Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 คู่มือ ม.ต้น

1 คู่มือ ม.ต้น

Description: 1 คู่มือ ม.ต้น

Search

Read the Text Version

คมู่ ือพฒั นาระบบการเรยี นรูช้ ว่ งสถานการณ์โควดิ -19 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ชอ่ื ................................สกลุ ...........................รหัสนกั ศกึ ษา.................... ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกดุ ชมุ สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ยโสธร

ก คานา เน่อื งด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา2019 (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ใหส้ ถานศึกษาในสังกัดและในกากับปิดเรียนดว้ ยเหตพุ ิเศษนี้ พร้อมท้ังให้ส่วนราชการกาหนดแนวทางแก้ปัญหา การจัดการเรยี นการสอนท่ไี มส่ ามารถเปดิ เรียนไดต้ ามปกติ เพ่ือความปลอดภยั ของผู้เรียน ผู้ปกครอง และบุคลากร ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงกาหนดเปิดเรียนปีการศกึ ษา 2564 ในวนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน 2564 เป็นต้นไป และ กาหนดการจัดการเรยี นรู้ 5 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1. การเรียนแบบช้ันเรียน (ON - SITE) 2 .การเรียนผ่านทีวี ผ่านระบบ ดาวเทียม (ON - AIR) 3. การเรียนออนไลน์แบบเรียลไทม์ผ่านอินเตอร์เน็ต (ONLINE) 4. การเรียนย้อนหลัง ผา่ นเว็ปไซต์ ช่อง YouTube และแอปพลเิ คช่นั (ON DEMAND) 5. การเรียนท่บี ้านดว้ ยเอกสาร (ON HAND) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกดุ ชมุ จงึ ได้จดั ทาคูม่ ือพัฒนาระบบการเรียนรู้ ในสถานการณ์โควดิ -19 ขน้ึ เพื่อเป็นส่อื ประกอบการเรยี นรแู้ ละส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ใน การแสวงหาความรู้ สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตาม จุดมุง่ หมายของหลกั สูตร กศน.อาเภอกุดชุม พฤศจกิ ายน 2564

ข สารบญั หน้า เน้อื หา ก คานา ข สารบญั 1 ผงั การออกขอ้ สอบ 4 รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) 5 7 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 16 เรื่องท่ี 1 ความหมาย และความสาคัญของการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 18 เร่ืองที่ 2 การกาหนดเปูาหมาย และการวางแผนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 20 เรอ่ื งท่ี 3 แหลงเรยี นรูสาคัญในชมุ ชน 22 เรอ่ื งท่ี 4 การคิดเปน็ เรอื่ งท่ี 5 การวิจัย 25 เร่ืองท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพหลกั ของพืน้ ทีใ่ นการพัฒนาอาชพี 27 แบบทดสอบหลังเรยี น 28 รายวชิ า การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม (สค21003) 29 แบบทดสอบก่อนเรียน 30 เรื่องท่ี 1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม 31 เรื่องที่ 2 ขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาชมุ ชน 33 เรื่องท่ี 3 การจดั ทาแผนชมุ ชน เรื่องที่ 4 หลักการพฒั นาชมุ ชน 36 เรื่องที่ 5 จดั ทาแผนชุมชน สงั คม ใหสอดคลองกบั การเปลยี่ นแปลงของชมุ ชน สงั คม 41 แบบทดสอบหลังเรยี น 43 รายวิชา ศิลปศกึ ษา (ทช21003) 60 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 46 เร่อื งที่ 1 ทศั นศิลป์ ไทย 63 เรอ่ื งท่ี 2 ดนตรไี ทย 67 แบบทดสอบหลงั เรียน 69 รายวิชา ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมอื ง(สค21002) แบบทดสอบก่อนเรยี น เรือ่ งท่ี 1 ความเป็นมาของศาสนาในประเทศไทย เรอ่ื งที่ 2 หลกั ธรรมของศาสนาต่าง ๆ

สารบัญ (ตอ่ ) ค เนอื้ หา หน้า เรื่องที่ 3 แนวทางการอนุรักษแ์ ละการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี เรื่องที่ 4 ค่านิยมที่พงึ ประสงค์ 73 เรื่องที่ 5 รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย 74 เรือ่ งที่ 6 หลักสิทธมิ นุษยชน (Human Rights) 75 แบบทดสอบหลงั เรยี น 81 คณะผู้จดั ทา 83 86

1 รายวชิ า ทกั ษะการเรียนรู้ (ทร21001) แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ข้อใด คือความหมายของคาวา่ “การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง” ก. เป็นการประเมินความก้าวหน้าของตนเอง ข. เป็นการเรยี นรตู้ ามความสนใจ และความต้องการของตนเอง ค. เปน็ การเรียนรตู้ ามความสนใจ และความต้องการของตนเอง รจู้ กั แสวงหาทรัพยากรของการเรียนรู้ ง. เป็นการดาเนินการดว้ ยตนเองและรว่ มมอื กบั ชุมชน 2. รูปแบบ Model ของการทาแฟม้ สะสมงานสาหรับผเู้ ริ่มทาไม่มปี ระสบการณ์มากอ่ นมกี ่ขี นั้ ตอน ก. 3 ขั้นตอน ข. 4 ขนั้ ตอน ค. 5 ขน้ั ตอน ง. 6 ขน้ั ตอน 3.แหล่งเรียนรหู้ มายถงึ ข้อใด ก. สถานที่ให้ความรู้ตามอัธยาศัย ข. แหล่งคน้ คว้าเพื่อประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเอง ค. แหล่งรวบรวมความรูแ้ ละขอ้ มลู เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนงึ่ ง. แหลง่ ขอ้ มมูลและประสบการณ์ท่ีสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นแสวงหาความรูแ้ ละเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง 4. ถา้ นักศึกษาต้องการร้เู กีย่ วกับโลกและดวงดาวควรไปใช้บริการแหลง่ เรยี นรใู้ ด ก. ทอ้ งฟาู จาลอง ข. เมืองโบราณ ค. พิพิธภณั ฑ์ ง. หอ้ งสมดุ 5. เป้าหมายของการจดั การความรู้คืออะไร ก. พัฒนาคน ข. พฒั นางาน ค. พัฒนาองค์กร ง. ถกู ทกุ ข้อ

2 6.ข้อใด คอื ความหมายของคาว่า “สารสนเทศ” ก. ข้อมลู ดิบทเ่ี ป็นขอ้ เท็จจริง หรือเหตกุ ารณ์ ข. ขอ้ มูลที่ผา่ นกระบวนการประเมินผลแลว้ ค. ขอ้ มูลที่สามารถวดั ค่าได้ ง. ข้อมูลท่บี อกลกั ษณะของตวั แปร 7.การจดั การศกึ ษาต้องสอนใหค้ นคิดเป็น ทาเปน็ แก้ปัญหาเปน็ เปน็ แนวความคดิ ของบคุ คลใด ก. ดร.โกวทิ ย์ วรพิพัฒน์ ข. นายชินวร บญุ ยเกียรติ ค. นายอภิสทิ ธ์ิเวชชาชวี ะ ง. นายอภชิ าต จริ าวุฒิ 8. ขอใดเปนความหมายของการวิจยั อยางงาย ก. การวางแผนงานอยางเปนระบบ ข. การคาดเดาคาตอบอยางมีระบบ ค. การศึกษาคนควาเรอ่ื งทสี่ นใจทีไ่ มซับซอนมากนกั ง. การคดิ อยางมีระบบและเปนเหตเุ ปนผล 9.การตงั้ สมมตฐิ านในการวจิ ัยมคี วามจาเป็นอยา่ งไร ก. บอกให้ทราบถงึ รูปแบบการวิจยั ข. คาดคะเนคาตอบหรือผลการวิจยั ค. บอกแนวทางแกป้ ัญหาทีไ่ ดจ้ ากการวิจยั ง. กาหนดค่าสถิติทเี่ หมาะสมกับการวิจัย 10.ข้อใดเปน็ ความหมายความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพของพ้นื ที่ ก. ความสามารถในการพัฒนาอาชพี ข. ความสามรถในการแขง่ ขนั และการพฒั นาศกั ยภาพ ค. วเิ คราะหแ์ ละคน้ หาศักยภาพของพื้นที่ ง. ความสามรถในการแข่งขันและคน้ หาศักยภาพของพ้นื ที่

3 เฉลย 1.เฉลย. ค. เป็นการเรยี นรตู้ ามความสนใจ และความต้องการของตนเอง รจู้ กั แสวงหาทรัพยากรของ การเรยี นรู้ 2. เฉลย. ก. 3 ขน้ั ตอน 3. เฉลย. ง. แหลง่ ข้อมมลู และประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นแสวงหาความร้แู ละเรียนรดู้ ้วยตนเอง 4. เฉลย ก.ทอ้ งฟูาจาลอง 5. เฉลย ง. ถกู ทุกขอ้ 6.เฉลย ข. ขอ้ มูลที่ผา่ นกระบวนการประเมนิ ผลแลว้ 7.เฉลย ก. ดร.โกวิทย์ วรพพิ ฒั น์ 8.เฉลย ค. การศกึ ษาคนควาเร่อื งทีส่ นใจท่ีไมซบั ซอนมากนัก 9.เฉลย ค. บอกแนวทางแก้ปัญหาที่ไดจ้ ากการวจิ ัย 10.เฉลย ง.ความสามรถในการแขง่ ขนั และค้นหาศกั ยภาพของพื้นที่ เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสาคัญของการเรยี นรูดวยตนเอง

4 การเรียนดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนกระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนริเริ่มการเรียนรูดวย ตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด มีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการ เรียนรู เลือกวิธกี ารเรยี นรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง โดยจะดาเนินการดวย ตนเองหรือ ร่วมมือชวยเหลอื กับผูอืน่ หรือไมกไ็ ดซ่ึงผูเรียนจะตองมีความรับผิดชอบและเปนผูควบคมุ การ เรียนของ ตนเอง การเรยี นรูดวยตนเองมีความสาคัญอยางไร การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึ่งท่ีสอดคลองกับการ เปลีย่ นแปลงของสภาพปจจบุ นั และเปนแนวคดิ ท่ีสนบั สนนุ การเรียนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสู การเปนสัง คมแหงการเรยี นรู โดยการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูที่ทาใหบุคคลมีการริเริ่มการเรียนรู ดวยตนเอง มีเปา หมายในการเรียนรูท่ีแนนอน มคี วามรบั ผดิ ชอบในชวี ิตของตนเอง ไมพ่งึ คนอื่น มี แรงจูงใจ ทาใหผูเรียนเปนบุคคล ทใ่ี ฝรู ใฝเรยี น ทีม่ ีการเรียนรูตลอดชีวติ เรยี นรูวธิ เี รียน สามารถเรียนรู เรอ่ื งราวตาง ๆ ไดมากกวาการเรียนที่มีครูป อนความรูใหเพยี งอยางเดยี ว การเรยี นรูดวยตนเองไดนับวา เปนคุณลักษณะที่ดีท่ีสุดซ่ึงมีอยูใน ตัวบุคคลทุกคน ผู เรียนควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมรับในศักยภาพของผูเรียนวาผูเรียนทุกคน มีความสามารถที่จะเรียนรูสิ่งตาง ๆ ไดดวยตนเอง เพื่อท่ีตนเอง สามารถทีด่ ารงชวี ิตอยูในสังคมที่มีการ เปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลาไดอยางมคี วามสขุ ดงั นนั้ การเรียนรูดวยตนเองมี ความสาคญั ดงั นี้ 1. บุคคลที่เรียนรูดวยการริเร่ิมของตนเองจะเรียนไดมากกวา ดีกวา มีความต้ังใจ มีจุดมุงหมาย และมี แรงจงู ใจสงู กวา สามารถนาประโยชนจากการเรียนรูไปใชไดดีกวาและยาวนานกวาคนที่เรียนโดย เปนเพียงผูรับ หรือรอการถายทอดจากครู 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยา และกระบวนการทางธรรมชาติ ทา ให บุคคลมที ิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหน่ึงไปสูอีกลักษณะหนึ่ง คือ เมื่อตอนเด็ก ๆ เปน ธรรมชาติท่ี จะตองพง่ึ พงิ ผูอ่ืน ตองการผูปกครองปกปองเลยี้ งดู และตัดสนิ ใจแทนให เม่อื เตบิ โตมี พัฒนาการขึ้นเร่ือยๆ พัฒนา ตนเองไปสูความเปนอิสระ ไมตองพ่งึ พงิ ผูปกครอง ครู และผูอืน่ การพัฒนา เปนไปในสภาพที่เพ่ิมความเปนตัวของ ตัวเอง 3. การเรยี นรูดวยตนเองทาใหผูเรยี นมีความรบั ผิดชอบ ซึ่งเปนลักษณะท่ีสอดคลองกับพัฒนาการ ใหม ๆ ทางการศึกษา เชน หลักสูตร หองเรียนแบบเปด ศูนยบริการวิชาการ การศึกษาอยางอิสระ มหาวิทยาลัยเปด ล วนเนนใหผูเรยี นรบั ผดิ ชอบการเรียนรูเอง 4. การเรยี นรูดวยตนเองทาใหมนษุ ยอยูรอด การมีความเปลยี่ นแปลงใหม ๆ เกดิ ขึ้นเสมอ ทาใหมี ความจา เปนท่จี ะตองศึกษาเรียนรู การเรียนรูดวยตนเองจงึ เปนกระบวนการตอเนอ่ื งตลอดชวี ิต

5 การเรยี นรูดวยตนเอง เปนคุณลกั ษณะทสี่ าคญั ตอการดาเนินชีวิตท่ีมีประสิทธิภาพ ชวยใหผูเรียน มีความ ตัง้ ใจและมีแรงจงู ใจสงู มีความคดิ รเิ ร่มิ สรางสรรค มีความยดื หยนุ มากข้นึ มีการปรบั พฤติกรรม การทางานรวมกับผู อน่ื ได รจู กั เหตุผล รูจกั คดิ วิเคราะห ปรับและประยกุ ตใชวธิ กี ารแกปญหาของตนเอง จัดการกับปญหาไดดีขึ้น และ สามารถนาประโยชนของการเรียนรูไปใชไดดีและยาวนานขน้ึ ทาใหผเู รยี น ประสบความสาเรจ็ ในการเรียน องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการ วิเคราะห เน้ือหา กาหนดจุดมุงหมายและการวางแผนในการเรียน มีความสามารถในการแสวงหาแหลงวิทยาการและมีวิธีในการ ประเมนิ ผลการเรียนรูดวยตนเอง โดยมเี พอ่ื นเปนผูรวมเรียนรูไปพรอมกันและมคี รูเปนผูชี้แนะ อานวยความสะดวก และใหคาปรึกษา ทัง้ น้ีครอู าจตองมีการวิเคราะหความพรอมหรือทักษะที่จาเปนของผูเรียนในการกาวสูการเปนผู เรยี นรูดวยตนเองได้ เรอ่ื งท่ี 2 การกาหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง กระบวนการในการเรียนรูดวยตนเอง ความรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรูดวยตนเองของผูเรยี นเปนสิ่งสาคัญที่ จะนาผูเรยี นไปสูการเรยี นรูดวยตนเอง เพราะความรบั ผดิ ชอบในการเรยี นรูดวยตนเองนนั้ หมายถึง การที่ผูเรียน ควบคุมเน้ือหา กระบวนการ องคประกอบของสภาพแวดลอมในการเรียนรูของตนเอง ไดแก การวางแผนการ เรียนของตนเอง โดยอาศัยแหลงทรัพยากรทางความรูตางๆ ท่ีจะชวยนาแผนสูการปฏิบัติ แตภายใตความ รับผิดชอบของผูเรียน ผูเรียนรูดวยตนเองตองเตรียมการวางแผนการเรียนรูของตน และเลือกสิ่งที่จะเรียนจาก ทางเลือกที่กาหนดไวรวมท้ัง วางโครงสรางของแผนการเรียนรูของตนอกี ดวย ในการวางแผนการเรียนรูผูเรียนตอง สามารถปฏบิ ัตงิ านทก่ี าหนด วนิ จิ ฉัยความชวยเหลือทีต่ องการ และทาใหไดความชวยเหลือนั้น สามารถเลือกแหล่ง ความรู วิเคราะห และวางแผนการการเรียนท้ังหมด รวมทงั้ ประเมนิ ความกาวหนาในการเรยี นของตน ลักษณะสาคญั ในการเรยี นรูดวยตนเองของผูเรยี น มีดงั นี้ 1.การมีสวนรวมในการวางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมนิ ผลการเรียนรูไดแกผูเรียนมีสวนรวม วางแผนกิจกรรมการเรยี นรูบนพืน้ ฐานความตองการของกลุมผูเรยี น 2.การเรยี นรูที่คานึงถึงความสาคัญของผูเรียนเปนรายบุคคลไดแกความแตกตางในความสามารถความรู พ้นื ฐาน ความสนใจเรยี น วธิ กี ารเรยี นรูจัดเนือ้ หาและสื่อใหเหมาะสม 3. การพฒั นาทักษะการเรียนรูดวยตนเอง ไดแกการสืบคนขอมูลฝกเทคนิคท่ีจาเปน เชน การสังเกต การ อา่ น อยางมีจดุ ประสงคการบนั ทึกเปนตน 4. การพัฒนาทักษะการเรียนรู ซึ่งกันและกัน ไดแกการกาหนดใหผูเรียนแบงความรับผิดชอบใน กระบวนการเรียนรูการทางานเด่ียวและเปนกลุมทม่ี ที ักษะการเรยี นรูตางกัน 5. การพัฒนาทักษะการประเมินตนเองและการรวมมือในการประเมินกับผูอ่ืน ไดแกการใหผูเรียนเขา ใจความตองการในการประเมนิ ยอมรบั การประเมินจากผูอืน่ เปดโอกาสใหประเมนิ หลายรูปแบบ การประเมินผลการเรียนโดยใชแฟมสะสมงาน

6 การจดั ทาแฟมสะสมงาน (Portfolio) เปนวธิ ีการสาคัญท่ีนามาใชในการวัดผลและประเมินผลการเรียนรูท่ี ใหผเู รยี นเรียนรูดวยตนเองโดยการจดั ทาแฟมสะสมงานท่มี คี วามเช่ือพ้นื ฐานทสี่ าคญั มาจากการใหผเู รยี นเรียนรูจาก สภาพจรงิ (Authentic Learning) ซ่งึ มสี าระสาคัญท่ีพอสรปุ ไดดงั น้ี 1. ความเชือ่ พืน้ ฐานของการเรยี นรูตามสภาพจรงิ (Authentic Learning) 2. ความหมายของการประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) 3. ลักษณะทส่ี าคัญของการประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) 4. การประเมินผลการเรียนโดยใชแฟมสะสมงาน 5. ลกั ษณะของแฟมสะสมงาน แฟมสะสมงานจะมีลักษณะทีส่ าคญั 2 ประการคอื - เปนเหมอื นส่งิ ท่รี วบรวมหลกั ฐานที่แสดงความรูและทักษะของผูเรียน - เปนภาพที่แสดงพฒั นาการของผูเรยี นในการเรยี นรู ตลอดชวงเวลาของการเรียน 6. จดุ มุงหมายของการประเมนิ โดยใชแฟมสะสมงาน มีดังนี้ - ชวยใหครไู ดรวบรวมงานทีส่ ะทอนถึงความสาคญั ของนักเรียนในวตั ถุประสงคใหญของการเรียนรู - ชวยกระตุนใหผูเรียนสามารถจัดการเรียนรูของตนเอง - ชวยใหครไู ดเกิดความเขาใจอยางแจมแจงในความกาวหนาของผูเรยี น - ชวยใหผูเรียนไดเขาใจตนเองมากย่ิงขึน้ - ชวยใหทราบการเปล่ยี นแปลงและความกาวหนา ตลอดชวงระหวางการเรียนรู - ชวยใหผูเรียนไดตระหนักถึงประวตั ิการเรยี นรขู องตนเอง - ชวยทาใหเกิดความสัมพนั ธระหวางการสอนกบั การประเมนิ 7. กระบวนการของการจดั ทาแฟมสะสมงาน การจัดทาแฟมสะสมงาน มกี ระบวนการหรอื ข้ันตอนอยูหลายข้ันตอน แตทัง้ น้กี ส็ ามารถปรับปรงุ ไดอยาง เหมาะสม Kay Burke (1994) และคณะ ไดกาหนดขั้นตอนของการทาแฟมสะสมงานไว 10 ขน้ั ตอน 8. รปู แบบ (Model) ของการทาแฟมสะสมงาน สามารถดาเนินการไดดังนี้ - สาหรับผูเร่มิ ทาไมมปี ระสบการณมากอนควรใช 3 ข้นั ตอน ขั้นท่ี 1 การรวบรวมผลงาน ขัน้ ที่ 2 การคัดเลือกผลงาน ขน้ั ท่ี 3 การสะทอนความคดิ ความรูสึกในผลงาน - สาหรับผูทม่ี ปี ระสบการณใหม ๆ ควรใช 6 ขน้ั ตอน ขน้ั ท่ี 1 กาหนดจุดมุงหมาย

7 ข้ันที่ 2 การรวบรวม ขัน้ ท่ี 3 การคดั เลอื กผลงาน ขั้นที่ 4 การสะทอนความคดิ ในผลงาน ขั้นที่ 5 การประเมนิ ผลงาน ขั้นท่ี 6 การแลกเปลีย่ นกบั ผูเรียน 9. การวางแผนทาแฟมสะสมงาน 10. การเก็บรวบรวมชิน้ งานและการจดั แฟมสะสมงาน เร่อื งที่ 3 แหลงเรยี นรูสาคญั ในชมุ ชน นอกจากแหลงเรียนรูประเภทหองสมุดตามท่ีกลาวมาแลว ยังมีแหลงเรียนรูท่ีสาคัญในชุมชนอีกจานวน มาก แตจะขอกลาวถึงแหลงเรยี นรูทผ่ี เู รยี นควรทราบและศกึ ษาเพ่ือประกอบการเรียนรูดงั ตอไปนี้ 1. พพิ ิธภณั ฑ 2. ศาสนสถาน 3. อินเทอรเนต็

8 1. พพิ ธิ ภัณฑ พพิ ธิ ภณั ฑเปนแหลงเรียนรูที่รวบรวม รักษา คนควา วิจัย และจัดแสดงหลักฐานวัตถุสิ่งของที่สัมพันธกับ มนุษยและส่ิงแวดลอม เปนบริการการศึกษาที่ใหความรู และความเพลิดเพลินแกประชาชนทั่วไป เนนการจัด กิจกรรมการศึกษาที่เอื้อให ประชาชนสามารถเรียนรู ด วยตัวเองอย างอิสระเป นสาคัญพิพิธภัณฑ มีหลากหลาย รูปแบบ มกี ารจัดแบงประเภทแตกตางกนั ไป ซ่ึงกลาวโดยสรปุ ไดวาประเภทของ พพิ ธิ ภณั ฑสามารถแบงออกได 6 ประเภท ดงั นี้ ก. พิพิธภณั ฑสถานประเภททัว่ ไป (Encyclopedia Museum) ข. พิพิธภัณฑสถานศลิ ปะ (Museum of Arts) เปนสถาบันท่ีจัดแสดงงานศิลปะทุกแขนง เชน พิพิธภัณฑ สถานศลิ ปะการแสดง หอศลิ ป พพิ ธิ ภัณฑศลิ ปะสมยั ใหม เปนตน ค. พิพธิ ภณั ฑสถานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Museum of Science and Technology) เปนสถาบัน ท่จี ัดแสดงวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตรดานตาง ๆ เชน เคร่ืองจักรกล โทรคมนาคม ยานอวกาศ และวิวัฒนาการ เก่ยี วกับเคร่อื งมอื การเกษตร เปนตน ง. พพิ ิธภัณฑสถานธรรมชาตวิ ทิ ยา (Natural Science Museum) เปนสถาบนั ท่ีจัดแสดงเร่ืองราวของ ธรรมชาตเิ กีย่ วกับเรือ่ งของโลก ดิน หนิ แร สตั ว พืช รวมทั้งสวนสัตว สวนพฤกษชาติ วนอทุ ยาน และพิพิธภัณฑ สตั วนา้ และสัตวบกดวย จ. พิพธิ ภัณฑสถานประวตั ิศาสตร (Historical Museum) ฉ. พพิ ิธภณั ฑสถานชาติพนั ธุวิทยา และประเพณพี น้ื เมอื ง (Museum of Ethnology) และการจาแนกชาติ พันธุ และอาจจัดเฉพาะเร่ืองราวของทองถิ่นใดทองถ่ินหนึ่ง ซึ่งเรียกวาพิพิธภัณฑสถานพื้นบาน และถาจัดแสดง กลางแจงโดยปลกู โรงเรือน จัดสภาพแวดลอมใหเหมือนสภาพจริง ก็เรียกวาพิพิธภัณฑสถานกลางแจง (Open-air Museum) 2. ศาสนสถาน วัด โบสถ มสั ยิด เปนศาสนสถานทีเ่ ปนรากฐานของวัฒนธรรมในดานตาง ๆ เปนศูนยกลางที่สาคัญ ในการ ทากิจกรรมทางศาสนาของชมุ ชน และเปนแหลงเรียนรูที่มีคามากในทุกดาน เชน การใหการอบรมตามคาสั่งสอน ของศาสนา การใหการศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมตาง ๆ นับวา เปนการให การศกึ ษาทางออมแกประชาชน เชน วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม เปนแหลงเรียนรูดานการนวดแผนโบราณเพื่อ รักษาโรค ตารายาสมนุ ไพร วดั พระศรีรตั นศาสดาราม เปนแหลงเรยี นรูดานจติ รกรรมฝาผนงั เรอ่ื ง รามเกยี รติ์

9 3.อินเทอรเนต็ อนิ เทอรเนต็ (Internet) คืออะไร เปนระบบเครือขายท่ีเช่ือมโยงทั่วโลกเขาดวยกัน เหมือนใยแมงมุม หรือ world wide web (www.) จึงเปน แหลง่ ขอมูลขนาดใหญทมี่ ขี อมลู ทกุ ๆ ดาน ทงั้ ภาพ เสยี ง ภาพเคล่ือนไหว ใหผูสนใจเขาไปศึกษาคนควาไดสะดวก รวดเรว็ และงาย มคี อมพิวเตอรเปนเครอื่ งมอื ผูท่ใี ชเครอื ขายนี้สามารถสือ่ สารถงึ กนั ไดหลาย ๆ ทาง เชน อีเมล (E- mail) เว็บบอรด (Web board) แชทรูม (Chat room) การสืบคนขอมูล และขาวสารตาง ๆ รวมท้ังคัดลอก แฟมขอ้ มูล และโปรแกรมมาใชได ความสาคญั ของอนิ เทอรเนต็ 1. ความสาคัญของอินเทอรเนต็ กบั งานดานตาง ๆ 1.1 ดานการศกึ ษา 1) สามารถใชแหลงคนควาหาขอมลู ทางวิชาการ ขอมลู ดานการบนั เทิง ดานการแพทย และอนื่ ๆ ที่นาสนใจ 2) ระบบเครือขายอนิ เทอรเน็ตจะทานาทีเ่ สมือนเปนหองสมุดขนาดใหญ 3) ผใู ชสามารถใชอินเทอรเน็ตตดิ ตอกับแหลงเรียนรอู ื่นๆ เพ่อื คนหาขอมูลท่ีกาลังศึกษาอยูได ทั้ง ที่ขอมูลที่เปนขอความ เสยี ง ภาพเคลือ่ นไหวตางๆ เปนตน 1.2 ดานธุรกจิ และการพาณชิ ย 1) ในการดาเนินงานธุรกจิ สามารถคนหาขอมูลตางๆ เพ่ือชวยในการตดั สนิ ใจทางธรุ กจิ 2) สามารถซอ้ื ขายสินคาผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต 3) บริษัท หรือองคกรตาง ๆ ก็สามารถเปดใหบริการ และสนับสนุนลูกคาของตนผานระบบ เครอื ข่ายอนิ เทอรเนต็ ได เชน การใหคาแนะนา สอบถามปญหาตาง ๆ ใหแกลกู คา แจกจาย ตวั โปรแกรมทดลองใช (Shareware) หรอื โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เปนตน 1.3 ดานการบนั เทงิ 1) การพักผอนหยอนใจ สนั ทนาการ เชน การคนหาวารสารตาง ๆ ผานระบบเครือขายอินเทอร เน็ต ที่เรียกวา Magazine Online รวมท้ังหนังสือพิมพ และขาวสารอื่น ๆ โดยมีภาพประกอบท่ีจอคอมพิวเตอร เหมอื นกบั วารสารตามรานหนงั สอื ทวั่ ๆ ไป 2) สามารถฟงวทิ ยุผานระบบเครือขายอนิ เทอรเน็ตได 3) สามารถดงึ ขอมูล (Download) ภาพยนตรตัวอยาง ทงั้ ภาพยนตรใหม และเกา 2. ความสาคัญของการเรยี นรูทางอินเทอรเนต็ 2.1 การจดั เกบ็ ขอมูลจากอินเทอรเนต็ ไดงาย และสอื่ สารไดรวดเร็ว 2.2 ความครบถวนของขอมูลจากอนิ เทอรเนต็ 2.3 ความรวดเรว็ ของเครือขายอนิ เทอรเนต็ 3. การเรยี นรูผานเครอื ขายอนิ เทอรเน็ต มีตนทุนประหยัด

10 การสบื คนขอมูลทางอินเทอรเนต็ ในการสืบคนหาขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ต มีเครื่องมือที่ชวยในการสืบคนที่สะดวก เรียกวา โปรแกรมคนหา (Search Engine) ซึ่งโปรแกรมคนหานี้สามารถใชไดหลายภาษา เชน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน โปรแกรมคนหาท่เี ปนทีน่ ิยมท่ีสามารถใชภาษาไทย คือ เวบ็ ไซตกูเกิล (Google) ข้ันตอนในการใชโปรแกรมคนหา 1. เปดโปรแกรมอนิ เทอรเนต็ (Internet Explorer) 2. พิมพชือ่ เวบ็ ไซต www.google.com ลงในชองแอด็ เดรส (Address) แลวกดปมุ Go หรอื กดเอน็ เทอร (Enter) รอจนหนาตางของเวบ็ ไซตกเู กิล Google ขึ้น 3. หนาตางของเว็บไซตกเู กลิ google มสี วนประกอบดังภาพดานลาง 4. มีบริการที่สามารถเขาถึงไดสะดวกในการคนหา 6 รายการ คือ รูปภาพ กลุมขาว บล็อก สารบญั เวบ็ Gmail และเพม่ิ เตมิ 5. พิมพคาสาคญั หรอื สิ่งทตี่ องการคนหาในชองคนหา แลวกดปมุ คนหา โดย google 6. เมอ่ื กดปุมคนหาโดย Google กจ็ ะขึ้นรายละเอียดของเว็บไซตเกี่ยวของกับคาสาคัญหรือสิ่งที่ ตอ้ งการคนหา 7. คลิกขอความทข่ี ีดเสนใตเพอื่ ศึกษารายละเอยี ด จะมีการเชอ่ื มโยง (Link) ไปเว็บไซตท่ีตองการ ความหมายของการจดั การความรู้ การจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการในการเข้าถึงความรู้และการ ถ่ายทอดความรู้ที่ต้อง ดาเนินการร่วมกันกับผู้ปฏิบัติงาน ซ่ึงอาจเร่ิมต้นจากการบ่งชี้ความรู้ท่ี ต้องการใช้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การประมวลเพอื่ กลน่ั กรองความรู้ การจัดการ ความรู้ใหเ้ ป็นระบบ การสร้างช่องทางเพื่อการส่ือสารกับผู้เก่ียวข้อง การแลกเปล่ียนความรู้ การจดั การสมัยใหม่ใช้กระบวนการทางปัญญาเป็นส่ิงสาคัญในการคิด ตัดสินใจ และส่งผล ใหเ้ กดิ การกระทา การจัดการจงึ เน้นไปที่การปฏิบัติ ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้ท่ีควบคู่กับการปฏิบัติ ซึ่งในการปฏิบัติจาเป็น ต้องใช้ความรู้ที่ หลากหลายสาขาวิชามาเช่ือมโยงบูรณาการเพื่อการคิดและตัดสินใจ และ ลงมือปฏิบัติ จุดกาเนิดของความรู้คือ สมองของคน เปน็ ความรู้ทีฝ่ ังลกึ อยใู่ นสมอง ช้ีแจงออก มาเป็นถ้อยคาหรือตัวอักษรได้ยาก ความรู้น้ันเม่ือนาไปใช้ จะไม่หมดไป แตจ่ ะย่งิ เกิดความรู้ เพ่ิมพนู มากขน้ึ อย่ใู นสมองของผู้ปฏบิ ตั ิ

11 ในยุคแรกๆ มองว่า ความรู้ หรือทุนทางปัญญา มาจากการจัดระบบและการ ตีความสารสนเทศ ซ่ึง สารสนเทศกม็ าจากการประมวลข้อมูล ข้นั ของการเรียนรู้ เปรยี บดงั ปิระมิดตามรปู แบบนี้ ความรแู้ บง่ ได้เปน็ 2 ประเภท คือ 1. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่เป็นเอกสาร ตารา คู่มือ ปฏิบัติงาน สื่อต่าง ๆ กฎเกณฑ์ กติกา ข้อตกลง ตารางการทางาน บันทึกจากการทางาน ความรู้เด่นชัดจึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “ความรูใ้ นกระดาษ” 2. ความรู้ซ่อนเร้น /ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัว คน พัฒนาเป็นภูมิ ปญั ญา ฝังอย่ใู นความคิด ความเชอ่ื ค่านยิ ม ที่คนได้มาจากประสบ การณ์ส่ังสมมานาน หรือเป็นพรสวรรค์อันเป็น ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวทม่ี ีมาแต่กาเนิด หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “ความรู้ในคน” แลกเปล่ียนความรู้กันได้ ยาก ไมส่ ามารถแลก เปลี่ยนมาเป็นความรู้ที่เปิดเผยได้ท้ังหมด ต้องเกิดจากการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านการเป็นชุมชน เช่น การสังเกต การแลกเปลยี่ นเรยี นร้รู ะหว่างการทางาน ความสาคัญของการจัดการความรู้ หวั ใจของการจัดการความรู้ คือ การจัดการความรูท้ ่ีมีอยู่ในตัวบุคคลโดยเฉพาะบุคคลที่มีประสบการณ์ใน การปฏิบัติงานจนงานประสบผลสาเร็จ กระบวนการแลกเปล่ียน เรียนรู้ระหว่างคนกับคน หรือกลุ่มกับกลุ่ม จะ กอ่ ใหเ้ กดิ การยกระดบั ความรทู้ สี่ ง่ ผลต่อเปูา หมายของการทางาน น่ันคือเกิดการพัฒนาประสิทธิภาพของงาน คน เกิดการพฒั นา และ สง่ ผลต่อเนอ่ื งไปถงึ องค์กร เป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ ผลที่เกดิ ข้นึ กบั การจดั การความรู้ จึง ถือ ว่ามคี วามสาคญั ต่อการพฒั นาบุคลากรในองค์กร ซ่ึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล กลุ่ม หรือองค์กร มีอย่างน้อย 3 ประการ คอื 1. ผลสัมฤทธ์ิของงาน หากมีการจัดการความรู้ในตนเอง หรือในหน่วยงาน องค์กร จะเกิดผลสาเร็จท่ี รวดเร็วยิ่งข้ึน เน่ืองจากความรู้เพื่อใช้ในการพัฒนางานนั้น เป็นความรู้ที่ได้ จากผู้ท่ีผ่านการปฏิบัติโดยตรง จึง สามารถนามาใช้ในการพัฒนางานได้ทันที และเกิด นวัตกรรมใหม่ในการทางาน ท้ังผลงานท่ีเกิดขึ้นใหม่ และ วัฒนธรรมการทางานร่วมกันของ คนในองคก์ รทีม่ ีความเอื้ออาทรตอ่ กนั

12 2. บุคลากร การจัดการความรู้ในตนเองจะส่งผลให้คนในองค์กรเกิดการพัฒนา ตนเอง และส่งผลรวมถึง องค์กร กระบวนการเรยี นรจู้ ากการแลกเปล่ยี นความรูร้ ่วมกัน จะทาใหบ้ ุคลากรเกดิ ความม่ันใจในตนเอง เกิดความ เป็นชุมชนในหมู่เพ่ือนรว่ มงาน บคุ ลากร เปน็ บคุ คลเรยี นรแู้ ละสง่ ผลใหอ้ งค์กรเป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นร้อู กี ดว้ ย 3. ยกระดับความรูข้ องบุคลากรและองค์กร การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ จะทาให้ บุคลากรมีความรู้เพิ่มขึ้นจาก เดมิ เห็นแนวทางในการพัฒนางานท่ีชัดเจนมากข้ึน และเม่ือ นาไปปฏิบัติจะทาให้บุคคลและองค์กรมีองค์ความรู้ เพือ่ ใช้ในการปฏิบัตงิ านในเรือ่ งที่สามารถ นาไปปฏิบตั ไิ ด้ มอี งค์ความรู้ทจ่ี าเป็นตอ่ การใช้งาน และจดั ระบบให้อยู่ใน สภาพพร้อมใช้ หลกั การของการจดั การความรู้ การจดั การความรู้ ไมม่ สี ูตรสาเร็จในวิธีการของการจัดการเพื่อให้บรรลุเปูาหมาย ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง แต่ ขึ้นอยู่กับปณิธานความมุ่งมั่นท่ีจะทางานของตน หรือกิจกรรมของกลุ่มตนให้ดีข้ึนกว่าเดิม แล้วใช้วิธีการจัดการ ความรู้เป็นเครอ่ื งมือหน่ึงในการพัฒนางานหรอื สรา้ งนวัตกรรมในงาน มหี ลกั การสาคญั 4 ประการ ดงั นี้ 1. ให้คนหลากหลายทศั นะ หลากหลายวิถีชีวิต ทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ การจัดการความรู้ท่ีมีพลัง ต้องทาโดยคนทมี่ ีพ้ืนฐานแตกตา่ งกัน มคี วามเช่อื หรอื วิธีคิดแตกต่างกัน (แต่มีจุดรวมพลัง คือ มีเปูาหมายอยู่ท่ีงาน ด้วยกนั ) ถ้ากล่มุ ท่ีดาเนนิ การจดั การความรู้ประกอบด้วยคนท่ีคิดเหมอื น ๆ กนั การจัดการความร้จู ะไมม่ พี ลังในการ จัดการความรู้ ความแตกตา่ งหลากหลาย มคี ณุ คา่ มากกว่าความเหมอื น 2. ร่วมกันพัฒนาวิธีการทางานในรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อบรรลุประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลท่ีกาหนดไว้ ประสทิ ธิผลประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 2.1 การตอบสนองความตอ้ งการ ซ่งึ อาจเป็นความต้องการของตนเอง ผ้รู บั บรกิ าร ความ ต้องการของสังคม หรอื ความตอ้ งการที่กาหนดโดยผู้นาองค์กร 2.2 นวตั กรรม ซงึ่ อาจเปน็ นวัตกรรมด้านผลิตภณั ฑใ์ หม่ ๆ หรอื วธิ กี ารใหม่ๆ ก็ได้ 2.3 ขีดความสามารถของบคุ คล และขององค์กร 2.4 ประสิทธภิ าพในการทางาน 3. ทดลองและการเรยี นรู้ เนือ่ งจากกิจกรรมการจัดการความรู้ เป็นกิจกรรมท่ี สร้างสรรค์ จึงต้องทดลอง ทาเพยี งน้อย ๆ ซ่ึงถา้ ล้มเหลวกก็ อ่ ผลเสยี หายไม่มากนัก ถ้าได้ผล ไม่ดีก็ยกเลิกความคิดนั้น ถ้าได้ผลดีจึงขยายการ ทดลองคือปฏิบัติมากข้ึน จนในที่สุดขยาย เป็นวิธีทางานแบบใหม่ หรือท่ีเรียกว่า ได้วิธีการปฏิบัติท่ีส่งผลเป็นเลิศ (best practice) ใหม่ นนั่ เอง 4. นาเข้าความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม โดยต้องถือว่าความรู้จากภายนอก ยังเป็นความรู้ที่ “ดิบ” อยู่ ต้องเอามาทาให้ “สุก” ให้พรอ้ มใชต้ ามสภาพของเรา โดยการ เตมิ ความรู้ท่ีมีตามสภาพของเราลงไป จึงจะเกิด ความรูท้ ่ีเหมาะสมกบั ท่เี ราต้องการใช้ หลักการของการจดั การความรู้ จึงมุ่งเน้นไปที่การจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ เพราะ การจัดการความรู้เป็น เคร่อื งมือระดมความรู้ในคน และความรู้ในกระดาษทั้งที่เป็นความรู้ จากภายนอก และความรู้ของกลุ่มผู้ร่วมงาน

13 เอามาใช้และยกระดับความรู้ของบุคคล ของผู้ร่วมงานและขององค์กร ทาให้งานมีคุณภาพสูงข้ึน คนเป็นบุคคล เรยี นร้แู ละองค์กรเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ การจัดการความรู้จึงเป็นทักษะสิบส่วน เป็นความรู้เชิงทฤษฎีเพียง ส่วนเดียว การจดั การความรจู้ งึ อย่ใู นลักษณะ “ไม่ทา-ไมร่ ู้” กจิ กรรม กจิ กรรมท่ี 1 ใหอ้ ธิบายความหมายของ “การจัดการความรู้” มาพอสังเขป ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................... กิจกรรมท่ี 2 ให้อธิบายความสาคญั ของ “การจดั การความรู้” มาพอสังเขป ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ กิจกรรมที่ 3 ใหอ้ ธิบายหลกั การของ “การจัดการความรู้” มาพอสงั เขป ...................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ การจดั ทาสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้

14 สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีผ่านการกลั่นกรองและประมวลผลแล้ว บวกกับประสบการณ์ความ เช่ียวชาญท่ีสะสม มาแรมปี มกี ารจดั เกบ็ หรือบันทึกไว้ พร้อมในการนามาใชง้ าน การจดั ทาสารสนเทศ ในการจัดการความรู้ จะมีการรวบรวมและสร้างองค์ความรู้ท่ีเกิดจากการปฏิบัติขึ้น มากมาย การจัดทา สารสนเทศจึงเป็นการสร้างช่องทางให้คนที่ต้องการใช้ความรู้สามารถ เข้าถึงองค์ความรู้ได้ และก่อให้เกิดการ แบง่ ปันความรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบ ในการจดั เกบ็ เพื่อให้ค้นหาความรคู้ ือไดง้ า่ ยน้ัน องค์กรต้องกาหนดส่ิงสาคัญ ท่จี ะเกบ็ ไวเ้ ป็นองค์ความรู้ และต้องพจิ ารณาถึงวิธีการในการเก็บรักษา และนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ตามต้องการ องค์กรต้องเกบ็ รกั ษาสิง่ ท่ีองคก์ รเรียกว่าเป็นความรู้ไวใ้ ห้ดีทีส่ ุด การจัดสารสนเทศ ควรจัดทาอย่างเป็นระบบ และควรเป็นระบบท่ีสามารถค้นหา และส่งมอบได้อย่าง ถูกตอ้ งและรวดเรว็ ทนั เวลาและเหมาะสมกบั ความต้องการ และจดั ให้ มีการจาแนกรายการต่าง ๆ ทอ่ี ยู่บนพื้นฐาน ตามความจาเป็นในการเรยี นรู้ องคก์ รตอ้ ง พิจารณาถึงความแตกต่างของกลุ่มคนในการค้นคืนความรู้ องค์กรต้อง หาวธิ ีการใหพ้ นักงาน ทราบถึงชอ่ งทางการค้นหาความรู้ เช่น การทาสมุดจัดเก็บรายชื่อและทักษะของผู้เชี่ยวชาญ เครอื ข่ายการทางานตามลาดับชั้น การประชุม การฝึกอบรม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะนาไปสู่ การถ่ายทอดความรู้ใน องคก์ ร วัตถปุ ระสงค์การจัดทาสารสนเทศ 1. เพื่อให้มีระบบการจัดเก็บข้อมูลและองค์ความรู้อย่างเป็นหมวดหมู่ และเหมาะสม ต่อการใช้งาน สามารถคน้ หาได้ตลอดเวลา สะดวก งา่ ย และรวดเร็ว 2. เพื่อใหเ้ กดิ ระบบการสือ่ สาร การแลกเปลยี่ น แบ่งปัน และถ่ายทอดองค์ความรู้ ระหว่างกันผ่านส่ือต่าง ๆ อยา่ งมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้เกิดการเขา้ ถงึ และเชอื่ มโยงองคค์ วามร้รู ะหว่างหน่วยงานทง้ั ภายในและ ภายนอกอย่างเป็นระบบ สะดวกและรวดเร็ว 4. เพ่ือรวบรวมและจัดเก็บความรู้จากผู้มีประสบการณ์ รวมถึงผู้เชี่ยวชาญในรูปแบบ ต่าง ๆ ให้เป็น รูปธรรม เพ่อื ให้ทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ความรู้และพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นผรู้ ไู้ ด้ 5. เพอ่ื นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการถ่ายทอดระหวา่ งความรู้ ฝังลึกกับความรู้ชัดแจ้ง ท่ีสามารถเปลี่ยนสถานะระหว่างกนั ตลอดเวลา ทาใหเ้ กิดความรู้ ใหม่ๆ การถ่ายทอดความรู้

15 เป็นการนาความรู้ท่ีได้รับมาถ่ายทอดให้บุคลากรในองค์กรได้รับทราบ และให้มีความ รู้เพียงพอต่อการ ปฏิบตั งิ าน การเผยแพรค่ วามรู้จงึ เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงของการจัดการความรู้ การเผยแพร่ความรู้มีการปฏิบัติกัน มานานแลว้ สามารถทาได้หลายทางคอื การเขียนบันทกึ รายงาน การฝึกอบรม การประชุม การสัมมนา จัดทาเป็น บทเรยี นทัง้ ในรูปแบบของหนงั สือ บทความ วิดทิ ัศน์ การอภปิ รายของเพอ่ื นรว่ มงานในระหว่างการปฏิบัติงาน การ อบรม พนักงานใหม่อย่างเป็นทางการ ห้องสมุด การฝึกสอนอาชีพและการเป็นเล้ียง การแลกเปล่ียน เรียนรู้ใน รปู แบบอืน่ ๆ เช่น ชุมชนนักปฏิบัติ เรื่องเล่าแห่งความสาเร็จ การสัมภาษณ์ การ สอบถาม เป็นต้น การถ่ายทอด หรือเผยแพร่ความรู้ มกี ารพฒั นารปู แบบโดยอาศัยเทคโนโลยี เพอ่ื การสอ่ื สาร และเทคโนโลยีมกี ารกระจายไปอย่าง กว้างขวาง ทาให้กระบวนการถ่ายทอด ความรผู้ ่านเทคโนโลยีโดยเฉพาะอินเตอร์เน็ตได้ความนิยมอย่างแพร่หลาย มากขนึ้ สารสนเทศการจดั การความรู้ดว้ ยการรวมกลุ่มปฏบิ ัตกิ าร สารสนเทศการจัดการความรูด้ ว้ ยการรวมกลมุ่ ปฏิบัติการ หมายถึงการรวบรวม ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนางาน พัฒนาคน หรือพฒั นากลุม่ ซง่ึ อาจจดั ทาเปน็ เอกสารคลังความรู้ของกลุม่ หรอื เผยแพร่ผ่านทางเว็บ ไซด์ เพอื่ แบ่งปนั แลกเปลย่ี นความรู้ และนามาใช้ประโยชน์ในการทางาน ตวั อย่างของสารสนเทศจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ได้แก่ 1. บนั ทกึ เรอื่ งเลา่ เปน็ เอกสารทีร่ วบรวมเรอ่ื งเล่า ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงวธิ ีการทางาน ให้ประสบผลสาเร็จ อาจ แยกเป็นเรอ่ื ง ๆ เพ่อื ใหผ้ ู้ที่สนใจเฉพาะเร่อื งได้ศึกษา 2. บันทึกการถอดบทเรียนหรือการถอดองค์ความรู้ เป็นการทบทวน สรุปผลการ ทางาน ที่จัดทาเป็น เอกสาร อาจจัดทาเป็นบันทึกระหว่างการทางาน และหลังจากทางาน เสร็จแล้ว เพื่อให้เห็นวิธีการแก้ปัญหาใน ระหว่างการทางาน และผลสาเรจ็ จากการทางาน 3. วีซีดีเรื่องส้ัน เป็นการจัดทาฐานข้อมูลความรู้ที่สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน ท่ีมีการใช้เครื่อง อเิ ล็กทรอนกิ ส์กนั อยา่ งแพรห่ ลาย การทาวีซีดีเป็นเรื่องส้ัน เป็นการเผยแพร่ให้ บุคคลได้เรียนรู้และนาไปใช้ในการ แกป้ ัญหา หรอื พัฒนางานในโอกาสต่อไป 4. คู่มอื การปฏบิ ัติงาน การจดั การความรู้ทปี่ ระสบผลสาเร็จจะทาให้เห็นแนวทาง ของการทางานท่ีชัดเจน การจดั ทาเป็นค่มู อื เพ่ือการปฏิบตั งิ าน จะทาใหง้ านมมี าตรฐาน และผเู้ ก่ียวข้องสามารถนาไปพฒั นางานได้ 5. อินเตอร์เนต็ ปัจจบุ ันมีการใชอ้ ินเตอร์เนต็ กันอยา่ งแพร่หลาย และมีการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ผ่าน ทางอินเตอร์เน็ตในเว็บไซด์ต่าง ๆ มีการบันทึกความรู้ทั้งในรูปแบบ ของเว็บบล็อก เว็บบอร์ด และรูปแบบอื่นๆ อนิ เตอร์เน็ตจึงเป็นแหลง่ เกบ็ ขอ้ มูลจานวนมาก ในปัจจบุ ัน เพราะคนสามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลได้อย่างรวดเร็ว ทุกที่ ทุก เวลา เรือ่ ง การคิดเป็น

16 มาตรฐานท่ี 1.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติทดี่ ีตอ่ การคดิ เปน็ สาระสาคญั ทบทวนทาความเข้าใจกบั ความเชอ่ื พน้ื ฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ และเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่องของการ คิดเปน็ กระบวนการแก้ปญั หาของคนคิดเป็นและปรัชญาคิดเป็น ศกึ ษาวเิ คราะห์ลกั ษณะของข้อมูลทั้งด้านวิชาการ ตนเอง และสังคม สิ่งแวดล้อม รวมท้ังเทคนิคการเก็บข้อมูล เพ่ือนาไปใช้ในการเลือกเก็บข้อมูลดังกล่าวมาใช้ ประกอบการคดิ ตดั สินใจอย่างคนคดิ เป็น ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั 1. อธิบายทบทวนความเช่ือพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ กับความเช่ือมโยงสู่กระบวนการคิดเป็นและ ปรชั ญาคดิ เป็นได้ 2. จาแนก เปรียบเทียบ ตรวจสอบ ลักษณะของข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคมสิ่งแวดล้อมที่จะ นามาใช้ประกอบการคดิ และการวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือแกป้ ญั หาของคนคิดเปน็ ได้ ความหมายของปรัชญาคดิ เปน็ ปรัชญาคดิ เป็น เปน็ ความคดิ ท่ีเกิดจากความเช่อื วา่ มนษุ ย์โลกทุกคนตอ้ งการมคี วามสุข ความสุขของคนแต่ ละคนแตกต่างกนั หากแตล่ ะคนสามารถปรบั ตนเองใหก้ ับเขา้ สภาพแวดลอ้ มทต่ี นดารงชีวิตอยู่ได้อย่างกลมกลืน ใน การเสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนคิดเป็น ต้องใช้ทักษะการคิด การแก้ไขปัญหาโดยใช้ข้อมูลอย่างรอบด้านก่อนการ ตดั สินใจลงมือปฏิบัติ ทั้งข้อมลู ตนเอง ข้อมลู วิชาการและขอ้ มลู สงั คมและสิง่ แวดล้อม กระบวนการแก้ปญั หาตามปรัชญา “คิดเปน็ ” 1. ขน้ั สารวจปัญหา เมื่อเกิดปัญหา ย่อมตอ้ งเกิดกระบวนการคิดแกป้ ญั หา 2. ขั้นหาสาเหตขุ องปัญหา เป็นการหาขอ้ มลู มาวิเคราะห์ว่าปญั หาที่เกดิ ข้ึนนั้น เกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร มี อะไรเปน็ องคป์ ระกอบของปญั หาบา้ งสาเหตจุ ากตนเอง พ้นื ฐานของชีวิต ครอบครัว อาชพี การปฏิบัติตน คุณธรรม จริยธรรม สาเหตุจากสงั คม บุคคลท่ีอยู่แวดล้อม ตลอดจนความเช่ือ ประเพณี วัฒนธรรมของสังคมและชุมชนน้ัน สาเหตุจากการขาดวชิ าการความรู้ต่างๆ ท่ีเก่ยี วข้องกับปัญหา 3. ขัน้ วิเคราะห์ปัญหา หาทางแก้ปญั หา เปน็ การวิเคราะหท์ างเลอื กในการแกป้ ญั หา โดยใชข้ อ้ มูล ด้านตนเอง สังคม วชิ าการ มาประกอบในการวเิ คราะห์ 4. ขั้นตดั สนิ ใจ เมื่อได้ทางเลอื กแล้วจงึ ตดั สนิ ใจเลือกแกป้ ัญหาในทางทมี่ ขี อ้ มูลต่างๆ พร้อม 5. ขั้นตัดสินใจไปสู่การปฏิบัติ เมอื่ ตัดสนิ ใจเลอื กทางใดแลว้ ตอ้ งยอมรบั วา่ เป็นทางเลือกที่ดีทีส่ ุดใน

17 ข้อมลู เท่าท่ีมขี ณะนน้ั ในกาละนน้ั และในเทศะน้นั 6. ขน้ั ปฏิบัตใิ นการแก้ปญั หา ในขน้ั น้เี ป็นการประเมินผลพรอ้ มกนั ไปดว้ ย ถ้าผลเป็นท่ี - พอใจ กจ็ ะถือวา่ พบความสขุ เรยี กว่า “คดิ เปน็ ” - ไม่พอใจ หรือผลออกมาไม่ได้เปน็ ไปตามที่คิดไว้ หรือขอ้ มลู เปล่ยี น ตอ้ งเริม่ ต้นกระบวนการคิด แก้ปญั หาใหม่ แนวคดิ และทศิ ทางของคิดเป็น “คิดเปน็ ” เปน็ คาไทยสนั้ ๆ ง่ายๆ ท่ีดร.โกวิท วรพพิ ฒั น์ ใชเ้ พื่ออธิบายถึงคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของคน ในการดารงชวี ติ อยใู่ นสังคมทม่ี ีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว รุนแรง และซับซ้อน ได้อย่างปกติสุข “คิดเป็น” มา จากความเชอ่ื พน้ื ฐานเบอ้ื งตน้ ทีว่ ่าคนมีความแตกต่างกันเป็นธรรมดา แต่ทุกคนมีความต้องการสูงสุดเหมือนกันคือ ความสขุ ในชีวติ คนจะมีความสขุ ได้ก็ต่อเม่อื มกี ารปรบตวั เองและสังคม สิ่งแวดลอ้ มให้เข้าหากันอย่างผสมกลมกลืน จนเกิดความพอดี นาไปสู่ความพอใจและมีความสุข อย่างไรก็ตามสังคมสิ่งแวดล้อมไม่ได้หยุดน่ิง แต่จะมีการ เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็วและรุนแรงอยู่ตลอดเวลาก่อให้เกิดปัญหา เกิดความทุกข์ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ขน้ึ ได้เสมอ กระบวนการปรบั ตนเองกบั สงั คมสิ่งแวดล้อมใหผ้ สมกลมกลืนจงึ ตอ้ งดาเนินไปอย่างตอ่ เนือ่ งและทันการ คนที่จะทาได้เช่นน้ีต้องรู้จักคิด รู้จักใช้สติปัญญา รู้จักตัวเองและธรรมชาติสังคมสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี สามารถ แสวงหาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องอย่างหลากหลายและพอเพียง อย่างน้อย 3 ประการ คือ ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลทาง สังคมส่งิ แวดลอ้ ม และข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับตนเองมาเปน็ หลกั ในการวเิ คราะหป์ ัญหาเพ่อื เลือกแนวทางการตัดสินใจ ท่ดี ที สี่ ุดในการแก้ปัญหา หรอื สภาพการณท์ เี่ ผชญิ อยู่อย่างรอบคอบ จนมีความพอใจแล้วก็พร้อมจะรับผิดชอบการ ตัดสินใจนั้นอย่างสมเหตุสมผล เกิดความพอดีความสมดุลในชีวิตอย่างสันติสุข เรียกได้ว่า “คนคิดเป็น” กระบวนการ คิดเป็น

18 ความหมายและประโยชนของการวิจัยอยางงาย การวจิ ัยคอื อะไร การวิจัยหมายถึง กระบวนการแสวงหาความรูอยางมีประสิทธิภาพ และมีจุดมุงหมายที่แนนอนภายใน ขอบเขตที่กาหนด โดยใชวิธีทางวิทยาศาสตร เพ่ือใหไดมาซึ่งความรู ความจริงเปนที่ยอมรับ การวิจัยจึงเป็น เคร่อื งมอื ในการคนหาองคความรูหรือขอคนพบในการแกปญหา หรือพัฒนางานหรือการเรียน ไดอยางเปนระบบ นา่ เชอ่ื ถอื มคี วามชัดเจน ตรวจสอบได การวิจัยอยางงายคอื อะไร การวจิ ยั อยางงาย เปนกระบวนการในการคนหาองคความรู หรอื ขอคนพบในการแกปญหา หรือแนวทาง พัฒนางาน ท่ีมีกระบวนการไมซับซอนใชเวลาไมมาก สามารถทาควบคูไปกับการใชชีวิตประจาวันได เน้น ปรากฏกณท่ีเกดิ ขนึ้ จรงิ และสะทอนความเปนเหตเุ ปนผล ประโยชนของการวจิ ยั อยางงาย 1.ปลูกฝงใหเปนคนมีพื้นฐานในการแสวงหาความรู หรือขอคนพบในการแกปญหา อยางมีระบบ 2. ฝกใหเปนคนท่คี ิดอยางมรี ะบบและเปนเหตุเปนผล 3. การวิจยั ทาใหเกิดองคความรูใหม ๆ 4. การวจิ ยั ทาใหเกิดสง่ิ ประดิษฐ และแนวคิดใหม ๆ 5. การวจิ ัยชวยตอบคาถามทีอ่ ยากรู ทาใหเขาใจปญหา และชวยในการแกไขปญหา 6. การวจิ ัยชวยในการวางแผนและการตดั สินใจ 7. การวิจัยชวยใหทราบผลและขอบกพรองจากการเรยี น/การทางาน ขน้ั ตอนการทาวจิ ยั อยางงาย ขั้นตอนการทาวิจยั อยางงาย ประกอบดวย 5 ข้นั ตอน ดังน้ี ข้ันตอนท่ี 1 การกาหนดคาถามวิจัย/ปญหาวิจัย การทาวิจัย เร่ิมตนจากผูวิจัยอยากรูอะไร มีปญหาขอ สงสัยทีต่ องการคาตอบอะไร ขนั้ ตอนท่ี 2 การเขียนโครงการวจิ ัย ซงึ่ ตองเขยี นกอนการทาการวิจยั จรงิ โดยเขยี นใหครอบคลมุ หัวขอดงั นี้ 1. ช่ือโครงการวิจยั (จะทาวิจยั เรอื่ งอะไร) 2. ความเปนมาและความสาคัญ (ทาไมจงึ ทาเรอ่ื งนี้) 3. วตั ถุประสงคของการวจิ ัย (อยากรูอะไรบางจากการวิจยั ) 4. วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย (มแี นวทางขั้นตอนการดาเนนิ งานวิจยั อยางไร) 5. ปฏทิ นิ ปฏิบตั ิงาน (ระยะเวลาการวจิ ัยและแผนการดาเนินงาน) 6. ประโยชนของการวจิ ัยหรือผลทค่ี าดวาจะไดรับ (การวิจยั นี้จะเปนประโยชนอยางไร) ข้ันตอนที่ 3 การดาเนินงานตามแผนในโครงการวิจัย

19 ข้นั ตอนท่ี 4 การเขยี นรายงานการวจิ ยั ประกอบดวยหัวขอดังน้ี 1. ชื่อเร่ือง 2. ชอ่ื ผูวจิ ัย 3. ความเปนมาของการวจิ ยั 4. วัตถปุ ระสงคของการวิจัย 5. วิธดี าเนนิ การวจิ ัย 6. ผลการวจิ ยั 7. ขอเสนอแนะ 8. เอกสารอางอิง (ถามี) ข้ันตอนที่ 5 การเผยแพรผลงานวิจัย เปนข้ันตอนสุดทายของการวิจัยเพื่อใหบุคคลหรือหนวยงานท่ี เก่ยี วของ นาผลวิจัยนนั้ ไปใชประโยชนตอไป กจิ กรรมทา้ ยบท ใหผูเรยี นอธบิ าย“นักวจิ ยั ตองมคี ุณสมบัติอยางไร” ตามความเขาใจของผูเรียน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ เรอื่ ง ทักษะการเรียนรแู้ ละศกั ยภาพหลักของพื้นทีใ่ นการพัฒนาอาชีพ ความหมายความสาคัญของศักยภาพหลักของพืน้ ทใ่ี นการพัฒนาอาชพี การใชทักษะการเรียนรูในการเรียนรูเก่ียวกับศักยภาพหลักของพื้นที่เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการ พัฒนาอาชีพเปนส่ิงจาเปน เพราะในสภาพการปจจุบันที่ผานมาประเทศไทยจะสามารถยกระดับคุณภาพ การศึกษาใหประชาชนในแตละพน้ื ทมี่ ีงานทาแลวในระดับหนงึ่ แตดวยพลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวด เร็ว และรนุ แรงของสังคมโลกดังกลาวไดสงผลตอสังคมไทย ใหเขาสูสงั คมแหงการแขงขัน อยางหลีกเล่ียงไมได ความอยูรอดของประเทศ ปจจุบันขน้ึ อยูกบั ความสามารถในการแขงขัน และการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ใหเกิดประโยชนสูงสุด ประเทศไทยจึงตองเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันในระดับโลก จากรายงานของ

20 สถาบันเพื่อการพัฒนาการจัดการ(IMD) การจัดอันดับของ IMD ในรอบ 10 ปที่ผานมา ประเทศไทยถูกจัด อันดบั สมรรถนะหรือความสามารถในการแขงขันอยูกลางๆ คอนไปทางทาย โดยเปรียบเทียบแลวอยํูต่ากวา ประเทศสิงคโปร ไตหวัน เกาหลใี ตฮองกง และ มาเลเซีย มาตลอด การจดั ลาดับประเทศไทย โดย IMD ใน 2ป ลาสุด (พ.ศ. 2552-2553) ไทยอยูอันดับที่ 26 จาก อันดับที่ 58 สมรรถนะทํ่ีต่าหรือเปนจุดออนของประเทศ ไทยดานหนง่ึ คือ สมรรถนะดานการศกึ ษา ซ่งึ อยูในอันดบั ท่ีประมาณ 40 กวาจาก 58 ประเทศ ตัวอยางสาคัญ ที่เห็นไดเดนชัดท่ีสุด คือในป 2015 จะมีการรวมตัวกันของกลุมประเทศ ASEAN จะเริ่มตนขึ้น เกิดความ เคล่อื นไหวอยางเสรีของสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานฝมือ หากประเทศไทยไมเตรียมพรอม และไม สามารถแขงขันในเวทีระดบั ภูมภิ าคได จะทาใหเสยี เปรียบประเทศเพื่อนบาน การยกระดับคุณภาพการศึกษา จงึ ตองยกระดบั ความสามารถในการแขงขันดวย และไมเพียงแตในภูมิภาคอาเซียนเทานั้น หากแตจะตองเป นทุกภูมภิ าคของโลก เพราะทกุ ภูมิภาคไมวาจะเปนพ้ืนท่ีท่ีเจริญแลว หรือกาลังพัฒนาก็ตาม ลวนมีโอกาสท่ีซ อนอยูทั้งสนิ้ หากการศึกษาสรางคนทีม่ ีความรูความสามารถ มีวิสัยทัศน สามารถมองเห็นโอกาสท่ีซอนอยู จะ ทาใหประเทศยืนอยูบนเวทโี ลกไดอยางม่ันคง และสามารถแขงขันไดในระดับสากลดวยเหตุน้ี การศึกษาตอง เริ่มตนจากการวิเคราะห และคนหาศักยภาพภายในออกมากอน และควบคูไปกับทาความเขาใจการเปนไป ของโลก จงึ ตอง “ดเู รา ดโู ลก” คอื เขาใจตัวเอง และเขาใจวาโลก หมนุ ไปทางใด เพ่ือวิ่งไปโดยไมทิ้งใครไวขาง หลงั มีความรูเทาทนั ทุนนิยม และรูขอจัดกาจดั ของเราและโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อประเทศไทยกาลังจะกาวเข าสูประชาคมอาเซยี นในป ๒๕๕๘ ประเทศไทย จาเปนที่จะตองเตรียมความพรอมใหกับประชาชน ในการต้ัง รบั เขตการคาเสรี ทัง้ สนิ คาและแรงงานที่จะไหลเขามา ภายใตเขตเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เปนหนึ่ง เดยี ว โดยการสนับสนุนใหเกิดการสรางองคความรูในดานตางๆ โดยเฉพาะการสรางองคความรู ผา่ นกลไกการ สรางงานวจิ ยั ดานสังคม ใหเทาเทยี มกับงานวิจยั ดานวทิ ยาศาสตร กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดกาหนดยุทธศาสตรการพฒั นาการศกึ ษาในการพฒั นา 5 ศักยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุมอาชีพใหม ใหสามารถแขงขันใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก เพื่อพัฒนาใน 5 ศักยภาพของพ้ืนท่ีคือ 1. ศักยภาพของธรรมชาตใิ นแตละพนื้ ท่ี

21 2.ศกั ยภาพของพ้ืนท่ีตามลกั ษณะภูมอิ ากาศ 3.ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ตี งั้ ของแตละพน้ื ที่ 4.ศักยภาพของศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี องคความรู ภูมิปญญา และวิถชี วี ติ ของแตละพ้นื ท่ี 5.ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตละพืน้ ที่ ทงั้ นี้ คานึงถงึ การพัฒนาหลกั สูตรตาม 5 กลุมอาชีพ คอื เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยการ ความคดิ สรางสรรค และการอานวยการและอาชี กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 6 ทกั ษะการเรียนรู้และศักยภาพหลกั ของพื้นท่ใี นการพัฒนาอาชพี 1. ให้ผ้เู รยี นรวมกลุ่มและวเิ คราะห์ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนในการพัฒนาอาชีพวา่ ในพนื้ ที่มศี กั ยภาพดา้ นใดบ้าง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ 1. ขอ้ ใด คือความหมายของคาวา่ “การเรียนรู้ด้วยตนเอง”

22 ก. เปน็ การประเมินความกา้ วหน้าของตนเอง ข. เป็นการเรียนรตู้ ามความสนใจ และความต้องการของตนเอง ค. เป็นการเรยี นรู้ตามความสนใจ และความต้องการของตนเอง ร้จู กั แสวงหาทรพั ยากรของการเรียนรู้ ง. เปน็ การดาเนินการดว้ ยตนเองและรว่ มมอื กบั ชมุ ชน 2. รปู แบบ Model ของการทาแฟม้ สะสมงานสาหรบั ผู้เริม่ ทาไมม่ ปี ระสบการณ์มาก่อนมีกขี่ นั้ ตอน ก. 3 ขน้ั ตอน ข. 4 ขนั้ ตอน ค. 5 ขน้ั ตอน ง. 6 ข้นั ตอน 3.แหลง่ เรยี นรู้หมายถงึ ขอ้ ใด ก. สถานที่ใหค้ วามร้ตู ามอธั ยาศัย ข. แหลง่ คน้ คว้าเพื่อประโยชน์ในการพฒั นาตนเอง ค. แหลง่ รวบรวมความร้แู ละขอ้ มูลเฉพาะสาขาวิชาใดวชิ าหนึง่ ง. แหล่งข้อมมลู และประสบการณท์ ี่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนแสวงหาความรแู้ ละเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4. ถา้ นกั ศึกษาตอ้ งการรู้เกยี่ วกับโลกและดวงดาวควรไปใชบ้ ริการแหลง่ เรยี นรู้ใด ก. ท้องฟูาจาลอง ข. เมืองโบราณ ค. พิพธิ ภณั ฑ์ ง. หอ้ งสมดุ 5. เป้าหมายของการจดั การความรคู้ อื อะไร ก. พฒั นาคน ข. พัฒนางาน ค. พฒั นาองค์กร ง. ถูกทกุ ขอ้ 6.ข้อใด คอื ความหมายของคาว่า “สารสนเทศ” ก. ข้อมลู ดิบทเ่ี ป็นขอ้ เท็จจรงิ หรอื เหตุการณ์ ข. ขอ้ มลู ที่ผา่ นกระบวนการประเมนิ ผลแล้ว ค. ขอ้ มูลท่ีสามารถวดั ค่าได้ ง. ขอ้ มูลทบ่ี อกลกั ษณะของตวั แปร 7.การจัดการศึกษาต้องสอนใหค้ นคิดเปน็ ทาเปน็ แก้ปัญหาเปน็ เปน็ แนวความคดิ ของบุคคลใด ก. ดร.โกวทิ ย์ วรพิพัฒน์

23 ข. นายชินวร บญุ ยเกยี รติ ค. นายอภสิ ทิ ธ์ิเวชชาชีวะ ง. นายอภชิ าต จิราวุฒิ 8. ขอใดเปนความหมายของการวิจยั อยางงาย ก. การวางแผนงานอยางเปนระบบ ข. การคาดเดาคาตอบอยางมรี ะบบ ค. การศึกษาคนควาเรอื่ งทีส่ นใจทไี่ มซบั ซอนมากนัก ง. การคิดอยางมีระบบและเปนเหตเุ ปนผล 9.การต้ังสมมติฐานในการวจิ ัยมคี วามจาเปน็ อยา่ งไร ก. บอกให้ทราบถงึ รปู แบบการวจิ ัย ข. คาดคะเนคาตอบหรือผลการวจิ ยั ค. บอกแนวทางแกป้ ญั หาทไ่ี ด้จากการวจิ ัย ง. กาหนดคา่ สถิตทิ ี่เหมาะสมกับการวิจยั 10.ขอ้ ใดเปน็ ความหมายความสาคญั ของทกั ษะการเรียนรู้และศกั ยภาพของพ้นื ท่ี ก. ความสามารถในการพฒั นาอาชีพ ข. ความสามรถในการแข่งขันและการพัฒนาศกั ยภาพ ค. วเิ คราะหแ์ ละคน้ หาศกั ยภาพของพืน้ ที่ ง. ความสามรถในการแขง่ ขันและค้นหาศกั ยภาพของพ้นื ที่ เฉลย

24 1.เฉลย. ค. เป็นการเรียนรู้ตามความสนใจ และความต้องการของตนเอง รู้จักแสวงหาทรัพยากรของ การเรียนรู้ 2. เฉลย. ก. 3 ข้นั ตอน 3. เฉลย. ง. แหลง่ ขอ้ มมลู และประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นแสวงหาความรู้และเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 4. เฉลย ก.ทอ้ งฟูาจาลอง 5. เฉลย ง. ถกู ทกุ ขอ้ 6.เฉลย ข. ข้อมูลที่ผา่ นกระบวนการประเมนิ ผลแล้ว 7.เฉลย ก. ดร.โกวทิ ย์ วรพิพัฒน์ 8.เฉลย ค. การศกึ ษาคนควาเร่ืองท่ีสนใจท่ีไมซบั ซอนมากนกั 9.เฉลย ค. บอกแนวทางแกป้ ญั หาทไ่ี ด้จากการวิจยั 10.เฉลย ง.ความสามรถในการแขง่ ขันและค้นหาศักยภาพของพืน้ ที่

25 รายวชิ า การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค21003 แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลกั ของการพัฒนาชุมชน ก. ประชาชนมีส่วนรว่ ม ข. ทาเป็นกระบวนการและประเมนิ ผลอย่างตอ่ เนอื่ ง ค. ยดึ ประชาชนเปน็ หลักในการพฒั นา ง. พฒั นาทุกดา้ นไปพรอ้ มๆกันอยา่ งรวบรัดและเร่งรีบ 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองอนั ดับแรกคืออะไร ก. ปลุกใจตนเอง ข. สารวจตนเอง ค. ลงมอื พัฒนาตนเอง ง. ปลกู คุณสมบตั ิทดี่ งี าม 3. กจิ กรรมใดเป็นกจิ กรรมระดับประเทศ ก. การสัมมนา ข. การสารวจประชาสมติ ค. การประชมุ กลุ่มย่อย ง. การจดั ทาเวทีประชาคม 4. ข้อใดเป็นบทบาทท่ีสาคญั ท่ีสุดของประชาชนในการดแู ลชมุ ชน ก. เขา้ รว่ มประชุมทุกครง้ั ข. แสดงความเห็นในการประชมุ ค. เหน็ คล้อยตามผนู้ าทกุ เรอ่ื ง ง. ทากจิ กรรมพัฒนาชุมชนรว่ มกนั ทุกครัง้ 5. สถาบนั ใดท่มี ีสว่ นสาคัญเป็นลาดับแรกปูองกันไม่ให้เกดิ ปญั หาสังคม ก. สถาบนั การเงิน ข. สถาบนั ศาสนา ค. สถาบันครอบครัว ง. สถาบันการศึกษา

26 6. ข้อใดคอื การรวมตัวของสมาชิกในชมุ ชนเพื่อร่วมกันทากจิ กรรมตา่ งๆ ในชมุ ชน ด้วยตนเอง ก. เวทีประชาคม ข. การทาประชาพจิ ารณ์ ค. การเลอื กตงั้ ง. การเขียนโครงการ 7. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในชมุ ชน ก. อธิบาย ข. สงั เกต ค. สัมภาษณ์ ง. สนทนากลุม่ 8. วตั ถปุ ระสงค์ของการทาประชาพจิ ารณค์ ือข้อใด ก. ตอบสนองความต้องการของผ้บู ริหาร ข. ใหเ้ กดิ ความคิดรวบยอดในการปฏิบัตงิ าน ค. ปอู งกนั การประทว้ งของผ้เู สียประโยชน์ ง. รวบรวมความคิดเหน็ ของผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง 9. ข้อใดบง่ บอกถงึ ความสาเร็จของโครงการ ก. การประเมินโครงการ ข. ตวั ชวี้ ัดผลสาเร็จของโครงการ ค. การสรุปผลและรายงานโครงการ ง. วัตถุประสงคข์ องโครงการ 10. ขอ้ ใดเป็นวิธกี ารเขยี นรายงานผลการดาเนินงานทถ่ี กู ตอ้ ง ก. ถกู ต้อง กระชบั รดั กุม ชดั เจนและสละสลวย ข. เขยี นบรรยายรายละเอียดใหม้ ากที่สดุ ค. เขยี นให้เปน็ ภาษาวิชาการมากๆ ง. เขียนโดยแบง่ เป็นขอ้ ยอ่ ย ๆ เฉลย 1. ง 2. ข 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ก 8. ง 9. ข 10. ก

27 หลักการพฒั นา และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สงั คม สาระสาคญั มีความรู้ ความเข้าใจหลกั การพฒั นาชุมชน/สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และกาหนดแนวทางการพฒั นา ตนเองครอบครัว ชุมชน/สังคมให้สอดคลอ้ งกบั สภาพการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ปจั จบุ ัน ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง 1. อธิบายสาระสาคญั ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม 2. จดั เกบ็ และวเิ คราะหข์ ้อมูลอย่างงา่ ย 3. มีสว่ นร่วมและนาผลจากการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปใชใ้ นชีวิต ประจาวัน 4. วเิ คราะห์ศกั ยภาพของประเทศเพือ่ การพฒั นาอาชพี ขอบขา่ ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 ความร้เู บื้องต้นเกยี่ วกับการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม เรอ่ื งที่ 2 ข้อมูลที่เกยี่ วขอ้ งกบั การพัฒนาชมุ ชน เร่อื งที่ 3 การจดั ทาแผนชุมชน เรื่องท่ี 4 การเผยแพร่ผลการปฏบิ ตั ิ เรอ่ื งที่ 5 การพัฒนาอาชพี ในชมุ ชนและสงั คม เรอื่ งที่ 1 ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ความหมายของคาวา “พฒั นาชมุ ชน” ผูรูไดใหความหมายไวหลากหลาย สรุปไดดังน้ี 1) การรวบรวมกาลงั ของคนในชมุ ชน รวมกนั ดาเนินการปรับปรงุ สภาพ ความเปนอยูของคนในชมุ ชนให มคี วามเขมแข็ง เปนปกแผน โดยความรวมมอื กนั ระหวางประชาชน ในชมุ ชน และหนวยงานภายนอก 2) เปนกระบวนการท่ีประชาชน รวมกันดาเนินการกับเจาหนาที่หนวยงานตางๆ เพ่ือทาใหสภาพ เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และสงิ่ แวดลอมของ ชุมชนเจริญขึ้นกวาเดมิ 3) เปนวธิ ีการสรางชุมชนใหเจรญิ โดยอาศัยกาลงั ความสามารถของ ประชาชน และรัฐบาล 4) เปนการเปลี่ยนแปลงทีม่ ีการกาหนดทิศทาง ท่พี ึงปรารถนา โดยการมีสวนรวมของคนในชมุ ชน สรุปไดวาการพัฒนาชุมชน คือการกระทาที่มุงปรับปรุง สงเสริม ใหกลุมคนท่ีอยู รวมกันมีการ เปล่ยี นแปลงไปในทศิ ทางท่ดี ขี ึ้นในทุกๆดาน ทั้งดานทีอ่ ยูอาศัย อาหาร เครอ่ื งนุงหม สุขภาพรางกาย อาชีพที่มั่นคง ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยสิน โดยอาศยั ความรวมมือจากประชาชนภายในชุมชน และหนวยงานองคกรตางๆ ทง้ั จากภายในและภายนอกชมุ ชน

28 ความสาคญั ของการพฒั นาชมุ ชน จากการอยูรวมกันของครอบครัวหลายๆครอบครัวจนเปนชุมชนความเปนอยู ของคนแตละ ครอบครัว ยอมมีความสมั พนั ธกัน มีความสลับซับซอนและมีปญหาเกิดข้ึนมากมาย จึงจาเปนตองอาศัยความรวม มือกนั ของบุคคลหลายๆฝายโดยเฉพาะประชาชนเจาของชุมชนที่เปนเปาหมายของ การพัฒนาตองรวมกันรับรูรวม มือกนั พัฒนาและปรับปรงุ แกไขใหเกดิ ความเปลยี่ นแปลงที่ดีขึ้น เพ่ือความสงบสุขของชุมชนน้ันๆ การพัฒนาชุมชน จงึ มีความสาคัญพอจะจาแนกไดดังน้ี 1. สงเสริมและกระตุนใหประชาชนไดมีสวนรวมในการแกไขปญหาพฒั นาตนเอง และชมุ ชน 2. เปนการสงเสริมใหประชาชนมจี ิตวิญญาณ รูจักคดิ ทา พฒั นาเพอ่ื สวนรวม และ เรยี นรูซึ่งกนั และกนั 3. เปนการสงเสริมการรวมกลุมในการดาเนนิ ชวี ิตตามระบอบประชาธปิ ไตย 4. ทาใหปญหาของชุมชนลดนอยลงและหมดไป 5. ทาใหสามารถหาแนวทางปองกัน ไมใหปญหาในลกั ษณะเดียวกนั เกิดข้นึ อกี 6. ทาใหเกดิ ความเจรญิ กาวหนาขึน้ 7. ทาใหเกิดการอยูรวมกันอยางมีความสุข ตามสภาพของแตละบคุ คล และเกิด ความ ภาคภมู ใิ จในชุมชน ของตนเอง 8. ทาใหชุมชนนาอยู่ มีความรักความสามคั คี เอื้ออาทรชวยเหลอื เกื้อกูลซึง่ กัน และกนั 9. เปนรากฐานสาคัญของการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ เรือ่ งท่ี 2 ข้อมูลทเี่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาชมุ ชน ความหมายของขอมูล มีผูรูไดใหความหมายของขอมูลในลักษณะเดียวกันสรุปไดวา ขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงของ สิ่งตางๆ ท่อี ยูรอบตัวเรา เชน คน สัตวสิ่งของ สถานที่ ธรรมชาติฯลฯ ท่ีถูก บันทึกไวเปน ตัวเลข สัญลักษณภาพ หรือเสียงที่ชวยทาใหรูถึงความเปนมา ความสาคัญ และ ประโยชนของส่ิง เหลานั้น ความหมายของขอมูล ตาม พจนานุกรมราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหความหมายวา ขอมูลหมายถึงขอเท็จจริงสาหรับใชเปนหลักใน การคาดการณค์ นหาความจริงหรือการคิดคานวณ กลาวโดยสรุป ขอมูลหมายถึง ขาวสารหรือขอเท็จจริงที่เกิดข้ึนกับสิ่งตางๆท่ีเปน สัญลักษณ ตวั เลข ขอความ ภาพหรือ เสียงท่ไี ดมาจากวธิ ีการตางๆ เชน การสังเกต การนับ การวัด และบันทึกเปนหลักฐาน ใชเพื่อคนหาความจริง ตวั อยาง เชน ก. สุนันทประกอบอาชพี ทานา ข. ตาบลทานบ มจี านวนครัวเรือน 350 ครัวเรือน ค. อบต.เกาะยอ ชาวบานมอี าชพี ทาสวนผลไมและทาประมง ง. จงั หวัดสงขลา มีหองสมุดประชาชนประจาอาเภอ16 แหง 10

29 จากตวั อยางจะเห็นวา ขอ ข และ ง เปนขอมูลที่เปนตวั เลข ขอ ก และ ค เปนขอมูล ท่ีไมเปนตัว เลขจากความหมาย และตวั อยางของขอมลู จะเห็นไดวา ขอมลู แบงเปน 2 ความหมาย คือ ขอมูลที่มีลักษณะเป็น ตัวเลขแสดงปริมาณ เรยี กวาขอมลู เชงิ ปริมาณ และขอมลู ที่ไมใชตัวเลข เรียกวาขอมูลเชิงคณุ ภาพ เร่อื งที่ 3 การจัดทาแผนชมุ ชน ความหมายของคาวา่ “พฒั นาชมุ ชน” ผู้รู้ได้ใหค้ วามหมายไว้หลากหลาย สรปุ ได้ดงั น้ี 1) การรวบรวมกาลังของคนในชมุ ชนร่วมกันดาเนนิ การปรับปรงุ สภาพ ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้มี ความเข้มแขง็ เป็นปกึ แผน่ โดยความรว่ มมอื กนั ระหว่างประชาชน ในชมุ ชนและหน่วยงานภายนอก 2) เปน็ กระบวนการที่ประชาชน ร่วมกันดาเนินการกับเจา้ หนา้ ทห่ี น่วยงาน ต่างๆ เพ่อื ทาให้สภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดลอ้ มของ ชมุ ชน เจริญข้ึน กวา่ เดิม 3) เป็นวิธกี ารสรา้ งชุมชนใหเ้ จรญิ โดยอาศยั กาลงั ความสามารถของ ประชาชน และรฐั บาล 4) เป็นการเปลย่ี นแปลงทีม่ กี ารกาหนดทิศทางทีพ่ ึงปรารถนาโดยการมีสว่ นรว่ ม ของคนในชุมชน สรปุ ไดว้ ่า การพัฒนาชุมชน คือการกระทาที่มุ่งปรับปรุง ส่งเสริม ให้กลุ่มคนที่อยู่ รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงไปใน ทิศทางทด่ี ีขนึ้ ในทกุ ๆด้าน ท้ังดา้ นทอ่ี ยูอ่ าศัย อาหาร เครือ่ งนุง่ หม่ สขุ ภาพรา่ งกาย อาชพี ที่มั่นคง ความปลอดภัยใน ชีวิตและทรพั ย์สิน โดยอาศัยความร่วมมือจาก ประชาชนภายในชุมชน และหน่วยงานองค์กรต่างๆทั้งจากภายใน และภายนอกชุมชน ความสาคัญของการพฒั นาชุมชน จากการอยู่รวมกันของครอบครัวหลายๆครอบครัวจนเป็นชุมชน ความเป็นอยู่ ของคนแต่ละ ครอบครวั ย่อมมีความสัมพันธก์ ัน มคี วามสลบั ซับซ้อนและมปี ญั หาเกิดขึน้ มากมาย จงึ จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือ กันของบุคคลหลายๆฝาุ ยโดยเฉพาะประชาชนเจ้าของชุมชนทเ่ี ปน็ เปาู หมายของ การพัฒนาต้องร่วมกันรับรู้ร่วมมือ กนั พฒั นาและปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ กดิ ความเปลยี่ นแปลงที่ดขี ึน้ เพ่ือความสงบสุขของชุมชนนั้นๆ การพัฒนาชุมชนจึง มคี วามสาคัญ พอจะจาแนกได้ดงั นี้ 1. ส่งเสริมและกระตุน้ ให้ประชาชนไดม้ สี ่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาพฒั นาตนเอง และชุมชน 2. เป็นการส่งเสรมิ ให้ประชาชนมจี ติ วญิ ญาณ รูจ้ ักคิด ทา พฒั นาเพอื่ ส่วนรวม และเรียนรซู้ ่ึงกนั และกนั 3. เปน็ การสง่ เสริมการรวมกลุม่ ในการดาเนนิ ชวี ติ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ทาให้ปญั หาของชุมชนลดนอ้ ยลงและหมดไป 5. ทาให้สามารถหาแนวทางปูองกันไม่ให้ปัญหาในลกั ษณะเดยี วกันเกดิ ขนึ้ อีก 6. ทาให้เกิดความเจรญิ กา้ วหน้าขึน้ 7. ทาให้เกิดการอยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสขุ ตามสภาพของแต่ละบุคคล และเกดิ ความภาคภูมิใจในชมุ ชน ของตนเอง 8. ทาให้ชุมชนนา่ อยู่ มคี วามรกั ความสามัคคี เออ้ื อาทรชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู ซึง่ กนั และกนั 9. เปน็ รากฐานสาคญั ของการพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ เร่อื งที่ 4 หลักการพัฒนาชุมชน

30 หลกั การพฒั นาชุมชน เปน็ หลกั สาคัญในการดาเนินงานพัฒนาชุมชน เพ่ือสร้างสรรค์ ไปสู่ความสาเร็จตาม เปูาหมาย ยึดถอื การสร้างความเจริญใหก้ ับชมุ ชนโดยอาศยั หลักการ สรุปได้ดงั น้ี 1. ประชาชนมีสว่ นรว่ มการดาเนนิ กิจกรรมของการพัฒนาทุกข้นั ตอนประชาชนจะตอ้ งเข้ามามีสว่ น เกีย่ วขอ้ งและมีสว่ นรว่ มต้ังแต่ รว่ มคิด ตัดสนิ ใจ วางแผน ปฏบิ ัตแิ ละประเมินผล ประชาชนต้องกล้าคิด กลา้ แสดงออก เพราะผลที่เกิดจาก การดาเนินงานส่งผลโดยตรงตอ่ ประชาชน 2. พจิ ารณาวัฒนธรรมและสภาพความเป็นอยู่ของชุมชน หากทกุ ฝุายท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนาได้ทราบและ เขา้ ใจข้อมูลเกีย่ วกบั วัฒนธรรมและสภาพความ เปน็ อยู่ของชุมชนในทุกๆด้าน จะช่วยให้การคิด การวางแผน และ การดาเนนิ งาน พัฒนาเป็นไปในทิศทางที่ถกู ต้องเหมาะสม 3. ใหค้ วามสาคัญกับคนในชุมชน โดยคนในชุมชนต้องเป็นหลักสาคัญหรือเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา โดยเรมิ่ จากการคน้ หาความต้องการและปัญหาทแ่ี ท้จริง ของชมุ ชนตนเองให้พบ เพ่ือนาไปสู่กระบวนการพัฒนาใน ข้นั ตอ่ ไป 4. การพัฒนาต้องไม่รวบรัดและเร่งรีบ การดาเนินงานควรคานึงถึงผลของการ พัฒนาในระยะยาว ดาเนนิ งานแบบคอ่ ยเปน็ ค่อยไป เพื่อให้ทุกคนมีความพร้อม มีความเช่ือมั่น ได้มีเวลาพิจารณาคิดไตร่ตรองถึงผลที่ จะเกิดขึ้นในข้นั ตอนต่อไป และในระยะยาวทง้ั ผลท่ีสาเร็จและไม่สาเร็จ มิใช่เร่งรีบดาเนินการให้เสร็จอย่าง รวบรัด และเร่งรีบ เพราะการเรง่ รีบและรวบรัดใหเ้ สร็จอาจนาไปสู่ความล้มเหลว 5. ทาเป็นกระบวนการและประเมินผลอย่างต่อเน่ือง การพัฒนาชุมชนควรดาเนิน การด้วยโครงการที่ หลากหลายภายใตค้ วามตอ้ งการทีแ่ ทจ้ ริงของชุมชน ขณะ เดียวกนั ควรประเมินผลด้วยการมีส่วนร่วมของทุกฝุายที่ เก่ยี วขอ้ งอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อจะได้รับทราบข้อดี ข้อเสีย บทเรียนความสาเร็จ ไม่สาเร็จ เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาท่ีดี ขึน้ กวา่ เดมิ หลักการพัฒนาชุมชนดังกลา่ วขา้ งตน้ เปน็ หลกั การโดยทัว่ ไป ทมี่ ุ่งหวังให้ประชาชน รว่ มมอื กันพัฒนาชุมชน ของตนโดยมีเปูาหมายสูงสุดคอื ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี และสังคม มีชุมชนที่น่าอยู่ เพราะฉะน้ัน หากเราเป็น สมาชกิ ของชุมชนใดก็ควรเขา้ ไปมสี ่วนร่วมให้ความ ร่วมมือ กบั ชมุ ชนนั้นๆ เช่น ร่วมประชุมอย่างสร้างสรรค์ แสดง ความคิดเหน็ แลกเปล่ียนความคิด ร่วมพฒั นาทกุ ข้ันตอนเพ่อื นาไปสู่เปาู หมายท่ที กุ ฝาุ ยรว่ มกนั กาหนดขึน้ นัน่ เอง

31 เรือ่ งที่ 5 จัดทาแผนชมุ ชน สังคม ใหสอดคลองกบั การ เปลี่ยนแปลงของชุมชน สงั คม กระบวนการจัดทา แผนพัฒนาชุมชน การจัดทาแผนพัฒนาชุมชนแตละชุมชนอาจมีขั้นตอนของการดาเนินการพัฒนาชุมชน แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับบริบทสิ่งแวดลอมของชุมชนน้ันๆ แตโดยท่ัวไปการจัดทาแผนพัฒนา ชุมชน มีข้ันตอนตอเนื่องเปนกระ บวนการตามลาดับ ตั้งแตขั้นการเตรียมการและวางแผน ขั้นการ จัดทาแผนพัฒนาและข้ันการนาแผนไปสูการ ปฏิบัติดงั น้ี 1. ขนั้ การเตรยี มการและการวางแผน เปนการเตรียมความพรอมในดานตางๆ ดงั น้ี 1.1 การเตรยี มหาบุคคลท่ีเกย่ี วของ เชน คณะทางาน คณะวิชาการอาสา สมัคร ผนู า ฯลฯ 1.2 การเตรยี มการจดั เวทีสรางความตระหนักรวมในการเปนเจาของชมุ ชน รวมกัน เชน การรวมคดิ รวม วางแผน รวมปฏบิ ัติทกุ ขนั้ ตอน 1.3 การศึกษาพัฒนาการของชมุ ชน โดยการศกึ ษา สารวจวิเคราะหสงั เคราะห ขอมลู ทกุ ๆ ดานของชุมชน เชน ดานเศรษฐกจิ ดานประเพณีวฒั นธรรม ดานการเมืองการ ปกครอง เปนตน 1.4 การศึกษาดูงานชมุ ชนตนแบบ เพอื่ เรยี นรูจากประสบการณตรงจากชุมชน ตนแบบที่ประสบ ความสาเร็จจะไดเหน็ ตัวอยางการปฏิบัตจิ ริงทีเ่ ปนรูปธรรม เพ่อื ทจ่ี ะไดนาสิง่ ที่ 18 ดๆี ที่เปนประโยชนมาประยุกต ใชกบั ชุมชน ตนเองและชวยกันคิดวาชุมชนของตนควรจะวางแผน บริหารจดั การทีจ่ ะ นาไปสูการพัฒนาไดอยางไร 2. ขน้ั การจดั ทาแผนพฒั นา ประกอบดวยขน้ั ตอนยอยๆ ดงั น้ี 2.1 การรวมกนั นาขอมลู ที่ไดจากการเตรียมการมารวมกันวิเคราะหจุดแข็งจดุ ออน โอกาสและอุปสรรค ของชุมชน เพ่อื ประเมนิ ความสามารถและ ประสบการณของ ชมุ ชนเพื่อ นาไปสูการกาหนดภาพอนาคตของชมุ ชน ตามที่คาดหวงั (วสิ ัยทัศน) 2.2 การรวมกนั คนหาและกาหนดการเลอื กท่ีเหมาะสมในการพฒั นา (ยทุ ธศาสตร) 2.3 รวมกันกาหนดแผนงาน โครงการกิจกรรม และเขยี นเอกสารแผนงาน โครงการและกิจกรรมทจ่ี ะ พัฒนาแกปญหาหรือปองกันปญหา 2.4 นาแผนงาน โครงการและกิจกรรม นาเสนอแลวพิจารณารวมกันและให ขอมูลเพมิ่ เติม เพื่อใหเหน็ ภาพรวมเพือ่ การประสานเชื่อมโยงและเพ่อื การแบงงาน กนั รบั ผดิ ชอบ 2.5 เมื่อคณะทางานทุกฝายเหน็ ชอบ จงึ นารางแผนชมุ ชนไปทาการประชา พจิ ารณ แลกเปลย่ี นเรียนรใู น เวทีเพื่อสรางความเขาใจกับสมาชิกของชมุ ชนทงั้ หมด เปนการ รวมใจเปนหนงึ่ เดยี วทีจ่ ะดาเนนิ การพัฒนารวมกนั ตามแผน 2.6 ปรบั ปรงุ แกไขแผนใหถูกตองเหมาะสมตามมติความคดิ เหน็ ท่ีไดจากการ ประชาพจิ ารณ 3. การนาแผนไปปฏิบัติและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ประกอบดวยขั้นตอนยอยๆ ดงั น้นั

32 3.1 จัดลาดบั ความสาคัญของแผนงานโครงการ 3.2 วเิ คราะหความเปนไปไดของแตละโครงการ 3.3 จัดฝกอบรม เพ่ิมเตมิ ประสบการณความรูเกย่ี วกบั ประเด็นทส่ี าคัญทก่ี าหนดไว ในแผนเพอ่ื ขยายผล การเรียนรไู ปยงั คนในชุมชน 3.4 จดั ระบบภายใน เชื่อมโยงเครอื ขายท้ังภายในภายนอกเพอ่ื สรางความ เขมแข็ง ใหกับชุมชน 3.5 ดาเนนิ การปฏิบตั ติ ามแผน 19 3.6 ติดตามความกาวหนาและประเมนิ ผลการปฏิบัติงานตามแผน รวมทั้ง ประเมนิ ผลการดาเนินงาน โครงการและกจิ กรรมทีอ่ ยูในแผน เพ่อื ปรบั ปรงุ แผนใหมีความ สมบูรณ ยง่ิ ขน้ึ สาหรับผูท่จี ะทาหนาทีใ่ นการ ประเมิน คอื แกนนาและคนในชุมชน เพราะคนเหลาน้เี ปน ทั้งผูบรหิ ารจดั การผูปฏิบัติและผูรบั ประโยชนโดยตรง กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 1 คาช้แี จง ใหผ้ ูเ้ รียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1.1 อธิบายความหมายของหลกั การพัฒนาชุมชน/สังคม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 ใหก้ าหนดแนวทางในการพัฒนาตนเองครอบครัว ชมุ ชน/สังคม พอสังเขป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แบบทดสอบหลงั เรยี น

33 1. ข้อใดไมใ่ ช่หลักของการพัฒนาชมุ ชน ก. ประชาชนมีสว่ นรว่ ม ข. ทาเปน็ กระบวนการและประเมินผลอยา่ งต่อเนอ่ื ง ค. ยดึ ประชาชนเปน็ หลกั ในการพฒั นา ง. พฒั นาทุกด้านไปพรอ้ มๆกนั อยา่ งรวบรัดและเร่งรีบ 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองอนั ดับแรกคืออะไร ก. ปลุกใจตนเอง ข. สารวจตนเอง ค. ลงมอื พฒั นาตนเอง ง. ปลูกคณุ สมบัติทด่ี ีงาม 3. กิจกรรมใดเปน็ กจิ กรรมระดบั ประเทศ ก. การสัมมนา ข. การสารวจประชาสมติ ค. การประชมุ กล่มุ ย่อย ง. การจัดทาเวทีประชาคม 4. ข้อใดเปน็ บทบาทที่สาคญั ที่สดุ ของประชาชนในการดแู ลชมุ ชน ก. เขา้ รว่ มประชมุ ทุกครัง้ ข. แสดงความเห็นในการประชมุ ค. เห็นคล้อยตามผนู้ าทกุ เร่อื ง ง. ทากิจกรรมพฒั นาชุมชนรว่ มกันทุกคร้งั 5. สถาบนั ใดทีม่ ีส่วนสาคญั เปน็ ลาดบั แรกปูองกนั ไมใ่ หเ้ กิดปัญหาสงั คม ก. สถาบนั การเงิน ข. สถาบนั ศาสนา ค. สถาบนั ครอบครวั ง. สถาบันการศกึ ษา 6. ข้อใดคือการรวมตัวของสมาชิกในชมุ ชนเพอ่ื รว่ มกนั ทากจิ กรรมต่างๆ ในชมุ ชน ดว้ ยตนเอง ก. เวทีประชาคม ข. การทาประชาพิจารณ์

34 ค. การเลอื กตงั้ ง. การเขียนโครงการ 7. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน ก. อธบิ าย ข. สังเกต ค. สมั ภาษณ์ ง. สนทนากลุม่ 8. วตั ถุประสงคข์ องการทาประชาพิจารณ์คือข้อใด ก. ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รหิ าร ข. ใหเ้ กิดความคิดรวบยอดในการปฏบิ ตั ิงาน ค. ปูองกันการประทว้ งของผ้เู สยี ประโยชน์ ง. รวบรวมความคิดเห็นของผ้เู กีย่ วข้อง 9. ขอ้ ใดบง่ บอกถงึ ความสาเร็จของโครงการ ก. การประเมนิ โครงการ ข. ตัวช้ีวัดผลสาเรจ็ ของโครงการ ค. การสรปุ ผลและรายงานโครงการ ง. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 10. ข้อใดเปน็ วิธกี ารเขียนรายงานผลการดาเนินงานที่ถูกต้อง ก. ถกู ต้อง กระชับรดั กมุ ชัดเจนและสละสลวย ข. เขยี นบรรยายรายละเอียดให้มากท่ีสุด ค. เขียนใหเ้ ปน็ ภาษาวชิ าการมากๆ ง. เขียนโดยแบ่งเปน็ ข้อย่อยๆ เฉลย 1. ง 2. ข 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ก 8. ง 9. ข 10. ก วชิ า ศิลปศกึ ษา (ทช21003) สาระสาคัญ

35 มีความรู้ความเข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม ทางทศั นศลิ ป์ ไทย ดนตรีไทย นาฏศิลป์ ไทย และวเิ คราะห์ได้อย่างเหมาะสม ผลการเรยี นร้ทู ีคาดหวัง 1.อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงาม ความไพเราะของทัศนศลิ ป์ ไทย ดนตรีไทย และนาฏศิลป์ ไทย 2.อธิบายความรพู้ ้นื ฐานของ ทศั นศิลป์ ไทย ดนตรไี ทย และนาฏศลิ ป์ ไทย 3.ช่นื ชม เห็นคุณค่าของ ทศั นศิลป์ ไทย ดนตรีไทย และนาฏศลิ ป์ ไทย 4.วิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณ์ งานด้านทัศนศลิ ป์ ไทย ดนตรีไทย และนาฏศลิ ป์ ไทย ขอบข่ายเนอ้ื หา เรอ่ื งที่ 1 ทศั นศิลป์ ไทย เรื่องที่ 2 ดนตรไี ทย

36 แบบทดสอบก่อนเรียน 1.เสน้ ท่ใี ห้ความรูส้ กึ แข็งแรง สงู เด่น สง่างาม น่าเกรงขาม คือเสน้ ใด ก.เสน้ ตรงแนวตัง้ ข.เสน้ ตรงแนวนอน ค.เส้นตรงแนวเฉยี ง ง.เสน้ โค้ง 2.สนี ้าเงินผสมกับสแี ดง เกิดเปน็ สอี ะไร ก.สีม่วง ข.สีเทา ค.สเี ขียว ง.สีส้ม 3. งานจิตรกรรมไทย มกั นยิ มเขียนลงบนวัสดอุ ะไรมากท่สี ดุ ก.บนกระดาษขอ่ ย ข.บนกระดาษสา ค.บนฝาผนงั ปูน ง.บนแผน่ ไม้ 4.งานศิลปะประเภทใดทแี่ สดงถึงความเปน็ รูปทรง 3 มติ ิ ก.งานจิตรกรรม ข.งานประติมากรรม ค.งานวรรณกรรม ง.งานอตุ สาหกรรม 5.สถาปัตยกรรมมีความสมั พนั ธก์ ับขอ้ ใด ก. ผลงานท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั สิง่ ก่อสรา้ ง ข. ผลงานดา้ นการละคร ค. ผลงานศลิ ปะทม่ี ีรปู ทรง 3 มิติ ง. ผลงานทเ่ี กิดจากการวาดภาพและการระบายสี

37 6.เครือ่ งดนตรีไทยได้รับวฒั นธรรมจากชาติใด ก.อินเดีย ข.มอญ ค.เขมร ง.ถูกทกุ ขอ้ 7.เคร่อื งดนตรไี ทย ประกอบด้วยประเภทใดบา้ ง ก.เครื่องสาย เครอ่ื งเปาุ และเครื่องตี ข.เคร่ืองดดี เครือ่ งสี เครอื่ งตี และเครื่องเขยา่ ค.เคร่อื งสาย เคร่ืองเปุา และเครอ่ื งสี ง.เครื่องดดี เคร่ืองสี เครื่องตี และเครือ่ งเปาุ 8.เครอ่ื งดนตรปี ระเภทใด “ใช้เสน้ หางมา้ หลาย ๆ เส้นรวมกนั สีไปมาทส่ี าย แลว้ เกดิ เสยี งดังข้นึ ” ก.เคร่อื งดดี ข.เครือ่ งสี ค.เครอื่ งตี ง.เคร่ืองเปาุ 9.ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง ก.ภูมปิ ญั ญาไทยก่อให้เกดิ เอกลกั ษณ์ของท้องถ่นิ ข.ภูมิปัญญาไทยแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การอนรุ ักษท์ ี่ดงี าม ค.ภูมปิ ัญญาไทยช่วยสรา้ งความสามัคคีในหม่คู ณะ ง.ภมู ิปญั ญาไทยเสริมสร้างอุปนิสัยรักการอ่าน 10.ขอ้ ใดไมใ่ ชเ่ ครอ่ื งดนตรีไทย ก. ปีช่ วา ข. ซอดว้ ง ค. ไวโอลิน ง. กระจับป่ี 11.จงอธิบายความสาคญั ของเครื่องดนตรีไทยชนิดตา่ งๆ ดังน้ี (5 คะแนน)

38 1.เครือ่ งดดี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.เครื่องสี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.เครอ่ื งตี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.เครอื่ งเปุา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เฉลย

39 1.ก 2.ก 3.ค 4.ข 5.ก 6.ง 7.ง 8.ข 9.ง 10.ค 11.จงอธบิ ายความสาคัญของเครื่องดนตรไี ทยชนิดตา่ งๆ ดงั นี้ 1.เครอ่ื งดดี ตอบ เครอ่ื งดีด คือ เครอ่ื งดนตรไี ทยทเี่ ล่นด้วยการใช้นว้ิ มือ หรอื ไมด้ ีด ดีดสายให้สนั่ สะเทอื น จงึ เกิดเสยี งขน้ึ เชน่ พณิ จะเข้ เป็นตน้ 2.เครอ่ื งสี ตอบ เครือ่ งสี เป็นเคร่ืองลายทที่ าให้เกดิ เลียงดว้ ยการใช้คนั ชักลีเขา้ กับลาย โดยมากเรยี กวา่ “ซอ” เครื่องลที ีน่ ยิ ม เลน่ ได้แก่ ซอด้วง ซออู้ สะล้อ เปน็ ต้น 3.เครอ่ื งตี ตอบ เครื่องตแี ยกไดเ้ ป็น 3 ประเภทตามหนา้ ทใ่ี นการเลน่ คอื 1.เครอ่ื งตที ี่ทาจงั หวะ หมายถงึ เครื่องตีที่เมอ่ื ตีแล้วจะกลายเปน็ เสียงท่ีคุมจงั หวะการเลน่ ของเพลงนนั้ ๆ ตลอดทั้ง เพลง ไดแ้ ก่ ฉิ่ง และฉบั ถอื เปน็ หวั ใจของการบรรเลง 2.เครื่องตีที่ประกอบจังหวะมีหลายอย่าง เช่น กลองแขก กลองทัด ตะโพนไทย ตะโพนมอญฉาบใหญฉ่ าบเล็ก ฯลฯ 3.เครื่องตที ่ีทาใหเ้ กิดทานอง ได้แก่ ฆอ้ งไทยวงใหญ่ ฆอ้ งไทยวงเลก็ ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆอ้ งมอญวงเล็ก ระนาดเอก ระนาดทมุ้ ชิม องั กะลุง (บรรเลงเปน็ วง 4.เครอ่ื งเป่า ตอบ เครื่องเปุา เปน็ เคร่ืองดนตรีประเภทท่ีใช้ลมเปุาใหเ้ กิดเสียง ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 2ประเภทคอื 1. ประเภททม่ี ลี ้ิน ซึ่งทาดว้ ยใบไม้ หรอื ไมไ้ ผ่ หรอื โลหะ สาหรบั เปุาลมเขา้ ไปในลิน้ ๆจะเกดิ ความเคลือ่ นไหวทาให้ เกิดเสยี งข้ึน เรยี กวา่ \" ล้นิ ปี่ \" และเรยี กเครอ่ื งดนตรีประเภทนว้ี ่า \" ปี่ \" 2. ประเภทไมม่ ีล้ิน มแี ต่รบู ังคบั ให้ลมที่เปุาหัก มมุ แลว้ เกดิ เปน็ เสยี ง เรยี กวา่ \" ขลยุ่ \" ทัง้ ป่แี ละขลุย่ มีลักษณะเปน็ นามว่า \" เลา \"มีวธิ เี ปุาทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ คือ การเปุาดว้ ยการระบายลม ซ่ึงใหเ้ สียงป่ีดงั ยาวนานตดิ ตอ่ กันตลอด จดุ เส้น สี แสง – เงา รูปรา่ งและรปู ทรง เพ่อื ความซาบซง้ึ ในงานทัศนศิลป์ของไทย จุด หมายถึง องคป์ ระกอบทีเ่ ลก็ ทีส่ ุด จุดเป็นสิ่งท่บี อกตาแหน่งและทศิ ทางได้ การนาจุดมาเรียงต่อกันให้เป็น เสน้ การรวมกันของจุดจะเกิดนา้ หนักทใ่ี หป้ ริมาตรแกร่ ูปทรง เป็นต้น เส้น หมายถึง จุดหลายๆจุดที่เรียงชิดติดกันเป็นแนวยาว การลากเส้นจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งในทิศทางท่ี แตกต่างกัน จะเป็นทิศมุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมุมใดๆ การสลับทิศทางของเส้นที่ลากทาให้เกิดเป็น ลักษณะตา่ งๆ ความรูส้ ึกทม่ี ีต่อเส้น เสน้ เปน็ องคป์ ระกอบพ้นื ฐานท่ีสาคญั ในการสรา้ งสรรค์ เส้นสามารถแสดงให้เกิดความหมายของภาพและให้ ความรสู้ ึกได้ตามลักษณะของเส้น เส้นท่ีเป็นพื้นฐาน ได้แก่ เส้นตรงและเส้นโค้ง จากเส้นตรงและเส้นโค้งสามารถ

40 นามาสรา้ งให้เกดิ เป็น เส้นใหม่ทใี่ หค้ วามร้สู ึกท่แี ตกต่างกนั ออกไปไดด้ ังน้ี - เสน้ ตรงแนวต้ัง ใหค้ วามรู้สกึ แข็งแรง สงู เดน่ สง่างาม นา่ เกรงขาม - เส้นตรงแนวนอน ให้ความรู้สึกสงบราบเรียบ กว้างขวาง การพกั ผ่อน หยุดนิ่ง - เส้นตรงแนวเฉยี ง ให้ความร้สู ึกไมป่ ลอดภัย การล้ม ไมห่ ยดุ น่ิง - เสน้ ตัดกนั ให้ความรู้สกึ ประสานกนั แข็งแรง - เสน้ โค้ง ให้ความร้สู ึกอ่อนโยนนุ่มนวล - เสน้ คลน่ื ใหค้ วามรู้สกึ เคลื่อนไหวไหลเลอ่ื น ร่าเริง ตอ่ เนอ่ื ง - เส้นประ ใหค้ วามรสู้ ึกขาดหาย ลกึ ลับ ไม่สมบูรณ์ แสดงสว่ นทมี่ องไมเ่ ห็น - เสน้ ขด ให้ความรู้สกึ หมนุ เวยี นมนึ งง - เสน้ หยัก ใหค้ วามรสู้ กึ ขัดแยง้ น่ากลวั ตนื่ เต้น แปลกตา สี คือ สีทน่ี ามาผสมกนั แลว้ ทาใหเ้ กดิ สใี หม่ ท่มี ีลักษณะแตกต่างไปจากสเี ดิม แม่สีมีอยู่ 2 ชนดิ คอื 1. แมส่ ีของแสง เกิดจากการหกั เหของแสงผ่านแท่งแก้วปริซมึ มี 7 สี คือ ม่วง คราม น้าเงนิ เขียว เหลือง แสด แดง 2. แม่สีวตั ถุธาตุ เป็นสีทไี่ ด้มาจากธรรมชาติ และจากการสังเคราะหโ์ ดยกระบวนทางเคมี มี 3 สี คือ สแี ดง สี เหลอื ง และสนี า้ เงนิ เมอื่ นามาผสมกันตามหลักเกณฑ์ จะทาใหเ้ กดิ วงจรสี วงจรสี ( Cooler Circle) สีขั้นที่ 1 คือ แมส่ ี ไดแ้ ก่ สแี ดง สีเหลอื ง สีนา้ เงิน สีขัน้ ท่ี 2 คอื สที ่ีเกิดจากสีขนั้ ท่ี 1 หรอื แม่สีผสมกนั ในอัตราส่วนที่เท่ากัน จะทาให้เกดิ สีใหม่ 3 สี ไดแ้ ก่ สีแดง ผสมกบั สเี หลือง ได้สี ส้ม สีแดง ผสมกับสีนา้ เงนิ ได้สีม่วง สีเหลือง ผสมกับสนี า้ เงิน ไดส้ เี ขียว สีขน้ั ท่ี 3 คือ สที ่ีเกดิ จากสขี ้ันท่ี 1 ผสมกับสขี ้ันที่ 2 ในอัตราส่วนท่เี ทา่ กนั จะได้สีอืน่ ๆ อกี 6 สี คือ สีแดง ผสมกบั สีสม้ ไดส้ ี ส้มแดง แดง ผสมกับสมี ว่ ง ไดส้ ีม่วงแดง สีเหลอื ง ผสมกบั สีเขียว ได้สีเขียวเหลือง สนี ้าเงิน ผสมกบั สีเขียว ได้สีเขียวนา้ เงนิ สีน้าเงนิ ผสมกับสมี ว่ ง ได้สมี ว่ งนา้ เงนิ สีเหลอื ง ผสมกับสสี ้ม ได้สสี ้มเหลือง วรรณะของสี คอื สที ่ีใหค้ วามรูส้ กึ รอ้ น-เยน็ ในวงจรสีจะมีสีร้อน 7 สี และสีเย็น 7 สี โดยจะมีสีแดงกบั สี เหลอื งซึง่ เป็นไดท้ ง้ั สองวรรณะ สีตรงข้าม หรอื สีตัดกนั หรอื สคี ปู่ ฏิปักษ์ เป็นสที มี่ ีค่าความเขม้ ของสี ตัดกันอย่าง รุนแรง

41 สีกลาง คือ สีทีเ่ ขา้ ได้กับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คอื สนี า้ ตาล กับ สีเทา สนี ้าตาล เกิดจากสีตรง ข้ามกันในวงจรสีผสมกนั ในอัตราสว่ นท่เี ทา่ กนั แสงและเงา แสงและเงา หมายถงึ แสงที่ส่องมากระทบพื้นผิวที่มีสีอ่อนแก่และพ้ืนผิวสูงต่า โค้งนูนเรียบหรือขรุขระ ทาให้ปรากฏแสงและเงาแตกต่างกัน ตัวกาหนดระดับของค่าน้าหนัก ความเข้มของเงาจะขึ้นอยู่กับความเข้มของ แสง ในท่ีที่มีแสงสว่างมาก เงาจะเข้มขึ้น และในที่ท่ีมีแสงสว่างน้อย เงาจะไม่ชัดเจน บริเวณแสงสว่างจัด เป็น บริเวณท่ีอยู่ใกล้แหล่งกาเนิดแสงมากท่ีสุด จะมีความสว่างมากท่ีสุด ในวัตถุท่ีมีผิวมันวาวจะสะท้อนแหล่งกาเนิด แสงออกมาใหเ้ ห็นได้ชัด บริเวณแสงสวา่ ง เป็นบริเวณทไี่ ดร้ บั แสงสว่าง รองลงมาจากบริเวณแสงสว่างจัด เน่ืองจาก อยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดแสงออกมา และเริ่มมีค่าน้าหนักอ่อน ๆ บริเวณเงา เป็นบริเวณที่ไม่ได้รับแสงสว่าง หรือ เป็นบริเวณท่ีถูกบดบังจาก แสงสว่าง ซึ่งจะมีค่าน้าหนักเข้มมากขึ้นกว่าบริเวณแสงสว่าง บริเวณเงาเข้มจัด เป็น บริเวณท่ีอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดแสงมากท่ีสุด หรือ เป็นบริเวณที่ถูกบดบังมาก ๆ หลาย ๆ ช้ัน จะมีค่าน้าหนักท่ี เข้มมากไปจนถึงเข้มท่ีสุด บริเวณเงาตกทอด เป็นบริเวณของพื้นหลังท่ีเงาของวัตถุทาบลงไป เป็นบริเวณเงาท่ีอยู่ ภายนอกวัตถุ และจะมีความเขม้ ของคา่ นา้ หนกั ขึ้นอยกู่ ับ ความเขม้ ของเงา นา้ หนักของพ้ืน หลัง ทิศทางและระยะ ของเงา ความหมายและความเป็นมาของทัศนศิลปไ์ ทย ศลิ ปะประเภททัศนศลิ ป์ทสี่ าคญั ของไทย ไดแ้ ก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรม มีรปู แบบ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณไ์ ทยที่สะท้อนให้เหน็ วิถีชีวิต ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเชอื่ และรสนยิ ม เกีย่ วกบั ความงามของ คนไทย ลักษณะของศิลปะไทย ศลิ ปะไทยไดร้ บั อิทธิพลจากธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมในสังคมไทย ซ่ึงมีลักษณะเด่น คือ ความงามอย่าง น่ิมนวลมีความละเอยี ดประณีต ซึ่งแสดงให้เห็นถึงลักษณะนิสัยและจิตใจของคนไทยท่ีได้สอดแทรกไว้ในผลงานท่ี สร้างสรรคข์ ้ึน โดยเฉพาะศิลปกรรมท่ีเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นศาสนาประจาชาติของไทย อาจกล่าวได้ว่า ศิลปะไทยสร้างข้ึนเพอื่ สง่ เสรมิ พุทธศาสนา เป็นการเชื่อมโยงและโน้มน้าวจิตใจของประชาชนให้เกิดความเลื่อมใส ศรทั ธาในพุทธศาสนา จิตรกรรมไทย จติ รกรรมไทย เป็นการสร้างสรรค์ภาพเขียนท่ีมีลักษณะโดยท่ัวไปมักจะเป็น 2 มิติ ไม่มีแสงและเงา สี พ้ืนจะเปน็ สเี รียบ ๆไมฉ่ ดู ฉาดสที ี่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นสีดา สีน้าตาล สีเขียว เส้นที่ใช้มักจะเป็นเส้นโค้ง ช่วยให้ภาพดู อ่อนชอ้ ย นมุ่ นวล ไม่แข็งกระด้าง จิตรกรรมไทยมักพบในวดั ต่างๆเรยี กวา่ “จิตรกรรมฝาผนัง” จิตรกรรมไทย จดั เป็นภาพเล่าเรื่องท่ีเขียนขึ้นด้วยความคิดจินตนาการของคนไทย มีลักษณะตามอุดม คติของชา่ งไทย คือ 1. เขียนสีแบน ไม่คานึงถึงแสงและเงา นิยมตัดเส้นให้เห็นชัดเจน และเส้นท่ีใช้ จะแสดงความรู้สึกเคล่ือนไหว

42 นุม่ นวล 2. เขยี นตวั พระ-นาง เปน็ แบบละคร มีลลี า ทา่ ทางเหมอื นกนั ผดิ แผกแตกต่าง กันดว้ ยสีรา่ งกายและเครอื่ งประดบั 3. เขยี นแบบตานกมอง หรอื เป็นภาพต่ากว่าสายตา โดยมุมมองจากที่สูงลงสู่ ล่าง จะเห็นเป็นรูป เร่ืองราวได้ตลอด ภาพ 4. เขยี นติดต่อกันเป็นตอน ๆ สามารถดจู ากซ้ายไปขวาหรือล่างและบนได้ท่ัวภาพ โดยข้ันแต่ละตอนของภาพด้วย โขดหนิ ต้นไม้ กาแพงเมอื ง เปน็ ต้น 5. เขียนประดับตกแต่งด้วยลวดลายไทย มีสีทองสร้างภาพให้เด่นเกิดบรรยากาศ สุขสว่างและมีคุณค่ามากข้ึน ประติมากรรมไทย ประติมากรรมเป็นผลงานศิลปกรรมท่เี ป็นรูปทรง 3 มติ ิ ประกอบจากความสงู ความกว้างและความนูน หรือความลึก ประตมิ ากรรมเกิดขนึ้ จากกรรมวิธกี ารสรา้ งสรรค์แบบตา่ งๆ เช่น การป้ันและหล่อ การแกะสลัก การ ฉลหุ รือดุน ประติมากรรมไทยเป็นผลงานการสรา้ งสรรคข์ องบรรพบุรษุ สว่ นใหญ่เนน้ เนื้อหาทางศาสนา มักปรากฏ อย่ตู ามวัดและวัง มีขนาดตัง้ แต่เลก็ ท่สี ดุ เช่น พระเคร่ือง เคร่ืองรางของขลัง จนถึงขนาดใหญ่ที่สุด เช่น พระอัจ นะ หรอื พระอฏั ฐารส เมอ่ื พิจารณาภาพรวมของประติมากรรมไทยอาจแบ่งประติมากรรมออกเป็น 3 ประเภทคือ ประติมากรรมรปู เคารพ ประตมิ ากรรมตกแตง่ และประติมากรรมเพือ่ ประโยชน์ใชส้ อย ผลงานประติมากรรมไทย แบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท สรปุ ได้ ดังนี้ 1. ประตมิ ากรรมไทยที่เกดิ ขนึ้ จากความเชือ่ ความศรัทธา คตินิยมเก่ียวข้องกับศาสนา เช่น พระพุทธรูปปางต่างๆ ลวดลายของฐานเจดียห์ รือพระปรางคต์ ่างๆ 2. ประติมากรรมไทยพวกเครือ่ งใช้ในชวี ติ ประจาวัน เชน่ โอ่ง หมอ้ ไห ครก กระถาง 3. ประตมิ ากรรมไทยพวกของเล่น ไดแ้ ก่ ตุ๊กตาดินปั้น ตุ๊กตาจากกระดาษ ตุ๊กตาจากผ้า หุ่นกระบอก ปลาตะเพียน สานใบลาน หน้ากาก วสั ดุจากเปลอื กหอย ชฎาหัวโขน ปลาตะเพียนสานใบลาน 4. ประติมากรรมไทยพวกเคร่อื งประดบั ตกแต่ง เช่น กระถางต้นไม้ โคมไฟดินเผา สถาปัตยกรรมไทย สถาปตั ยกรรมไทย หมายถงึ ศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร วัง สถูป และสิง่ ก่อสร้างอื่น ๆ ที่มีมูลเหตุท่ีมาของการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนในแต่ละท้องถิ่น จะมีลักษณะผิดแผก แตกตา่ งกันไปบ้างตามสภาพทางภูมิศาสตร์ และคตินิยมของแต่ละท้องถ่ิน แต่ส่ิงก่อสร้างทางศาสนาพุทธ มักจะมี ลักษณะที่ไม่แตกต่างกันมากนัก เพราะมีความเชื่อ ความศรัทธาและแบบแผนพิธีกรรมที่เหมือน ๆ กัน สถาปตั ยกรรมไทย สามารถจัดหมวดหมู่ ตามลักษณะการใช้งานได้ ประเภท คอื 1. สถาปัตยกรรมท่ใี ชเ้ ปน็ ทอี่ ยู่อาศัย ได้แก่ บ้านเรอื น ตาหนกั วงั และพระราชวงั เป็นต้น บ้านหรือเรือน เป็นที่อยอู่ าศยั ของสามัญชน ธรรมดาทั่วไป ซึ่งมีทั้งเรือนไม้ และเรือนปูน เรือนไม้มีอยู่ 2 ชนิด คือ เรือนเครื่องผูก เป็นเรอื นไม้ไผ่ ปูด้วยฟากไมไ้ ผ่ หลังคามุงด้วย ใบจาก หญา้ คา หรือใบไม้ อกี อย่างหน่งึ เรียกว่า เรือนเคร่ืองสับ เป็น ไม้จริงท้ังเนื้อออ่ น และเนื้อแขง็ ตามแต่ละท้องถิ่น หลังคามุง ด้วยกระเบื้อง ดินเผา พื้นและฝาเป็นไม้จริงท้ังหมด ลักษณะเรอื น ไม้ของไทยในแตล่ ะทอ้ งถิ่นแตกต่างกนั และโดยทวั่ ไปแล้วจะมี ลักษณะสาคญั ร่วมกันคอื เปน็ เรือนไม้

43 ช้ันเดยี ว ใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่วเอยี งลาดชนั 2. สถาปัตยกรรมที่เก่ียวข้องศาสนา ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณสงฆ์ ท่ีเรียกว่า วัด ซึ่งประกอบไปด้วย สถาปัตยกรรมหลายอย่าง ได้แก่ โบสถ์ เป็นที่กระทาสังฆกรรมของพระภิกษุ วิหารใช้ประดิษฐาน พระพุทธรูป สาคัญ และกระทาสังฆกรรมด้วยเหมือนกัน กุฎิ เป็นท่ี อยู่ของพระภิกษุ สามเณร หอไตร เป็นท่ีเก็บรักษา พระไตรปิฎกและคัมภีร์สาคัญทางศาสนา หอระฆังและหอกลอง เป็นท่ีใช้เก็บระฆังหรือกลองเพื่อตีบอกโมงยาม หรือเรียกชมุ นมุ ชาวบ้าน สถปู เปน็ ทฝ่ี ังศพเจดียเ์ ปน็ ทรี่ ะลึกอันเกย่ี วเนอ่ื งกับศาสนา ประวัติดนตรีไทย เครอื่ งดนตรไี ทยมวี ิวฒั นาการมาอยา่ งไร ดนตรีไทย ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย สามารถจาแนกเป็น 4 ประเภท คือ เคร่ือง ดีดเครื่องสี เครื่องตี เคร่ืองเปุา การกาเนิดและวิวัฒนาการของเคร่ืองดนตรีไทยนั้น มีการสันนิษฐานว่า ดนตรีไทย เกิด จากความคิด และสติปัญญา'ของคน'ไทย เกดิ ขน้ึ มาพรอ้ มกับคนไทย ตงั้ แตส่ มัยที่ยังอยทู่ างตอน ใต้ ของประเทศจีนแล้ว ท้ังนี้จะ สงั เกตเหน็ ไดว้ ่า เคร่อื งดนตรี ตงั้ เดิมของไทย จะมีซ่ือเรียกเป็น คาโดด ซึ่งเป็นลักษณะของคาไทยแท้ เซ่น เกราะ , โกร่ง, กรับ ฉาบ, ฉิง่ ป,ี ขลยุ่ ฆ้อง, กลอง เปน็ ดน้ ต่อมาเมื่อไทยได้อพยพลงมาต้ังถ่ินฐานในแถบแหลมอินโดจีน จึงรับเอาวัฒนธรรม ทางดนตรีแบบอินเดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร เขา้ มาผสมกบั ดนตรีท่มี มี าแตเ่ ดมิ ของตน จึงเกิดเครอ่ื งดนตรีเพม่ิ ขึ้นอีก ได้แก่ พิณ สังข์ ปีไฉนบัณเฑาะว์ กระจับปี และจะเข้ เป็นด้น ต่อมาเม่ือไทยได้ตั้งถ่ินฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้วได้ ติดตอ่ สัมพนั ธก์ บั ประเทศเพ่อื นบ้านในแหลมอินโดจีนและประเทศทางตะวันตกบางประเทศท่ีเข้ามาติดต่อ ค้าขาย ทาใหไ้ ทยรับเอาเครือ่ งดนตรีบางอย่างของประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นมาใช้ เซ่น กลอง แขก ปีขวาของขวา (อินโดนิ เซีย) กลองมลายูของมลายู (มาเลเซีย) เปีงมาง ตะโพนมอญ ปี มอญ และฆ้องมอญของมอญ กลองยาวของพม่า ขิม ม้าล่อของจีน กลองมริกัน (กลองของซาว อเมริกัน) เปียโน ออร์แกน และ ไวโอลีนของประเทศทางตะวันตก เปน็ ตน้ วิวฒั นาการของดนตรีไทย สามารถสรปุ เปน็ ยุคสมยั ไดด้ งั น้ี 1. สมยั สุโขทัย มีลกั ษณะเป็นการขบั ลานา และร้องเลน่ กนั อย่างพน้ื เมอื ง เครื่องดนตรไี ทยที่ปรากฏ หลักฐานในหนังสือ ไตรภมู ิพระร่วง ได้แก่ แตร, สงั ข,์ มโหระทกึ , ฆ้อง, กลอง, ฉิง่ , แฉ่ง (ฉาบ), บัณเฑาะว์, พิณ, ซอพุงตอ (สันนิษฐาน ว่าคอื ซอลามลาย) ปไี ฉน, ระฆัง และ กงั ลดาล เปน็ ตน้ 1. วงบรรเลงพิณ มผี ู้'บรรเลง 1 คน ทาหน้าทดี่ ีดพณิ และขบั ร้องไปด้วย 2. วงขับไม้ ประกอบดว้ ยผ้บู รรเลง 3 คน คอื คนขับลานา 1 คน คนสี ซอสาม สาย คลอเสยี งร้อง 1 คน และ คน ไกวบณั เฑาะว์ ใหจ้ ังหวะ 1 คน 3. วงปีพาทย์ เป็นลกั ษณะของวงปพี าทยเ์ ครอ่ื ง 5 มี 2 ชนิด คือ วงปีพาทย์เครือ่ งหา้ อยา่ งเบา ประกอบด้วยเคร่ือง ดนตรีชนิดเล็ก ๆ จานวน 5 ช้นิ คือ 1. ปี 2. กลองชาตรี 3. ทับ (โทน) 4. ฆอ้ งคู่ 5. ฉง่ิ ใช้บรรเลงประกอบการ แสดง ละครชาตรี วงปพี าทยเ์ ครอ่ื งหา้ อยา่ งหนัก ประกอบดว้ ย เครือ่ งดนตรจี านวน 5 ชนิ้ คือ 1. ปี ใน 2. ฆอ้ งวง

44 (ใหญ่) 3. ตะโพน 4. กลองทดั 5. ฉิง่ ใช้บรรเลงประโคมในงานพธิ แี ละบรรเลง ประกอบ การแสดงมหรสพต่าง ๆ จะเหน็ วา่ วงปพี าทยเ์ ครือ่ งห้า ในสมัยน้ียังไมม่ รี ะนาดเอก 4. วงมโหรี เปน็ วงดนตรที ่ีนาเอาวงบรรเลงพิณ กบั วงขับไม้ มาผสมกัน เป็นลกั ษณะ ของวงมโหรีเครอ่ื งล่ี ประกอบดว้ ยผูบ้ รรเลง 4 คน คอื 1. คนขบั ลานา และตีกรับพวงให้ จงั หวะ 2. คนสี ซอลามลาย คลอเสียง รอ้ ง 3. คนดดี พิณ 4. คนตีทับ (โทน) ควบคุมจงั หวะ 2. สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานในกฎมณเฑียรบาล เคร่ืองดนตรีที่เพ่ิงเกิดในสมัยน้ีได้แก่ กระจับปี ขลุ่ย จะเข้ และ รามะนา ลักษณะชองวงดนตรีไทยในสมยั น้ีมกี ารเปลี่ยนแปลง และพฒั นาชนิ้ กว่าในสมัยสุโขทยั ดังนี้ 1. วงปีพาทย์ ในสมัยน้ี กย็ ังคงเปน็ วงปพี าทยเ์ คร่ืองห้า เซ่นเดียวกับในสมัยสุโขทัย แต่มี ระนาดเอก เพิ่มช้ิน วงปี พาทย์เคร่ืองห้า ในสมัยนี้ประกอบด้วย เคร่ืองดนตรี 1. ระนาด เอก 2. ปีใน 3. ฆ้องวง (ใหญ่) 4. กลองทัด ตะโพน 5. ฉงิ่ 2. วงมโหรี พฒั นาจาก วงมโหรีเคร่ืองลี่ ในสมัยสุโขทัยเป็นวงมโหรีเคร่ืองหก ได้เพ่ิมเครื่องดนตรี เช้าไปอีก 2 ชิ้น คอื ขล่ยุ และ รามะนา ประกอบด้วย เครือ่ งดนตรี จานวน 6 ช้นิ คือ 1. ซอลามลาย 2. กระจับปี (แทนพิณ) 3. ทับ (โทน) 4. รามะนา 5. ขลุย่ 6. กรบั พวง 3. สมยั กรุงธนบรุ ี วงดนตรีไทยในสมยั นไ้ี ม่ปรากฏหลกั ฐานว่ามีการพฒั นาเปลี่ยนแปลง สนั นษิ ฐานว่ายังคงเป็น ลกั ษณะและรูปแบบของดนตรไี ทยในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยานนั้ เอง 4. สมยั กรุงรตั นโกสินทร์ วงดนตรีในยุคสมัยน้ีเร่ิมมีการแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ วงเคร่ืองสาย ซึ่งประกอบด้วยเครื่อง ดนตรีท่ีมีสายทั้งหลาย เซ่น ซอ จะเข้ เป็นด้น วงปีพาทย์ ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ระนาด ฆ้อง และปี เป็นต้น วงมโหรี เป็นการรวมกันของวงเคร่ืองสายและวงปีพาทย์ แต่ตัดปีออกเพราะเสียงดัง กลบเสียง เคร่ืองสายอ่ืนหมดโดยเฉพาะสมัยรัชกาลท่ี 5 - 7 จัดว่าเป็นยุคท่ีวงการดนตรีไทยถึงจุดรุ่งเรืองสุด ในสมัย รตั นโกสินทรน์ ี้ สามารถเรียงลาดบั พฒั นาดนตรีไทย ไดด้ ังน้ี รัชกาลที่ 1 มีการเพ่ิม กลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปีพาทย์ วงปีพาทย์ จึงมีกลองทัด 2 ลูก เสียง สูง (ตัวผู้) ลูก หนงึ่ และ เสยี งต่า (ตวั เมีย) ลกู หนงึ่ และการใชก้ ลองทัด 2 ลูก ในวงปพี าทย์ ก็ เป็นที่นิยมกันมาจนกระท่ังปัจจุบัน นี้ รัชกาลท่ี 2

45 เป็นยุคทองของดนตรีไทยยุคหนึ่ง พระมหากษัตริย์ทรงลนพระทัยดนตรีไทย เป็นอย่าง ย่ิง ทรงพระ ปรีชาลามารถทรงดนตรีไทยซอลามลายได้ มีซอคู่พระหัตถ์ซื่อว่า“ซอลายฟูาฟาด” และทรงพระราชนิพนธ์เพลง ไทยที่ไพเราะและอมตะมาจนบัดนี้คือเพลง “บุหลันลอยเล่ือน” ในสมัยนี้ได้มีการนาเอาวงปีพาทย์มาบรรเลง ประกอบการขับเสภาเป็นคร้ังแรก นอกจากน้ียัง มีกลองชนิดหน่ึงเกิดขึ้น โดยดัดแปลงจาก “เปิงมาง”ของมอญ เรียกว่า “ลองหนา้ ”ใชต้ ี กากบั จงั หวะแทนเสยี งตะโพนในวงปพี าทย์ ประกอบการขับเสภา รชั กาลท่ี 3 วงปีพาทยได้พัฒนาขนึ้ เป็นวงปีพาทย์เคร่ืองคู่ เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้ม มาคู่ กับระนาดเอก และประดิษฐ์ฆอ้ งวงเลก็ มาคู่กับ ฆอ้ งวงใหญ่ รัชกาลที่ 4 วงปีพาทยได้พัฒนาข้ึนเป็นวงปีพาทย์เครื่องใหญ่ ได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรี เพ่ิมขึ้น 2 ชนิด เรยี กว่า ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก นามาบรรเลงเพ่ิมในวงปีพาทย์เครื่องคู่ ทาให้ขนาดของวงปีพาทย์ ขยายใหญ่ขึ้น จึงเรียกว่า วงปีพาทย์เครื่องใหญ่ เพลงเหล่าเกิดข้ึน มากมายในสมัยน้ี นอกจากนี้วงเคร่ืองสาย ก็ เกดิ ขึ้นในสมัยรัชกาลนเ้ี ซน่ กัน รชั กาลที่ 5 ได้มีการปรับปรุงวงปีพาทย์ข้ึนใหม่ เรียกว่า “วงปีพาทย์ดึกดาบรรพ์” ใช้บรรเลง ประกอบการ แสดง “ละครดึกดาบรรพ์” วงปีพาทย์ดึกดาบรรพ์ ประกอบด้วยระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้ม เหลก็ ขล่ยุ ซออู้ ฆอ้ งหยุ่ (ฆอ้ ง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเคร่อื งกากับจงั หวะ รชั กาลท่ี 6 มีการปรับปรุงวงปีพาทย์ข้ึน โดยนาวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปีพาทย์ของไทย เรียกว่า “วงปี พาทยม์ อญ” โดยหลวงประดิษฐไ์ พเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เป็นผูป้ รบั ปรงุ ข้ึน วงปี พาทยม์ อญดังกล่าวนี้ ก็มีทั้งวงปี พาทย์มอญเคร่ืองห้า เครื่องคู่ และเครื่องใหญ่ เซ่นเดียวกับวงปี พาทย์ของไทย และกลายเป็นท่ีนิยมใช้บรรเลง ประโคมในงานศพ มาจนกระทง่ั บดั น้ี รูปแบบของวง ดนตรไี ทยเปลี่ยนแปลงพัฒนา ดังน้ีคือ 1.การนาเคร่ืองดนตรี ของชวา หรืออนิ โดนเี ซยี คอื “องั กะลุง” มาเผยแพร่ในเมืองไทย เป็นครงั้ แรก โดยหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลป บรรเลง) นามาดดั แปลง ปรับปรุงข้ึนใหม่ให้มี เลียงครบ 7 เลียง (เดิมมี 5 เลียง) ปรับปรุงวิธีการเล่น โดยถือเขย่า คนละ 2 เลียง ทาให้ กลายเปน็ เครอ่ื งดนตรไี ทยอีกอย่างหนึ่ง เพราะคนไทยลามารถทาองั กะลุงได้เอง อีกทั้งวิธีการ บรรเลงกเ็ ปน็ แบบเฉพาะของเราแตกต่างไปจากของชวาโดยลิน้ เซิง 2.การนาเครือ่ งดนตรขี องต่างชาตเิ ช้ามาบรรเลงผสมในวงเคร่อื งลาย ได้แก่ ขิมของจีน และออร์แกนของฝรั่ง ทาให้ วงเคร่ืองลายพฒั นารปู แบบของวงไปอกี ลักษณะหนึ่ง คือ “วงเครื่องลายผสม” ในสมยั รัชกาลที่ 6 มีการกาหนดราช ทนิ นามของนักดนตรีท่รี ับราชการในราชสานักเป็น จานวนมาก นักดนตรีสาคัญท่านหนึ่งแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ ท่านหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ซึ่งเป็นนักดนตรีท่ีมีความลามารถท้ังปีพาทย์และเครื่องลาย เป็น ผปู้ ระพันธ์ เพลงไทยหลายเพลง เซน่ แลนคานึง นกเชาชะแมร์ ลาวเลยี่ งเทยี น ฯลฯ รชั กาลที่ 7

46 พระบาทลมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ไดท้ รงลนพระหยั ทางด้านดนตรไี ทยมากเซ่นกนั พระองค์ได้พระ ราชนิพนธ์เพลงไทยไว้ถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคล่ีนกระทบฝัง 3 ชั้น เพลง เขมรลอยองค์(เถา) และเพลงรา ตรปี ระดบั ดาว (เถา) ในวงั ต่าง ๆ มกั จะมวี งดนตรปี ระจาวงั เซ่น วงวงั บูรพา วงวงั บางชุนพรหม วงวังบางคอแหลม และวงวงั ปลายเนิน เป็นตน้ ตอ่ มาภายหลังการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ .2475 เป็นต้นมา ดนตรีไทยเริ่มซบ เซาลง เน่อื งจากรัฐบาลในสมัยหนึ่งมีนโยบาย “รัฐนิยม” กล่าวคือมีการห้ามบรรเลง ดนตรี ไทย เพราะเห็นว่าไม่ ลอดคล้องกับการพัฒนาประเทศใหห้ ดั เทียมกบั อารยประเทศ ใครจะจัด ให้มีการบรรเลง ดนตรีไทยต้องขออนุญาต จากทางราชการก่อน อีกทั้งนกั ดนตรไี ทยกจ็ ะตอ้ งมี บัตรนักดนตรีที่ทางราชการออกให้ จนกระทั่งต่อมาอีกหลายปี เมื่อไดม้ กี ารสง่ั ยกเลกิ “รฐั นิยม” ดังกล่าว แต่ถงึ กระน้นั ดนตรีไทยกไ็ ม่รุง่ เรืองเท่าแตก่ อ่ น รัชกาลที่ 8 (พ.ศ. 2477 - 2489) - เกิดโรงเรียนลอนดนตรแี ละนาฏศิลปไ์ ทยชองราชการแหง่ แรกคือ โรงเรยี นนาฏดรุ ิยางค ศาสตร์ (ปจั จบุ นั คือ วทิ ยาลยั นาฏศิลป์) - กรมศลิ ปากรต้งั คณะกรรมการตรวจลอบบทเพลงเพอ่ื บนั ทึกโน้ตเพลงไทยเปน็ โนต้ สากล รชั กาลที่ 9 (พ.ศ. 2487 - ปจั จบุ ัน) - มีการนาทานองเพลงพ้นื เมอื งหรือเพลงไทยลองชนั้ ช้นั เดยี ว มาใส่เนือ้ ร้องใหม่แบบ เนอื้ เต็มตามทานอง เกดิ เปน็ เพลงลกู ทุ่ง เพลงลูกกรุง - พ.ศ. 2512 พระบาทลมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกลา้ ฯ ให้คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัด ความถ่ชี องเลียงดนตรไี ทยเพ่ือใหเ้ ป็นมาตรฐาน - การลอนดนตรีไทยได้รับการส่งเสริมเช้าส่โู รงเรียนและสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ - พ.ศ. 2528 สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ เร่ิมตน้ การประกาศยกย่อง ศิลปีนแห่งชาติ - ศลิ ปีนร่นุ ใหม่พัฒนาดนตรไี ทยในแนวทางร่วมสมัย เซน่ การประสมวงท่มี ีเคร่อื ง ดนตรไี ทยกับเครอ่ื งดนตรี ตะวันตก การใช้เทคโนโลยกี ารบนั ทึกเสียงสรา้ งมิติเสยี งใหม่ ๆ ใน ดนตรีไทย - ดนตรีไทยไตร้ ับการเผยแพรท่ างสือ่ รูปแบบใหม่ ทั้งแถบบันทกึ เสียง และซีดี รายการ วทิ ยุ รายการโทรทัศน์ และ เว็บไซต์ - สมเดจ็ พระเทพรตั นราซสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ ศิลปะวัฒนธรรมดนตรีที่สาคัญย่ิง ทรง พระปรีชาสามารถในทางการบรรเลงดนตรีไทยและขับ รอ้ งตลอดจนพระราชนิพนธ์เนอ้ื รอ้ งสาหรับนาไปบรรจเุ พลง ต่าง ๆ ผลงานพระราชนิพนธ์ท่ีมี ซื่อเสียง เซ่น เพลงไทย ดาเนินดอย เพลงเต่าเห่ เพลงชื่นชุมนุมกลุ่มดนตรีไทย เปน็ ตน้ เทคนิคและวธิ ีการเล่นของเครื่องดนตรไี ทย เครื่องดนตรีไทย คือ สอื่ ท่ีสร้างข้นึ สาหรับทาเสียงใหเ้ ปน็ ทานองหรือจงั หวะ วิธีท่ที าให้ มีเสียงดังขน้ึ นัน้ มี อยู่ 4 วธิ ี คือ - ใช้มอื หรือส่ิงใดสง่ิ หน่งึ ดดี ท่ีลาย แลว้ เกดิ เสียงดงั ขึ้น สิ่งท่มี ลี ายสาหรับดีด เรยี กว่า “เครอ่ื งดดี ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook