47 รายวชิ าสุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระทักษะการดำเนินชวี ติ มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติท่ีดีเกี่ยวกับการดูแล ส่งเสริมอนามัย และความปลอดภยั ในการดำเนนิ ชีวิต สาระสําคัญ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกบั ปญหาทางเพศ มีทักษะในการส่ือสารและตอรองเพ่ือทําความ ชวยเหลือเกีย่ วกับปญหาทางเพศได สามารถอธบิ ายวธิ ีการจดั การกับอารมณและความตองการทางเพศได อยางเหมาะสม เขาใจถึงความเชอ่ื ท่ผี ิดเกยี่ วกบั เรอ่ื งเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ ตลอดจนเรียนรูถึง กฎหมายทเี่ ก่ยี วของกบั การลวงละเมิดทางเพศและกฎหมายคุมครองเด็กและสตรี ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง 1. เรยี นรูทักษะการสือ่ สารและตอรองเพือ่ ขอความชวยเหลอื เกย่ี วกับปญหาทางเพศได 2. เรียนรูการจัดการกบั อารมณ และความตองการกบั ปญหาทางเพศไดอยางเหมาะสม 3. เรียนรูและสามารถวิเคราะหความเชอ่ื เรือ่ งเพศทสี่ งผลตอปญหาทางเพศไดอยางเหมาะสม 4. เรยี นรูและสามารถวิเคราะหอิทธิพลส่ือทส่ี งผลใหเกดิ ปญหาทางเพศได 5. อธิบายโรคทกี่ ฎหมายที่เก่ียวของกบั การลวงละเมิดทางเพศไดอยางถูกตอง ขอบขายเน้ือหา เรอื่ งท่ี 1 ปญหาทางเพศในเด็กและวยั รุน เรอื่ งที่ 2 กฎหมายทเ่ี ก่ยี วของกบั การละเมิดทางเพศ
48 แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา คำช้แี จง จงเลือกคำตอบท่ถี กู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารวางแผนดูแลสขุ ภาพเพ่ือการมสี ุขภาพดี ก. มีกิจกรรมทางกายมากขึ้น ข. ดม่ื แอลกอฮอล์เปน็ ครั้งคราว ค. เลน่ เกมคอมพิวเตอร์ทุกวัน ง. ฝกึ ซอ้ มกฬี าทุกวนั 2. หนว่ ยงานใดทใ่ี ห้ความชว่ ยเหลอื เกี่ยวกบั ปัญหาทางเพศ ก. คลนิ กิ บริการปรึกษาปญั หาสขุ ภาพ ข. หน่วยงานพทิ กั ษ์สิทธแิ รงงาน ค. กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ง. กรมประชาสมั พนั ธ์ 3. การจัดการกับอารมณ์และความต้องการทางเพศท่ีถกู ต้อง ก. ขม่ ใจ ควบคมุ จติ ใจ จนเข้าสภู่ าวะปกติ ข. หลักเลี่ยงจากสิ่งเร้า เช่น สือ่ ลามกอนาจาร ค. เบ่ียงเบนอารมณโ์ ดยการออกกำลังกาย ง. ถูกทุกข้อ 4. ปญั หาความรนุ แรงทางเพศ ขา่ วอาชญากรรมเปน็ ผลมาจากปัจจัยใด ก. สภาพแวดลอ้ ม ข. ลัทธิความเชื่อ ค. สภาพการเมือง ง. อิทธพิ ลของสอื่ ตา่ งๆ 5. การมีเพศสมั พนั ธ์ในขอ้ ใดทถ่ี งึ แม้มคี วามยนิ ยอมแต่มีโทษและมคี วามผิด ก. หญิงน้ันอายไุ ม่เกนิ 20 ปี ข. หญิงนัน้ อายุไมเ่ กิน 13 ปี ค. หญิงนนั้ อายุ 15 ปขี น้ึ ไป ง. ภรรยาทจ่ี ดทะเบยี นสมรส
49 6. ถ้านกั เรียนต้องการออกกำลงั กาย เพือ่ ใหร้ า่ งกายแขง็ แรงและมีสมาธิดีขึน้ ควรเลือกเขา้ รว่ ม กจิ กรรมใด ก. เต้นแอโรบิก ข. วง่ิ เหยาะ ค. รำไมพ้ ลอง ง. โยคะ 7. เพอ่ื สุขภาพอนามัยท่ดี เี ราควรรับประทานอาหารประเภทใด ก. สุก ๆ ดบิ ๆ ข. ลาบเลอื ด ค. สุก ง. กอ้ ย 8. กจิ กรรมใดทจี่ ัดเป็นการใชก้ ระบวนการทางประชาสงั คม เพอื่ สรา้ งเสริมความปลอดภัยให้ชุมชนเข้มแขง็ ก. การแตง่ ตง้ั ผใู้ ห้คำปรึกษาดา้ นครอบครัว ข. การจัดหน่วยแพทยอ์ าสาไปตามชนบท ค. การจดั ชุดคมุ้ ครองหมู่บ้าน ง. การจดั ทำประชาพิจารณ์ 9. ถา้ บุคคลสามารถตดั สินใจเกี่ยวกับการกระทำของตนเองท่ีเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมด้านสุขภาพ หรอื ความปลอดภัยใน ชีวิต เปน็ ทักษะชีวติ ในข้อใด ก. ทกั ษะตดั สนิ ใจ ข. ทกั ษะการแกป้ ญั หา ค. ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์ ง. ทกั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ 10. ข้อใดคอื วธิ ีการออกกำลงั กายที่ง่ายและสะดวกทสี่ ุด ก. ว่ายนำ้ ข. การเดนิ ค. ยกนำ้ หนกั ง. วิ่งมาราธอน
50 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ค เล่นเกมคอมพิวเตอร์ทุกวนั 2. ก คลินิกบริการปรึกษาปญั หาสุขภาพ 3. ง ถกู ทุกขอ้ 4. ง อทิ ธพิ ลของสอ่ื ต่างๆ 5. ข หญงิ น้นั อายไุ ม่เกิน 13 ปี 6. ง โยคะ 7. ค สุก 8. ค การจดั ชุดคุ้มครองหมูบ่ า้ น 9. ก ทกั ษะตัดสนิ ใจ 10. ข การเดิน
51 ใบความรู้ เร่อื งท่ี 1 ปัญหาทางเพศในเด็กและวยั รนุ่ ปัญหาทางเพศในเด็กและวยั รนุ่ แบง่ ตามประเภทตา่ งๆ ไดด้ ังน้ี 1. ความผิดปกติในเอกลักษณ์ทางเพศ เดก็ มีพฤตกิ รรมผดิ เพศ เดก็ รู้สกึ วา่ ตนเองเปน็ เพศตรงขา้ มกับเพศทางร่างกายมาตง้ั แต่เดก็ และมพี ฤติกรรมทางเพศ เป็นแบบเดยี วกับเพศตรงข้าม ได้แก่ • การแต่งกายชอบแต่งกายผิดเพศ เด็กชายชอบสวมกระโปรงและรังเกียจกางเกง เด็กหญิงรังเกียจ กระโปรงแต่ชอบสวมกางเกง เด็กชายชอบแตง่ หน้าทาปากชอบดแู มแ่ ต่งตัวและเลียนแบบแม่ • การเล่น มักเล่นเลียนแบบเพศตรงข้าม หรือชอบเล่นกับเพศตรงข้าม เด็กชายมักไม่ชอบเลน่ รนุ แรงชอบ เล่นกับผูห้ ญิง และมกั เข้ากลุ่มเพศตรงขา้ มเสมอ เป็นต้น • จินตนาการวา่ ตนเองเปน็ เพศตรงข้ามเสมอแม้ในการเลน่ สมมตุ ิกม็ ักสมมุตติ นเองเปน็ เพศตรงข้ามเด็กชาย อาจจิตนาการวา่ ตัวเองเปน็ นางฟา้ หรอื เจา้ หญิง เปน็ ตน้ • พฤติกรรมทางเพศ เดก็ ไม่พอใจในอวยั วะเพศของตนเอง บางคนรู้สึกรังเกยี จหรอื แสรง้ ทำเปน็ ไม่มีอวัยวะ เพศหรือต้องการกำจัดอวัยวะเพศออกไป เด็กหญิงจะยืนปัสสาวะ เด็กชายจะนั่งถ่ายปัสสาวะเลียนแบบพฤตกิ รรม ทางเพศของเพศตรงข้ามโดยต้ังใจและไมไ่ ด้ต้งั ใจ อาการต่างๆ เหล่าน้เี กดิ ขึ้นแลว้ ดำเนินอยา่ งต่อเน่ือง เดก็ อาจถกู ล้อเลยี น ถูกกีดกันออกจากกลุ่มเพื่อนเพศ เดยี วกนั เดก็ มกั พอใจในการเขา้ ไปอยูก่ ับกล่มุ เพ่ือนต่างเพศ และถา่ ยทอดพฤติกรรมของเพศตรงขา้ มทีละน้อยๆ จน กลายเป็นบุคลกิ ภาพของตนเอง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น เด็กมีความรู้สึกไม่สบายใจเกี่ยวกับเพศของตนเองมากขึ้น และต้องการเปลี่ยนแปลงเพศ ตนเอง จนกลายเป็นบุคลิกภาพของตนเอง 2. รักร่วมเพศ (Homosexualism) อาการ เริ่มเห็นชัดเจนตอนเข้าวัยรุ่น เมื่อเริ่มมีความรู้สึกทางเพศ ทำให้เกิดความพึงพอใจทางเพศ (sexual orientation) โดยมีความรูส้ ึกทางเพศ ความตอ้ งการทางเพศ อารมณ์เพศกับเพศเดยี วกัน รักร่วมเพศยังรู้จักเพศตนเองตรงตามที่ร่างกายเป็น รักร่วมเพศชายบอกตนเองว่าเป็นเพศชาย รักร่วมเพศที่เป็น หญิงบอกเพศตนเองว่าเป็นเพศหญงิ การแสดงออกว่าชอบเพศเดยี วกัน มที ้งั แสดงออกชัดเจนและไม่ชัดเจน กิริยาท่าทางและการแสดงออกภายนอก มีทั้งที่แสดงออกชัดเจน และไม่แสดงออก ขึ้นอยู่กับบุคลกิ ของผู้ นน้ั และการยอมรับของสังคม
52 ชายชอบชาย เรียกว่า เกย์ (gay) หรือตุ๊ด แต๋ว เกย์ยังมีประเภทย่อย เป็นเกย์คิง และเกย์ควีน เกย์คิง แสดงบทบาทภายนอกเป็นชาย การแสดงออกทางเพศ (gender role) ไมค่ อ่ ยเปน็ หญิง จงึ ดูภายนอกเหมือนผู้ชาย ปกติธรรมดา แต่เกย์ควีนแสดงออกเป็นเพศหญิง เช่นกิริยาท่าทาง คำพูด ความสนใจ กิจกรรมต่างๆ ความชอบ ตา่ งๆ เป็นหญงิ หญิงชอบหญิง เรียกว่าเลสเบี้ยน (lesbianism) การแสดงออกมี 2 แบบเช่นเดียวกับเกย์ เรียกว่าทอม และดี้ ดี้แสดงออกเหมือนผู้หญิงทั่วไป แต่ทอมแสดงออก (gender role) เป็นชาย เช่นตัดผมสั้น สวมกางเกงไม่ สวมกระโปรง ในกลุ่มรักร่วมเพศ ยังมีประเภทย่อยอีกประเภทหนึ่ง ที่มีความพึงพอใจทางเพศได้ทั้งสองเพศ เรียกว่า ไบเซกซวล (bisexualism) มีความรูส้ ึกทางเพศและการตอบสนองทางเพศได้ทัง้ สองเพศ สาเหตุ ปัจจุบันมีหลักฐานสนับสนุนว่า สาเหตุมีหลายประการประกอบกัน ทั้งสาเหตุทางร่างกาย พันธุกรรม การเล้ียงดู และส่งิ แวดลอ้ มภายนอก การช่วยเหลือ พฤติกรรมรักร่วมเพศเมื่อพบในวัยเด็ก สามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดยการแนะนำการเล้ยี งดู ให้พ่อแม่เพศเดียวกันใกล้ชิดมากขึ้น พ่อแม่เพศตรงข้ามสนิทสนมน้อยลง เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดแบบอย่างทาง เพศที่ถูกเพศ แต่ต้องให้มีความสัมพันธ์ดีๆ ต่อกัน ส่งเสริมกิจกรรมเหมาะสมกับเพศ เด็กชายให้เล่นกีฬาส่งเสริม ความแขง็ แรงทางกาย ให้เดก็ อยใู่ นกลมุ่ เพือ่ เพศเดียวกนั ถ้ารู้ว่าเป็นรักร่วมเพศตอนวัยรุ่น ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ การช่วยเหลือทำได้เพียงให้คำปรึกษา แนะนำในการดำเนินชีวิตแบบรักร่วมเพศอย่างไร จึงจะเกิดปัญหาน้อยที่สุด และให้คำแนะนำพ่อแม่เพื่อให้ทำใจ ยอมรบั สภาวการณ์น้ี โดยยงั มคี วามสัมพนั ธ์ท่ีดีกับลูกต่อไป การปอ้ งกนั การเล้ยี งดู เรมิ่ ตัง้ แต่เล็ก พ่อแม่มคี วามสัมพันธท์ ี่ดตี ่อกนั พอ่ หรือแม่ท่เี พศเดียวกันกบั เด็กควร มคี วามสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และควรแนะนำเก่ยี วกับการคบเพื่อน รวมทัง้ สง่ เสริมกิจกรรมให้ตรงตามเพศ 3. พฤติกรรมกระตุ้นตนเองทางเพศในเด็ก และการเล่นอวยั วะเพศตนเอง อาการ กระตุ้นตนเองทางเพศ เชน่ นอนควำ่ ถูไถอวยั วะเพศกบั หมอนหรือพ้ืน สาเหตุ เด็กเหงา ถูกทอดทิ้ง มีโรคทางอารมณ์ เด็กมักค้นพบด้วยความบังเอิญ เมื่อถูกกระตุ้นหรือกระตุน้ ตนเองทอ่ี วัยวะเพศแลว้ เกดิ ความรู้สึกเสียว พอใจกับความรสู้ ึกนน้ั เด็กจะทำซ้ำในทส่ี ุดติดเปน็ นสิ ัย การช่วยเหลอื 1. หยุดพฤติกรรมนั้นอย่างสงบ เช่น จับมือเด็กออก ให้เด็กนอนหงาย บอกเด็กสั้นๆ ว่า “หนูไม่เล่นอย่าง นน้ั ” พร้อมให้เหตผุ ลท่ีเหมาะสมจูงใจ 2. เบ่ียงเบนความสนใจ ใหเ้ ด็กเปลีย่ นท่าทาง ชวนพูดคยุ
53 3. หากจิ กรรมทดแทน ให้เดก็ ได้เคลื่อนไหว เพลิดเพลนิ สนุกสนานกบั กจิ กรรมและสังคม 4. อยา่ ใหเ้ ดก็ เหงา ถกู ทอดทิ้งหรอื อยตู่ ามลำพงั เดก็ อาจกลบั มากระตนุ้ ตนเองอีก 5. งดเว้นความก้าวร้าวรุนแรง การห้ามด้วยทา่ ทีน่ ่ากลวั เกินไปอาจทำให้เด็กกลัวฝังใจมที ัศนคติด้านลบต่อ เรอ่ื งทางเพศ อาจกลายเป็นเก็บกดทางเพศ หรอื ขาดความสขุ ทางเพศในวัยผูใ้ หญ่ 4. พฤติกรรมกระตุ้นตนเองทางเพศในวัยร่นุ หรือการสำเรจ็ ความใครด่ ้วยตัวเอง (Masturbation) สาเหตุ พฤติกรรมกระตุ้นตนเองทางเพศในวัยรุ่นเป็นเรื่องปกติ ไม่มีอันตราย ยอมรับได้ถ้าเหมาะสมไม่ มากเกินไปหรือหมกมุ่นมาก พบได้บ่อยในเด็กที่มีปัญหาทางจิตใจ ปัญญาอ่อน เหงา กามวิปริตทางเพศ และ สง่ิ แวดล้อมมกี ารกระตุ้นหรือยั่วยทุ างเพศมากเกนิ ไป การช่วยเหลือ ใหค้ วามรเู้ ร่ืองเพศท่ีถูกต้อง ให้กำหนดการสำเรจ็ ความใคร่ด้วยตวั เองให้พอดีไม่มากเกินไป ลดสิ่งกระตุ้นทางเพศไม่เหมาะสม ใช้กิจกรรมเบนความสนใจ เพิ่มการออกกำลังกาย ฝึกให้เด็กมีการควบคุม พฤตกิ รรมให้พอควร 5. พฤติกรรมทางเพศทวี่ ปิ รติ (Paraphilias) อาการ ผู้ป่วยไม่สามารถเกิดอารมณ์เพศได้กับสิ่งกระตุ้นทางเพศปกติ มีความรู้สึกทางเพศได้เมื่อมีการ กระตนุ้ ทางเพศที่แปลกประหลาดพสิ ดาร ทีไ่ ม่มีในคนปกติ ทำใหเ้ กิดพฤติกรรมใชส้ ง่ิ ผิดธรรมชาตกิ ระต้นุ ตนเองทาง เพศ มีหลายประเภทแยกตามส่งิ ท่ีกระตนุ้ ใหเ้ กิดความร้สู กึ ทางเพศ ประเภทของ Paraphilia 1. เกดิ ความรสู้ ึกทางเพศจากการสัมผัส ลูบคลำ สูดดมเสื้อผ้าเส้อื ผา้ ชดุ ชัน้ ใน Fetishism 2. เกดิ ความรสู้ ึกทางเพศจากการโชวอ์ วยั วะเพศตนเอง Exhibitionism 3. เกดิ ความรู้สกึ ทางเพศจากการไดถ้ ไู ถ สัมผัสภายนอก Frotteurism 4. เกิดความรู้สึกทางเพศจากการแอบดู Voyeurism 5. เกิดความรู้สึกทางเพศทำใหผ้ ้อู ืน่ เจ็บปวด ดว้ ยการทำร้ายร่างกาย หรือคำพดู Sadism 6. เกิดความรู้สึกทางเพศจากการทำตนเอง หรือให้ผู้อื่นทำให้ตนเองเจ็บปวด ด้วยการทำร้ายรา่ งกายหรือ คำพูด Masochism 7. เกิดความรสู้ ึกทางเพศกบั เดก็ (Pedophilia) 8. เกิดความรู้สึกทางเพศกบั สตั ว์ (Zoophilia) 9. เกิดความรสู้ กึ ทางเพศจากการแต่งกายผดิ เพศ (Transvestism) สาเหตุทก่ี ่อให้เกิดความผดิ ปกติทางเพศ คอื
54 1. การเลี้ยงดูและพ่อแม่ปลูกฝังทัศนคติไม่ดีต่อเรื่องทางเพศ ที่พ่อแม่ปลูกฝังเด็ก ทำให้เด็กเรียนรู้ว่าเรื่อง เพศเป็นเรื่องต้องห้าม ต้องปิดบัง เลวร้ายหรือเปน็ บาป เด็กจะเก็บกดเรื่องเพศ ทำให้ปิดกัน้ การตอบสนองทางเพศ กับตัวกระต้นุ ทางเพศปกติ 2. การเรยี นรู้ เมื่อเด็กเร่ิมมีความรู้สึกทางเพศ แต่ไม่สามารถแสดงออกทางเพศไดต้ ามปกติ เด็กจะแสวงหา หรือเรียนรู้ด้วยตัวเองว่า เมื่อใช้ตัวกระตุ้นบางอย่าง ทำให้เกิดความรู้สึกทางเพศได้ จะเกิดการเรียนรู้แบบเป็น เง่ือนไข และเป็นแรงเสริมใหม้ ีพฤติกรรมกระตนุ้ ตัวเองทางเพศดว้ ยสงิ่ กระต้นุ นน้ั อีก การช่วยเหลือ ใช้หลกั การชว่ ยเหลือแบบพฤตกิ รรมบำบดั ดังนี้ 1. การจัดการสิ่งแวดล้อม กำจัดสิ่งกระตุ้นเดิมที่ไม่เหมาะสมให้หมด หากิจกรรมทดแทนเบี่ยงเบนความ สนใจ อยา่ ให้เด็กเหงาอยู่คนเดียวตามลำพัง ปรบั เปลย่ี นทัศนคติทางเพศในครอบครัว ให้เห็นว่าเร่ืองเพศไม่ใช่เร่ือง ตอ้ งห้าม สามารถพดู คยุ เรยี นรูไ้ ด้ พอ่ แม่ควรสอนเร่อื งเพศกบั ลกู 2. ฝึกการรู้ตวั เองและควบคมุ ตนเองทางเพศ ให้รู้ว่ามีอารมณ์เพศเม่ือใด โดยสิ่งกระตุ้นใด พยายามห้ามใจ ตนเองทจี่ ะใชส้ ่งิ กระตนุ้ เดิมที่ผิดธรรมชาติ 3. ฝึกการสร้างอารมณ์เพศกับตัวกระตุ้นตามปกติ เช่น รูปโป๊ – เปลือย แนะนำการสำเร็จความใคร่ท่ี ถกู ตอ้ ง 4. บนั ทกึ พฤติกรรมเมือ่ ยังไมส่ ามารถหยดุ พฤติกรรมได้ สังเกตความถห่ี ่าง เหตุกระตุ้น การยับย้ังใจตนเอง ใหร้ างวลั ตนเองเมื่อพฤติกรรมลดลง การปอ้ งกนั การใหค้ วามร้เู รอื่ งเพศท่ถี ูกต้องตง้ั แตเ่ ด็ก ดว้ ยทัศนคติทดี่ ี 6. เพศสัมพันธ์ในวยั รุ่น ลกั ษณะปัญหา มพี ฤตกิ รรมทางเพศตอ่ กันอย่างไม่เหมาะสม มเี พศสมั พนั ธ์กันก่อนวยั อนั ควร สาเหตุ 1. เด็กขาดความรกั ความอบอนุ่ ใจจากครอบครัว 2. เด็กขาดความรู้สึกคุณค่าตนเอง ไม่ประสบความสำเร็จด้านการเรียน แสวงหาการยอมรับ หาความสุข และความพงึ พอใจจากแฟน เพศสมั พันธ์ และกจิ กรรมทีม่ คี วามเสย่ี งตา่ งๆ 3. เด็กขาดความรู้และความเข้าใจทางเพศ ความตระหนักต่อปัญหาที่ตามมาหลังการมีเพศสัมพันธ์ การ ปอ้ งกนั ตัวของเดก็ ขาดทกั ษะในการปอ้ งกันตนเองเรื่องเพศ ขาดทกั ษะในการจดั การกบั อารมณ์ทางเพศ
55 4. ความรแู้ ละทัศนคตทิ างเพศของพ่อแม่ท่ีไม่เข้าใจ ปิดกั้นการอธบิ ายโรคทเ่ี พศ ทำใหเ้ ด็กแสวงหาเองจาก เพ่อื น 5. อิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน รับรู้ทัศนคติที่ไม่ควบคมุ เรื่องเพศ เห็นว่าการมีเพศสมั พันธเ์ ป็นเร่ืองธรรมดา ไม่ เกิดปัญหาหรือความเสยี่ ง 6. มีการกระตุ้นทางเพศ ได้แก่ ตัวอย่างจากพ่อแม่ ภายในครอบครัว เพื่อน สื่อย่ัวยุทางเพศต่างๆ ที่เป็น แบบอย่างไมด่ ที างเพศ การป้องกนั การป้องกนั การมเี พศสัมพันธ์ในวัยรุ่น แบง่ เปน็ ระดบั ตา่ งๆ ดังน้ี 1. การปอ้ งกนั ระดบั ต้น กอ่ นเกิดปัญหา ไดแ้ ก่ ลดปัจจยั เสยี่ งต่างๆ การเลี้ยงดโู ดยครอบครัว สร้างความรกั ความอบอุน่ ในบ้าน สรา้ งคณุ คา่ ในตวั เอง ใหค้ วามรแู้ ละทัศนคติทางเพศท่ดี ี มแี บบอย่างทดี่ ี 2. การป้องกันระดับที่ 2 หาทางป้องกันหรือลดการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงอยู่แล้ว โดยการ สร้างความตระหนักในการไม่มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน หรือก่อนการแต่งงาน หาทางเบนความสนใจวัยรุ่นไปสู่ กจิ กรรมสร้างสรรค์ ใช้พลงั งานทางเพศท่มี มี ากไปในด้านทเ่ี หมาะสม 3. การป้องกันระดับที่ 3 ในวัยรุ่นที่หยุดการมีเพศสัมพนั ธ์ไม่ได้ ป้องกันปัญหาท่ีเกิดจากการมีเพศสัมพนั ธ์ ปอ้ งกนั การตงั้ ครรภ์ และโรคติดต่อทางเพศ โดยการใหค้ วามรู้ทางเพศ เบย่ี งเบนความสนใจ หากิจกรรมทดแทน
56 ใบความรู้ เรอ่ื งที่ 2 กฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการละเมดิ ทางเพศ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญา หรือกฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษกล่าวคือ กฎหมาย อาญาไดก้ ำหนดไว้ว่าการกระทำใดเป็นการกระทำทผี่ ดิ กฎหมาย หรือหากกระทำตามส่งิ ทกี่ ฎหมายกำหนดห้ามไว้ก็ จะมีความผิด และอีกกรณีหนึ่งเป็นกรณีที่กฎหมายกำหนดให้เรามีหน้าที่ต้องกระทำตามที่กฎหมายกำหนด ถ้าไม่ กระทำตามก็มีความผิดตามกฎหมายสำหรับกฎหมายอาญา ผู้เขียนขอยกประเภทของความผิดที่กฎหมายอาญา กำหนดไว้ในเรอ่ื งสำคญั ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั วยั รุ่นกบั เพศ ดังต่อไปน้ี ความผิดเกย่ี วกบั เพศ ความผิดทางเทศเป็นความผิดอีกลักษณะหนึ่งที่พบมากในวัยรุ่น ความเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและ ฮอร์โมนที่เพิ่มข้ึนในช่วงวัยเจรญิ พันธุ์ ทำให้วัยรุ่นส่วนใหญเ่ กิดความต้องการในทางเพศ อาการอยากรู้อยากลองที่ เพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุที่นำไปสูก่ ารมีเพศสมั พันธใ์ นวยั เรียน หลายคนหาทางออกด้วยการช่วยตัวเองใน การบำบดั ความต้องการทางเพศ หลายคนเร่มิ รจู้ ักการเทีย่ วผู้หญงิ แต่บางคนหาทางออกดว้ ยวธิ ีการที่ผิดโดยการไป หลอกผู้หญิงมาข่มขืน หรือไม่ก็รวมกลุ่มกันไปฉุดคร่าผู้หญิงมาข่มขืน เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงทั้งในแง่ สวัสดิ์ภาพของการใช้ชีวิตของ สาววัยรุ่นที่มีแต่อันตรายรอบด้านและอนาคตของผู้กระทำความผิดซึ่งมีโทษที่หนกั กว่าการทะเลาะววิ าทของวยั รนุ่ หลายเทา่ นกั • การข่มขืน การข่มขืนผู้อื่น คือการที่ผู้นั้นไม่ยินยอมให้มีเพศสัมพันธ์ กฎหมายกำหนดว่าเป็นความผิดที่จะต้องถูก ระวางโทษจำคกุ ต้ังแต่ 4 ปี และปรับต้ังแต่ 8,000 บาท ถึง 40,000 บาท และถ้าการข่มขนื ได้กระทำโดยมีอาวุธปืน หรือวัตถุระเบิดหรือมีลักษณะเป็นการโทรมหญิง ผู้กระทำจะต้องจำคุกตั้งแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 30,000 บาท ถงึ 40,000 บาทจำคุกตลอดชวี ติ แต่อยา่ งไรกต็ ามสำหรับวัยรุน่ ทีอ่ ายไุ มเ่ กิน 15 ปี แม้จะใหค้ วามยนิ ยอมทจี่ ะมีเพศสมั พันธ์ แต่กฎหมาย กถ็ อื ว่าเป็นวัยที่เด็กไปยังไมม่ ีความรู้ความเข้าใจการมีเพศสัมพันธ์ทด่ี ีพอ กฎหมายจึงกำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ที่มี เพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นที่อายุไม่เกิน 15 ปี ซึ่งผู้กระทำจะต้องจำคุกตั้งแต่ 15 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 30,000 บาท ถึง 40,000 บาท และถา้ การขม่ ขนื ได้กระทำโดยมีอาวุธปืน หรอื วัตถรุ ะเบิด หรือมลี กั ษณะเป็นการโทรมหญิง ผกู้ ระทำต้องรับโทษจำคุกตลอดชีวิต
57 • การอนาจาร การอนาจาร ได้แก่การกระทำใหอ้ บั อายขายหน้าในทางเพศโดยกระทำต่อเนื้อตัวร่างกายโดยตรง เชน่ กอด ปล้ำ สัมผัส จับต้องอวัยวะเพศของผู้หญิง เช่น การจับนม หรือจะเป็นกรณีที่บังคับผู้อื่นใหก้ ระทำตนเองก็เป็นการ อนาจารได้ เช่น นายเอกบังคับให้ นางสาว ย. จับของลับของตนเอง การอนาจารนั้นกฎหมายไม่ได้กำหนดว่า จะต้องเป็นชายต่อหญิง ดังนั้นการกระทำความผิดอาจจะเกิดกับชายต่อชายก็ได้ ผู้ที่กระทำความผิดในเรื่องน้ี จะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 15 ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรือท้ังจำทงั้ ปรับ เช่นเดยี วกบั เร่ืองข่มขืน ผู้ท่ีทำ อนาจารกบั เด็กอายุไมเ่ กนิ 15 ปี ไมว่ ่าเดก็ จะยนิ ยอมหรือไม่ก็ตามกจ็ ะต้องได้รับโทษจำคุกไมเ่ กิน 10 ปี หรือปรบั ไม่ เกิน 20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทงั้ ปรบั ถ้าการกระทำอนาจารผู้กระทำได้ขหู่ รือใชก้ ำลังทำร้ายก็จะไดร้ ับโทษหนักขึ้นก็ ได้ • การหม้นั การหมั้น คือการทชี่ ายและหญงิ ตกลงกนั ว่าจะทำการสมรสกันตามกฎหมาย โดยชายจะต้องเอาของหมั้น ไปให้แกห่ ญงิ ทีจ่ ะทำการสมรส ของหมัน้ นน้ั จะต้องให้ในวันท่หี มนั้ หากใหข้ องหม้ันในภายหลังหรือทำสัญญากู้ไว้ให้ ไม่ถือเป็นของหมั้น หญิงจะเรียกให้ชายช่วยส่งมอบของหมั่นไมไ่ ด้ แต่อย่างไรก็ตาม กฎหมายไม่ได้กำหนดว่าถ้าจะ สมรสหรอื แต่งงานกนั นนั้ จะตอ้ งทำการหมัน้ ก่อน ชายและหญิงจะแตง่ งานกนั โดยไม่ตอ้ งทำสัญญาหม้นั กนั ก็ได้ และ เมื่อได้ทำสัญญาหมั้นกันแล้ว ต่อมาชายไม่แต่งงานด้วย หญิงก็ริบของหมั้นได้ แต่ถ้าหากหญิงเกิดเปลี่ยนใจไม่ แตง่ งานกับชาย หญงิ กต็ ้องมอบของหม้นั คืนใหก้ ับผู้ชาย • การสมรส กฎหมายได้กำหนดเง่อื นไขและหลักเกณฑ์ในการสมรสทส่ี ำคัญไวด้ ังต่อไปน้ี ชายและหญิงจะต้องมอี ายคุ รบ 17 ปีบริบรู ณ์ ถ้าอายุตำ่ กว่านี้ไม่สามารถทำการสมรสได้ เว้นแตศ่ าลจะอนญุ าต 2. ชายหรอื หญงิ จะต้องไมเ่ ป็นบคุ คลวกิ ลจรติ หรือผ้ทู ี่ศาลส่ังให้เปน็ บุคคลไร้ความสามารถ 3. จะตอ้ งไม่เป็นญาติสืบสายโลหติ หรือพน่ี อ้ งบิดามารดาเดยี วกัน หรอื เปน็ พ่ีน้องร่วมแตบ่ ดิ าหรือรว่ มแต่มารดา เดยี วกัน 4. หา้ มผู้รบั บุตรบญุ ธรรมแต่งงานกับบุตรบุญธรรม 5. จะทำการแตง่ งานในขณะท่ีชายหรือหญงิ มีค่สู มรสอยู่แล้วไมไ่ ด้ 6. สำหรับผู้เยาว์ซึ่งมีอายุมากกว่า 17 ปี แต่ไม่ถึง 20 ปี ซึ่งกฎหมายถือว่ายังไม่บรรลุนิติภาวะนั้น จะทำการ แต่งงาน ไดต้ ่อเมอื่ ไดร้ บั ความยินยอมจากบดิ ามารดา ผรู้ ับบตุ รบุญธรรมหรือผปู้ กครอง 7. ชายและหญิง ทง้ั 2 คนจะต้องยนิ ยอมที่จะแต่งงานกนั และประการสุดท้าย
58 8. การแต่งงานจะสมบูรณ์กต็ อ่ เมื่อทั้งคไู่ ด้ไปจดทะเบยี นสมรสกันให้ถกู ต้องตามกฎหมาย • การหย่า การหย่าเป็นการยุติชีวิตการแต่งงาน ซึ่งอาจทำได้ด้วยความตกลงของทั้ง 2 ฝ่าย ทำหนังสือหย่าและนำ หนังสือนั้นไปจดทะเบียนหย่าที่ว่าการอำเภอหรือเขต หรือในกรณีที่อีกฝ่ายไม่ยอมหย่า อีกฝ่ายก็สามารถฟ้องและ ให้ศาลมีคำสั่งให้หย่าได้ แต่ทั้งนี้ ต้องมีเหตุหย่าตามที่กฎหมายกำหนดด้วย ซึ่งได้แก่ สามีอุปการะเลี้ยงดู หญิงอ่ืน ฉนั ภรยิ า ภรรยามชี ู้ หรอื ในกรณที ่ีสามีหรอื ภรรยาท้ิงอีกฝา่ ยหน่ึงไปเกนิ 1 ปี
59 การเสรมิ สรางสุขภาพ สาระสาํ คญั มีความรูในเรื่องการวางแผนพัฒนาและเสรมิ สรางสุขภาพของตนเอง และครอบครวั ตลอดจนรวม กจิ กรรมเสริมสรางสุขภาพของชุมชนอยางสม่ําเสมอ และสามารถบอกถึงหลักการและรูปแบบของวิธีการ ออกกําลังกายของตนเอง ผูอื่น และชุมชนไดอยางถูกตองเหมาะสม ผลการเรียนรูทคี่ าดหวงั 1. เรียนรูวิธกี ารวางแผนพฒั นาเสริมสรางสขุ ภาพตนเองและครอบครัว 2. อธบิ ายโรคทีก่ ารจดั โปรแกรมการออกกําลงั กายสําหรับตนเอง และผูอืน่ ไดถกู ตองเหมาะสมกับ บุคคลและวัยตางๆ ขอบขายเนือ้ หา เรือ่ งที่ 1 การรวมกลุมเพ่ือเสริมสรางสขุ ภาพในชุมชน เรอ่ื งที่ 2 การออกกาํ ลงั กายเพือ่ สขุ ภาพ
60 ใบความรู้ เรือ่ งที่ 1 การรวมกลุ่มเพอื่ เสริมสร้างสขุ ภาพในชมุ ชน การสรา้ งเสรมิ สุขภาพชมุ ชนของบคุ คลในชุมชนต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคนในชมุ ชน เพื่อนำไปสู่การ มสี ขุ ภาพและคณุ ภาพท่ดี ีของคนในชุมชน และสังคมโดยสว่ นรวม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้กำหนดให้คนไทยทุกคนได้รับโอกาสและมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ และ ได้รับบริการสขุ ภาพที่ได้มาตรฐานเดียวกัน โดยไม่คำนึงถึงเศรษฐกิจและสงั คม กระทรวงสาธารณสขุ ได้ดำเนินการ รณรงค์การสร้างสุขภาพภายใต้กลยุทธ์ “รวมพลังสร้างสุขภาพ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุก กลุ่มทุกวัยมีความรู้และทักษะด้านสุขภาพ โดยมุ่งเน้นให้ศูนย์สุขภาพชุมชนและสถานีอนามัยเป็นหน่วยบริการ สุขภาพหลัก ในการดำเนินงานประสานและเชื่อมโยงกบั องค์กรภาคี เครือข่ายสุขภาพชมุ ชนทั้งส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค มบี ทบาทสำคัญในการผลักดันให้นโยบาย ดังกล่าวสัมฤทธิผลและบรรลุเป้าหมาย การดำเนินงานสร้างเสริมและพัฒนาสุขภาพของชุมชนของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้อย่างเป็น รูปธรรม ไดแ้ ก่ 1.ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในรูปของชมรมด้านสุขภาพครอบคลุมทุกชุมชน และ หมูบ่ า้ นโดยยดึ แนวคิด “ใช้พนื้ ฐานบูรณาการทุกภาคสว่ น สรา้ งกระบวนการเรยี นรู้สู่วถิ ีชมุ ชน” อนั จะทำใหเ้ กิดการ สร้างสขุ ภาพทีย่ ง่ั ยนื และถาวร ซึ่งเนน้ กิจกรรมสรา้ งสุขภาพตาม นโยบาย 6 อ นโยบาย 6 อ มดี ังนี้ 1.สง่ เสริมให้คนไทยทุกกลุ่มอายุ ออกกำลงั กาย วันละ 30 นาที อย่างนอ้ ย 3 วันต่อสปั ดาห์ อยา่ งสม่ำเสมอ 2. ส่งเสริมใหค้ นไทยเลอื กซอื้ และบรโิ ภค อาหาร ทีส่ ะอาดมีคณุ ค่า และปลอดสารปนเปอ้ื น 3. ส่งเสรมิ ให้คนไทยสร้าง อนามัย ส่งิ แวดลอ้ มในชุมชนเพอ่ื ความสะอาดปลอดภยั ของท่อี ยู่ อาศยั และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ มให้เอื้อตอ่ สุขภาพ 4. ส่งเสรมิ ให้คนไทยมี อารมณ์ ทดี่ ี และร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในชมรมต่างๆ เช่น ชมรมสรา้ ง สขุ ภาพของวัยทำงาน เพ่ือการมีสุขภาพจติ ทีด่ แี ละแจม่ ใส 5. ส่งเสริมให้คนไทยปลอดโรค อโรคยา โดยเฉพาะโรคที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตในลำดับแรกๆคือ มะเร็ง หวั ใจ เบาหวาน 6. ส่งเสรมิ ให้คนไทยลด ละ เลิก อบายมุข เพื่อลดปัญหาสุขภาพที่เกิดจาก บุหรี่ สุรา สารเสพติดและการ พนนั ในชุมชน
61 2. บทบาทของการมสี ่วนร่วมในการสร้างเสรมิ และพฒั นาสุขภาพของบุคคลในชุมชน คอื การรว่ มกจิ กรรม ที่เอื้ออำนวยให้ผู้คนในชุมชนมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตทีด่ ีขึ้น เช่น ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มทูบีนัมเบอร์วัน ชมรมแอโร บิก กล่มุ ประชาคม ชมรมสรา้ งสุขภาพ กลมุ่ กฬี า 3.ชมรมสร้างสุขภาพ (Health Promotion Club) หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความสนใจในกิจกรรม เหมือนๆกนั ซงึ่ เป็นชมรมหรือกลุ่มท่มี ีอยู่แล้วในชุมชน หรอื มารวมกลุ่มกันใหม่ แลว้ สมัครเปน็ เครือข่ายชมรมสร้าง สุขภาพกบั สถานบรกิ ารสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสขุ มีการแลกเปลย่ี นเรียนร้ดู ้านสุขภาพ 4. การมีส่วนรว่ มในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมชมุ ชน ดังนั้นคนในชุมชนจึงควรมีส่วนร่วมในการช่วยลดปัญหา ภาวะโลกร้อน ดังน้ี – รณรงค์ให้คนในชุมชนลดการใชพ้ ลังงานในบา้ น – ใช้หลอดไฟแบบประหยดั เช่น หลอดตะเกียบ หลอดผอม – การขจี่ กั รยาน หรอื ใช้วิธีเดินเม่ือไปทำธุระใกลบ้ า้ น – จดั สงิ่ แวดล้อมในบา้ นใหน้ า่ อยู่ – ใช้ผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีสว่ นช่วยในการดูแลสิ่งแวดลอ้ ม – ใชน้ ้ำอย่างประหยัดและคมุ้ ค่า – ปลูกต้นไม่ในบริเวณบ้าน – ลดปริมาณการใช้ถงุ พลาสติก – สนับสนุนสินค้าและผลติ ภัณฑ์เกษตรในทอ้ งถนิ่ – จัดต้ังชมรมหรอื จดั ต้ังกจิ กรรมรณรงคส์ ง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน
62 ใบความรู้ เร่ืองท่ี 2 การออกกําลงั กายเพือ่ สขุ ภาพ การออกกำลังกายมีประโยชน์อย่างไร 1. ปอ้ งกันโรคหลอดเลอื ดหัวใจตีบตัน สมรรถภาพการทำงานของหวั ใจจะดีข้นึ มาก ถา้ ออกกำลงั กายอย่าง ถูกต้องอยา่ งสม่ำเสมอ 3 เดอื น ชพี จร หรือหัวใจจะเตน้ ช้าลง ซึ่งจะเป็นการประหยดั การทำงานของหัวใจ 2. ลดไขมนั ในเลือด ซ่งึ ถา้ สงู จะเปน็ สาเหตุหนึ่งของโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตีบตัน 3. เพมิ่ HDL-C ในเลือด ซงึ่ ถา้ ยงิ่ สงู จะยิง่ ดี จะชว่ ยป้องกนั โรคหลอดเลอื ดหวั ใจตีบตนั 4. ลดความอว้ น (ไขมัน) เพ่ิมกลา้ มเนือ้ (ทำใหน้ ำ้ หนกั อาจไม่ลด) 5. ป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน 6. ช่วยลดความดนั โลหติ ถ้าสูง ลดไดป้ ระมาณ 10-15 ม.ม. ปรอท 7. ช่วยทำให้หัวใจ ปอด ระบบหมุนเวียนของโลหิต กล้ามเนื้อ เอ็น เอ็นข้อต่อ กระดูก ผิวหนังแข็งแรง ยิ่งขึ้น ช่วยลดความเครียด ทำให้นอนหลับดียิ่งข้ึน ความจำดี เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ช่วยทำให้มีความเชื่อมั่นใน ตนเองยิง่ ข้ึน 8. ป้องกนั โรคกระดกู เปราะ โดยเฉพาะสภุ าพสตรีทปี่ ระจำเดอื นหมด 9. ช่วยทำใหร้ ่างกายนำไขมนั มาเปน็ พลงั งานได้ดีกวา่ เดมิ ซ่งึ เป็นการประหยัดการใช้แป้ง (glycogen) ซง่ึ มี อยู่น้อย และเปน็ การป้องกันโรคหวั ใจ 10. ช่วยปอ้ งกันโรคมะเรง็ บางชนดิ เชน่ ลำไส้ใหญ่ เต้านม ต่อมลูกหมาก 11. ทำให้เกิดสุขภาพดีถ้วนหน้า ประหยัดค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาโรค ลดเวลาที่จะหยุดงานจากการ เจบ็ ปว่ ย ทำใหป้ ระชาชนมั่งค่ัง ประเทศชาติมนั่ คง 12. ถ้าประชาชนท่ัวประเทศออกกำลงั กายจะเปน็ พน้ื ฐานของการนำไปสู่ความเปน็ เลศิ ทางดา้ นกีฬา การออกกำลงั กายเพ่อื สุขภาพ การออกกำลงั กายแบบแอโรบิก (Aerobic exercise) จัดว่าเปน็ การออกกำลังกายเพ่ือสขุ ภาพ ซ่ึงหมายถึง การออกกำลังกายที่ไม่รุนแรงมาก ต้องใช้ออกซิเจน ต้องใช้กล้ามเนื้อกลุ่มใหญ่ (เช่น ขา หรือแขน) อย่างต่อเนื่อง นานพอ หนักพอ บ่อยครั้งพอ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก จะทำให้หัวใจ ปอดและระบบหมุนเวียนโลหิต แข็งแรง ซงึ่ ก็คือวธิ ีการออกกำลังกายเพ่ือสขุ ภาพ เชน่ เดนิ ว่ิง วา่ ยนำ้ ถบี จกั รยาน กระโดดเชือก เต้นแอโรบิก ฯลฯ การออกกำลังกายชนิดนี้ มักใช้ทั้งแป้ง และไขมันเป็นพลังงานควรออกกำลังกายแบบแอโรบิกตลอดเวลา เพื่อสุขภาพ เมื่ออยู่ตัวแล้วจึงอาจจะเล่นกีฬาอย่างอื่นด้วย เพื่อความบันเทิงหรือสังคม แต่อย่าหยุดการออกกำลัง กายแบบแอโรบิก (ควรทำคนละวันกัน) เช่น ออกกำลังกายแบบแอโรบิก 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ตีเทนนิส 3 ครั้งต่อ สัปดาห์ ตกี อล์ฟ 1 ครง้ั ฯลฯ
63 ไม่ใช่ว่าการออกกำลังกาย หรือการเล่นกีฬาอะไรก็ได้จะดีต่อหัวใจ และหลอดเลือดเสมอไป การเล่น เทนนิสทุกวันอย่างเดียวยงั อาจเสยี ชีวิตได้ เพราะเทนนิสไม่ใชก่ ารออกกำลังกายแบบแอโรบกิ เพราะจะวิ่ง ๆ หยุด ๆ ไมไ่ ดว้ ง่ิ ตลอดเวลา การอยู่ดี ๆ ว่ิงเร็วข้ึนมาทนั ทอี าจทำใหร้ า่ งกายหลังสาร Cathecholamines ออกมาทันที ทำ ใหห้ ัวใจเตน้ ไม่เป็นจงั หวะ อาจมอี ันตรายถึงเสียชีวิตได้ ผลดีของการออกกำลังกายแบบแอโรบกิ ตอ่ การทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจ หลอดเลือด และปอดแข็งแรง ทำให้เส้นเลือดที่ตีบแล้วหายตีบ หรือถ้าไม่หายร่างกายก็จะ สร้างเส้นเลือดใหม่ (ทางเบี่ยง) ทำให้ชีพจนเต้นช้าลง ซึ่งจะเป็นการประหยัดการทำงานของหัวใจ ทำให้ร่างกายมี พลังสำรองมากขึ้น เผื่อจำเป็นต้องใช้ในยามฉุกเฉิน เพิ่ม HDL-C ในเลือดป้องกันโรคกระดูกพรุน ทำให้ร่างกายนำ ไขมันมาใช้ได้ดีกว่าผู้ที่ไม่ออกกำลังกาย ซึ่งนอกจากช่วยลดความอ้วนแล้วยังเป็นประโยชน์สำหรับนักกีฬาอีกด้วย เพราะร่างกายมแี ป้งจำกดั ส่วนไขมันมมี าก ใครบ้างควรออกกำลังกาย โดยความเป็นจรงิ แล้ว คนทุกเพศ และทุกวยั ควรทจี่ ะออกกำลังกานให้สม่ำเสมอ ไม่มคี ำว่าสายเกินไปสำหรับ การออกกำลังกาย ไมว่ า่ จะมอี ายุเทา่ ใด แต่ถ้ายง่ิ เร่ิมต้นเร็วจะยิ่งดี วธิ กี ารออกกำลงั กายที่ถกู ตอ้ งมี 5 ขั้นตอน 1. ควรจะมีการยดื เส้นยืดสายก่อน 2. ควรจะมีการอนุ่ เครอื่ ง (Warm up) ประมาณ 5 นาที 3. ออกกำลังกายให้ชีพจรเขา้ เปา้ (Exercise vigorously) ประมาณ 20 นาที 4. ควรมกี ารคลายความร้อน (Cool down) ประมาณ 5 นาที 5. ควรมีการยืดเสน้ อกี ครั้งกอ่ นหยดุ ควรออกกำลังกายนานแคไ่ หน ปกติแล้วควรออกกำลังกายต่อเนื่องประมาณ 20 นาทีเป็นอย่างน้อย (แต่ถ้าเดินต้องเดินเร็ว ๆ 40 นาที) การออกกำลังกายเพื่อสขุ ภาพไม่จำเป็นต้องทำมากกว่าน้ี ควรออกกำลังกายบอ่ ยแค่ไหน ควรออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 ครั้ง อย่างน้อยครั้งละ 20 นาที แต่ไม่ควรออกมากกว่า 6 ครั้ง เพื่อให้ 1 วนั เปน็ วันพกั ควรออกกำลังกายหนกั แค่ไหน ในการออกกำลังกายแตล่ ะครั้ง ถา้ จะให้ไดป้ ระโยชนต์ ่อหัวใจ และปอดจะต้องออกกำลงั กายให้หวั ใจ (หรือ ชพี จร) เต้นระหวา่ ง 60-80% ของความสามารถสูงสุดทีห่ ัวใจของคน ๆ น้ันจะเต้นได้ สูตร ความสามารถสูงสุดที่หวั ใจจะเต้นได้ = 220 – อายุเปน็ ปี ตัวอย่าง คนท่มี อี ายุ 50 ปี มีความสามารถสูงสดุ ทหี่ วั ใจจะเต้นได้คอื 220-50 = 170 ครงั้ ตอ่ นาที
64 ดังนั้นสำหรับคนที่มีอายุ 50 ปี ควรออกกำลังเพื่อให้ชีพจรเต้นเพียงระหว่าง 60-80% ของ 170 ครั้งต่อนาที กลา่ วคอื ระหว่าง 10-2136 ครั้งตอ่ นาที แตถ่ า้ ไม่เคยออกกำลังกายมาก่อน ตอ้ งคอ่ ย ๆ ทำ อาจใชเ้ วลา 2-3 เดอื น กอ่ นทจี ะออกกำลังกายให้ชีพจร เตน้ ได้ถึง 60% ของความสามารถสงู สดุ ทห่ี ัวใจจะเตน้ ได้ แต่ในทางปฏบิ ัติการวัดชีจรในขณะท่ีออกกำลังกาย ถ้าไม่ มีเครือ่ งมือชว่ ยวดั จะทำไดโ้ ดยยากสำหรับประชาชนท่ัวไป ฉะนน้ั จงึ ไม่จำเปน็ ตอ้ งวดั ชีพจร แต่ออกกำลงั กายให้รู้สึก ว่าเหนือ่ ยนิดหน่อย พอมีเหงือ่ ออก หรอื ยังสามารถพดู คยุ ระหว่างการออกกำลงั กายได้ ถา้ อยากวดั จริง ๆ อาจใช้วิธี ถบี จักรยานอยกู่ บั ท่ีเพราะจักรยานส่วนใหญจ่ ะมีท่วี ดั ชพี จร การออกกำลังกายมโี ทษหรือไม่ การออกกำลังกายอาจให้โทษได้ ถ้าออกกำลังกายไม่ถูกต้อง โทษของการออกกำลังกายอาจเกิดได้จาก หลายสาเหตุ เช่น 1. ออกกำลงั กายทไี่ มเ่ หมาะสมกับอายุ เชน่ ผู้สูงอายุอาจจะใช้วิธเี ดินเร็ว ๆ ดที สี่ ุด แทนที่จะไปเล่นสควอส เทนนสิ แบดมนิ ตัน ท้งั น้เี พราะการเล่นเทนนิสเป็นการออกกำลงั กายแบบวิง่ บ้างหยดุ บา้ ง ไมต่ ่อเนอ่ื งเพียงพอท่ีจะมี ประโยชนต์ อ่ ปอด และหัวใจแตย่ งั ดีกว่าไม่ออกกำลงั กายเลย เพียงแตว่ า่ ไมส่ ามารถป้องกนั โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ตันไดเ้ ท่ากบั การออกกำลงั กายแบบแอโรบิกทีท่ ำต่อเน่ือง 2. ออกกำลงั กายผดิ เวลา เชน่ เวลาร้อนจดั เกินไปอาจไมส่ บายได้ เวลารับประทานอาหารเสรจ็ ใหม่ ๆ อาจ เปน็ โรคหัวใจได้ เพราะหลังรับประทานอาหารใหม่ ๆ ร่างกายต้องการเลือดไปทีกระเพาะอาหารและลำไส้มาก แต่ ถ้าไปออกกำลังกาย ร่างกายจะต้องการเลือดไปทีก่ ล้ามเนื้อมากด้วย (รวมทั้งที่กระเพาะอาหาร และลำไส้ด้วย) จึง อาจทำใหเ้ ลอื ดท่ไี ปหลอ่ เลยี้ งหวั ใจมีน้อยไป ทำใหเ้ กิดอาการหรอื โรคของหัวใจได้ 3. ออกกำลังกายเวลาที่ไม่สบาย เวลาที่ท้องเสียไม่ควรออกกำลังกาย เพราะร่างกายอาจจะขาดน้ำ หรือ เกลือแร่ทำให้ออ่ นเพลยี เปน็ ลม เปน็ ตะครวิ หรอื โรคหวั ใจได้ เวลาเป็นไขไ้ ม่ควรออกกำลังกาย เพราะอาจทำให้เกิด โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบได้ ถ้าไม่สบายไม่ว่าด้วยอาการใด ๆ ถึงแม้ไม่รู้ว่าเป็นโรคอะไร ควรยกเวน้ การออกกำลังกายไว้ก่อน 4. ออกกำลังกายโดยไม่อุน่ เครื่องหรอื ยืดเส้นก่อน โดยปกติแล้วไม่ว่าเป็นนักกีฬาระดับไหน หนุ่มสาวหรอื ผสู้ ูงอายุ กอ่ นออกกำลงั กายจะต้องมีข้ันตอนท่ตี ้องปฏิบตั ิทุกคร้ังโดยไม่มีการยกเว้น โดยเฉพาะผู้ทส่ี ูงอายหุ รือผู้ที่ไม่ ค่อยได้ออกกำลังกาย ซึ่งการอุ่นเครื่อง หรือยืดเส้นก่อน จะช่วยทำให้ออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาได้ดียิ่งขึ้น และ เป็นการลดอัตราเสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ และช่วยทำให้อาการเมื่อยล้าหายได้เร็วขึ้นหลังจากการได้ออกกำลัง กาย ถึงแมท้ ่านไมอ่ อกกำลังกายในวนั หนึ่งวันใดท่านกค็ วรยดื เส้นทุกวนั
65 แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาสขุ ศึกษา พลศกึ ษา คำช้ีแจง จงเลือกคำตอบท่ีถกู ตอ้ งทีส่ ดุ เพยี งข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใชก่ ารวางแผนดแู ลสุขภาพเพื่อการมีสุขภาพดี ก. มกี ิจกรรมทางกายมากขึ้น ข. ดื่มแอลกอฮอล์เป็นคร้ังคราว ค. เลน่ เกมคอมพิวเตอรท์ ุกวนั ง. ฝกึ ซอ้ มกฬี าทุกวนั 2. หนว่ ยงานใดท่ใี หค้ วามช่วยเหลอื เกย่ี วกับปัญหาทางเพศ ก. คลินิกบรกิ ารปรกึ ษาปญั หาสุขภาพ ข. หน่วยงานพทิ กั ษ์สิทธิแรงงาน ค. กรมคุม้ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ง. กรมประชาสมั พันธ์ 3. การจดั การกับอารมณ์และความต้องการทางเพศที่ถกู ต้อง ก. ข่มใจ ควบคมุ จติ ใจ จนเข้าส่ภู าวะปกติ ข. หลกั เล่ียงจากส่งิ เรา้ เชน่ ส่อื ลามกอนาจาร ค. เบีย่ งเบนอารมณโ์ ดยการออกกำลังกาย ง. ถกู ทุกขอ้ 4. ปญั หาความรนุ แรงทางเพศ ข่าวอาชญากรรมเปน็ ผลมาจากปจั จัยใด ก. สภาพแวดล้อม ข. ลัทธคิ วามเชอ่ื ค. สภาพการเมือง ง. อิทธิพลของสอื่ ตา่ งๆ 5. การมีเพศสัมพนั ธ์ในข้อใดทีถ่ ึงแมม้ คี วามยนิ ยอมแต่มีโทษและมีความผิด ก. หญิงน้นั อายไุ ม่เกิน 20 ปี ข. หญงิ น้นั อายุไมเ่ กิน 13 ปี ค. หญงิ นน้ั อายุ 15 ปขี ้ึนไป ง. ภรรยาท่ีจดทะเบียนสมรส 6. ถ้านกั เรยี นต้องการออกกำลงั กาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงและมสี มาธดิ ขี ้นึ ควรเลือกเข้าร่วม กจิ กรรมใด ก. เตน้ แอโรบิก ข. วงิ่ เหยาะ ค. รำไม้พลอง ง. โยคะ
66 7. เพ่ือสขุ ภาพอนามยั ทีด่ ีเราควรรบั ประทานอาหารประเภทใด ก. สุก ๆ ดิบ ๆ ข. ลาบเลอื ด ค. สกุ ง. ก้อย 8. กิจกรรมใดทจ่ี ดั เปน็ การใช้กระบวนการทางประชาสงั คม เพือ่ สรา้ งเสริมความปลอดภยั ใหช้ มุ ชนเข้มแข็ง ก. การแต่งตั้งผูใ้ ห้คำปรกึ ษาด้านครอบครวั ข. การจดั หน่วยแพทย์อาสาไปตามชนบท ค. การจัดชุดคุ้มครองหมบู่ ้าน ง. การจัดทำประชาพิจารณ์ 9. ถ้าบคุ คลสามารถตัดสินใจเก่ียวกับการกระทำของตนเองที่เก่ียวกับพฤติกรรมด้านสุขภาพ หรอื ความปลอดภัยใน ชีวิต เปน็ ทกั ษะชีวติ ในข้อใด ก. ทักษะตดั สินใจ ข. ทักษะการแกป้ ญั หา ค. ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ ง. ทกั ษะการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ 10. ข้อใดคือวธิ กี ารออกกำลังกายท่ีง่ายและสะดวกท่ีสุด ก. ว่ายนำ้ ข. การเดิน ค. ยกนำ้ หนกั ง. วงิ่ มาราธอน
67 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรยี น 1. ค เลน่ เกมคอมพวิ เตอร์ทุกวัน 2. ก คลินิกบริการปรกึ ษาปัญหาสขุ ภาพ 3. ง ถกู ทุกข้อ 4. ง อทิ ธพิ ลของสอื่ ต่างๆ 5. ข หญิงนัน้ อายุไมเ่ กิน 13 ปี 6. ง โยคะ 7. ค สุก 8. ค การจัดชดุ คมุ้ ครองหมบู่ ้าน 9. ก ทกั ษะตดั สนิ ใจ 10. ข การเดนิ
68 รายวิชา กญั ชาและกญั ชงศึกษา รหัสวิชา ทช33098 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย สาระทักษะการดำเนนิ ชวี ิต รายวิชาเลือก/เลอื กเสรี มาตรฐานการเรยี นรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคตทิ ด่ี ี มีทกั ษะในการดแู ล และสรา้ งเสริมการมีพฤติกรรม สุขภาพที่ดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ด ารงสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจน สนับสนนุ ใหช้ ุมชนมีสว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ ดา้ นสุขภาพพลานามยั และพัฒนาสภาพแวดล้อมทดี่ ี ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั ประวัติความเปน็ มาการใช้กัญชาเป็นยาทางการแพทยใ์ น ตา่ งประเทศ และในการแพทย์ทางเลือกของไทย ตำรับยาทม่ี กี ญั ชาเปน็ ส่วนประกอบท่ีได้มกี ารคัดเลือกและ รบั รองโดยกระทรวงสาธารณสขุ ภมู ภิ ูเบศรรวบรวมและเผยแพรภ่ ูมิปญั ญาไทย และภูมิปัญญาหมอพืน้ บา้ น นายเด ชา ศริ ิภทั ร 2. เพื่อให้ผเู้ รียนมีทกั ษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งสามารถ นำความรู้ท่ีได้จากการศึกษากัญชากับการแพทย์ทางเลือกไปแนะน าบุคคลในครอบครวั หรอื เพื่อน หรือ ชมุ ชน 3. ตระหนกั ถึงคุณค่า ความสำคัญ ของกัญชากบั การแพทย์ทางเลือก โดยเฉพาะภูมิปญั ญา ภมู ิภเู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาไทยและตระหนักถงึ ภูมปิ ญั ญาหมอพืน้ บา้ นนายเดชา ศิริภัทร กับการใชก้ ัญชาเป็นยา ตวั ชว้ี ดั กกกกกกก1.บอกประวัตคิ วามเป็นมาการใชก้ ัญชาเป็นยาทางการแพทยใ์ นตา่ งประเทศได้ กกกกกกก2. บอกประวัตคิ วามเปน็ มาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลอื กของไทยได้ กกกกกกก3. วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ และหลกั การในตำรับยาทีม่ กี ญั ชาเป็นสว่ นประกอบที่ได้มกี าร คดั เลอื กและรบั รองโดยกระทรวงสาธารณสุขตามกรณีศกึ ษา ทีก่ ำหนดให้ได้ กกกกกกก4. อธิบายการนำตำรับยาท่ีมีกัญชาเปน็ สว่ นประกอบท่ีไดม้ ีการคัดเลือกและรับรองโดย กระทรวงสาธารณสขุ ไปใช้ในโรคท่สี นใจศึกษาได้ ขอบขา่ ยเนือ้ หา กกกกกก1.ประวัติความเปน็ มาการใชก้ ญั ชาในการแพทยท์ างเลือกของไทย 22.ตำรบั ยาทีม่ กี ัญชาเปน็ สว่ นประกอบทไ่ี ดม้ กี ารคดั เลอื ก และมกี ารรบั รองโดยกระทรวงสาธารณสุข
69 แบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวชิ า กญั ชาและกัญชงศึกษา รหัสวิชา ทช33098 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย คำชแ้ี จง จงเลอื กคำตอบท่ีถกู ต้องท่สี ุดเพียงข้อเดียว 1.ข้อใดไม่ใช่สภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทย ก.ปัจจุบนั กฎหมายอนญุ าตให้ประชาชนท่วั ไปปลูกกญั ชาและกัญชงได้ ข.กรมการแพทยแ์ ละกรมการแพทยแ์ ผนไทย อนญุ าตให้ใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชา และกัญชง รักษาโรคบางโรคได้ ค.การปลูกกญั ชาและกัญชงเสรียงั ถอื วา่ ผดิ กฎหมาย หากจะปลูกตอ้ งไดร้ ับอนุญาตก่อน ง.กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศในปี พ.ศ.2562 ใหใ้ ช้ยาทม่ี กี ญั ชาปรงุ ผสมอย่เู พื่อการรักษาโรค หรือการ ศกึ ษาวจิ ัยได้ 2.บคุ คลในข้อใดควรไดร้ บั น้ำมันกัญชาจากแพทย์ ก.นติ ยาแพท้ อ้ งอยา่ งหนักในขณะตั้งครรภ์ ข.องิ อรมอี าการเวียนศรี ษะเพราะความดันโลหติ สูง ค.เสรมี อี าการคล่นื ไส้อาเจยี นหลงั จากได้รับเคมบี ำบดั ง.กัลยามอี าการจกุ เสียดหายใจไม่ออกจากโรคหวั ใจกำเรบิ 3.จากรายงานการวจิ ัยพบว่า ในอนาคตมนุษยส์ ามารถนำกัญชาและกัญชงไปใช้ รักษาโรคในข้อใดได้บา้ ง ก. โรคมะเรง็ ข. โรคเทา้ ชา้ ง ค. โรคคอพอก ง. โรคเหงือกอักเสบ 4.ผู้ป่วยในข้อใด ไม่ สามารถเข้ารับการบริการจากคลินิกกัญชา โดยมีแพทย์ หรือ เภสัชกรที่ได้รับใบอนุญาตให้ รักษาโรคด้วยนำ้ มนั กัญชาเปน็ ผู้ดแู ล ก. ชมพู เปน็ โรคอลั ไซเมอร์ ข. ส้มโอ เปน็ โรคพาร์กินสัน ค. มะนาว เปน็ โรคพษิ สรุ าเร้ือรงั ง. องนุ่ เป็นโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง
70 5. ข้อห้ามของการใช้ยาท่ีมีกัญชาเปน็ สว่ นผสมทัง้ 16 ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสขุ คือข้อใด ก. หา้ มใชใ้ นเดก็ สตรี และคนชรา ข. หา้ มใช้ในผูช้ ายท่มี อี ายุตงั้ แต่ 25 ปีขึ้นไป ค. ห้ามใช้ในผู้หญิง และผ้ชู ายมีอายมุ ากกวา่ 18 ปี ง. ห้ามใชใ้ นหญงิ ตั้งครรภ์ และผู้มอี ายุต่ ากว่า 18 ป.ี 6. เราควรปฏิบัตติ นอย่างไรกับกระแสเก่ียวกับการใช้กญั ชาในสงั คมปจั จบุ ัน ก.ศกึ ษาขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้องเก่ยี วกับกญั ชาจากแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเป็นที่ยอมรบั ข.ตอ่ ต้านการใช้กัญชาเพอ่ื ปอ้ งกันสังคมไม่ใหเ้ กดิ ผลกระทบ ค.สนับสนนุ การใช้กัญชาเพือ่ รักษาโรคตามกระแสนยิ ม ง.ไมเ่ กย่ี วข้องเพ่ือหลีกเลี่ยงปัญหาทจี่ ะสง่ ผลถึงตวั เรา 7.ผู้ป่วยโรคใดทต่ี ้องใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงเปน็ ยารักษาเสริมกับการรักษามาตรฐานเพ่ือการ ควบคุมอาการ ป่วย ก.โรคความดันโลหิตสูง ข.โรคหลอดเลือดสมอง ค.โรคปลอกประสาทอกั เสบ ง.โรคหัวใจ และหลอดเลอื ด 8.หากคนในครอบครัวของท่านมอี าการจุกเสียดแน่นเฟ้อ นอนไม่หลับ อาการดังกล่าวแพทย์จะจัดยาทีร่ บั รองโดย กระทรวงสาธารณสุขในขอ้ ใด ก. ยาไพสาลี ข. อัคคินีวคณะ ค. ยาแกล้ มแกเ้ ส้น ง. ยาอัมฤทธ์ิโอสถ 9. สารออกฤทธ์ิในพืชกญั ชาและกัญชงในข้อใดเก่ียวข้องกันมากทสี่ ดุ ก. CDB กับ TDB ข. CBD กับ THC ค. CDB กับ TCB ง. CBB กับ THC
71 10. สารท่ีมฤี ทธ์ิกระตุ้นประสาทในกัญชาจะกอ่ ใหเ้ กดิ อาการต่อผ้เู สพในข้อใด… ก. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ข. มสี มาธิ และตัดสินใจได้ดี ค. ความคดิ สบั สน ควบคุมตนเองได้ ง. ความคดิ สบั สน ควบคมุ ตนเองไมไ่ ด้
72 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1. ค 2. ค 3. ก 4. ค 5. ง 6. ก 7. ค 8. ข 9. ข 10. ง
73 ใบความรู้ เรอ่ื งท่ี กัญชาและกญั ชงกับการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 1.ประวัติความเป็นมาการใชก้ ัญชาในการแพทย์ทางเลอื กของไทย กก ในประเทศไทยมหี ลักฐานการใช้กัญชาในการรกั ษา หรอื ควบคมุ อาการของโรคต่าง ๆ ต้ังแตส่ มยั อยุธยาตอน ปลาย สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช จนถึงกรุงรตั นโกสนิ ทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว โดยมกี ารรวบรวมไว้เปน็ ตำรายาหลายเลม่ และสูตรยาหลายขนาน เชน่ ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ตำราแพทย์ ศาสตรส์ งเคราะห์ พระคมั ภีร์ปฐมจนิ ดา พระคัมภีร์มหาโชตรตั พระคมั ภรี ช์ วดาร และพระคัมภีรก์ ษยั เป็นตน้ มี การระบตุ ำรับยาทใี่ ช้กัญชา หรือมีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบท่ีใช้ในการรกั ษา นบั แต่ในอดีตสบื เน่ืองกันมาดงั นี้ 1.สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2174 - 2231) ประเทศไทยมีการใช้กญั ชาเพ่ือการรักษาโรคมาเปน็ เวลานานโดยมหี ลักฐานเป็นตำรับยาสืบค้นกันไปได้ถึง สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ดังปรากฏในคัมภรี ธ์ าตุพระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน (ตำราพระโอสถพระนารายณ์) เนื่องจากเป็นต้นสำแหรกของตำราการแพทย์แผนไทยและเภสัชตำรับฉบบั แรกของประเทศไทย เป็นมรดกทางภมู ิ ปัญญาของบรรพชนได้สะสมองค์ความรู้ พัฒนา และถ่ายทอดสืบเนื่องกันมา ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช สะทอ้ นคุณค่าท้งั ทางดา้ นประวัตศิ าสตร์ สงั คม และการแพทยแ์ ผนไทยในสมยั อยธุ ยาตอนปลาย รวมท้ังมี การอธิบายถึงทฤษฎีการแพทย์แผนไทย สมมุติฐานของโรค ความผิดปกติของธาตุทั้ง 4 วิธีการและขั้นตอนในการ รักษาของผู้คนในสังคมในสมัยอยุธยาการปรุงยา และสูตรต ารับที่ใช้สมุนไพรไทยและสมุนไพรจากต่างประเทศ จำนวน 81 ตำรับ ในสมัยอยุธยาเรียก“กัญชา”ว่า“การชา” ตำราพระโอสถพระนารายณ์ ได้มีการสรุปทฤษฎี การแพทย์แผนไทยในยุคนั้นไว้อย่างกระชับและได้ใจความใน 1 ย่อหน้า พร้อมกับระบุตำราอ้างอิงไว้อีกอย่างน้อย 2 เล่ม คือ “คัมภีร์มหาโชติรัต” อันเป็นต าราเกี่ยวกับโรคสตรี และ “คัมภีร์โรคนิทาน” อันเป็นต าราเกี่ยวกับ เรื่องราวของโรคหรือเหตุแห่งโรค โดยเฉพาะตำรายาไทยที่มีการใช้ “กัญชา” เข้าไปเป็นองค์ประกอบด้วยนั้นมี ทง้ั สิ้น 4ขนานจากจำนวนต ารบั ยาท้ังสิน้ 81ขนาน ดงั นี้ คอื ตำรบั ยาขนานท่ี 11 อคั คินวี คณะ ตำ รับยาขนานท่ี 43 ยาทพิ ากาศ ตำรบั ยาขนานท่ี 44 ยาศขุ ไสยาศน์ และตำรบั ยาขนานที่ 55 ยามหาวฒั นะ โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี ตำรับยาขนานท่ี 11 ชอื่ อคั คนิ วี คณะสำหรบั ยา “อคั คินวี คณะ” นี้ไดม้ กี ารวิเคราะห์ในคำอธิบายตำราพระ โอสถพระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอนหนึ่งว่า “กญั ชาท่ีใช้ในปริมาณนอ้ ย ๆ เชน่ ทีใ่ ช้ในต ารับนี้ คนไทยรจู้ ักใช้ในการปรงุ แต่งอาหารมาแต่โบราณ”เพื่อช่วยให้กิน อาหารได้อร่อยขึ้น กินข้าวได้มากขึ้น เป็นยาเจริญอาหาร ปัจจุบันพิสูจน์ได้ในเชิงวิทยาศาสตร์แล้วว่า ในกัญชามี สารท่ชี ว่ ยใหก้ นิ อาหารได้มรี สชาตมิ ากข้ึน และกนิ ได้ในปรมิ าณมากภูมิปญั ญาการใช้ “อคั คินีวคณะ” ในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์นั้น น่าจะถูกสืบทอดต่อกันมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ได้สำเร็จเพราะตำรับยาขนานนี้ยังมีความ คล้ายคลึงกับยาขนานหนึ่งในตำรายาที่ปรากฏในศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ซ่ึง
74 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รชั กาลท่ี 3 แห่งราชวงศ์จักรี) ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม ให้ จารึกไว้เมอ่ื พ.ศ.2375 2. สมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย (รชั กาลที่ 2พ.ศ.2352-2367) ทรงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้ว่า หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ตำรับตำรา แพทยแ์ ผนไทยจำนวนมากถูกเผาสญู หา กระจดั กระจาย ไม่มีใครคาดคิดว่าจะมใี ครสามารถรวบรวมตำราพระโอสถ พระนารายณส์ ืบทอดกลับมาได้อีกแต่เดชะบญุ ของวงการแพทย์แผนไทย ทรี่ ชั กาลที่ 2 ทรงให้รวบรวมคัมภีร์แพทย์ ที่กระจัดกระจายมารวบรวมไว้ ณ โรงพระโอสถ โดยมีพระราชโองการให้ผู้มีความรู้ ผู้ชำนาญการรักษาโรค ผู้ที่มี ความรู้ด้านการปรุงยา หมอหลวง หมอเชลยศักดิ์ และราษฎรที่มีตำรายาช่วยกันรวบรวมข้อมูลเป็นตำราหลวง สำหรับโรงพระโอสถ ซง่ึ ตำราท้ังหมดท่ีทำการรวบรวมมา แลว้ เสร็จในปี พ.ศ.2355 และมีการตรวจสอบข้อมูลเพ่ือ ความถูกต้องอย่างละเอียด ต่อมาในปี พ.ศ.2359ได้มีการตั้งกฎหมายท่ีชื่อว่า “กฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย” ภายหลังจากที่มีการแพร่ระบาดของอหิวาตกโรค หรือเรียกว่าโรคห่า ครั้งรุนแรงในระหว่างปี พ.ศ. 2363-2365 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานตำรับยาบางส่วนจารึกลงบน หินอ่อนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส บริเวณผนังด้านนอกของกำแพงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราช วรวิหาร กรุงเทพมหานคร โดยในครั้งนั้นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาทรงขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3) ได้เป็นผู้ทรงเลือกตำรายาบางส่วนจากครั้งนั้นมาจารึกบนหิน อ่อนและประดับไว้ท่ีวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร อันเปน็ ทส่ี าธารณะเพอื่ เปน็ วทิ ยาทานแกร่ าษฎรโดยทั่วไป แม้ว่า หลกั ฐานตำรบั ยาจะสูญหายไปบางสว่ น แตจ่ ากการตรวจสอบ “ตำราพระโอสถ ครัง้ รัชกาลที่ 2” เท่าท่ีเหลืออยู่ซ่ึง มีจ านวน 61ตำรบั พบวา่ การใชก้ ัญชาเขา้ ในตำรายาน้นั มี 2 ขนานปรากฏใน “ตำราพระโอสถ” ว่าเปน็ ตำรบั ยา 2 ใน 3 ขนาน ของหลวงทิพย์รักษา ทูลเกลา้ ทูลกระหม่อม ถวายในขนานที่ 1 “แกล้ มเบ้ืองสูง” และ ขนานที่ 3 “แก้ อทุ ธังคมาวาตา” ซึ่งล้วนแตเ่ ป็นโรคเกี่ยวกบั ธาตุลมในแพทยแ์ ผนไทยทง้ั สนิ้ 3. สมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยหู่ ัว(รชั กาลท่ี 3พ.ศ.2367 - 2394) ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม ให้บรู ณปฏิสงั ขรณ์พระอารามวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม(วดั โพธิ์)ครง้ั ใหญ่ พรอ้ มทั้งขยายอาณาเขตพระอาราม ใชเ้ วลานาน 16 ปี 7 เดอื นสำหรบั วิชาการแพทย์แผนไทยน้นั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยูห่ ัว ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม ใหส้ ืบเสาะหาตำราท่ีศักด์สิ ิทธิ์ ตำราลกั ษณะโรคท้ังปวง ตามพระราชาคณะ ข้าราชการ ตลอดจนราษฎร มาจารึกในแผ่นศลิ า โดยผูถ้ วายต ารายา ต้องสาบานว่า ยาขนานน้นั ตนเองไดใ้ ช้เปน็ ผลดีและไมป่ ิดบัง แล้วให้พระยาบ าเรอราชแพทย์ตรวจอีกทีก่อนจะ นำไปจารึก ย่อมแสดงให้เห็นว่ากวา่ ที่จะมีการลงบนั ทึกในศิลาจารกึ น้นั นอกจากจะมกี ารเสาะหาตำราการแพทย์ มี การตรวจสอบความถกู ต้องแล้วยังตอ้ งใหม้ ีการสาบานอกี ซ่ึงในยุคสมัยนั้นการสาบานยอ่ มมีความสำคญั ย่งิ กว่า สัญญาใด ๆ โดยเฉพาะอย่าย่ิงหากเป็นโครงการท่ดี ำเนนิ ไปตามพระราชดำริของพระมหากษตั รยิ ์ไทย
75 2. ตำรบั ยาที่มีกญั ชาเปน็ ส่วนประกอบที่ไดม้ ีการคัดเลือก และมกี ารรับรองโดยกระทรวงสาธารณสขุ สืบเนื่องมาจากพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พุทธศักราช 2562กำหนดให้แพทย์แผนไทย แผนแพทย์ไทยประยุกต์ และหมอพื้นบ้านได้รับการยกเว้นว่าให้สามารถปรุงยาเพื่อประโยชนข์ องคนไข้เฉพาะราย ของตนได้ แตก่ ระนั้นกย็ ังไม่อนุญาตให้ปลูกเองได้ หากตอ้ งการปลกู ต้องรว่ มมือกบั หน่วยงานของรัฐและขออนุญาต ปลูกอย่างถูกต้องด้วยการใช้กัญชาในประเทศไทยได้ขาดความตอ่ เนื่อง เนื่องจากกัญชาเปน็ ยาเสพติดประเภทที่ 5 ไม่สามารถนำมาใช้ในการรักษาโรคได้ มาเป็นเวลาหลายสิบปีทำให้แพทย์ส่วนใหญ่ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ขาด ประสบการณ์ในการใช้กัญชาเพื่อประโยชน์มาเป็นเวลานาน ส่งผลทำให้กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้รวบรวมตำรับยาไทยที่มีกัญชาเป็นส่วนผสมมีจำนวนทั้งสิ้น 90 ตำรับ โดยแบ่ง ออกเป็น 4 กลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มที่ 1 ตำรับยาที่มีประสิทธิผล มีความปลอดภัย วิธีการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อนตัวยา หาไม่ยาก และมีกญั ชาปรุงผสมอยู่ที่อนุญาตให้เสพเพ่ือรักษาโรคหรือการศึกษาวิจยั ได้ แนบทา้ ยประกาศกระทรวง สาธาณรสุขตำรับยาที่มีกัญชาเป็นสว่ นประกอบทีไ่ ด้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุขในปัจจบุ ัน พ.ศ. 2562ประกาศใช้ทั้งหมด 16ตำรับ ได้แก่(1) ยาอัคคินีวคณะ(2) ยาศุขไสยาศน์(3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยาน้ ามันสนั่นไตรภพ(5) ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง (6) ยาไฟอาวุธ(7) ยาแก้นอนไม่หลับหรือยาแก้ไข้ผอมเหลือง(8) ยา แก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง(9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี(11) ยาแก้ลมแก้เส้น(12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพ สาล(ี 14) ยาทาริดสดี วงทวารหนกั และโรคผวิ หนัง(15) ยาทำลายพระสุเมรุและ (16) ยาทัพยาธิคุณ
76 กัญชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจุบัน สาระสำคญั 1. ประวตั กิ ารใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจบุ นั 2.กัญชาและกญั ชงท่ีช่วยบรรเทาโรคแผนปัจจบุ นั 2.1กัญชาและกญั ชงกับโรคพารก์ นิ สนั 2.2 กัญชาและกัญชงกบั โรคมะเร็ง 2.3 กัญชาและกญั ชงกับการลดอาการปวด 2.4 กญั ชาและกญั ชงกบั โรคลมชกั 2.5 กัญชาและกญั ชงกบั โรคผิวหนงั ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง 1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ประวตั กิ ารใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน กัญชา และกญั ชงท่ีชว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจบุ ัน การใชน้ ้ามันกญั ชาและกญั ชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ผลิตภณั ฑ์กัญชา และกญั ชงทางการแพทย์ การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กัญชาและกัญชงใหไ้ ดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจบุ นั และการใช้ ผลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชงทางการแพทยน์ า่ จะไดป้ ระโยชนใ์ นการควบคุมอาการ 2. เพอ่ื ให้มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวเิ คราะห์เก่ียวกับกัญชาและกญั ชงกับการแพทย์ แผนปัจจบุ ัน 3. ตระหนกั ถึงความส้าคญั ของการน้ากัญชาและกัญชงไปใช้รักษาโรค และลดอาการปวดในการแพทย์ แผนปัจจุบัน ตัวชวี้ ดั กกกกกกก1. บอกประวตั กิ ารใช้กญั ชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ท้ังในตา่ งประเทศ และ ประเทศไทยได้ กกกกกกก2. บอกการใช้กญั ชาและกญั ชงทีช่ ว่ ยบรรเทาโรคพารก์ นิ สัน มะเร็ง ลดอาการปวด ลมชัก ผิวหนัง และโรคตอ้ หนิ ได้ กกกกกกก3. ประยุกตใ์ ช้ความร้กู ัญชาและกญั ชงท่ชี ว่ ยบรรเทาโรคแผนปจั จุบัน ศกึ ษาโรคที่สนใจได ขอบขา่ ยเนอ้ื หา กกกกกกก1. ประวัตกิ ารใชก้ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจบุ นั ในประเทศไทย กกกกกกก2. กญั ชาและกัญชงที่ชว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจุบัน 2.1 กญั ชาและกัญชงกับโรคพาร์กนิ สัน 2.2 กัญชาและกัญชงกบั โรคมะเร็ง 2.3 กญั ชาและกญั ชงกบั การลดอาการปวด
77 ใบความรู้ ประวตั ิการใช้กัญชาและกญั ชงทางการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั 1.1.ประเทศไทย ประวัติการใช้กัญชาในการแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย ไม่ปรากฏข้อมูลหลักฐาน สืบเนื่อง จากกัญชา ไดถ้ กู บรรจุให้เป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522 จึงท้า ให้ขาดการศึกษาวิจัย มาพัฒนาเพื่อใช้เป็นยาในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ส่งผลให้ไม่มีประวัติการใช้กัญชาใน ประเทศไทย ท่ีถูกตอ้ งตามกฎหมาย แต่ในปัจจบุ ันได้มีการแก้ไขกฎหมายเพ่ิมเติม ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้ โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ก้าหนดให้ใช้เพื่อประโยชน์ทางราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์การรักษา ผู้ป่วย และประโยชน์ในการศึกษาวจิ ยั ในปัจจบุ ันจงึ อยู่ระหวา่ งการศกึ ษาวิจัย 1.2. กญั ชาและกัญชงทีช่ ่วยบรรเทาโรคแผนปจั จุบนั 1 กัญชาและกญั ชงกับโรคพารก์ นิ สนั สาร CBD เปน็ สารสกดั ทีไ่ ดจ้ ากกัญชงและกัญชา ไมม่ ีฤทธ์ิต่อจิตและ ประสาท ชว่ ยให้ผปู้ ่วย ลดความวติ กกังวล บรรเทาอาการเกรง็ ของกลา้ มเนือ้ มีฤทธิร์ ะงับปวด และมีกลไกที่เชื่อ ว่าอาจท้าให้ ลดอาการสัน่ จากโรคพาร์กนิ สัน ท้าให้การเคล่ือนไหวดขี ึ้น ปัจจุบนั ยงั ไม่ทราบกลไกการออกฤทธ์ิท่ี ชดั เจน คาดว่าสาร CBD มีสว่ นช่วยชะลออาการของ โรคพารก์ นิ สัน จากฤทธิต์ ้านอนุมูลอสิ ระลดการอกั เสบ และ ปกปอ้ งเซลล์สมอง ซึง่ ตอ้ งการงานวิจยั เพมิ่ เติมในอนาคตถึงสดั สว่ นสารสำคัญทใ่ี ช้ในโรคพาร์กนิ สนั 2. กัญชาและกญั ชงกับโรคมะเรง็ ในต่างประเทศ มผี ลการศกึ ษาวิจัยสารในกญั ชา สาร THC และสาร CBD ที่สามารถเชื่อถอื ได้ ในการรกั ษาโรคมะเร็งปอด และมะเร็งเมด็ เลือดขาว ในประเทศไทย มีการศึกษาการใชก้ ญั ชา ต่อตา้ นมะเร็งพบว่า กัญชาสามารถออกฤทธิฆ์ ่าเซลล์มะเรง็ ในการเพาะเล้ยี งเซลลใ์ นหอ้ งทดลองแตย่ ังไม่มีการศึกษา ถึงผลของกัญชาตอ่ โรคมะเร็งในมนษุ ย์ 3. กัญชาและกัญชงกับการลดอาการปวดมีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถบรรเทาอาการปวดแบบเรื้อรัง (Chronic pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic pain) สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลังผ่าตัด ยังไม่ได้ให้ผลทีด่ ี สำหรับ อาการปวดเรื้อรังในผู้ป่วยมะเร็ง ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกที่ชัดเจน สารสกัดกัญชาอาจมีประโยชน์ในการรักษา อาการปวด แต่ยังขาดข้อมลู จากงานวิจยั สนับสนุนทีช่ ัดเจนเพยี งพอ ในด้านความปลอดภยั และประสิทธิผล ซึ่งยัง ตอ้ งศกึ ษาวิจัยตอ่ ไปเพ่อื ใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ ับประโยชน์สงู สดุ
78 4. กัญชาและกัญชงกับโรคลมชักสำหรับกัญชาที่องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์) ชื่อการค้า Epidiolex® ประกอบดว้ ยตัวยา CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลลิ ิตร ในรปู แบบสารละลายให้ทางปาก(Oral solution) โดยมีข้อบ่ง ใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastautsyndrome และ Dravet syndrome ใน ผู้ป่วยอายุ 2 ปขี น้ึ ไปในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถงึ ประโยชนข์ องสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์ ใน การน้าตัว ยา CBD มาใช ้กับโ รคลมชักที่รักษายาก และโ รคลมช ักที่ดื้อต่อยารักษาเท่านั้น 5. กัญชาและกัญชงกับโรคผิวหนังนายแพทย์เวสารัช เวสสโกวิท ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการนำน้ำมนั กัญชามาใช้ ในโรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธุ์ผิวหนังชนิดหนังหนาแต่กำเนิด ส้าหรับในต่างประเทศ นายริค ซิมป์สัน(Rick Simpson) มีการค้นพบการรักษาโรคมะเร็งผิวหนังด้วยกัญชา โดยผลิตน้ามันกัญชา เรียกว่าริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แลว้ นำมาเผยแพรแ่ ก่ประชาชนชาวสหรฐั อเมรกิ าและประเทศอังกฤษ ทางอนิ เทอร์เน็ต 6. กัญชาและกัญชงกับโรคต้อหินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการรักษาโรคต้อหิน ด้วยกัญชา พบว่าการใช้กัญชา ทำใหค้ วามดันในลูกตาลดลงได้ มฤี ทธ์อิ ยูไ่ ด้เพียง 3 ชัว่ โมง และขนึ้ อยู่กบั ปริมาณการใช้กัญชาด้วย ซึ่งอาจเพิ่มการ เกิดผลข้างเคียง จากการได้รับขนาดยากัญชามากเกินไป ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำลง และหัวใจเต้นเร็วขึ้น ด้วย เหตุผลที่ว่ามีหลายปัจจัยเข้ามาเกี่ยวข้องในการควบคุมความดันลูระยะเวลาการออกฤทธิ์ ความแรงของยากัญชา ทำให้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันยังไม่ยอมรับการนำกัญชามาใช้รักษาโรคต้อหิน เนื่องจากยาแผนปัจจุบัน สามารถคุมความดนั ในลูกตาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพคงท่ี และสมำ่ เสมอมากกว่า
79 ใบความรู้ เรื่อง กญั ชาและกัญชงพืชยาทคี่ วรรู้ กัญชง-กัญชา และประวตั ิความเปนมา กัญชง หรอื เฮมพ (Cannabis sativa L.subsp. sativa) และกัญชา (Cannabis sativa L.subsp.) มีชื่อทางพฤกษศาสตรเดียวกันคือ Cannabis sativa L. เพราะมีตนกําเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะ ภายนอกหรือสัณฐานวิทยาของพชื ทั้งสองชนิดนั้นจึงไมแตกตางกันหรือมีความแตกตางกันนอยมากจนยากในการ จําแนก แตจากการที่พืชทั้งสองชนิดนี้มีการใชประโยชนอยางกวางขวางมาเปนระยะเวลายาวนาน จึงทําใหมีการ คัดเลือกพันธุเพื่อใหไดสายพันธุที่มีคุณสมบัตดิ ีและเหมาะสมที่สุด ตรงตามวัตถุประสงคของการใชประโยชน จึงมี ความแตกตางกันชัดเจนมากขึ้นระหวาง ตนกัญชาที่เปนยาเสพติดและกัญชงที่ใชเปนพืชเสนใยในปจจุบัน กัญชง-กัญชา เปนพืชเดิมที่ขึ้นอยูในเขตอบอุนของทวีปเอเชียสันนิษฐานวา มีการกระจายพันธุเปนบริ เวณกวางอยูทางตอนกลางของทวปี ไดแกพ้นื ท่ที างตอนใต ของแควนไซบเี รยี ประเทศเปอรเซยี ทางตอนเหนือของ ประเทศอินเดียบรเิ วณแควนแคชเมยี ร และเชงิ เขาหมิ าลยั และประเทศจนี เปนพชื ท่ไี ดรับการบันทึกไวในเอกสารเก าหลายเลม วามกี ารปลูกใชประโยชนเปนพืชเสนใย และปลูกเปนพืชเสพตดิ มาแตดกึ ดําบรรพ์ ข้อมูลภมู ิปญญาทองถนิ่ ประวตั ิคาํ วากัญชา-กญั ชง คาํ วากัญชาเปนคําเรยี กเดมิ ที่มาจากภาษาอินเดีย ซ่ึงชาวพน้ื บานของอินเดยี ได นําพชื ชนดิ นี้ไปใชประโยชนอยางแพรหลายที่สุดทัง้ การเสพติด และเปนเสนใยมาต้ังแตดึกดาํ บรรพ แลวจากนัน้ จึง มีผูนาํ มากระจายพันธุ ยงั ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตจนถงึ อินโดนเี ซีย หมูเกาะในมหาสมทุ รแปซิฟก และ ประเทศในยานเขตรอนและเขตอบอุนของโลก ทว่ั ไปอยางแพรหลายในป 960-1279 กอนครสิ ตศักราชไดมีบันทกึ วา่ ในประเทศจีนมีการปลูกกัญชงเพ่อื เปนพืชใชทําเสนใย และในสมัยโรมนั ไดมีการนาํ พืชชนดิ นจี้ ากทวปี เอเชยี เข้า ไปปลูกในประเทศอิตาลีแลวจากนนั้ จงึ แพรหลายทั่วไปในทวีปยุโรปและท่ัวโลก การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร กญั ชงและกญั ชา เดิมมชี อื่ วิทยาศาสตรเดยี วกนั คือ Cannabis sativa L. แตเดมิ นกั พฤกษศาสตรได จัดใหอยูในวงศตําแย (Urticaceae) แตตอมาภายหลงั พบวามคี ณุ สมบัติ และลกั ษณะเฉพาะหลายประการทตี่ างอ อกไปจากพชื ในกลุมตาํ แยมาก จงึ ไดรับการจําแนก ออกเปนวงศเฉพาะคือ (Cannabidaceae)ในป ค.ศ. 1998 หรอื พ.ศ. 2541 นเ้ี อง นักพฤกษศาสตรชาวอเมริกนั ไดจําแนก กัญชาและกญั ชง ออกจากกันโดยลักษณะทาง สณั ฐานวทิ ยา(Morphology) และพฤกษเคมี (Phytochemistry) โดยใหชอื่ วทิ ยาศาสตรของกญั ชง Cannabis sativa L. subsp. sativa และกัญชา Canabis sativa L. subsp. indica (Lam.) E.Small & Cronquist ดวย
80 ลกั ษณะที่คลายคลงึ กันทางพฤกษศาสตร และการใชประโยชน ท่มี ีกรรมวิธีหลากหลายทาํ ใหกญั ชาและกัญชงมกี าร เรยี กชือ่ ตางๆกันออกไปมากมายจนสบั สน อาทิ กญั ชา Kanchaa, กัญชง Kanchong, กญั ชาจีน Kanchaa cheen (ท่ัวไป); คุนเชา Khunchao (จีน); ปาง Paang, ยาพี้ Yaa pee (ชาน และแมฮองสอน) ยานอ Yaa no (กระเหร่ียง แมฮองสอน); Ganja,Kancha (India and general); Marihuana, bhang (general); Hemp, Indian Hemp, Industrial Hemp(general) etc. ในปจจุบนั โดยท่วั ไปก็ยังมคี วามสับสนอยูโดยชาวบานนยิ มเรียกพชื นี้ตาม ลักษณะของการใชประโยชนโดยคํา วากญั ชาชาวพ้นื บานใชเรยี กกันทวั่ ไปกบั ตนพชื ที่ใชเปนยาเสพติด สวนคาํ วากัญชงหรอื เฮมพ เปนคาํ เรยี กทใี่ ช กบั ตนพชื ท่ใี ชประโยชนในการผลิต เสนใยสาํ หรับถักทอ ขอสงั เกตในการจาํ แนกเฮมพ(Sativa) และกญั ชา (Indica) เนื่องจากเฮมพเปนพืชที่มีความใกลชิดกับกัญชามากเนื่องจากอยูในวงศเดียวกัน จึงทํา ใหมคี วามคลายกนั ในหลายลกั ษณะ จนทาํ ใหเกิดความสับสนและยากตอการจาํ แนก โดยเฉพาะ เมื่อตนยังมีขนาดเล็ก แตเมื่อโตเต็มที่จะมีหลายลักษณะที่มีความแตกตางกัน อยางเห็นไดชัด อาทิ ตนเฮมพ โดยทั่วไปสูงใหญกวาตนกัญชาและจะสูงมากกวา 2 เมตร สวนกัญชามักสูงไม เกนิ 2 เมตร ใบเฮมพ จะมีขนาดใหญกวา มกี ารเรียงสลบั ของใบคอนขางหางชัดเจนและไมมียางเหนยี ว ตดิ มือ สวนกญั ชาใบจะเล็กกวาเฮมพเลก็ นอย การเรยี งตัวของใบจะชิดกนั หรอื เรยี งเวียนใกล โดยเฉพาะใบประดบั ชอดอกจะเปนกลุมแนน ชัดเจนและมกั มยี างเหนยี วตดิ มือ ดอก ของพืชทั้ง 2 ชนิด มีขนาดและสีไมแตกตางกัน ทั้งดอกตัวผูและดอกตัวเมีย ภาพท่ี 3 เปรียบเทยี บลกั ษณะใบกัญชง-กญั ชา บน ใบกญั ชง ลาง ใบกัญชา เมลด็ ของพชื ทั้ง 2 ชนิดมีสสี ันและลวดลายทมี่ คี วามแตกตางกันเพยี งเลก็ นอย จนไมสามารถ แยกลกั ษณะออกจากกนั ไดอยางชดั เจน
81 การเปรียบทียบความแตกตางทางกายภาพระหวางกัญชงและกัญชา ประโยชนในดานตาง ๆ 1. ประโยชนจากเสนใยของกญั ชง เสนใยกัญชงเปนเสนใยท่มี ีคณุ ภาพสูง มคี วามยดื หยุน แขง็ แรง และทนทานสงู สามารถใชเปนวตั ถุดิบใน การผลิตผลติ ภณั ฑจากเสนใไดกวา 5,000 ชนิด อยางไรก็ตาม ตลาดหลกั ของเสนใยกัญชงในปจจบุ ันน้ีมอี ยู 2 ตลาดใหญ คอื ใชเปนวตั ถดุ บิ ในการผลติ เสนใยใชในการทําเสือ้ ผาและทาํ เยอื่ กระดาษถงึ แมวาเสนใยกญั ชงจะใหผา้ มีรอยยนหรือเกดิ รอยยบั ไดงาย แตลักษณะ ของเสนใยทีส่ ามารถลอกออก เปนช้นั ๆ คลายหวั หอมแตเปนใยยาว จึง สามารถนํามา พฒั นาผลติ เปน ผาทบ่ี างไดเทาที่ตองการ และยงั สามารถซักดวยเครื่องซักผาไดโครงสรางของเส นใยทาํ ใหผาที่ไดสวมใสเย็นสบายในฤดรู อน อบอุนและ สบายในฤดหู นาว และคณุ สมบตั ิของเสนใยทแ่ี ข็งแรงกวาผ าฝาย ดูดซบั ความชน้ื ไดดีกวาไนลอน อบอุนกวาลนิ นิน ทาํ ใหมคี วามเบาสวมใสสบาย ก็เปนจุดทท่ี าํ ใหเสนใยกญั ชง เร่มิ เขามาเปนคแู ขง ท่สี าํ คัญในตลาดเสนใยธรรมชาติ และจะทวีความสําคัญขึน้ อีกในอนาคต แตไมมีปริมาณพอกับ ความตองการของตลาดโลก 2. ประโยชนจากโปรตีนในเมล็ดกญั ชง เมลด็ กัญชงจะประกอบไปดวยโปรตนี ซ่ึงมีคุณคาทางโภชนาการสงู กวาโปรตีน จากถั่วเหลอื ง มปี รมิ าณเสนใย สูงและยงั มีราคาที่ถูกกวา โปรตนี ในเมล็ดของกัญชงสามารถ นํามาใชทดแทนผลิตภัณฑที่ทํามาจากถ่วั เหลือง เชน เตาหู โปรตนี เกษตรเนย ชสี นำ้ มันสลัด ไอศครีม และนม ฯลฯ นอกจากนี้เรายังสามารถนําเมล็ดของกัญชงมาผลิต แปงเพื่อใชเปน็ วตั ถุดิบ สําหรับการประกอบอาหาร เชน พลาสตา คุกก้ี ขนมปง ฯลฯ
82 3. ประโยชนจากน้ำมนั ในเมล็ดกัญชง นอกจากสวนของโปรตนี ในเมล็ดของกญั ชง ทส่ี ามารถนํามาใชประโยชนไดแลว น้ำมันในเมล็ดกญั ชงยงั ใหกรด ไขมัน Omega-3 ซ่ึงเปนกรดไขมันทม่ี ีอยูในน้ำามนั จากปลา และกัญชงเทาน้นั ผลจากการตรวจเอกสารพบวาผูท่ี บรโิ ภคปลาและอาหารท่ีมกี รดไขมัน Omega-3 จะมีโอกาสเปนโรคหวั ใจตำ่ กวาบุคคลทั่วไป และจากการวจิ ัยของ ศาสตราจารย Andrew Weil จากคณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั อรโิ ซนา สหรฐั อเมรกิ าพบวา การบริโภค Omega-3 สามารถ ชวยลด อตั ราการเส่ยี งตอการเปนโรคมะเร็งอีกดวย 4. ประโยชนทางดานเย่ือกระดาษและส่งิ แวดลอม ในการเปรียบเทยี บปรมิ าณเสนใย จากการปลูกกญั ชงและการปลูกฝายในระยะเวลา 1 ป เทากนั พบวาการ ปลกู กญั ชง 10 ไร จะใหผลติ ผลเสนใยเทากบั การปลูกฝาย 20-30 ไร ซง่ึ เสนใยจากกญั ชงน้ีจะมคี ุณภาพดีกวาเสนใย จากฝายโดยเสนใยกัญชงจะยาวเปน 2 เทา ของเสนใยฝายมีความแข็งแรงและความน่ิมของเสนใยมากกวาฝาย จากขอดีดงั กลาวของเสนใยกัญชงจะเห็นไดวาในปจจบุ นั น้ีไดมีการพฒั นาผลติ ภัณฑจากเสนใยกญั ชง 100% เชน เสอ้ื เช้ติ กางเกง กระเปา ฯลฯ สําหรับในดานเทคนิคการเพาะปลูก เม่ือเทยี บกับฝายจะเห็นไดวาฝายตองการ อณุ หภมู ิที่เหมาะสมและนา้ํ ในปริมาณท่ีมากกวาการเพาะปลกู กัญชงนอกจากน้ี ฝายยงั ตองการสารกาํ จัดศตั รูพืชใน ปริมาณสูง ซง่ึ นักเกษตรพบวาประมาณ 20 % ของสารกําจัดศัตรพู ชื ทใ่ี ชอยูในโลกถูกใชในการเพาะปลูกฝาย ซ่ึงเป นอันตรายตอสุขภาพของมนุษยและสัตวโดยเฉพาะสิ่งแวดลอมในขณะทกี่ ารปลกู กัญชงไมจําเปนตองใชสารกําจัด ศตั รูพืช จะใชเพียงปุยและนำ้ ในปรมิ าณที่เหมาะสมเทานั้น นอกจากน้ียงั พบวาการปลูกกัญชงยังเปนการภาพ 8 อตุ สาหกรรมกระดาษจากกญั ชง ชวยปรบั ปรุงคุณภาพของดนิ ท่ใี ชเพาะปลูกอีกดวย การปลูกเพ่ือใชประโยชนใน การทาํ กระดาษ จะเปนตัวอยางดานการรักษาสงิ่ แวดลอมชัดเจน พืชทใ่ี ชทํากระดาษคณุ ภาพดี อาทิ สน ยคู าลปิ ตสั และปอกระสา ลวนเปน พืชยืนตน การเจรญิ เติบโตชามากเม่อื เทยี บกบั กญั ชง กวาจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได ตองปลูก เปนลกั ษณะสวนปา ใชเวลานานหลายป ปอกระสาประมาณไมนอยกวา 3 ป ยูคาลิปตสั และสน ประมาณ 6-8 ป การปลูกก็ตองใชพ้ืนท่ีมาก และเม่ือตดั ไมแลว จะฟนคนื คุณภาพพืน้ ที่ไดยาก ปลูกซ้ำไดไมกี่ครงั้ เพราะจะมเี หงาและ ตออยูทําใหดเู ปนลักษณะทาํ ลายสิ่งแวดลอม สวนกัญชงจะสามารถปลกู ซ้ำในพนื้ ทเ่ี ดมิ ไดโดยตอเนื่องไมตองการมี การดแู ลรกั ษา หรือจดั การพื้นท่มี าก ตลอดจนการเกบ็ ผลผลิต และคาใชจายในการแปรรปู และการขนสงตางๆ กส็ ะดวกมากนอกจากนย้ี ังสามารถดําเนินการไดโดยกลุมชาวบานท่วั ๆไปในการทาํ เปนเชงิ ธรุ กิจ คาใชจายในการ ลงทนุ และกําไรจงึ จะตางกนั เปนจํานวนมหาศาล
83 แนวโนมท่จี ะเปนประโยชนดานอ่ืนแกประเทศไทยในอนาคต ในอนาคตทรัพยากรพชื ของประเทศจะขาดแคลนมากข้ึนพชื เสนใยและเย่ือกระดาษ จะเปนอีกวตั ถดุ บิ หนงึ่ ท่ี ประเทศไทยจะมีการใชเพิ่มขึ้นอยางมาก และจะขาดแคลน โดยในขณะน้ีก็มีการสั่งซื้อเย่ือกระดาษจากตางประเทศ คือ ประเทศจีน และประเทศแคนนาดา เปนเงินประมาณหลายพันลานบาทตอปกัญชงจะเปนพชื หลักอีกชนดิ หนึง่ ท่จี ะสามารถแกไขปญหานีไ้ ด และจะสามารถทาํ รายไดใหกับประเทศ อยางมหาศาลเพราะเปนพืชท่ีมอี ายสุ น้ั ปลูกไดหลายครงั้ ตอป ใชทุนนอยและไมตองมีการดแู ลรักษามาก ไมตองการดินดีและพ้ืนทก่ี วางมาก อีกทัง้ ยงั เป็น พชื ทีส่ ามารถปลูกไดซา้ ในพืน้ ทีเ่ ดิม จึงจะชวยลดการตดั ไมทาํ ลายปาและรักษาสง่ิ แวดลอมไวไดอีกสวนหนึง่ ดวย
84 แบบทดสอบหลังเรยี น รายวิชา กัญชาและกัญชงศึกษา รหสั วิชา ทช33098 คำชแี้ จง จงเลอื กคำตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สุดเพยี งข้อเดียว 1.ข้อใดไมใ่ ชส่ ภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทย (เขา้ ใจ) ก. ปจั จบุ นั กฎหมายอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปปลกู กญั ชาและกัญชงได้ ข. กรมการแพทยแ์ ละกรมการแพทย์แผนไทย อนญุ าตให้ใชผ้ ลิตภัณฑ์กญั ชา และกัญชง รักษาโรคบางโรคได้ ค. การปลกู กัญชาและกัญชงเสรยี งั ถอื วา่ ผิดกฎหมาย หากจะปลกู ตอ้ งได้รบั อนญุ าตก่อน ง. กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศในปี พ.ศ.2562 ให้ใชย้ าที่มีกัญชาปรงุ ผสมอยู่ เพือ่ การรักษาโรค หรอื การศึกษาวิจยั ได้ 2.บคุ คลในข้อใดควรได้รบั นำ้ มันกญั ชาจากแพทย์ ก. นิตยาแพ้ท้องอย่างหนกั ในขณะต้งั ครรภ์ ข. อิงอรมีอาการเวียนศีรษะเพราะความดนั โลหิตสูง ค. เสรมี ีอาการคลืน่ ไส้อาเจียนหลงั จากไดร้ บั เคมบี ำบดั ง. กลั ยามีอาการจุกเสียดหายใจไม่ออกจากโรคหัวใจกำเริบ 3.จากรายงานการวจิ ยั พบวา่ ในอนาคตมนษุ ย์สามารถนำกญั ชาและกญั ชงไปใช้ รกั ษาโรคในข้อใดไดบ้ า้ ง ก. โรคมะเรง็ ข. โรคเท้าช้าง ค. โรคคอพอก ง. โรคเหงือกอักเสบ 4.ผู้ป่วยในข้อใด ไม่ สามารถเข้ารับการบริการจากคลินิกกัญชา โดยมีแพทย์ หรือ เภสัชกรที่ได้รับใบอนุญาตให้ รกั ษาโรคดว้ ยนำ้ มันกญั ชาเป็นผดู้ แู ล ก. ชมพู เปน็ โรคอัลไซเมอร์ ข. ส้มโอ เป็นโรคพารก์ นิ สนั ค. มะนาว เปน็ โรคพิษสุราเรอ้ื รัง ง. อง่นุ เป็นโรคปลอกประสาทเสือ่ มแข็ง 5. ขอ้ หา้ มของการใชย้ าทมี่ ีกัญชาเป็นสว่ นผสมทง้ั 16 ตำรบั ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุขคือขอ้ ใด ก. หา้ มใชใ้ นเดก็ สตรี และคนชรา ข. ห้ามใชใ้ นผชู้ ายทม่ี อี ายุตั้งแต่ 25 ปขี ้ึนไป ค. ห้ามใช้ในผู้หญงิ และผู้ชายมีอายมุ ากกว่า 18 ปี ง. หา้ มใช้ในหญงิ ตั้งครรภ์ และผมู้ อี ายตุ ่ำกวา่ 18 ปี.
85 6. เราควรปฏิบัติตนอยา่ งไรกับกระแสเก่ยี วกบั การใชก้ ัญชาในสงั คมปจั จุบัน ก.ศึกษาขอ้ มูลท่ถี กู ต้องเกย่ี วกบั กญั ชาจากแหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี ป็นทย่ี อมรับ ข.ตอ่ ต้านการใชก้ ญั ชาเพื่อปอ้ งกนั สงั คมไม่ให้เกิดผลกระทบ ค.สนบั สนุนการใชก้ ญั ชาเพื่อรกั ษาโรคตามกระแสนยิ ม ง.ไมเ่ กี่ยวข้องเพอื่ หลกี เลย่ี งปัญหาท่จี ะส่งผลถึงตัวเรา 7.ผู้ป่วยโรคใดท่ีต้องใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงเป็นยารักษาเสริมกับการรักษามาตรฐานเพ่ือการ ควบคุมอาการ ปว่ ย ก.โรคความดนั โลหิตสูง ข.โรคหลอดเลอื ดสมอง ค.โรคปลอกประสาทอกั เสบ ง.โรคหวั ใจ และหลอดเลอื ด 8.หากคนในครอบครัวของท่านมอี าการจุกเสยี ดแน่นเฟ้อ นอนไม่หลับ อาการดังกล่าวแพทย์จะจัดยาที่รับรองโดย กระทรวงสาธารณสุขในขอ้ ใด ก. ยาไพสาลี ข. อคั คินวี คณะ ค. ยาแก้ลมแกเ้ ส้น ง. ยาอัมฤทธโิ์ อสถ 9. สารออกฤทธิใ์ นพชื กญั ชาและกญั ชงในข้อใดเก่ยี วข้องกนั มากที่สดุ ก. CDB กบั TDB ข. CBD กบั THC ค. CDB กบั TCB ง. CBB กับ THC 10. สารทม่ี ฤี ทธิก์ ระตนุ้ ประสาทในกัญชาจะก่อใหเ้ กดิ อาการต่อผู้เสพในข้อใด… ก. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ข. มีสมาธิ และตดั สินใจได้ดี ค. ความคดิ สบั สน ควบคุมตนเองได้ ง. ความคดิ สบั สน ควบคมุ ตนเองไม่ได้
86 เฉลยแบบทดสอบกอ่ น - หลงั เรยี น 1. ค 2. ค 3. ก 4. ค 5. ง 6. ก 7. ค 8. ข 9. ข 10. ง
87 รายวชิ าคุณธรรมในการใชส้ อื่ สงั คมออนไลน์ รหัส สค 0200035 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย สาระความรู้พน้ื ฐาน มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คณุ คา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีเพ่ือการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ติสุข เร่ือง การสือ่ สารในยุคดจิ ทิ ลั สาระสาํ คัญ การส่ือสารถือเป็นสว่ นหน่ึงของชวี ิตมนุษย์เมื่อเข้าสยู่ ุคดิจิทลั การสือ่ สารก็เปล่ียนแปลงไปตาม เทคโนโลยี ที่เขา้ มา ทุกคนสามารถนำเสนอเร่ืองราวผา่ นสือ่ สังคมออนไลนโ์ ดยไมม่ ีการตรวจสอบ มีการปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างผู้ส่ง สารและผู้รับสารได้ตลอดเวลา ในยุคดิจิทัลบทบาทของผู้รับสารจะเปลี่ยนแปลงไป ไม่ได้มีหน้าที่ในการรับสาร เท่านั้น แต่ผู้รับสารสามารถเป็นทั้งผู้รับสารและส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน สิ่งที่ผู้ใช้สื่อพึงตระหนักและยึดถือนำ มาปฏิบตัิคือการสื่อสารโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ในยุค ดจิ ิทลั ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวงั 1. บอกความหมาย องคป์ ระกอบ และวัตถุประสงคข์ องการสื่อสารได้ 2. บอกความหมายและรปู แบบ ของการสอ่ื สารในยคุ ดจิ ทิ ลั ได้ 3. บอกความหมายและ ความสำคญั ของเครอื ข่ายตอ่ สังคมออนไลน์ได้ 4. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของ เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์ 5. ระบปุ ระเภทของเครอื ข่าย สงั คมออนไลนท์ ีน่ ิยมใช้ใน ปัจจบุ ัน 6. บอกประโยชนแ์ ละขอ้ จากัด ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้ 7. ตระหนกั ถึงประโยชน์และ ข้อจำกัดของเครือข่ายสงั คม ออนไลน์และสามารถปรบั ใชไ้ ด้ อยา่ งเหมาะสม 8. มมี ารยาทและการสือ่ สารใน ยคุ ดิจิทลั และประยกุ ต์ใชไ้ ด้ 9. วเิ คราะห์และอธิบายแนวโนม้ สือ่ ดจิ ทิ ลั ในอนาคตได้ 10. วเิ คราะห์กรณีศกึ ษา: การใช้ ประโยชน์การสือ่ สารในยุคดิจิทัลได้ สาระการเรียนรู้ เรอื่ งท่ี 1 การสอ่ื สารในยุคดิจทิ ัล เรอ่ื งที่ 2 ความรบั ผิดชอบในการใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์
88 แบบทดสอบก่อนเรียน วชิ าคุณธรรมในการใชส้ ่อื สังคมออนไลน์ (สค0200035) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย คำช้แี จง จงเลือกคำตอบทถ่ี ูกตอ้ งที่สดุ เพยี งข้อเดยี ว 1.ทักษะในข้อใดไมเ่ กีย่ วข้องกับ \"การรู้ดิจิทัล\" ก. การรสู้ อ่ื Media ข. การร้เู ทคโนโลยีTeachnology literacy ค. การร้สู งั คม Social literacy ง. การรขู้ อ้ มูล Data literacy 2. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารสูญเสยี การเปน็ สว่ นตัว ก.การใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตท่มี ีการใช้โปรโมชัน่ หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเขา้ ใชบ้ รกิ าร ข. การใช้ข้อมลู ของลูกค้าจากแหลง่ ต่างๆ เพ่ือผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด ค.การ ใชเ้ ทคโนโลยใี นการตดิ ตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล ง.การ รวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ท่ีอยู่อเี มล์ หมายเลขบัตรเครดติ และขอ้ มูลส่วนตัวอ่นื ๆ เพ่อื นำไปสร้าง ฐานข้อมูลประวตั ิลกู คา้ ขน้ึ มาใหม่ แล้วนำไปขายใหก้ ับบริษัทอนื่ 3. ข้อใดคือรูปแบบการเรยี นรู้แบบด้งั เดมิ ก. ทกั ษะในการนำเครื่องมอื อปุ กรณ์และเทคโนโลยดี ิจทิ ัลท่มี อี ยู่ในปัจจุบัน มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ข. เน้นทกั ษะซึ่งเกยี่ วข้องกับการคดิ คำนวณ การฟงั การพูด การอ่าน การเขียน และการคกิ เชงิ วเิ คราะห์ ค.การใชค้ อมพิวเตอร์ขัน้ พืน้ ฐานและเทคนิคข้ันสูง ง.การใช้เทคโนโลยีในการปฏบิ ตั งิ าน และการส่ือสาร 4. ขอ้ ใดเป็นความชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยซี ึง่ ครอบคลุมจากทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ขนั้ พน้ื ฐานสทู่ กั ษะที่ ซับซ้อนมากขน้ึ ก. การรูส้ ังคม (Social Literacy) ข. การรู้การสือ่ สาร (Communication Literacy) ค. การรเู้ ทคโนโลยี (Teachnogy literacy) ง การรู้สารสนเทศ (Information literacy) 5. ข้อใดเป็นทกั ษะที่ถกู สร้างข้ึนดว้ ยวธิ ีการ และเพ่ือวัตถุประสงค์ ก. การรสู้ อ่ื Midia literacy ข. การรเู้ ก่ยี วกับสิ่งทเี่ หน็ Visual literacy ค. การรเู้ ทคโนโลยี Technology literacy
89 ง. การรู้สังคม Social literacy 6.พลเมืองดจิ ทิ ัลจะตอ้ งมีความรับผิดชอบด้านใดบา้ ง ก. ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ข. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัวและเพือ่ น ค. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ชมุ ชน ง. ถกู ทกุ ข้อ 7.ข้อใดกล่าวถึงผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดถ้ ูกตอ้ ง ก. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศจะไม่เกิดผลกระทบใด ๆ ทงั้ สิ้น ข. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศจะสง่ ผลกระทบทางดา้ นลบเท่านนั้ ค. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะส่งผลกระทบทางดา้ นบวกเท่านน้ั ง. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะส่งผลกระทบท้งั ทางด้านบวกและด้านลบ 8.นกั เรยี นคดิ วา่ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี มใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยสี ารสนเทศใดมากที่สดุ ก. การแสดงผล ข. การประมวลผล ค. การสอ่ื สารและเครอื ข่าย ง. การบนั ทึกและจัดเก็บข้อมูล 9.ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อใดมผี ลตอ่ ตัวนักเรียน ก. ระบบการเรียนการสอนทางไกล ข. บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ค. ระบบเฝา้ ระวังภัยทมี่ ีคอมพิวเตอร์ควบคุมการทำงาน ง. ข้อ ก และ ข ถกู ต้อง 10.ผลกระทบทางบวกของเทคโนโลยสี ารสนเทศขอ้ ใดมโี อกาสเกิดขน้ึ น้อยท่ีสุด ก. สินค้ามีปริมาณการผลติ เพมิ่ ขนึ้ ข. มนุษย์มีคณุ ธรรมสูงข้นึ ค. มีแหล่งข้อมลู ความรูเ้ พ่ิมข้ึน ง. มนษุ ย์มีระบบขนส่งท่ีทันสมัย
90 เฉลยแบบทดสอบวชิ าคุณธรรมในการใชส้ ื่อสังคมออนไลน์ (สค0200035) ระดบั ม.ปลาย 1. ค 2. ก 3. ข 4. ค 5. ก 6. ง 7. ง 8. ค 9. ง 10. ข
91 วชิ าคุณธรรมในการใช้สือ่ สังคมออนไลน(์ สค0200035) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เร่อื งที่ 1 การสือ่ สารในยุคดิจิทัล 1.การส่อื สารยคุ ดจิ ทิ ัล การสื่อสารยุคดจิ ิทัล หมายถึง การสื่อสารระหว่างบุคคลและสังคม ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยการใช้ อปุ กรณด์ ิจิทัล ตา่ ง ๆ เชน่ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์สมารต์ โฟน โทรศัพทด์ ิจิทัล เป็นต้น และผ่านชอ่ งทางการ ส่อื สาร ดิจิทลั หรือดจิ ทิ ลั แพลตฟอรม์ (Digital Platform) ประเภทของเครือขา่ ยสงั คมออนไลนท์ ี่นยิ มใช้ในปจั จุบนั ปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์มีอยู่มากมายแต่ที่ได้รกบความนิยมมาก ได้แก่ Facebook, Twitter, Line, YouTube และ Instagram Facebook ได้กำหนดระดบั ความเปน็ ส่วนตวั 3 ระดับ คือ ❑ สาธารณะ เปน็ การกำหนดว่าไม่ใครกต็ ามสามารถเห็นโพสตข์ ้อความท่นี ำเสนอได้ ❑ เพื่อน เป็นการกำหนดวา่ เฉพาะเพื่อนใน Facebook เทา่ น้ันท่ีสามารถมองเห็นโพสต์ของเราได้ ❑ เฉพาะฉัน เปน็ การกำหนดใหเ้ ฉพาะตนเองเทา่ นั้นท่ีจะเห็นโพสต์นั่นคือ บคุ คลอื่นไมส่ ามารถเห็นโพสต์ น้ันได้ การสอื่ สารผา่ นเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ Twitter เป็นช่องทางการสื่อสารออนไลน์ที่มีความรวดเร็ว สามารถสร้างกระแสของข้อมูล ข่าวสารได้ อยา่ งรวดเรว็ ผา่ นการ Tweet (ทวีต) และ Retweet (รที วตี ) Instagram หรือ IG ช่องทางการ แสดงความคิดเห็นที่มีจุดเด่นคือการโพสต์รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหวหรือ เรอ่ื งราวโดยผู้ใช้สามารถกำหนดผรู้ ับสารเฉพาะกลมุ่ ผตู้ ดิ ตาม หรอื กำหนดเป็นสาธารณะได้ (Public) วธิ ีการรปู แบบใหมข่ องการสื่อสารดจิ ิทัลท่ีน่าสนใจ ❑ Mentions (เรียกวา่ การ tag บคุ คล อ่ืนๆ) ❑ Hashtag (เรยี กว่าการติดแฮชแท็ก #) ❑ การใช้ Emoticon หรอื Sticker
92 ผู้ศึกษาจำเป็นต้องมคี วามเขา้ ใจการสื่อสารผ่านทางส่ือ และเคร่อื งมอื ทางดจิ ทิ ัลในแงม่ ุมตา่ งๆ ไมว่ ่าจะเป็น ความเหมาะสม ความแตกต่าง ความเสี่ยงของสื่อ และเครื่องมือพร้อมทั้งสามารถสื่อสาร โดยการใช้ข้อความหรือ ถ่อยคำอย่างสร้างสรรค์ มีประโยชน์ และเคารผู้อื่น เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนี้ยังรวมถึง ความสามารถ วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่บนส่ือดจิ ิทัลต่าง ๆ ว่าสิ่งไหนเป็น ข้อเท็จจริง สิ่งไหนเป็นความเห็น สิ่งไหนเป็นความ จรงิ บางส่วน ส่งิ ไหนเป็นความจรงิ เฉพาะเหตกุ ารณ์ น้นั ๆ เพื่อไมใ่ หต้ กเปน็ เหยอ่ื ของการส่อื สารทางดิจทิ ัล ในยุคที่ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 ทุกอย่างเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีรวมทั้งการสื่อสารในรูปแบบ ต่างๆที่ล้วนจะต้องมีการปรับตัว เพราะในยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงทุกคนล้วนต้องการได้ร้ับข้อมูลข่าวสาร ที่ถูกต้อง ครบถว้ น รวดเร็วการทส่ี งั คมมีความซับซ้อนผ้คู นใช้ชวี ิตอยา่ งเร่งรีบ การส่ือสารขอ้ มลู แบบเดิมๆ อาจจะไม่สามารถ รองรับความต้องการการสื่อสารของมนุษยได้ สื่อออนไลน์จึงเป็นทางเลือกของการส่ือสาร ข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ใน ชีวิตประจำวันมากขึ้น การสื่อสารด้วยสื่อออนไลน์เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องมี รูปแบบการสื่อสารข้อมูลที่หลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคนในยุคดิจิทัล การสื่อสารข้อมูลของ มนุษย์ประกอบด้วยผู้ส่งสาร ช่องทาง และผู้รับสาร ซึ่งไม่ว่าจะสื่อสารด้วยวิธีการใด ก็ต้องประกอบด้วย องค์ประกอบเหล่านี้ จากที่กล่าวไปแล้วการสื่อสารมีองค์ประกอบด้วยกัน 4 องค์ประกอบ ซึ่งก็คือ S ผู้ส่งสาร (sender) หรือ แหล่งสาร (source) M สาร (message) C สื่อ หรือช่องทาง (media or channel) และ R ผู้รับ สาร(receiver) เทคโนโลยีเปลี่ยนพฤติกรรมการสื่อสารของมนุษย์ การสื่อสารในโลกไร้พรมแดน คำกล่าวนี้ทุกคน คงเคยไดยินกนั อยู่บ่อยๆ แลว้ ย่ิงในปัจจุบัน เราเร่มิ เห็นภาพของการสื่อสารในโลกไร้พรมแดนกนั มากข้ึน เมื่อในยุค เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการสื่อสาร การมาเร็วและแรงของอินเตอร์เน็ตทำให้คนส่วนใหญ่ในยุคนี้ใช้เวลาอยู่ หน้าจอคอมพิวเตอร์มากกว่าจออื่นๆ เทคโนโลยี และนวัตกรรเข้ามารองรับการสื่อสารทำให้มนุษย์มีช่องทางการ สื่อสารที่ มีประสิทธิภาพหลากหลาย และรวดเร็วมากขึ้น ข้ามผ่านอุปสรรคด้านพื้นที่และเวลาได้( Spaceless & Timeless) สามารถติดต่อส่ือสารกัน เสมอื นยนื อย่ตู รงหน้าภายในไม่ก่วี ินาที ทงั้ ทอี่ ยหู่ า่ งไกลกันคนละทวีป เหล่านี้ ถือเป็นปรากฏการณ์ทางการ สื่อสารที่มีความสำคัญต่อมวลมนุษยชาติหรืออาจจะกล่าวได้ว่า เป็นยุคแห่งการ เปลี่ยนแปลงการสื่อสาร รูปแบบการสื่อสารใหม่ ๆบนโลกของสื่อดิจิทัลคือโลกของการผสานกัน (convergence) นั่นหมายถึงสื่อชนิดหนึ่ง สามารถทำหน้าที่ได้หลายอย่าง (multi-tasking) และเข้าถึงประสาทสัมผัสของคนได้ มากกว่าหนึ่ง ซึ่งหมายถึง ผู้ใช้สื่อหนึ่งคนสามารถปฏิสัมพันธ์ กับสื่อได้มากกว่าหนึ่งช่องทางในช่วงเวลาเดียวกัน ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนักสื่อสารต้องมีการปรับตัวเพราะทุกอย่างเกาะติดอยู่กับเทคโนโลยี อินเตอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการสือ่ สารเพิ่มขึ้นทุกวัน เพราะอินเตอร์เนต็ ทำใหผ้ ู้คนสามารถตรวจสอบความเปน็ จริงของสังคม และยังทำได้อย่างรวดเร็ว เกิดโลก Social Media จากโลกที่เป็นส่วนตัวจะกลายเป็นโลกของ ส่วนกลางถ้าใครที่เล่น Social Media ไม่ว่าจะเป็น Facebook Twitter YouTube Google จะทำให้รู้ว่าความ เป็นสว่ นตวั ของผู้เลน่ จะหายไป เม่อื เน้ือหาที่โพสต์ ไมว่ า่ จะเป็นข้อความ เสียง ภาพ ทีส่ ง่ ผา่ นไปในโลกของ Social Media สิ่งทั้งหลายที่โพสต์จะกลายเป็นของส่วนกลางทันที ไม่ว่าคนที่โพสต์จะปรารถนาหรือไม่ก็ตาม ดังนั้นนัก
93 สื่อสารยุคใหม่ต้องมีจิตสานึกที่ต้องเปิดกว้าง ต้องเคารพกติกา มีมารยาท มีจริยธรรมที่ดีในการใช้สื่อ สื่อมีความ รวดเร็วกว้างขวาง ยิ่งต้องเคร่งครัด เข้มงวดต่อวัฒนธรรมการใช้สือ่ ไม่เพียงแต่จะสือ่ ข้อมูลทั่วไปเท่านั้น แต่ต้องส่ือ ถึงความรู้ สื่อ ปัญญา และมีจิตสำนึกแห่งความดีงาม การสื่อสารในโลกของ Social Media มีความรวดเร็วการ เผยแพร่จากคน หนึ่งไปสู่อีกหลายๆคน สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นสิ่งที่ต้องควรระวังสำหรับส่งสาร (Sender) ก็คือการมีวิจารณญาณในการส่งสาร (Message) ว่าสารนั้นมีความเหมาะสมกับการที่จะส่งออกไป หรอื ไมเ่ พราะเม่ือสารนนั้ ถกู ส่งไปสารนั้นจะกลายเปน็ ส่วนกลางที่ผู้รบั สาร (Receiver) ไดเ้ ห็นได้อ่าน ได้รับรู้สารที่ ส่งออกมา เพราะฉะนั้นการสื่อสารในยุคดิจิทัล สิ่งที่ทุกคนพึงปฏิบัติ คือ การมีจิตสำนึกเปิดกว้าง เคารพกติกา มารยาท มีจริยธรรมที่ดีรวมทั้งนำเสนอเรื่องราวที่ดีเสนอสิ่งที่เป็นความรู้เสริมปัญญาและมีสานึกที่ดี ผู้รับสารกับ บทบาทใหม่ในยุคดิจิทัล การสื่อสารในยุคอดีตเนื้อหาของสารจะถูกควบคุม โดยผสู้่งสาร (Provider or Distributor) เช่น เจ้าของส่อื รฐั บาล หรอื ภาคธรุ กจิ แตเ่ มื่อการส่ือสารดจิ ทิ ัลไดเ้ กดิ ขึน้ ผู้รบ้ั สารจะกลับกลายเป็นผู้่มี บทบาท สำคัญในการกำหนดเน้อื หาสาร ทม่ี ิใชเ่ พยี งแค่ผรู้ บั สารแบบ passive (รับแต่เพียงอยา่ งเดียว) หรอื active (รับสารแต่ตอบสนองด้วยความกระตือรือร้น) แต่พร้อมจะเป็นผู้ส่งสารด้วยเช่นกัน ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้น สำหรับ มุมมองใหม่ ที่เกี่ยวกับผู้รับสาร ซ่ึง PricewaterhouseCooper เรียกว่า “Lifestyle Media”(2006) “Lifestyle Media” คอื การผสานเทคโนโลยี และส่อื ทเี่ ป็นตัวเชื่อมให้ช่องวา่ งระหว่างความเป็นมืออาชีพ และความสามารถใน การสร้างสรรค์เน้ือหาตามความต้องการของผูร้ ั้บสาร ( on demand) เปลี่ยนไปผู้รบั สารจะมคี วามสามารถในการ ผลิตเนื้อหาสารได้เอง ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่าผู้รับสารคือผู้ที่มีอำนาจในการควบคุมเนื้อหาและสื่อ และเป็นผู้ที่น ำ เนอื้ หาทผ่ี ลติ น้ีเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวางบนสื่อสงั คมออนไลน์(social network) นน่ั หมายถงึ ว่าผู้รับสารไม่ใช่ เพียงแค่มีหน้าที่ในการรับข้อมูลข่าวสารเพียงอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่ในยุคดิจิทัล ผู้รับสาร จะเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ ของตนเองเปน็ ทง้ั ผรู้ ับสาร และส่งสารได้ในเวลาเดียวกัน ในทางกลับกันผสู้ ่งสารกจ็ ะกลายเปน็ ผู้รับสารไดเ้ ช่นกนั ตระหนกั ถึงความสำคญั ของเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ 1. เราจะส่ือสารอยา่ งไรใหเ้ หมาะสม เกดิ ประสทิ ธิภาพ? 2. เราจะวเิ คราะห์และประเมนิ ขอ้ มูลขา่ วสาร ท่มี จี ํานวนมหาศาลในยุคดจิ ทิ ัลอยา่ งไร? 3. เราจะจัดการกบั ความสัมพันธ์บนโลกออนไลน์ ทางอินเทอร์เน็ตอย่างไร ? ประโยชนแ์ ละข้อจำกดั ของเครือขา่ ยสังคมออนไลน์และสามารถปรบั ใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม 1. เข้าใจความเหมาะสมของสอ่ื และเคร่ืองมือทางดจิ ทิ ัลในงานต่าง ๆ 2. เขา้ ใจอันตรายและความเส่ยี งในแง่ของการสือ่ สารออนไลน์ 3. เขา้ ใจความแตกตา่ งของคนทร่ี ู้จักเฉพาะโลกออนไลน์และความเสยี่ งตา่ งๆ 4. เข้าใจวธิ กี ารสอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ และเปน็ ประโยชน์ มร5. เข้าใจข้อเทจ็ จริงความคดิ เห็นความจริงเฉพาะสว่ นความจรงิ เฉพาะสถานการณ์
94 วิชาคณุ ธรรมในการใช้สือ่ สงั คมออนไลน์(สค0200035) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เรื่องท่ี 2 ความรับผิดชอบในการใช้ส่ือสงั คมออนไลน์ 1. หยุดคดิ กอ่ นโพสต์ ดอนมีงานที่ดีในฐานะนักเขียนนิตยสาร ในบ้านเกิดของเขา ในช่วงสุดสัปดาห์ขณะที่เขานั่งดูโฆษณาทาง โทรทัศนใ์ นท้องถน่ิ โดยเขาคดิ ว่าเปน็ เรอ่ื งขบขนั จงึ แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั โฆษณาดงั กล่าวบนเครือขา่ ยโซเชียล มเี ดยี ทเี่ ขาชนื่ ชอบ ในวันจันทร์ท่ถี ัดมา ข้อความดงั กลา่ วของเขาถูกส่งไปยงั เจ้านาย โดยเจ้านายได้เรียกดอนเข้ามา ในสำนกั งานของเธอ และถามว่าทำไมเขาถงึ เลือกท่ีจะย่ัวโมโหลกู คา้ โฆษณารายใหญท่ ่ีสุดคนหนึ่งของนิตยสารรายนี้ ดอนแปลกใจมาก เพราะเขาคิดไม่ถึงว่าโฆษณาดังกล่าวที่เขาได้แสดงความคิดเห็นไปจะเป็นลูกค้ารายใหญ่ของ นิตยสารท่ีเคยกำลังทำงานอยู่ เจา้ นายของเขาได้บอกเลกิ การจ้างงานของดอนหลังจากนนั้ เรื่องนี้อาจดูเหมือนเป็นกรณีที่รุนแรงของผลกระทบจากสื่อโซเชี่ยลมีเดีย แต่มันจะทำให้คุณประหลาดใจหากรู้ว่า เรื่องดังกลา่ วเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง ชื่อและสถานการณ์ได้รับการเปลีย่ นแปลงเพื่อปกป้องผู้กระทำผิด แต่เป็นเรื่อง จริงเกยี่ วกับคนทส่ี ูญเสียงานของเขาไป เพยี งแคแ่ สดงความคดิ เหน็ ทไี่ รเ้ ดยี งสาบนส่ือสงั คมออนไลน์เทา่ นนั้ สื่อสังคมออนไลน์เติบโตขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยเว็บไซต์หนึ่งกลายเป็นทางเลือกสำหรับการ แบ่งปันความคิดเห็น รูปถ่าย วิดีโอ และ การโต้ตอบกับเพื่อน ครอบครัว ยิ่งสื่อสังคมออนไลน์เติบโตขึ้น เรายิ่งค้น พบว่ามีสิ่งที่ไมค่ วรทำบนโซเชียลมีเดียมากขึ้นเทา่ น้ัน ลองมาดูแนวทางปฏิบัติที่ดที ี่สดุ สำหรับการมีส่วนร่วมในการ ใชส้ ่อื สังคมออนไลน์ทีร่ ับผดิ ชอบ รวมถงึ แนวทางการปฏบิ ตั ิที่ดีท่สี ุดสำหรับมารยาทในสังคม 2. ใสใ่ จ ”คน” เป็นอนั ดบั แรก คุณอาจไม่เห็นด้วยกบั ทกุ สง่ิ ทุกอย่าง หรือทุกคนทีค่ ุณพบในเครอื ข่ายโซเชยี ลมเี ดีย แต่คุณจำเปน็ ต้อง ปฏิบัตติ อ่ ทกุ คนดว้ ยความเคารพ กฎหลักในการปฏิบัติตอ่ ผู้อืน่ คือ คุณต้องการได้รับการปฏบิ ตั ิอย่างไร ก็จงทำแบบ นนั้ กบั ผูอ้ ืน่ ดว้ ย 3. ใหค้ วามสำคญั กับความปลอดภยั อย่านำโซเชียลมเี ดียไปใช้ เพื่อล่วงประเวณี หรอื กลน่ั แกล้งบุคคลอนื่ แม้วา่ คณุ น่ังอยหู่ น้าจอคอมพวิ เตอร์ แต่ไม่ไดห้ มายความวา่ คณุ ได้รบั ใบอนุญาตในการขม่ ขู่ หรือแพร่กระจายข่าวลือทีเ่ ปน็ อันตรายตอ่ ผู้อื่น 4. โพสต์อย่างระมดั ระวัง คำนงึ ถึงการตงั้ ค่าความเปน็ ส่วนตวั เปน็ อนั ดับแรก โปรดจำไว้วา่ ทุกคนสามารถมองเหน็ โพสตข์ องคุณได้ทกุ เมื่อ (แมแ้ ต่คนที่คุณไมต่ ้องการเห็น) คิดก่อนโพสต!์
95 ความรับผิดชอบในการใชส้ ่ือสงั คมออนไลน์ในดา้ นตา่ งๆดังนี้ 1. ตอ่ ตนเอง เช่น ตอ้ งใมท่ ำให้ตนเองเดือดรอ้ น ไมเ่ ป็นภาระ ไมท่ ำให้คนอื่นเดือดรอ้ นด้วยสือ่ ออนไลน์ต่างๆ 1. ผู้ที่ใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ตต้องซอ่ื สัตย์ และมคี ุณธรรม ตง้ั หมัน่ อยบู่ น กฎหมายบ้านเมือง 2. ไมน่ ำผลงานของผอู้ นื่ มาเป็นของตน ในกรณีทต่ี ้องนำมาใชง้ านตอ้ งอา้ งถงึ บุคคล หรอื แหล่งทมี่ าของ ข้อมลู ทน่ี ำมาใช้ 3. พ่ึงระลึกเสมอว่าสิ่งที่นำเสนอบนอินเทอร์เน็ต อาจจะมีเด็กหรอื ผู้ที่ขาดประสบการณ์เข้ามาดูได้ ตลอดเวลา ดงั น้ันการนำเสนอข้อมูลควรทจ่ี ะเปน็ ไปในทางที่ดี มีคณุ ธรรม 4. ไมค่ วรใสร่ า้ ยปา้ ยสี หรือส่งิ อ่นื ส่งิ ใดอนั จะทำใหบ้ คุ คลทส่ี ามเกิดความเสียหายได้ 5. การใชค้ ำพดู ควรคำนงึ ถงึ บุคคลอ่ืนๆ ท่อี าจจะเขา้ มาสืบค้นขอ้ มลู ที่มหี ลากหลาย จงึ ควรใชค้ ำทสี่ ภุ าพ6. ไมใ่ ช้ส่ืออินเทอรเ์ นต็ เปน็ เคร่อื งมอื ในการหลอกลวงผู้อน่ื ใหห้ ลงผดิ หลงเช่ือในทางทผ่ี ดิ 7. พงึ ระลกึ เสมอว่า การกระทำผดิ ทางอนิ เทอร์เน็ตสามารถท่จี ะติดตามหาบุคคลท่ีกระทำได้ โดยง่าย 8. การกระทำความผดิ ทางอนิ เทอร์เน็ต บางกรณีเปน็ อาชญากรรม ทม่ี ีความผดิ ทางกฎหมาย 9. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพิวเตอรท์ ำร้าย หรอื ละเมิดผู้อื่น 2. ต่อผู้อื่น คณุ ตอ้ งการได้รับการปฏิบัติอย่างไร ก็จงทำแบบนั้นกับผู้อืน่ ดว้ ย จำเป็นตอ้ งปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความ เคารพ และไม่ละเมิดสทิ ธิของผู้อน่ื เช่น 1. ตอ้ งไมร่ บกวน สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟม้ ขอ้ มลู ของผู้อนื่ 2. ต้องไม่ใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พ่ือการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 3. ตอ้ งไม่ใช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งหลักฐานท่ีเป็นเทจ็ 4. ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมของผู้อื่นทม่ี ีลิขสิทธิ์ 5. ตอ้ งไม่ละเมิดการใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยท่ตี นเองไม่มีสทิ ธิ์ 3. ต่อสังคม การทำให้ส่วนรวมเสียหายจากการใช้สื่อออนไลน์ประเภทต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อส่วนรวม สังคม ประเทศชาตลิ ้วนเป็นส่งิ ผดิ กฎหมายทั้งสนิ้ เช่น 1. ตอ้ งคำนึงถงึ สิง่ ท่จี ะเกิดข้ึนกบั สงั คมที่เกิดจากการกระทำของทา่ น 2. ต้องใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท
96
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142