Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การหายใจ

การหายใจ

Published by Aisah Dokho, 2021-07-15 03:07:59

Description: เรื่องการหายใจ

Search

Read the Text Version

คูมือ การจัดทาํ แผนการจัดการเรยี นรมู ุงเนนสมรรถนะ สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คํานาํ คูมือการจัดทําแผนการจัดการเรียนมุงเนนสมรรถนะเลมน้ีจัดทําขึ้นเพ่ือใชเปน แนวทางในการจัดการเรียนรูของสถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนมีสวนรวม ในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู สามารถสรางองคความรู ทักษะ คุณลักษณะที่พึ่งประสงค และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดดวยตนเองและเปนรายกลุม โดยมีรายละเอียด 4 สวน ไดแก 1) แผนการจัดการเรียนมุงเนนสมรรถนะ 2) นิยามศัพทท่ีเก่ียวของกับแผนการจัดการเรียนมุงเนน สมรรถนะ 3) แนวทางการจัดทํารายละเอียดตางๆ สําหรับจัดทําแผนการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะ 4) ตัวอยา งเอกสารทเี่ กย่ี วของ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดตระหนักถึงความสําคัญของการจัดทํา แผนการจัดการเรียนมุงเนนสมรรถนะรายวิชาที่ตองครอบคลุมทั้งจุดประสงครายวิชา สมรรถนะ รายวิชา และคําอธิบายรายวิชา โดยไดนําเสนอแผนการจัดการเรียนรูเปนรายชั่วโมงตามหนวย การเรียนรูและในแตละหนวยการเรียนรู มีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท้ัง 3 ดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะ และคุณลักษณะท่ีพ่ึงประสงค ออกแบบการเรียนรูดวยเทคนิคและ วิธีการสอนท่ีหลากหลาย เพ่ือการจัดการเรียนรูสําหรับนักเรียน นักศึกษาใหบรรลุเปาหมายของ หลักสูตร จึงหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปนประโยชนตอสถานศึกษาในการใชเปนแนวทางจัดทําแผน การจัดการเรียนมุงเนนสมรรถนะที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สงผลใหการจัดการเรียนรูบรรลุ เปาหมายตามหลกั สตู ร สาํ นักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ข สารบัญ หนา คํานํา ก สวนที่ 1 แผนการจดั การเรียนมงุ เนน สมรรถนะ 1 สว นที่ 2 นยิ ามศัพททีเ่ กยี่ วของกับแผนการจัดการเรียนมุง เนน สมรรถนะ 11 สวนท่ี 3 แนวทางการจดั ทํารายละเอยี ดตางๆ สาํ หรับจัดทาํ แผนการเรยี นรูม ุงเนน สมรรถนะ 17 สวนท่ี 4 ตวั อยางเอกสารทเ่ี กีย่ วขอ ง 33 ภาคผนวก 52











การหายใจ (RESPIRATION •การหายใจ (RESPIRATION) เป็นการนาอากาศเข้าแ ปฏกิ ริ ิยากบั สารอาหารได้พลงั งาน นา้ และแกส๊ คาร์บอ เซลลต์ ลอดเวลา การหายใจจาเป็นต้องอาศัยโครงสร้าง ซ่งึ เป็นกลไกการทางานของระบบหายใจ

N) และออกจากร่างกาย ส่งผลให้แกส๊ ออกซเิ จนทา อนไดออกไซต์ กระบวนการหายใจเกดิ ข้ึนกบั ทกุ ง 2 ชนิดคือ กล้ามเน้ือกะบงั ลม และกระดูกซ่ีโครง

กลไกการทางานของระบบห •การหายใจจาเป็ นตอ้ งอาศยั โครงสรา้ ง 2 ชนดิ คือ ก การทางานของระบบหายใจ ดงั น้ ี

หายใจ กลา้ มเน้ ือกะบงั ลม และกระดูกซี่โครง ซึ่งมีกลไก

กลไกการทางานข การหายใจเข้า (Inspiration) กะบงั ลมจะเล่อื นต่าลง กระดกู ซ่ีโครงจะเล่อื น สงู ข้นึ ทาให้ปริมาตรของช่องอกเพ่มิ ข้ึน ความดนั อากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศ ภายนอก อากาศภายนอกจึงเคล่อื นเข้าส่จู มูก หลอดลม และไปยงั ถุงลมปอด

ของระบบหายใจ การหายใจออก (Expiration) กะบังลมจะเล่ือนสงู กระดกู ซ่โี ครงจะเล่ือนต่าลง ทาให้ ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง ความดนั อากาศใน บริเวณรอบ ๆ ปอดสงู กว่าอากาศภายนอก อากาศ ภายในถุงลมปอดจึงเคล่ือนท่จี ากถุงลมปอด ไปสู่ หลอดลม และออกทางจมูก

อวยั วะเกีย่ วกบั การหาย มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพ่อื มีชีวติ อยู่ การหายใจเข้า อา ผ่านไปตามอวยั วะของระบบหายใจตามลาดบั ดงั น้ี 1. จมูก (NOSE) 2. คอหอย (PHARYNX) 3. หลอดเสยี ง (LARYNX) 4. หลอดลม (TRACHEA) 5. หลอดลมข้วั ปอด (BRONCHI) 6. ปอด (LUNG) 7. เย่อื หุ้มปอด (PLEURA)

ยใจ ากาศ

กระบวนการทางานของระบบ อากาศเม่อื เข้าสปู่ อด จะไปอยู่ในถุงลม ซ่งึ มี ลกั ษณะกลม คล้ายลกู อง่นุ ซ่งึ ปอดแต่ละข้าง จะมี ถุงลมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ะถุงมขี นาด เส้น ผ่านศูนยก์ ลางไม่ถงึ 0.1 มิลลเิ มตร ถุงลมทุกอนั จะมีหลอดเลือดฝอย มาห่อหุ้มไว้ การแลกเปล่ียน แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซเิ จน ไนโตรเจน และไอนา้ ผ่านเข้าออกถุงลม โดยผ่านเย่อื บางๆ ของถุงลม

บการหายใจ

การหมุนเวียนของแกส๊ • การหมุนเวยี นของแกส๊ เป็นการแลกเปล่ยี นกา๊ ซค บริเวณถุงลมปอด ด้วยการแพร่ของกา๊ ซออกซิเจนไปส่เ ปฏกิ ริ ิยากบั สารอาหารในเซลล์ของร่างกายทาให้ได้พล เอนไ

คาร์บอนไดออกไซด์และกา๊ ซออกซเิ จน เกดิ ข้ึนท่ี เู ซลล์ต่าง ๆ ทว่ั ร่างกาย และกา๊ ซออกซิเจนทา ลงั งาน นา้ และกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการ ไซม์

การหมุนเวียนของแกส๊ (ต่อ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ท่เี กดิ จาก ปฏกิ ริ ิยาเคมรี ะหว่างกา๊ ซออกซิเจนกับอาหาร จะแพร่ออกจากเซลลเ์ ข้าส่หู ลอดเลอื ดฝอย และลาเลียงไปยงั ปอด กา๊ ซ คาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่เข้าส่หู ลอดลม เลก็ ๆ ของปอดขบั ออกจากร่างกายพร้อมกับ ลมหายใจออก

อ)

อาการทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การหา การจาม เกดิ จากการหายใจเอาอากาศท่ไี ม่ สะอาด เข้าไปในร่างกาย ร่างกายจึงพยายาม ขบั ส่งิ แปลกปลอมเหล่าน้ัน ออกมานอกร่างกาย โดยการ หายใจเข้าลกึ แล้วหายใจออกทนั ที

ายใจ การหาว เกดิ จากการท่มี ีปริมาณกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ สะสมอยู่ในเลือดมากเกนิ ไป จึงต้องขบั ออกจากร่างกาย โดย การหายใจเข้ายาว และลกึ เพ่อื รับแกส๊ ออกซิเจนเข้าปอด และ แลกเปล่ียนกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกจากเลือด

อาการทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การหาย การสะอึก เกดิ จากกะบังลมหดตัวเป็นจงั หวะๆ ขณะหดตัวอากาศจะถูกดันผ่าน ลงส่ปู อดทนั ที ทา ให้สายเสยี งส่นั เกดิ เสยี งข้ึน

ยใจ การไอ เป็ นการหายใจอยา่ งรุนแรง เพือ่ ป้ องกนั ไม่ใหส้ งิ่ แปลกปลอม หลดุ เขา้ ไปในกล่องเสยี ง และหลอดลม ร่างกายจะมี การหายใจเขา้ ยาว และหายใจออกอย่าง แรง

โรคของระบบการหายใจ โรคถุงลมโป่ งพอง เป็ นโรคที่เน้ อื ปอดถูกทาลาย สง่ ผลให้ การแลกเปลี่ยน ออกซิเจนลดลง ทาใหผ้ ูป้ ่ วยมี อาการ หอบเหนือ่ ย หายใจลาบาก สาเหตุของโรค สาเหตุของถุงลมโป่ งพอง ที่พบบ่อย ที่สดุ ไดแ้ ก่ การสูบบุหรี่ นอกจากน้นั ยงั อาจเกิดจาก การ สูดดมสงิ่ ที่เป็ นพษิ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝ่ ุน สารเคมี เป็ นระยะเวลานาน ๆ

โรคหืด คือ โรคของหลอดลมท่มี กี ารตบี หรืออุดตนั อนั เน่อื งมาจาก มกี ารอกั เสบของหลอดลม มกี ารหด เกรง็ ของกล้ามเน้อื หลอดลม มเี สมหะท่เี หนียวออกมา มาก โรคหืดมลี กั ษณะสาคัญ 3 ประการ 1. หลอดลมท่มี ีการตบี หรืออุดตนั เป็นๆหายๆการตบี หรืออุดตนั เกดิ จาก กล้าเน้ือหลอดลมหดตวั เย่ือบุบวม มกี ารอกั เสบ เสมหะมาก 2. มกี ารอกั เสบเร้ือรังของหลอดลมร่วมด้วย 3. หลอดลมมีสภาพไวผิดปกตติ ่อส่งิ กระต้นุ ต่างๆ เช่น ควันต่างๆ กล่นิ ท่แี รง สารก่อภมู ิแพ้





THE Kru…anis

END sah nawae


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook