ชุดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซอ่ นอยู่ 26 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

บรรณานุกรม 6 ข้อเสยี ของการเลน่ เฟซบกุ๊ https://fbguide.kapook.com/view90249.html (สบื ค้นเมือ่ 25 พฤศจกิ ายน 2564) 7 นสิ ยั อนั ตรายในเฟสบคุ๊ https://womanloveblog.wordpress.com/2016/07/20 (สืบค้นเมอ่ื 25 พฤศจกิ ายน 2564) 9 มารยาทท่ีทกุ คนควรมีบน “Facebook” https://tigersoft.co.th/9-bad-behavior-on-facebook/ (สบื ค้นเมื่อ 25 พฤศจกิ ายน 2564) ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 27 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

คณะทางาน ทีป่ รึกษา วฒั นกสิการ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโชคชยั 1.นางจีระภา เช่ือปญั ญา ครอู าสาสมัคร กศน. 2.นางจงรักษ์ มุ่งภูก่ ลาง ครอู าสาสมัคร กศน. 3.นายสมชาย คณะทางานชดุ การเรียนรู้ มโี ชค ครู กศน.ตาบล 1.นายสาคร เพราะกระโทก ครู กศน.ตาบล 2.นายเชาวฤทธ์ิ นกกระโทก ครู กศน.ตาบล 3.นางนุธี ทาสภี ู ครู กศน.ตาบล 4.นางสาวลาเพยี ร ขาวงาม ครู กศน.ตาบล 5.นางปราณตี ปรือทอง ครู กศน.ตาบล 6.นางสาวพรรณี ปอ้ งประดา ครู กศน.ตาบล 7.นายบญุ ญาโชติ เจยี ร์สุคนธ์ ครู กศน.ตาบล 8.นายดนพุ ล สาสงั ข์ ครู กศน.ตาบล 9.นายมนตรี ขวญั เกตุ ครู กศน.ตาบล 10.นางสาวรจนา ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล 11.นางสาวสาวิกา ซ่งึ พรหม ครู กศน.ตาบล 12.นายวัตชรพล สิทธเิ จรญิ ยศ ครู กศน.ตาบล 13.นางสาววรรณนภิ า ขวญั เกตุ ครู ศรช. 14.นางสาวสภุ าวดี คณู เพ่มิ พนู ทอง ครู ศรช. 15.นางสาวอณญั ญา รวบรวมข้อมูล/ตน้ ฉบับ/ออกแบบปก โดย นางสาวสาวิกา ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล ชุดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง เครอื ขา่ ยออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 28 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล

ชดุ การเรยี นรู้ เร่อื ง เครอื ข่ายออนไลน์ มอี นั ตรายซ่อนอยู่ 29 จดั ทาโดย นางสาวสาวกิ า ดอกกระโทก ครู กศน.ตาบล