โตะ๊ ทำงำน อธบิ ดคี นแรกของกรมพลศกึ ษำ นำวำเอก หลวงศุภชลำศยั ร.น.
\"นาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ร.น.\" ขณะน้ันดารงตาแหน่ง รองผู้บัญชาการทหารเรอื และเป็นอธิบดีกรมพลศึกษาคนแรกท่านเปน็ ผู้ วางรากฐานการพลศึกษาและกีฬานักเรียนเมืองไทย อีกทั้งยังริเริ่มการ ก่อสร้างสนามกรีฑาสถานแห่งชาติ เป็น สนามกีฬามาตรฐานแห่งแรก ของประเทศไทย ท่ีรู้จักในนามของ \"สนำมศุภชลำศัย กรีฑำสถำน แห่งชำติ\" สนามที่ถูกบันทึกตานานประวัติศาสตร์อันทรงคุณค่ามา จวบจน ๘๐ ปี และคงอยู่คู่วงการกีฬาเมืองไทย ตราบนานเท่านาน ตลอดไป นำวำเอก หลวงศุภชลำศัย ร.น. มีชื่อจริงว่า บุง ศุภชลำศัย เกิดเมื่อวันท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๘ ณ ตาบล ถนนพระอาทิตย์ อาเภอชนะสงคราม จังหวัดพระนคร เป็นบุตรนายเบี้ยว และนางพ่วง เรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดชนะสงครามโรงเรียนวัดบวรนิเวศ และ โรงเรียนวัดราชบูรณะ (โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จนจบชั้นมัธยม ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ได้เข้าศึกษาเป็นนักเรียนนายเรื่อ ท่านเรียนเก่งถึงขั้น ได้รับเกียรตินิยมของสถาบัน ท่านมีความชื่นชอบในเร่ืองเรือเป็นทุนเดมิ ซ่ึงในวัยเยาว์ท่านได้แอบไปดูเรือรบใหม่ท่ีราชนาวีไทยส่ังต่อจากญี่ปุ่น แล้วเกิดความตื่นเต้นประทับใจถึงความใหญ่โตของเรือรบหลวงเสือ ทยานชล และเรอื รบหลวงเสือคารณสินธุ์ ขอขอบคณุ แหลง่ ที่มำ : กรมพลศกึ ษา, กรม. (2556). บนั ทึก 8 ทศวรรษกรมพลศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ครเี อท มายด์.
บุง ศุภชลำศัย เริ่มต้นชีวิตราชการทหารเรือ เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๑ ประจาการบนเรือรบหลวง \"สุครีพครองเมือง\" ใน ปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ท่านได้รับการคัดเลือกให้เป็นนายธงของเสด็จ ในกรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักดิ์ เสนาธิการทหารเรือในขณะท่ีท่าน เป็นนายทหารยศเพียงชั้นตรีเท่าน้ัน ซ่ึงผู้ท่ีเป็นนายธงของนายทหาร ชั้นนายพล จะต้องมีบุคลิกลักษณะดีเด่นมีความรู้และมีความ ประพฤติดี ตาแหน่งสุดท้ายก่อนออกจากกองทัพเรือ คือ รองผู้ บัญชาการทหารเรือ ต่อมาในรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม (แปลก ขีตะสังคะ) กระทรวงศึกษาธิการ ได้สถาปนากรมใหม่ขึ้น เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคมพ.ศ. ๒๔๗๖ เพื่อจัดการงานด้านพลศึกษา ของชาติ มีอามาตย์เอกพระยาประมวล วิชาพูล (วงษ์ บุญ - หลง) รักษาราชการในตาแหน่งอธิบดี จนกระทั่ง วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๗ นาวาโท หลวงศุภชลาศัย ร.น. (บุง ศุภชลาศัย) จึง ได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเป็นอธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก อย่างเป็นทางการ ขอขอบคุณแหล่งท่มี ำ : กรมพลศกึ ษา, กรม. (2556). บนั ทึก 8 ทศวรรษกรมพลศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ครเี อท มายด์.
การพลศึกษายุคแรกในช่วงของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง หลวงศุภซลาศัย เป็นผู้วางรากฐานการพลศึกษา และกีฬา นักเรียนเมืองไทยหลายประการ อาทิ การบรรจุหลักสูตรวิชาพลศึกษา โรงเรียนฝึกหัดครูพลศึกษาท่ัวประเทศและส่ิงสาคัญสาหรับ ชาวพลศึกษา คือการกาหนดสัญลักษณ์วงกลมห่วง ๆ สี ประดิษฐ์ฐานอยู่ใต้รูปพระพลบดี ซึ่งห่วงสีเขียวแทนพลศึกษา ห่วงสีขาว แทนพุทธิศึกษา และห่วงสีเหลืองแทนจริยศึกษา ความหมายแห่งนัย คือ บุคคลจะมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง และก่อประโยชน์ ให้กับชาติบ้านเมืองได้อย่างแท้จริงจะต้องมีความสมดุลระหว่าง ความรู้ ความประพฤติ และพลานามัย ดังเช่นห่วงท้ัง ๓ วง ที่วาง ทับกันอย่างมีเอกภาพสาหรับงานด้านการกีฬาของชาติ หลวงศุภชลาศัยได้ส่งเสริมการแข่งขันกีฬานักเรียนของกรมพลศึกษา เช่น จัดให้มีการมอบเส้ือสามารถแก่นักกีฬาท่ีมีความยอดเย่ียมทุกประเภท ก่อนการแข่งขันกีฬาประชาชนท่ัวประเทศเป็นครั้งแรก และ ใน พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้ย้ายสนามแข่งขันกีฬานักเรียนประจาปี จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ไปทาการแข่งขัน ณ ท้องสนามหลวง หลวงศุภชลาศัย ยังริเริ่มให้มีนักกีฬาอาวุโสกล่าวนาคาปฏิญาณตนเป็นครั้งแรกก่อนการแข่งขันกีฬานักเรียน ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ 4 พฤษภำคม พ.ศ. ๒๔๘๔ กรมพลศึกษา ได้เปลี่ยนชื่อสนำมกรีฑำสถำน เป็นสนำมศุภชลำศัย กรีฑำสถำนแห่งชำติ เพ่ือเป็นเกียรติแก่ท่านที่ทาคุณงามความดีให้กรมพลศึกษาซ่ึงปัจจุบันนิยมเรียกส้ันๆ ในนาม \"สนำมศุภชลำศัย\" หรือ \"สนำมกีฬำ แห่งชำติ\" ขอขอบคณุ แหล่งทมี่ ำ : กรมพลศกึ ษา, กรม. (2556). บนั ทกึ 8 ทศวรรษกรมพลศึกษา. กรงุ เทพฯ: ครีเอท มายด์.
ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ กรมพลศึกษา ได้แบ่งส่วนราชการเป็น ๖ กอง คือ สานักงานเลขานุการกรม กองกายบริหาร กองกีฬา กอง กรีฑาสถานแห่งชาติ กองการลูกเสือ และ กองอนุสภากาซาด ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๗ นาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ร.น. ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยตามลาดับ ถึงแม้ว่า หลวงศุภชลาศัย ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันท่ี ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ กรมพลศึกษาได้ยกย่อง และเชิดชูเกียรติท่านเป็น \"บุคคลพลศึกษาของชาติ\"สาขาการบริหารการพลศึกษา ในขณะที่ \"สนามศุภชลาศัยกรีฑาสถาน แห่งชาติ\" ได้ล่วงผ่านกาลเวลามาถึง ๘๐ ปี ช่ือเสียงและคุณงามความดีของท่านจะยังคงสถิต ในใจชาวพลศึกษาตลอดไป ขอขอบคุณแหลง่ ที่มำ : กรมพลศกึ ษา, กรม. (2556). บันทกึ 8 ทศวรรษกรมพลศึกษา. กรงุ เทพฯ: ครเี อท มายด์.
จัดทำโดย หอ้ งสมดุ และพพิ ิธภณั ฑ์กำรพลศกึ ษำและกีฬำ กล่มุ ประชำสมั พนั ธ์ สำนักงำนเลขำนุกำรกรม กรมพลศกึ ษำ กระทรวงกำรทอ่ งเที่ยวและกฬี ำ
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: