Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาจากมาตุภูมิของบ้านดงเจริญ02

ภูมิปัญญาจากมาตุภูมิของบ้านดงเจริญ02

Published by kamonthipyailam, 2022-01-13 04:20:34

Description: ภูมิปัญญาจากมาตุภูมิของบ้านดงเจริญ02

Search

Read the Text Version

ภมู ปิ ัญญาจากมาตภุ ูมขิ องบา้ นดงเจรญิ

1 บ้านดงเจริญตั้งขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ประมาณปีพุทธศักราช 2310 บ้านดงต้ังขึ้นโดยบุคคลสองกลุ่ม ซ่ึงแยกมาจากหมู่บ้านโพนทัน มาตั้งทับเลี้ยงช้าง เลี้ยง วัว เลี้ยงควาย และท้าไร่ท้านา เพราะทางตะวันตกหมู่บ้านดง มีค้าน้าซับธรรมชาติซ่ึง เรียกว่า ค้ามะยง มีน้าอุดมสมบูรณ์ไหลเอ่อล้นอยู่ตลอดปีเหมาะแก่การท้านา และเล้ียง สัตว์ บุคคลสองกลุ่มนี้มาตั้งบ้านอยู่คุ้มส่วนเหนือ และคุ้มส่วนใต้ของหมู่บ้าน ด้านเหนือ หมู่บ้านขึ้นไปหลายกิเมตรจะเป็นดงใหญ่ ดงสูงพื้นดินแดงเป็นแนวยาว ขนานจากทิศ ตะวันตกไปทางทิศตะวันออก คือจากต้าบลย่อ ผ่านต้าบลทุ่งมน ต้าบลโพนทัน ต้าบล เหล่าไฮ ไปถึงเขตต้าบลกู่จานไปจดล้าเซบายท่ีบ้านสร้างถ่อ อ้าเอหัวตะพาน เมื่อบุคคล สองกลุ่มท่ีแยกมาจากบ้านโพนทันมาต้ังหมู่บ้านน้ีขึ้นจึงให้ช่ือว่า บ้านดงค้า เป็นคร้ังแรก ต่อมามีหลายครอบครัวจากอ้าเภอขุหลุ อพยพครอบครัวเข้ามาอยู่หลายครัวเรือนและ อพยพจากอ้าเภอเข่ืองใน อ้าเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ อ้าเภอม่วงสามสิบ มาอยู่ร่วม ด้วยอีกหลายครัวเรือน มาอยู่ร่วมกันได้ 50-60 ครอบครัว ทางต้าบลโพนทัน จึงตั้งให้ เป็นหมู่บ้านท่ี 5 ของต้าบล ต้ังก้วนบ้านหรือผู้ใหญ่บ้านข้ึนปกครอง และต้ัง คณะกรรมการหมู่บ้านมีท้าวนามมะวงษ์ ท้าวหลวงเทพ ท้าวขุมพินิจ ท้าวพรมวงศา หมื่นจันทะศร เป็นต้น ตอนน้ีคงเป็นสมัยกรุงศรอยุธยาแตกแล้ว ต้ังกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้น จงึ มฉี ายานามตง้ั เปน็ ขนุ หมืน่ พนั ทนาย ซ่งึ เป็นราชทินนามทที่ างการต้ังให้

2 ต่อมาทางราชการให้ส้ารวจ เพ่อื จ้าท้าเป็นท้าเนียบหมู่บ้าน ผู้ปกครองหมู่บ้านจึงบอกช่ือ บ้านว่า บา้ นดง เพราะตั้งอยชู่ ายดงใหญด่ ังกล่าว ต่อมาประมาณปีพุทธศักราช 2464 มี พระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้น ดงเหนือ ดงใต้ สมวงษ์ สืบวงษ์ ขึ้นในหลายหมู่บ้าน ส่วนนามสกุลอื่น นั้นเป็นครอบครัวที่อพยพเข้ามาอยู่ใหม่ หรือผู้เข้ามาเป็นลูกเขยใน หม่บู ้านนี้ สมยั ตอมาหมู่บา้ นชุมชนนใ้ี หญ่โตขนึ้ จึงต้ังหมูบ่ า้ นท่ี5 และหมบู่ ้านที่7 รวมทั้ง หมู่บ้านที่10 ขน้ึ ในหมูบ่ ้านดงน้ีราษฎรใน3หมู่ น้ี ต่างก็ท้าอาชีพ ท้านา ท้าไร่ ไร่ฝ่าย ไร่ป่าน ไร่ปอ ไร่เผือก ไร่มัน ไร่แตงโม ไร่ข้าวโพด ท้า กันมาเปน็ หลายสบิ ปี

3 จนทางราชการตั้งสภาตา้ บลโพนทนั หมบู่ ้านดงจึงไมค่ อ่ ยไดง้ บประมาณทจี่ ะน้ามาใช้ใน การพัฒนาหมูบ่ ้านดง บ้านแหลงหนู บ้านค้าแหลมเท่าท่ีควร ชาวบ้านจึงร่วมใจกันขอตั้ง ต้าบลดงเจริญข้ึนได้ท้าการส้ารวจพ้ืนที่จ้านวนประชากร จ้านวนครัวเรือน ไร่นา สวน และทรพั ยากรอนื่ ๆ แล้วด้าเนนิ การย่ืนค้าร้องขอแยกหม่บู า้ นจากต้าบลโพนทนั และขอต้ัง หมู่บ้านเพิ่มอีกสองหมู่บ้าน ที่บ้านดงและบ้านแหล่งหนูรวมท้ังหมดเป็นเจ็ดหมู่บ้านโดย ย่ืนค้าร้องไปยังกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี 25 ตุลาคม 2531 ต่อมากระทรวงมหาดไทย ได้อนุมัติให้ต้ังต้าบลดงเจริญขึ้นเม่ือวันท่ี 15 ตุลาคม 2535 นามบ้านดงมีพยางค์เดียวจึงขอต้ังต้าบลเป็นสองพยางค์ คือต้าบลดงเจริญ ก็ได้รับการ อนุมัติเป็น บ้านดง ต้าบลดงเจริญ มาจนถึงปัจจุบัน ต้าบลดงเจริญมีท้ังหมดเจ็ดหมู่บ้าน คือหมู่ 1 2 3 อยทู่ บี่ ้านดง หม่ทู ่ี 4 อย่ทู ี่บ้านค้าแหลม หมู่ท่ี 5 อยู่ที่บ้านพรพลูสุข หมู่ที่ 6 7 อยู่ที่บ้านแหลงหนู ของต้าบลดงเจริญนี้จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นองค์การบริหาร ส่วนตา้ บลดงเจริญในปจั จบุ ันนี้

๔ วิถีชีวิตของชาวบ้านในบ้านดงเจริญท่ีมีมาแต่ช้านาน เป็นการใช้ชีวิตท่ีเรียบง่ายตาม ชนบทมาต้งั แตส่ มยั อดตี จากคา้ บอกเลา่ ของคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้านท่านเล่าว่า อดีตนั้น ชาวบ้านใช้ชีวิตมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย ทั้งการกิน การท้าอาชีพ คนในหมู่บ้านเปรียบ เหมือนพ่ีน้องกันคือทุกคนในละแวกเดียวกันจะรู้จักกันหมด เวลาได้อะไรมากินจะผลัด แบ่งกันไปทานตลอด ความเป็นอยู่ในหมู่บ้านผู้คนจะพากันต่ืนเช้าเตรียมอาหารเพ่ือนใส่ บาตร เม่ือเป็นวันพระจะรวมตัวกันไปท้าบุญที่วัด และจะเตรียมตัวกันไปท้างานท่ีไร่ใน ทุกๆวัน บ้านเรือนของคนในหมู่บ้านในสมัยอดีตจะเป็นบ้านไม้ ในปัจจุบันส่วนใหญ่จะ เป็นบ้านปูนกึ่งบ้านไม้ การหาของกินเพ่ือน้ามารับประทานจะเป็นของจากธรรมชาติ เน่ืองจากชาวบ้านอยู่ติดกับป่า ของที่หามารับทานจะเป็นของป่าส่วนมาก เป็นการใช้ ชวี ติ ที่แสนสบายและเงียบสงบมาก

5 ประเพณีลอยกระทง การ ลอยกระทงในเมอื งไทย มีมาตั้งแตค่ รงั้ กรุงสโุ ขทัย เรยี กว่า การลอยพระประทปี หรอื ลอยโคม เปน็ งานนกั ขัตฤกษร์ น่ื เรงิ ของประชาชนท่วั ไป ตอ่ มานางนพมาศหรอื ทา้ ว ศรจี ฬุ าลักษณ์สนมเอกของพระร่วง ไดค้ ิดประดษิ ฐด์ ัดแปลงเป็นรปู กระทงดอกบวั แทน การลอยโคม การลอยกระทงหรอื ลอยโคมในสมยั นางนพมาศ กระท้าเพื่อเป็นการ สกั การะรอยพระพทุ ธบาทท่แี ม่นา้ นัมมทานที ซง่ึ เป็นแมน่ ้าสายหน่ึงอยใู่ นแควน้ ทกั ขิณาบถของประเทศอินเดีย ปจั จบุ นั เรียกวา่ แม่นา้ เนรพทุ ท อนั ที่จรงิ ลอยกระทงเป็น ประเพณีขอขมาธรรมชาตมิ าแต่ดกึ ดา้ บรรพ์ เพราะชาวบา้ นท่วั ไปร้จู ากประสบการณว์ า่ ถงึ เดอื นสิบเอด็ (หรือราวเดือนตลุ าคม) นา้ จะขนึ้ นองหลาก,พอถงึ เดือนสบิ สอง (หรอื ราว เดือนพฤศจิกายน) น้าจะทรงตวั คือไมข่ ึน้ ไมล่ ง,ครน้ั เดือนอ้าย (หรอื ราวเดอื นธนั วาคม) ต่อเดือนยี่ (หรือราวเดอื นมกราคม) น้าจะลดลง กิจกรรมวันลอยกระทง 1.น้ากระทงไปลอยตามแม่นา้ ลา้ คลอง หรอื ตามแหลง่ น้าท่ีมีการจดั พิธี 2.ให้การสนบั สนุนกจิ กรรมต่าง ๆ ในวนั ลอยกระทง เช่น การประกวดกระทง ประกวด นางนพมาศ การละเล่นพืน้ เมือง เช่น ร้าวงเพลงเรือ เพือ่ สืบสานวฒั นธรรมไทย 3.จัดนทิ รรศการ หรอื พธิ ีลอยกระทง เพอ่ื เผยแพรแ่ ละอนรุ กั ษ์ประเพณไี ทย 4.จดั รณรงค์ให้มีการใช้วัสดุจากธรรมชาตมิ าทา้ กระทง เพอื่ ไม่ให้เกิดมลภาวะแกแ่ มน่ า้ ล้าคลอง

6 เหตุผลในการลอยกระทง 1.เพอ่ื ขอขมาแกพ่ ระแมค่ งคา เพ่ือบูชารอยพระพุทธบาทและบูชาเทพเจ้า ตามคติความ เชื่อ 2.เพอ่ื รักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้ มิใหส้ ญู หายไปตามกาลเวลา 3.เพอื่ ร้ถู งึ คุณคา่ ของน้าหรือแม่น้าล้าคลอง อนั เปน็ ส่งิ จา้ เปน็ สา้ หรบั การดา้ รงชีวิต

7 ประเพณสี งกรานต์ เมือ่ ครงั้ กอ่ น พิธสี งกรานต์ เปน็ พิธีกรรมทเ่ี กิดขึน้ ภายในครอบครวั หรือชุมชนบ้านใกล้ เรือนเคียง แต่ในปัจจุบันได้มีการเปล่ียนแปลงให้พิธีสงกรานต์น้ันเป็นเทศกาลสงกรานต์ โดยได้ขยายออกไปสู่คมเป็นวงกว้างมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศคติ ตลอดจน ความเช่อื ไป แตเ่ ดมิ ในพธิ สี งกรานต์จะใช้ น้า เป็นสัญลักษณ์ที่เป็นองค์ประกอบหลักของ พิธี แกก้ นั กบั ความหมายของฤดรู อ้ น ชว่ งเวลาทพ่ี ระอาทติ ยเ์ คล่ือนเข้าสู่ราศีเมษ ในวันน้ี จะใช้น้ารดให้แก่กันเพื่อความชุ่มช่ืน มีการขอพรจากผู้ใหญ่ มีการร้าลึกและกตัญญูต่อ บรรพบรุ ุษทล่ี ว่ งลบั ตอ่ มาในสงั คมไทยสมยั ใหม่เกิดเปน็ ประเพณีกลับบ้านในชว่ งเทศกาล สงกรานต์ นับว่าวันสงกรานต์เป็นวันครอบครัว อีกท้ังยังมีประเพณีท่ีสืบทอดมาต้ังแต่ ดง้ั เดิม อยา่ ง การสรงน้าพระท่ีน้ามาซึ่งความเป็นสิริมงคล เพื่อให้เป็นการเร่ิมต้นปีใหม่ท่ี มคี วามสุข กิจกรรมวันสงกรานต์ การทาบุญตกั บาตร นบั ว่าเป็นการสรา้ งบุญสร้างกุศลใหก้ ับตนเอง อกี ทัง้ ยงั เปน็ การอทุ ิศ ส่วนกศุ ลน้นั ให้แก่ผู้ท่ีลว่ งลบั ไปแล้ว การท้าบุญในลกั ษณะนม้ี กั จะมีการเตรยี มไว้ล่วงหน้า เม่ือถึงเวลาท้าบุญก็จะน้าอาหารไปตักบาตรถวายพระภิกษุท่ีศาลาวัดโดยจัดเป็นท่ีรวม ส้าหรบั การท้าบญุ ในวันเดียวกันนี้หลังจากท่ีได้ท้าบุญเสร็จเรียบร้อย ก็จะมีการก่อเจดีย์ ทรายอันเป็นประเพณที ี่สา้ คัญในวนั สงกรานต์อีกดว้ ย การรดนา นบั ได้วา่ เปน็ การอวยพรปีใหม่ให้แก่กันและกัน น้าท่ีน้ามาใช้รดหัวในการน้ีมัก เป็นน้าหอมเจอื ดว้ ยน้าธรรมดา การสรงนาพระ เป็นการรดน้าพระพุทธรูปที่บ้านและที่วัด ซึ่งในบางท่ีก็จะมีการจัดให้ สรงน้าพระสงฆ์เพิ่มเติมด้วย

8 การบงั สกุ ุลอัฐิ สา้ หรบั เถ้ากระดูกของญาติผู้ใหญท่ ่ไี ด้ลว่ งลบั ไปแลว้ มกั ทา้ ที่เก็บเป็น ลกั ษณะของเจดีย์ จากน้ันจะนมิ นตพ์ ระไปบงั สกุ ลุ การรดนาผู้ใหญ่ คือการท่ีเราไปอวยพรผู้ใหญ่ที่ให้ความเคารพนับถือ อย่าง ครูบา อาจารย์ มักจะนัง่ ลงกบั ท่ี จากน้ันผู้ท่ีรดกจ็ ะเอาน้าหอมเจือกับน้าธรรมดารดลงไปท่ีมือ ผู้ หลักผู้ใหญ่ก็จะให้ศีลให้พรผู้ท่ีไปรด หากเป็นพระก็อาจน้าเอาผ้าสบงไปถวายเพ่ือให้ ผลัดเปลี่ยนด้วย แต่หากเป็นฆราวาสก็จะหาผ้าถุง หรือผ้าขาวม้าไปให้เปลี่ยน มี ความหมายกบั การเริ่มต้นสิง่ ใหม่ๆ ในวนั ปใี หม่ไทย การดาหวั มีจุดประสงค์คล้ายกบั การรดนา้ ของทางภาคกลาง ส่วนใหญ่จะพบเห็นการด้า หัวได้ทางภาคเหนือ การด้าหัวท้าเพื่อแสดงความเคารพต่อผู้ที่อาวุโสว่า ไม่ว่าเป็น พระ ผูส้ งู อายุ ซึง่ จะมกี ารขอขมาในส่ิงที่ได้ล่วงเกิน หรือเป็นการขอพรปีใหม่จากผู้ใหญ่ ของท่ี ใช้ในการดา้ หวั หลกั ๆ ประกอบด้วย อาภรณ์ มะพรา้ ว กลว้ ย ส้มปอ่ ย เทียน และดอกไม้ การปล่อยนกปลอ่ ยปลา ถือวา่ การลา้ งบาปทเี่ ราได้ท้าไว้ เป็นการสะเดาะเคราะห์ร้ายให้ กลายเปน็ ดี มีแต่ความสขุ ความสบายในวนั ขึ้นปใี หม่ การขนททรายเข้าวัด ในทางภาคเหนือนิยมขนทรายเข้าวัดเพื่อเป็นนิมิตโชคลาคให้พบ แตค่ วามสุข ความเจรญิ เงนิ ทองไหลมาเทมาดจุ ทรายท่ขี นเขา้ วัด แต่ก็มีบางพ้ืนท่ีมีความ เชื่อว่า การน้าทรายที่ติดเท้าออกจากวัดเป็นบาป จึงต้องขนทรายเข้าวัดเพื่อไม่ให้เกิด บาป

9 แตงแคนตาลูปแอปเป้ลิ การเตรยี มแปลงและวิธกี ารปลกู ไถดินให้ลกึ ประมาณ 30-40 ซม ตากดินท้งิ ไว้7-10 วันเพ่ือฆ่าเชอื้ โรค แลว้ ทา้ การไถพรวน 2-3 รอบ ใส่ปุ๋ยคอกเก่า ใช้ปูนขาว ในแปลงปลูก คลุกเคล้าให้เข้ากัน ยกแปลงให้สูง ลักษณะการปลูกจะท้าเป็นแปลงแบบเล้ือย ใช้ขนาด แปลงกว้าง เตรียมแปลงคู่เหมือนกับปลูกแตงโม ความยาวตามลักษณะของพ้ืนที่ปลูก เวน้ รอ่ งระหวา่ งแปลงเพอื่ เป็นชอ่ งทางเดินและระบายน้าในแปลงกว้างประมาณ 30 ซม การใส่ปุ๋ยจะเป็นปุ๋ยเคมีและปุ๋ยคอกสลับกันแบ่งเป็นสามช่วง ช่วงละสามเดือน การ จ้าหน่ายผลผลิตบางส่วนจะส่งไปยังตลาดขายส่งสินค้าการเกษตรที่ส้าคัญในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ เชน่ ตลาดวารินเจริญศรี ตลาดพรรณรวี ตลาดเมืองทอง ตลาดย่า โม

10 ผ้าห่มไหมพรม กลุ่มสตรีทอผ้าห่มไหมพรม หมู่ที่1 บ้านดง ต้าบลดงเจริญ อ้าเภอค้าเขื่อนแก้ว จังหวัด ยโสธร เป็นผ้าห่มท่ีทอดว้ ยก่กี ระตกุ จากเสน้ ใยฝ้ายและไหมพรมมีหลายสีหลายลายสวน งาม ฝีมอื ประณีต

๑๑ โรงเรยี นบา้ นดงเจริญ โรงเรยี นบ้านคา้ แหลม

12 โรงเรยี นบ้านแหลง่ หนู วัดบา้ นดง วัดปา่ ดงพะยอ ม

๑๓ ศนู ย์การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ต้าบล หนว่ ยงานกอ.รมน.-กศน. ด้าน/ประเภท/ชนิดเกษตรกรทฤษฎีใหม่ ปที ี่จดั ตงั้ 2559 ศาลาประชาคม หมู่ 4 ค้าแหลม ต้าบลดง เจริญ อ้าเภอคา้ เขอ่ื นแก้ว จงั หวดั ยโสธร ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กต้าบลดงเจริญ

14 ต้าบลดงเจริญเปน็ ท่รี าบลมุ่ ทงุ่ นาสลบั ปา่ โปรง มีสภาพของดินเป็นดินร่วนปนทรายไม่อุ้ม น้า ฤดูแล้งมีสภาพอากาศทรี่ อ้ นจัดเน่ืองจากว่าแหล่งน้าธรรมชาติไม่สามารถที่จะกักเก็บ กักน้าได้ตลอดฤดู ดินถูกน้าเซาะล้างหน้าดินพังทลายและมีสภาพที่เสื่อมคุณภาพไม่ สามารถทจี่ ะทา้ การปลูกพชื ได้

15 ฤดรู อ้ น จะมอี ากาศทรี่ อ้ นจัดมีสภาพพ้นื ท่ีท่ีแหง้ แลง้ มาก อณุ หภูมิเฉลีย่ สูงประมาณ ` 39-40 องศาเซลเซยี ส ฤดหู นาว จะมีอากาศทหี่ นาวจัด อณุ หภูมเิ ฉลี่ยโดยประมาณ 20 องศาเซลเซยี ส ฤดูฝน เร่ิมจากเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ปริมารน้าฝนเฉลี่ยต่อปีโดยประมาณ 1310 มลิ ลิเมตร

16 บ้านเรือนตั้งแต่สมัยอดีตจะเป็นบ้านแบบไทยเดิมคือท้าจากไม้ ใบจากมุงหลังคา ส่วนมากจะเป็นบ้านยกสูง มีท่ีโล่งด้านล่างบ้านเอาไว้ใช้เป็นที่นั่งเล่นและพ้ืนท่ีท้า ประโยชน์อื่นๆ และส่วนปัจจุบันบ้านของชาวบ้านส่วนมากจะเป็นบ้านไม้ก่ึงปูน คือเป็น ปนู ชน้ั ลา่ งและเปน็ ไม้ชนั้ บน แล้วบ้านกจ็ ะเปลย่ี นไปตามยคุ สมัย

17 การแตง่ กายของคนในชุมชนสมัยอดตี นน้ั ชาวบา้ นจะแต่งเป็นแบบพ้ืนบ้านเก่าๆ ผ้ชู ายก็ จะนุ่งกางเกงเปิดขา ผู้หญิงก็จะนุ่งผ้าถุงเส้ือธรรมดา เวลาท้ากิจกรรมต่างๆก็จะแต่ง ประมาณน้ีถ้าไม่ได้ออกไปท้างาน ถ้าออกไปท้างานก็จะแต่งเป็นเสื้อท่ีมีแขนยาวท้ังชาย หญิง และจะมีหมวกดว้ ย เมื่อสมัยใหม่การแต่งกายเริ่มเปล่ียนไปผู้ชายเริ่มใส่เส้ือมากข้ึน กางเกงเป็นผ้าแบบดขี ้นึ ผหู้ ญงิ กจ็ ะมีการใส่กางเกงตามยุคสมัยเส้ือผ้าก็จะเปลี่ยนตามไป ดว้ ย

18 พืชแรกทนี่ ยิ มปลูกจะเป็นฝ้าย และมีข้าว ปอ เผอื ก มันสา้ ปะหลงั ข้าวโพด เพราะเปน็ พชื ทป่ี ลกู ง่ายและเหมาะกับพ้นื ที่และสภาพอากาศของชมุ ชน

19 แหลง่ ทมี่ า นายจริ วฒั น์ ใหญล่ ้า นายบุญเพ็ง ใหญล่ ้า นางบวั สอน ถึงแสง

20 จัดท้าโดย นางสาวกมลทพิ ย์ ใหญล่ ้า เลขท1่ี 2 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/5 เสนอ คุณครอู นชุ ัย หัวดอน โรงเรยี นคา้ เขื่อนแกว้ ชนปู ถัมภ์ สา้ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook