Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานแบดมินตัน

ความรู้พื้นฐานแบดมินตัน

Published by oil_2547, 2021-09-03 08:48:15

Description: ความรู้พื้นฐานแบดมินตัน

Search

Read the Text Version

ความรพู้ นื ฐาน แบดมนิ ตัน เสนอ ครูกระจ่าง หลักคํา จัดทําโดย นางสาวพรไพลิน ปทมาลัย ม.5.8 เลขที34

คํานาํ รายงานเล่มนจี ดั ทําขนึ เพอื เปนสว่ นหนงึ ของวชิ า สขุ ศึกษาและพลศึกษาชนั มธั ยมศึกษาปที5 เพอื ใหไ้ ดศ้ ึกษาหาความรใู้ นเรอื ง ความรพู้ นื ฐานแบดมนิ ตัน และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพอื เปนประโยชนก์ ับการเรยี น ผจู้ ดั ทําหวงั วา่ รายงานเล่มนจี ะเปนประโยชนก์ ับผอู้ ่าน ทีกําลังหาขอ้ มูล เรอื งนอี ยูห่ ากมขี อ้ แนะนาํ หรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทําขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขอ อภัยมาณ ทีนดี ว้ ย ผจู้ ดั ทํา นางสาวพรไพลิน ปทมาลัย

สารบญั เรอื ง หนา้ ประวตั ิความเปนมาของกีฬาแบดมนิ ตัน 1 ประโยชนก์ ารเล่น 2 มารยาทการเล่นแบดมนิ ตัน 3 วธิ กี ารเล่นแบดมนิ ตันดว้ ยความปลอดภัย 4 วธิ กี ารเก็บรกั ษาอุปกรณก์ ารเล่นแบดมนิ ตัน 5 การอบอุ่นรา่ งกายก่อนการเล่น 6 ทักษะพนื ฐานกีฬาแบดมนิ ตัน 7 กติกาการแขง่ ขนั กีฬาแบดมนิ ตัน 9

ประวตั ิความเปนมาของกีฬาแบดมนิ ตัน แบดมนิ ตัน (Badminton) เปนกีฬาทีไดร้ บั การวจิ ารณเ์ ปนอยา่ งมาก เพราะไมม่ หี ลัก ฐานทีแนช่ ดั ถึงทีมาของกีฬาประเภทนี คงมแี ต่หลักฐานบางอยา่ งทีทําใหท้ ราบวา่ กีฬา แบดมนิ ตันมเี ล่นกันในยุโรป โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ ตอนปลายศตวรรษที 17 และ จากภาพสนี าํ มนั หลายภาพไดย้ นื ยนั วา่ กีฬาแบดมนิ ตันเล่นกันอยา่ งแพรห่ ลายในพระ ราชวงศ์ของราชสาํ นกั ต่าง ๆ ในทวปี ยุโรป แมว้ า่ จะเรยี กกันภายใต้ชอื อืนก็ตาม โดยกีฬาแบดมนิ ตันไดร้ บั การบนั ทึกแบบเปนลายลักษณอ์ ักษรในป พ.ศ. 2413 ซงึ พบวา่ มกี ารเล่นกีฬาลกู ขนไก่เกิดขนึ ทีเมอื งปูนา (Poona) ในประเทศอินเดยี เปน เมอื งเล็ก ๆ หา่ งจากเมอื งบอมเบยป์ ระมาณ 50 ไมล์ โดยไดร้ วมการเล่นสองอยา่ งเขา้ ดว้ ยกันคือ การเล่นปูนาของประเทศอินเดยี และการเล่นไมต้ ีกับลกู ขนไก่ (Battledore Shuttle Cock) ของยุโรป ในระยะแรก การเล่นแบดมนิ ตันจะเล่นกันเพยี งแต่ในหมูน่ ายทหารของกองทัพ และสมาชกิ ชนชนั สงู ของอินเดยี เท่านนั จนกระทังมนี ายทหารอังกฤษทีไปประจาํ การอยูท่ ี เมอื งปูนา นาํ การเล่นตีลกู ขนไก่นกี ลับไปอังกฤษ และเล่นกันอยา่ งกวา้ งขวาง ณ คฤหาสน์ แบดมนิ ตัน (Badminton House) ของดยุคแหง่ บวิ ฟอรด์ ทีกลอสเตอรเ์ ชยี ร์ ดงั นนั ในป พ.ศ. 2416 เกมกีฬาตีลกู ขนไก่เลยถกู เรยี กวา่ แบดมนิ ตัน ตามชอื คฤหาสนข์ อ งดยุคแหง่ บวิ ฟอรด์ ตังแต่นนั เปนต้นมา ทังนี กีฬาแบดมนิ ตันก็เรมิ แพรห่ ลายในประเทศแถบภาคพนื ยุโรป เนอื งจากเปน เกมทีคล้ายเทนนสิ แต่สามารถเล่นไดภ้ ายในตัวตึก โดยไมต่ ้องกังวลต่อลมหรอื หมิ ะในฤดู หนาว นอกจากนี ชาวยุโรปทีอพยพไปสทู่ วปี อเมรกิ า ยงั ไดน้ าํ กีฬาแบดมนิ ตันไปเผยแพร่ รวมทังประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี และออสเตรเลียทีอยูภ่ ายใต้อาณานคิ มของอังกฤษ เนเธอรแ์ ลนด์ ต่างนาํ เกมแบดมนิ ตันไปเล่นยงั ประเทศของตนเองอยา่ งแพรห่ ลาย เกม กีฬาแบดมนิ ตันจงึ กระจายไปสสู่ ว่ นต่าง ๆ ของโลก รวมทังประเทศไทยดว้ ย สาํ หรบั การเล่นแบดมนิ ตันในระยะแรกไมไ่ ดม้ กี ฎเกณฑ์ตายตัว เพยี งแต่เปนการตีโต้ลกู กันไปมาไมใ่ หล้ กู ตกพนื เท่านนั สว่ นเสน้ แบง่ แดนก็ใชต้ าขา่ ยผกู โยงระหวา่ งต้นไมส้ องต้นไมไ่ ด้ คํานงึ ถึงเรอื งตําสงู เล่นกันขา้ งละไมน่ อ้ ยกวา่ 4 คน สว่ นมาจะเล่นทีมละ 6 ถึง 9 คน ผเู้ ล่น สามารถแต่งตัวไดต้ ามสบาย

ประโยชนก์ ารเล่น รา่ งกายเเขง็ เเรง กีฬาเเบดมนิ ตันต้องใชก้ ารเคลือนไหวรา่ งกายหลากหลายรปู แบบ การตีเเบดสามารถเผาผลาญไขมนั ประมาณ 450-550 เเคลอรตี ่อชวั โมง เเละการเล่นเปนประจาํ สามารถชว่ ยลดนาํ หนกั ไดถ้ ึง 4 กก. ภายในเดอื นเดยี ว นอกจากนี กล้ามเนอื ทกุ สว่ นจะถกู ใชเ้ วลาทีเราเล่นเเบดมนิ ตัน จงึ ชว่ ยเผาผลาญไขมนั ไดม้ ากกวา่ เดมิ เพมิ ความยดื หยุน่ ยงิ เคลือนไหวมาก รา่ งกายยงิ ยดื หยุน่ จากการเหวยี งเเละเอือม นอกจากจะชว่ ยเพมิ ความยดื หยุน่ เเล้ว ผู้ เล่นยงั สามารถเพมิ มวลเเละความอึดทนของกล้ามเนอื อีกดว้ ย เพมิ ความคล่องตัว การเคลือนไหวของรา่ งกายจะลดลงเมอื อายุเพมิ ขนึ เเต่การเล่นเเบดมนิ ตันเปนประจาํ ชว่ ยรกั ษารา่ งกาย ของคณุ ใหก้ ระตือรอื รน้ อยูเ่ สมอ จงึ สามารถปองกันปญหาสขุ ภาพต่าง ๆ ทีเกียวขอ้ งกับการเคลือนไหว การเคลือนไหวในสนามแบดอยา่ งสมาํ เสมอชว่ ยหล่อลืนขอ้ ต่อ ปองกันการเกิดโรคขอ้ อักเสบ เเละโรครา้ ย อืน ๆ ทีมอี าการคล้ายกัน ลดความเสยี งโรคเบาหวาน การเล่นเเบดมนิ ตันสามารถลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานชนดิ ที 2 ไดถ้ ึง 58% ซงึ เปนตัวเลขทีสงู กวา่ การใชย้ า ลดการผลิตนาํ ตาลโดยรวมของตับ รวมทังลดความเสยี งเปนโรคเบาหวานของรา่ งกาย โดยรวม แล้ว ผทู้ ีเล่นเเบดมนิ ตันเปนประจาํ นนั เสยี งเปนเบาหวานนอ้ ยกวา่ คนทัวไป แก้เครยี ด การเล่นเเบดมนิ ตันไมเ่ พยี งมอบประโยชนเ์ เก่รา่ งกายเท่านนั เเต่ยงั ดตี ่อสขุ ภาพจติ อีกดว้ ย เเบดมนิ ตัน ชว่ ยบรรเทาความตึงเครยี ดเเละความกังวลของรา่ งกาย พรอ้ มผอ่ นคลายจติ ใจ ผทู้ ีตีเเบดเปนประจาํ มกั มี อารมณผ์ อ่ นคลาย จติ ใจสงบ เเละมสี มาธจิ ดจอ่ กับเรอื งต่าง ๆ ในชวี ติ ไดด้ กี วา่ คนทัวไป หลังเอ็นตอรฟ์ น กิจกรรมการเคลือนไหวทัวไปสามารถทําใหร้ า่ งกายหลังเอ็นดอรฟ์ น เเต่เนอื งจากกีฬาเเบดมนิ ตันนนั ต้อง ใชก้ ารเคลือนไหวในสนามแบดมนิ ตันมากกวา่ จงึ ชว่ ยกระต้นุ ใหร้ า่ งกายหลังเอ็นดอรฟ์ นไดม้ ากขนึ ซงึ จะ ชว่ ยบรรเทาความเหนอื ยล้า ความกังวล เเละเปนการฟนฟูสขุ ภาพจติ โดยธรรมชาติ การเขา้ สงั คม การเล่นเเบดมนิ ตันยงั ทําใหค้ ณุ ไดพ้ บเจอสงั คมใหม่ ๆ เพราะเเบดมนิ ตันนนั ต้องเล่นเปนค่อู ยา่ งนอ้ ยสอง คนเสมอ จงึ ชว่ ยพฒั นาทักษะการเขา้ สงั คมเเละขยายเเวดวงคนรจู้ กั ใหก้ วา้ งกวา่ เดมิ

มารยาทการเล่นแบดมนิ ตัน 1.ผเู้ ล่นทีดคี วรคํานงึ อยูเ่ สมอวา่ การแขง่ ขนั แบดมนิ ตันเปนกีฬาทีจะต้อง มผี ลแพแ้ ละชนะ ควรมนี าํ ใจนกั กีฬาอยูเ่ สมอ และไมค่ ํานงึ ถึงผลของ การแขง่ ขนั มากจนเกินไป 2.ควรมสี มั พนั ธภาพทีดกี ับค่แู ขง่ ขนั มมี ติ รภาพ ใหเ้ กียรติ และแสดง ความเคารพซงึ กันและกัน ไมเ่ อาเปรยี บในทกุ ๆ กรณขี ณะการแขง่ ขนั 3.ขณะแขง่ ขนั ควรควบคมุ อารมณใ์ หด้ ี ไมแ่ สดงกิรยิ าท่าทางหรอื คําพูด ทีไมด่ อี อกมาเมอื เปนฝายทําแต้มเสยี เอง และไมค่ วรกล่าวตําหนผิ เู้ ล่น ในทีมเดยี วกัน 4.ใชว้ าจาสภุ าพตลอดการแขง่ ขนั ทังกับค่แู ขง่ ขนั และกรรมการตัดสนิ รวมถึงควรใหเ้ กียรติและยอมรบั การตัดสนิ ของกรรมการเมอื มกี าร ชขี าดแล้ว ไมแ่ สดงอาการโวยวายหรอื ไมพ่ อใจ 5.ควรขออนญุ าตผตู้ ัดสนิ ทกุ ครงั หากต้องการขอพกั เบรคในขณะที กําลังทําการแขง่ ขนั อยู่ และรอใหผ้ ตู้ ัดสนิ อนญุ าตเสยี ก่อนจงึ ปฏิบตั ิได้ เปนมารยาททีพงึ กระทํา 6.หากต้องการสง่ ลกู เสยี คืนใหผ้ แู้ ขง่ ขนั ฝายตรงขา้ ม ควรสง่ ลกู คืนขา้ ม ตาขา่ ยเสมอ ไมค่ วรสง่ ลอดใต้ตาขา่ ย เพราะจะเปนการเสยี มารยาท 7.หากตีลกู เสยี และกรรมการหรอื ผตู้ ัดสนิ ดไู มท่ ัน ควรแสดงสปรติ แจง้ ทันทีวา่ เปนลกู เสยี ไมค่ วรฉวยโอกาสนนั เล่นต่อ เพราะจะเปนการ กระทําทีไมส่ จุ รติ 8.ขณะทําการแขง่ ขนั หากมกี ารตัดสนิ ผดิ พลาดของผตู้ ัดสนิ และเราได้ ประโยชนน์ นั ควรโต้แยง้ ทันที 9.เมอื การแขง่ ขนั สนิ สดุ ลง ไมว่ า่ ผลจะออกมาแพห้ รอื ชนะ ไมค่ วรแสดง พฤติกรรมทีดไู มเ่ หมาะสม เชน่ ดใี จจนเกินควร หรอื แสดงอารมณ์ ฉนุ เฉียวไมพ่ อใจหากตนเองแพ้ และควรแสดงความดใี จหรอื เสยี ใจกับ ค่แู ขง่ ขนั ดว้ ยการจบั มอื หลังจบการแขง่ ขนั 10.ควรยอมรบั ผลการตัดสนิ ของผตู้ ัดสนิ เมอื มกี ารชขี าดผลแพช้ นะ เรยี บรอ้ ยแล้ว และควรแสดงความเคารพผตู้ ัดสนิ ดว้ ยเชน่ กัน

วธิ กี ารเล่นแบดมนิ ตันดว้ ยความปลอดภัย •ควรยดื กล้ามเนอื ทกุ ครงั ก่อนและหลังตีแบด เพอื ให้ รา่ งกายมคี วามยดื หยุน่ ชว่ ยลดอาการบาดเจบ็ และปองกัน กล้ามเนอื และเอ็นฉีกขาดได้ และยงั ชว่ ยใหส้ ามารถ เคลือนไหวไดเ้ รว็ ขนึ อีกดว้ ย • ศึกษาการใชไ้ มแ้ บดใหถ้ กู วธิ ี เชน่ ขนาดดา้ มจบั ต้องพอดี มอื ไมข่ นึ เอ็นจนตึงเกินไป • ฝกฟุตเวริ ค์ ใหค้ ล่อง เมอื สามารถเคลือนไหวไดอ้ ยา่ งถกู วธิ ี ถกู จงั หวะในขณะเล่นอยู่ จะชว่ ยเซฟเขา่ และยงั ทําใหต้ ีแบดดี ขนึ อีกดว้ ย • ควรเลือกรองเท้าแบดแบบมซี พั พอรต์ เพราะจงั หวะทีเท้า ลงมากระแทกกับพนื จะไดไ้ มเ่ จบ็ เขา่ ลองปฏิบตั ิตามดนู ะคะ ภาวะบาดเจบ็ เหล่านสี ามารถดแู ลได้ หากรจู้ กั ปองกันตัวเองอยา่ งถกู วธิ ี แต่หากพบวา่ มอี าการบาดเจบ็ รนุ แรง แอดแนะนาํ ใหร้ บี ไปพบ แพทยโ์ ดยดว่ น และพกั จากการเล่นแบดสกั ระยะนงึ เพอื กลับมาเล่นไดใ้ หมอ่ ีกครงั ดกี วา่ ต้องพกั ยาว

วธิ กี ารเก็บรกั ษาอุปกรณ์ การเล่นแบดมนิ ตัน ไมแ้ รก็ เกต -ควรมถี งุ เก็บและหมนั ทําความสะอาดโดยเฉพาะบรเิ วณดา้ มจบั อยา่ ให้ เปยกชนื ถ้าใชผ้ า้ พนั ดา้ มควรเปลียนเมอื เสอื มคณุ ภาพแล้ว -เก็บไวใ้ นอุณหภมู ทิ ีเหมาะสม ไมค่ วรเก็บไวใ้ นทีมอี ุณหภมู สิ งู หรอื วางตากแดดตากฝนจะทําใหไ้ มแ้ รก็ เกตเสยี รปู ทรง บดิ เบยี วซงึ เกิดจาก แรงดงึ ของเอ็น และโครงสรา้ งของวสั ดใุ ชท้ ําไมแ้ รก็ เกตได้ -ในฤดรู อ้ นควรใชน้ าํ มนั มะกอก วาสลีน หรอื เทียนไขทาถทู ีเอ็นทังดา้ นหนา้ และดา้ นหลัง จะชว่ ยใหเ้ อ็นมคี วามคงทนยงิ ขนึ -เมอื เลิกใชค้ วรแขวนไมแ้ รก็ เกตจะดที ีสดุ แต่ถ้าจาํ เปนต้องวางควรวาง ดา้ นแบนเท่านนั -เมอื เอ็นทีใชข้ าดไปสว่ นหนงึ สว่ นใด ไมค่ วรต่อเอ็นแล้วนาํ กลับไป ใชอ้ ีกเพราะแรงดงึ ในการต่อเอ็นจะไมเ่ ท่ากัน ขาดความสมดลุ จะทําให้ โครงสรา้ งไมแ้ รก็ เกตเสยี รปู การปฎิบตั ิเมอื เอ็นขาดควรใชก้ รรไกรตัดเอ็น ทีเหลืออยูท่ ําใหข้ าดออกจากกันทังหมด เปนการปองกันแรงดงึ จากเอ็นที ไมส่ มดลุ กัน -อยา่ นาํ ไมแ้ รก็ เกตไปใชต้ ีสงิ อืน ๆ ทีมใิ ชล่ กู ขนไก่และระวงั การตี -ควรฝกฝนการตีลกู ในทักษะ ไมใ่ หก้ ระทบถกู พนื หรอื วสั ดทุ ีแขง็ ต่าง ๆ ใหถ้ กู ต้องแมน่ ยาํ มุมและทิศทางของการตีทีถกู ต้องจะชว่ ยใหเ้ อ็น และไมแ้ รก็ เกตมคี วามคงทนและใชไ้ ดน้ านยงิ ขนึ ลกู ขนไก่ -ควรเก็บลกู ขนไก่ไวใ้ นกล่องทีจดั ขนึ โดยเฉพาะเพอื ปองกันการโดนทับซงึ -ไมค่ วรเก็บลกู ขนไก่ไวใ้ นทีรอ้ นหรอื ตาก ทําใหเ้ สยี รปู ทรง แดด เพราะจะทําใหห้ กั ง่ายและไมค่ วรเก็บไวใ้ นทีชนื หรอื เปยก ซงึ จะทําใหข้ นึ ราและใชไ้ มไ่ ด้

การอบอุ่นรา่ งกายก่อนการเล่น 1.ทาบรหิ ารแขนและขอมือ เร่มิ ตน ดวยการยกแขนแลว ย่นื ไป ดา นหน าขนานกบั พ้ืนและทําใหแขนตึง จากนัน้ ใชมอื อีกขาง หมุนขอมอื ข้ึน-ลงอยางชาๆ เป็นจาํ นวน 10 ครงั้ โดยทาํ แบง ออกเป็น 3 เซต 2.บริหารขอ ศอกดวยการยนื หลังตรงแลว ทาํ แขนดา นหน าให เป็นลกั ษณะของตวั L จากนัน้ ใหเ ล่ือนแขนไปดานขางจน กระทงั่ ศอกชดิ กับลาํ ตัวและเล่อื นมาอยกู ลางลาํ ตัว สวน แขนดา นหลังใหท าํ เป็นตัว L ขนานไปกับดา นหลงั แลว ใช มอื ดานหน าจับศอกของแขนดา นหลัง โดยทาํ ในลกั ษณะนี้ สลับกันรอบละ 3 นาที 3.ทา บรหิ ารขาใหคุณยืนตัวตรง จากนัน้ ใหกาวเทา ไปดานหน า เล็กน อยแลว ยอเขา ลง โดยใหเขา ดานหน าเป็นแนวขนาน พรอ มทําสลบั ทัง้ ยอเขา ลงและขาหลังตงึ ขา งละ 10 ครัง้ แบงออกเป็น 3 เซต็ เชนกัน

ทักษะพนื ฐานกีฬาแบดมนิ ตัน ทักษะในการยนื การยนื นบั วา่ เปนทักษะทีสาํ คัญในการทรงตัวก่อนเรมิ เล่น หากผเู้ ล่นทรงตัว ไมด่ กี ารตีลกู ซงึ เปนทักษะต่อเนอื งจะไมไ่ ดผ้ ลเท่าทีควรหลักการในการยนื ทรงตัวนนั คือ 1.ยนื โดยใชเ้ ท้าขา้ งหนงึ ขา้ งใดอาจเปนซา้ ยหรอื ขวาก็ตามแต่ขณะโดยใหเ้ ยยี ง ไปขา้ งหลังเพอื ใหเ้ ท้าการยนื กวา้ งขนึ การทรงตัวจะดขี นึ ดว้ ย 2.การยนื นนั ต้องใชน้ าํ หนกั ลงไปเท้าไมย่ นื โดยนาํ หนกั ตกลงทีเสน้ ทางใน ลักษณะของการยนื แบบเท้าตายทังนเี พราะจะไมค่ ล่องตัวในการเคลือนไหวและ การสไลดเ์ ขา้ ไปยงั เปาหมายเพอื ตีลกู ทักษะในการจบั ไม้ การจบั ไมต้ ้องจดั ใหเ้ หมาะและถนดั มอื ทังนตี ้องคํานงึ ถึงการเคลือนไหวขอ้ มอื ในการใชแ้ บดมนิ ตันตีลกู ใหต้ ีไดถ้ กู ทิศทางการเคลือนไหวขอ้ มอื ทังการตีลกู หนา้ มอื และการตีลกู หลังมอื การจบั ไมท้ ีนยิ มและสามารถเคลือนไหว หมุน หรอื พรกิ ขอ้ มอื ไดค้ ล่องตัวนนั เปนการจบั ไมล์ทีเรยี กวา่ การจบั ไมแ้ บบตัววี ทักษะการใชม้ อื และนวิ การใชม้ อื และนวิ ในการครอบคลมุ การตีลกู แบดมนิ ตันนนั สาํ คัญมากเพราะ การตีแบดมนิ ตันแตกต่างจากการเล่นเทนนสิ เพราะแบดมนิ ตันใชข้ อ้ มอื เปน หลักในทักษะการตีลกู การฝกทักษะทีใชข้ อ้ มอื ทังหนา้ และหลังมอื ทักษะการเสริ ฟ์ การเสริ ฟ์ หรอื การสง่ รปู เปนการเรมิ เล่น โดยผไู้ ดเ้ สริ ฟ์ จะสง่ ต่อลกู โดยใชไ้ ม้ แบดมนิ ตันตีลกู ใหอ้ ีกฝายผรู้ บั การเสริ ฟ์ นนั ก่อนเสริ ฟ์ โดยใชไ้ มต้ ีลกู แบดมนิ ตัน ผเู้ สริ ฟ์ ต้องจบั ลกู แบดมนิ ตันใหถ้ กู ต้องซงึ การจบั ลกู ม2ี แบบดว้ ยกันคือ 1. จบั ลกู แบดมนิ ตันในลีกษณะใหล้ กู อยูใ่ นอุ้งมอื โดยใชน้ วิ ชแี ละนวิ หวั แมม่ อื หนบี ลกู แบดมนิ ตัน 2. จบั ลกู แบดมนิ ตันในลักษณะของการใชเ้ ฉพาะนวิ ชแี ละนวิ หวั แมม่ อื จบั ลกู แบดมนิ ตันบรเิ วณขนไก่

ทักษะการตีลกู หนา้ มอื การตีลกู โต้หนา้ มอื เปน การตีลักษณะนจี ะตําแหนง่ การวางเท้าต้องไมอ่ ยูใ่ นลักษณะของ เท้าตาย เท้าต้องพรอ้ มทีจะเคลือนทีไปไดใ้ นทกุ ทิศทาง การจบั ไมใ้ หห้ งายหนา้ มอื ไปในทางที จะตีลกู ไปขา้ งหนา้ เหวยี งไมไ้ ปดา้ นหลัง และงอขอ้ ศอกเล็กนอ้ ย ไมแ้ บดมนิ ตันทีถือในมุมที เกือบจะเปนมุมฉากกันท่อนแขนการตีใหต้ วดั ขอ้ มอื ในการตีลกู และบงั คับทิศทางของลกู โดยการใชข้ อ้ มอื 2.การตีและตบการตีลักษณะนตี ําแหนง่ การวางเท้าต้องไมอ่ ยูใ่ นลักษณะ ของเท้าตาย เท้าต้องพรอ้ มทีจะเคลือนทีไปไดใ้ นทกุ ทิศทางการจบั ไมห้ งายหนา้ มอื ไปทาง ทิศทางทีจะตีลกู ไปขา้ งหนา้ เหวยี งไมไ้ ปดา้ นหลังและงขอ้ ศอกเล็กนอ้ ยโดยยกไมใ้ หพ้ น้ ศรษี ะ พบั ขอ้ ศอกและพรอ้ มทีจะตวดั ขอ้ มอื ตีลกู ในลักษณะการตบจากบนลงล่าง 3.การตีลกู มอื ล่าง เปนการตีลกู จากล่างขนึ บนใหข้ า้ มตาขา่ ย การตีลักษณะนตี ําแหนง่ การวางเท้าต้องไม่ อยูใ่ นลักษณะของเท้าตาย เท้าต้องพรอ้ มทีจะเคลือนทีไปไดใ้ นทกุ ทิศทางการจบั ไมใ้ หห้ งาย หนา้ มอื ไปในทิศทางทีจะตีลกู ไปขา้ งหนา้ จบั ไมใ้ นลักษณะใหห้ วั ชลี งล่างเหวยี งไมไ้ ปดา้ นหลัง และตวดั ขอ้ มอื ตรโี ลกจากล่างขนึ บนใหผ้ า่ นตาขา่ ย4.การตีลกู หยอดการตีลักษณะนี ตําแหนง่ การวางเท้าต้องไมอ่ ยูใ่ นลักษณะของเท้าตายเท้าทีต้องพรอ้ มทีจะเคลือนทีไปในทกุ ทิศทาง การจบั ไมใ้ หห้ งายมอื ไปทางทิศทางทีจะตีลกู ไปขา้ งหนา้ เหวยี ง ไมไ้ ปทางดา้ นหนา้ ขวามอื ตีลกู พรอ้ มก้าวเท้าตามไปดว้ ยในลักษณะของการสง่ แรงการหยอดเฉียดตาขา่ ยให้ มากทีสดุ และหลอกฝายตรงขา้ มโดยการเปลียนทิศทางของลกู โดยควบคมุ ทิศทางดว้ ยขอ้ มอื ทักษะการตีลกู หลังมอื การลกู หลังมอื เปนการตีลกู ในลักษณะพลิกหลังมอื ไปในทางทิศทางทีจะตีลกู มลี ักษณะการตีดงั นี 1.การตีลกู หลังมอื การตีลักษณะนี ตําแหนง่ การวางเท้าต้องไมอ่ ยูใ่ นลักษณะของเท้าตาย เท้าต้องพรอ้ มทีจะเคลือนทีไปไดท้ กุ ทิศทาง การจบั ไมใ้ หพ้ ลิกหลังมอื ไปในทางทิศทางทีจะตี ลกู ไปขา้ งหนา้ เหวยี งไมไ้ ปดา้ นหลังเเละงอขอ้ ศอกเล็กนอ้ ย โดยไขวม้ อื ทีจบั ไมเ้ เบดมนิ ตัน ไปอีกดา้ นหนงึ ของมอื ทีจบั ไม้ ถ้าจบั ขวาเหวยี งไขวไ้ ปทางซา้ ย ถ้าจบั ซา้ ยเหวยี งไปทางขวา การตีใหต้ วดั ขอ้ มอื ในการตีลกู เเละบงั คับทิศทางของลกู โดยการใชข้ อ้ มอื 2.การตีลกู หยอดหลังมอื การตีลักษณะนี ตําเเหนง่ การวางเท้าต้องไมอ่ ยูใ่ นลักษณะของเท้าตาย เท้าต้อง พรอ้ มทีจะเคลือนทีไปไดใ้ นทกุ ทิศทกุ ทาง การจบั ไมใ้ หพ้ ลิกหลังมอื ไปในทิศทางทีจะตีไปขา้ งหนา้ เหวยี งไมไ้ ป ทางดา้ นหนา้ ขวามอื ตีลกู พรอ้ มก้าวเท้าดา้ นเดยี วกับมอื ทีจบั ไมต้ ามไปดว้ ย ในลักษณะของการสง่ เเรง การ หยอดครวตวดั ขอ้ มอื เบาๆ เพอื ใหล้ กู หยอดเฉียดตาขา่ ยใหม้ ากทีสดุ เเละหลอกฝายตรงขา้ มโดยการเปลียน ทิศทางของลกู โดยควบคมุ ทิศทางดว้ ยขอ้ มอื

กติกาการแขง่ ขนั กีฬาแบดมนิ ตัน 1. การออกนอกเสน้ มกี ารกําหนดเสน้ ออกแต่งต่างกันในกรณเี ล่นเดยี วและเล่นคู่ 2. การเสริ ฟ์ ลกู ตามกติกา ทีถกู ต้อง คือ 1. หวั ไมข้ ณะสมั ผสั ลกู ต้องตํากวา่ ขอ้ มอื อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั 2. หวั ไมข้ ณะสมั ผสั ลกู ต้องตํากวา่ เอวอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั 3. ผเู้ ล่นต้องไมถ่ ่วงเวลา หรอื เสรฟิ ชา้ หรอื เสรฟิ 2 จงั หวะ การเสรฟิ ต้องเสรฟิ ไปดว้ ย จงั หวะเดยี ว 4. ขณะเสริ ฟ์ สว่ นใดสว่ นหนงึ ของเท้าทัง 2 ขา้ งต้องสมั ผสั พนื ตลอดเวลา 5. การเสริ ฟ์ ลกู ทีถกู ต้อง ต้องใหแ้ รก็ เก็ตสมั ผสั กับหวั ลกู ก่อน หากโดนขนก่อนถือวา่ ผดิ กติกา 3. ขณะตีลกู โต้กัน หา้ มนาํ สว่ นหนงึ สว่ นใดของรา่ งกายหรอื ไมแ้ บดไปสมั ผสั กับเนท็ 4. หา้ มตีลกู ทีฝงตรงขา้ มโต้กลับมาในขณะทีลกู ยงั ไมข่ า้ มเนท็ มายงั แดนเรา(Over net) สหพนั ธ์ แบดมนิ ตันนานาชาติ ( IBF) ไดก้ ําหนดให้ ทดลองใชร้ ะบบการนบั คะแนนการ แขง่ ขนั กีฬาแบดมนิ ตันใหม่ ในระบบ 3 x 21 คะแนน ตังแต่ วนั ที 1 มกราคม 2549 เปนต้นไป รายละเอียดของกติกาการนบั คะแนนมดี งั นี 1. แมทชห์ นงึ ต้องชนะใหไ้ ดม้ ากทีสดุ ใน 3 เกม 2. ทกุ ประเภทของการแขง่ ขนั ฝายทีได้ 21 คะแนนก่อนเปนฝายชนะในเกมนนั ยกเวน้ เมอื ได้ 20 คะแนนเท่ากันต้องนบั ต่อใหม้ คี ะแนนหา่ งกัน 2 คะแนน ฝายใดไดค้ ะแนนนาํ 2 คะแนนก่อนเปนผชู้ นะ แต่ไมเ่ กิน 30 คะแนน หมายความวา่ หากการเล่นดาํ เนนิ มาจนถึง 29 คะแนนเท่ากัน ฝายใดได้ 30 คะแนนก่อน เปนผชู้ นะ 3. ฝายชนะเปนฝายสง่ ลกู ต่อในเกมต่อไป 4. ฝายชนะการเสยี งสทิ ธเิ ปนฝายสง่ ลกู ไดก้ ่อน หากฝายตรงขา้ มทําลกู \"เสยี \" หรอื ลกู ไมไ่ ด้ อยูใ่ นการเล่น ผเู้ ลือกสง่ ลกู ก่อนจะไดค้ ะแนนนาํ 1-0 และไดส้ ง่ ลกู ต่อ แต่หากผสู้ ง่ ลกู ทําลกู \"เสยี \" หรอื ลกู ไมอ่ ยูใ่ นการเล่น ฝายตรงขา้ มจะไดค้ ะแนนตามมาทันทีเปน 1-1 และฝายตรง ขา้ มจะไดส้ ทิ ธสิ ง่ ลกู แทน ดาํ เนนิ เชน่ นตี ่อไปจนจบเกม 5. ประเภทค่ใู หส้ ง่ ลกู ฝายละ 1 ครงั ตามคะแนนทีได้ ขณะทีเปลียนฝายสง่ ลกู หากคะแนน เปนจาํ นวนคี ผอู้ ยูค่ อรด์ ดา้ นซา้ ยเปนผสู้ ง่ ลกู หากคะแนนเปนจาํ นวนค่ผู อู้ ยูค่ อรด์ ดา้ นขวา เปนฝายสง่ ลกู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook